โครงงานคุณธรรม ครู 5 ดี ศรี ต.ว. ( สอนดี จิตใจดี วินัยดี เป็นแบบอย่างที่ดี ครองตนดี ) 1. ชื่อโครงงาน โครงงานคุณธรรม ครู 5 ดี ศรี ต.ว. ( สอนดี วินัยดี จิตใจดี เป็นแบบอย่างที่ดี ครองตนดี ) 2. ที่มาและความส าคัญ การพัฒนาครูและบุคลากรในโรงเรียนมีความส าคัญอย่างมกในการพัฒนานักเรียนและองค์กร เพราะครูผู้มีหน้าที่ในการให้ความรู้ การอบรมสั่งสอนนักเรียนทางด้านคุณธรรม จริยธรรม ครูเป็นต้นแบบ ในการเป็นแบบอย่างส าหรับนักเรียน ดังนั้น การปฎิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับ นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีความมุ่นมั่น อุทิศตนในการสอนและพัฒนานักเรียน ครูต้องใช้เทคนิค วิธีการใหม่ๆมาใช้ในการจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนานักเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนั่นใน การปฎิบัติงานในหน้าที่ที่ตนรับผิดชอบ ย่อมส่งผลต่อคุณภาพนักเรียนและสร้างบรรยากาศของการเรียนรู้ ในโรงเรียน ถ้าครูและบุคลากรทางการศึกษามีความพร้อมในการจัดการศึกษาตามวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมายของโรงเรียน ส่งผลให้ครูมีความเชื่อมั่นในตนเองและแน่วแน่ในอุดมการณ์ โรงเรียนตะเครียะ วิทยาคม จึงจัดท าโครงงานคุณธรรม ครู 5 ดี ศรีต.ว เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนตะเครี ยะวิทยาคมให้มีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม อุทิศตนในการปฏิบัติงาน เพื่อให้มีศักยภาพ เพียงพอในการปฎิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. วัตถุประสงค์ 3.1เพื่อให้ครูมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ แสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ รับฟังความคิดเห็น และยอมรับการเปลี่ยนแปลง ( สอนดี วินัยดี ) 3.2เพื่อส่งเสริมให้ครูและบุคลากรพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมส่งผลให้เป็นผู้ที่มีจิตใจสูงขึ้น รู้จัก ช่วยเหลือผู้อื่นและสังคมด้วยความเต็มใจ ( จิตใจดี) 3.3เพื่อให้ครูและบุคลากร วางตนอย่างเหมาะสม ด ารงชีวิตอย่างพอเพียง ไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (เป็น แบบอย่างที่ดี ครองตนดี) 4. กลุ่มเป้าหมาย ด้านปริมาณ : ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนตะเครียะวิทยาคม จ านวน 14 คน ด้านคุณภาพ : ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิสัยทัศน์ และทัศนคติที่ดีต่อองค์กร มีวินัย ในตนเอง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ตระหนักต่อภาระหน้าที่ ยึดมั่นในคุณธรรม มีจิตส านึกในด้านจริยธรรม และเป็นแบบอย่างที่ดี มีความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะและ ประสบการณ์สามารถปฏิบัติราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ระยะเวลาในการด าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
6. ขั้นตอนการด าเนินงาน วัน/เดือน/ปี ขั้นตอน กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ พ.ค. 65 การวางแผน 1.น าเสนอโครงงานต่อผู้บริหาร 2.จัดป ระชุมผู้มีส่ วน เกี่ ย วข้องเพื่ อชี้ แจง ขอบข่ายการท างานและจัดท าปฎิทินการ ปฎิบัติงาน 3.มอบหมายผู้รับผิดชอบ -ฝ่ายบริหาร -ครูและบุคลากรทุกคน มิ.ย 65 – ต.ค 65 การด าเนินงาน ส่งเสริมให้ครูและบุคลากร ๑. ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ รับผิดชอบ ใน หน้าที่ เข้าสอนตรงต่อเวลา (วินัยดี) ๒. พัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการ เรียนการสอนแบบ Active Learning (สอนดี) ๓. ช่วยเหลืองานโรงเรียนและชุมชนด้วยความ เต็มใจ (จิตใจดี) ๔. มีน้ าใจ ช่วยเหลือเพื่อนร่วมงาน (จิตใจดี) ๕. วางตนอย่างเหมาะสม ด ารงชีวิตอย่าง พอเพียง ไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข มีความซื่อสัตย์ สุจริต (เป็นแบบอย่างที่ดี) ๖. ใฝ่หาความรู้คู่คุณธรรม (ครองตนดี) ครูและบุคลากรทุกคน ต.ค. 65 ตรวจสอบ ติดตาม/ ประเมินผล รายงานผล กลุ่มบริหารงานบุคคล ต.ค. 65 ปรับปรุงพัฒนา ประชุมเพื่อสรุปผลงานและน าข้อบกพร่องมา ปรับปรุงแก้ไข ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทุกคน
7. หลักธรรมที่น ามาใช้ อิทธิบาท ๔ (สอนดี วินัยดี) ธรรมที่ช่วยให้ส าเร็จประโยชน์มี๔ ประการคือ ๑. ฉันทะ ความพอใจในสิ่งนั้น ๒. วิริยะ ความพากเพียรในสิ่งนั้น ๓. จิตตะ ความเอาใจใส่ในสิ่งนั้น ๔. วิมังสา ความสอดส่องค้นคว้าในสิ่งนั้น พรหมวิหาร ๔ (จิตใจดี ) ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของท่านผู้ใหญ่ จะต้องตั้งอยู่ในพรหมวิหารธรรม ๔ ประการ คือ ๑. เมตตา ความรักใคร่ปรารถนาให้เป็นสุข ๒. กรุณา ความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ๓. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื่อเห็นผู้อื่นได้ดี ๔. อุเบกขา ความวางใจเป็นกลาง สัปปุริสธรรม ๗ (เป็นแบบอย่างที่ดี ครองตนดี) ธรรมของสัตบุรุษ คือคนดี หรือธรรมที่ท าให้เป็นสัตบุรุษ มี ๗ อย่าง คือ ๑. ธัมมัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักเหตุ คือ ความรู้จักว่า สิ่งนี้เป็นเหตุของสิ่งนี้ ๒. อัตถัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักผล คือ ความรู้จักว่า สิ่งนี้เป็นผลของสิ่งนี้ ๓. อัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักตน คือ ความรู้จักว่า ตนเองมีฐานะเป็นอย่างไร แล้วประพฤติตน ให้เหมาะสมกับภาวะและฐานะของตน ๔. มัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณ คือ รู้จักพอดี รู้จักประมาณในการแสวงหาและใช้จ่าย ทรัพย์ ๕. กาลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักกาล คือรู้จักเวลาอันเหมาะสมแก่การประกอบกิจ ๖. ปริสัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักชุมชน คือรู้จักชุมชน หรือสังคมและรู้จักกิริยาที่ต้องประพฤติต่อ ชุมชน ๗. ปุคคลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักบุคคล คือรู้จักบุคคล รู้จักเลือกบุคคล ว่าผู้นี้เป็นคนดีควรคบ ผู้นี้ เป็น คนไม่ดีไม่ควรคบ 8. ความเชื่อมโยงสู่คุณธรรมอัตลักษณ์ ความรับผิดชอบ - สอนดี วินัยดี จิตอาสา - จิตใจดี พอเพียง - เป็นแบบอย่างที่ดี ซื่อสัตย์ - ครองตนดี
คุณธรรมเป้าหมาย พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก เป้าหมายของโครงงาน รับผิดชอบ ๑. ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒. รับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๓. มุ่งมั่น พัฒนาการเรียนการสอน สอนดี วินัยดี จิตอาสา ๑. ช่วยเหลืองานโรงเรียนและชุมชนด้วยความเต็มใจ ๒. มีน้ าใจ ช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานด้วยความจริงใจ จิตใจดี พอเพียง ๑. วางตนเหมาะสมกับความเป็นครู ด ารงชีวิตอย่าง พอเพียง ๒. ใฝ่หาความรู้คู่คุณธรรม เป็นแบบอย่างที่ดี ซื่อสัตย์ 1.มีความซื่อสัตย์กับตนเอง และผู้อื่น 2.เข้าสอนตรงต่อเวลา 3.ไม่เบียดบังเวลาราชการ ครอบตนดี 8. วิธีการวัดและประเมินผล ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ครูมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ แสวงหาความรู้และ เทคนิควิธีการใหม่ๆ รับฟังความคิดเห็น และ ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ( สอนดี วินัยดี ) ร้อยละ 100 ของผู้บริหาร ครู และบุคลากรมี จรรยาบรรณในวิชาชีพ แสวงหาความรู้และเทคนิค วิธีการใหม่ๆ รับฟังความคิดเห็น และยอมรับการ เปลี่ยนแปลง ครูและบุคลากรพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมส่งผลให้ เป็นผู้ที่มีจิตใจสูงขึ้น รู้จักช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม ด้วยความเต็มใจ ( จิตใจดี) ร้อยละ 100 ของผู้บริหาร ครู และบุคลากรมี คุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้ที่มีจิตใจดี รู้จักช่วยเหลือ ผู้อื่นและสังคมด้วยความเต็มใจ ครูและบุคลากร วางตนอย่างเหมาะสม ด ารงชีวิต อย่างพอเพียง ไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข ปฏิบัติงาน ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ตามบทบาทหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (เป็นแบบอย่างที่ ดี ครองตนดี) ร้อยละ 100 ของผู้บริหาร ครู และบุคลากร วาง ตนอย่างเหมาะสม ด ารงชีวิตอย่างพอเพียง ไม่ยุ่ง เกี่ยวกับอบายมุข ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล วิธีการประเมิน เครื่องมือ ๑. ประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร ๒. สังเกตพฤติกรรมของครูและบุคลากร ๑. แบบประเมินผล ๒. แบบสังเกต 9. ผู้รับผิดชอบโครงงาน กลุ่มบริหารงานบุคคล 10. ที่ปรึกษาโครงงาน ผู้อ านวยการโรงเรียน
โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ