การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เพื่อการสื่อสารผ่านโซเชียลมีเดีย ผลงานรับใช้สังคม หลักสูตรเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัมหาสารคาม อาจา รย์ ดร .สุนันทา กลิ่นถา ว ร
การมีส่วนร่วร่มและการยอมรับรัของสังคม/ชุมชน เป้าหมาย การคาดการณ์สิ่งที่จะตามมาหลัง จากการ เปลี่ยนแปลงได้เกิดขึ้นแล้ว กระบวนการที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น แนวทางการติดตามและธำ รงรักรัษาพัฒนาการ ที่เกิดขึ้นให้คงอยู่ต่อไป การระบุสถานการณ์ที่เป็นอยู่เดิม การประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กระบวนการที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น 01 05 03 07 02 06 04 ข ประเด็นหัวข้อ
อิทธิพธิลของสื่อสื่ออนไลน์ ส่งส่ผลต่อผู้คผู้ นทุกทุเพศทุกทุวัยวั ผู้สูผู้ งสูอายุไทยในปัจปัจุบันบัและ ในอนาคตจึงจึจะต้องรู้เรู้ท่าทัน และสามารถใช้ปช้ระโยชน์จน์าก เทคโนโลยี และโซเชียชีล มีเมีดีย และามารถระมัดมัระวังวั ตนเองจากภัยบนโลก ออนไลน์ใน์นขั้นขั้ต้นได้ ผู้สูผู้ ง สู วัย วั "SOCIAL MEDIA" กับ หลายคนตื่นมาตอนเช้าช้ต้องหยิบยิ โทรศัพท์มือมืถือคอยเช็กช็ เพื่อพื่อ่าน ข้อข้ความ ก็จะได้รัด้บรัข้อข้ความที่ส่งส่มา จากคุณคุพ่อพ่คุณคุแม่ คุณคุปู่ คุณคุย่าย่ผ่าผ่นทางโซเชียชีลมีเมีดียดี (Social Media) ไม่ว่ม่าว่จะ เป็นป็การทักทายสวัสวัดีตดีอนเช้าช้ข้อข้ความอวยพร ข้อข้คิดดี ๆ แม้กม้ระทั่งทั่การแชร์ข่ร์าข่วสารต่าง ๆ ในยุคนี้ ผู้สูผู้ งสูวัยวัจะใช้สื่ช้ สื่อสื่ออนไลน์ส่งส่ผ่าผ่นความรักรัความห่วห่งใยแก่ลูกลูหลาน บริโริภคและรับรัรู้ข้รู้อข้มูลข่าข่วสารต่างๆ ใช้งช้านโปรแกรมการดูแดูล สุขสุภาพ ตลอดจนถึงการทำ ธุรกรรมทางการเงิน สะท้อนให้ เห็นห็ถึงอิทธิพธิลของสื่อสื่ออนไลน์ต่น์ ต่อผู้คผู้ นทุกทุวัยวัรวมถึงผู้สูผู้ งสูอายุ การรู้เรู้ท่าทันเทคโนโลยี หรือรืโซเชียชีลมีเมีดียดีจึงจึเป็นป็สิ่งสิ่สำ คัญที่จะทำ ให้ผู้ห้สูผู้ งสูอายุมีคมีวามมั่นมั่ ใจในการใช้เช้ทคโนโลยี และยังยัจำ เป็นป็อย่าย่งมาก ในการสร้าร้งพื้นพื้ที่ออนไลน์ใน์ห้เห้ป็นป็พื้นพื้ที่ปลอดภัยของผู้สูผู้ งสูอายุด้วด้ยเช่นช่กัน ดังดันั้นนั้การสร้าร้ง ความเข้าข้ใจและตระหนักนัถึงความสำ คัญของการใช้โช้ซเชียชีลมี เดียดีจึงจึทำ ให้ผู้ห้สูผู้ งสูอายุสามารถเข้าข้ถึงโลกออนไลน์ด้น์วด้ยความ เข้าข้ใจ สามารถก้าวทันต่อเทคโนโลยีที่ยี ที่มีกมีารเปลี่ยนแปลง และนำ เทคโนโลยีมยีาใช้งช้านได้ รวมถึงมีคมีวามเท่าทันในการ พิจพิารณาข้อข้มูลข่าข่วสาร สามารถที่จะระมัดมัระวังวัตนเองจาก ภัยบนโลกออนไลน์ใน์นขั้นขั้ต้นได้ 1
2 01 การมีส่มีว ส่ นร่ว ร่ มและการยอมรับรัของสังสัคม / ชุมชนเป้า ป้ หมาย โรงเรียนชราบาลตำ บลหนองเม็กเป็นโรงเรียน ภายใต้การกำ กับดูแลของกองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำ บลหนองเม็ก อำ เภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ ส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิต เพิ่มศักยภาพผู้สูงอายุเพื่อ การเรียนรู้การพัฒนาตนเอง และการมีส่วนร่วมใน กิจกรรมทางสังคม โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ อย่างสร้างสรรค์ ทำ ให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สุขภาพจิตที่ดีมีส่วนร่วม ของชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเพื่อการสื่อสาร ผ่านโซเชียลมีเดีย ได้ดำ เนินการภายใต้การมีส่วน ร่วมและการยอมรับจากโรงเรียนชราบาลตำ บล หนองเม็ก องค์การบริหารส่วนตำ บลหนองเม็ก และสมาชิกชุมชนตำ บลหนองเม็ก อำ เภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม ในการกำ หนดแนวทางและ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการใช้ชีวิตของผู้สูง อายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในการใช้ Social Media อย่างสร้างสรรค์และปลอดภัย กระบวนการการมีส่วนร่วม ลงพื้นที่สำ รวจสภาพบริบทและพฤติกรรมการใช้สื่อ โซเชียลมีเดียของกลุ่มผู้สูงอายุในโรงเรียนชราบาล ประชุมร่วมกับผู้นำ ชุมชน กลุ่มแม่บ้าน ครูในโรงเรียน ชราบาล เพื่อสรุปปัญหาและความต้องการการใช้สื่อ โซเชียลมีเดีย จัดทำ ร่างและเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ สูงอายุเพื่อการสื่อสารผ่านโซเชียลมีเดียร่วมกับครูใน โรงเรียนชราบาล และผู้ประสานงานจาก อบต. จัดทำ แผนการจัดกิจกรรมร่วมกับครูในโรงเรียนชรา บาล และผู้ประสานงานจาก อบต. เตรียมความพร้อมในการดำ เนินการกิจกรรม จัดกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเพื่อการ สื่อสารผ่านโซเชียลมีเดียร่วมกับผู้เข้าร่วมการพัฒนา ครูในโรงเรียนชราบาล และผู้ประสานงานจาก อบต. สรุปผลการดำ เนินการการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูง อายุเพื่อการสื่อสารผ่านโซเชียลมีเดีย และรายงานผลการดำ เนินการต่อครูในโรงเรียนชรา บาล และผู้ประสานงานจาก อบต. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
02 การระบุสถานการณ์ที่ณ์ ที่ เป็น ป็ อยู่เ ยู่ ดิม สรุปรุผลการสำ รวจสภาพบริบริทและพฤติกรรมการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดี การลงพื้นพื้ที่สำ รวจสภาพบริบริทและพฤติกรรมการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดีของกลุ่มลุ่ผู้สูผู้ งสูอายุในโรงเรียรีนชราบาลหนองเม็กม็ และสัมสัภาษณ์คณ์วามต้องการในการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชีบชีลมีเมีดียดีซึ่งซึ่มีวัมีตวัถุปถุระสงค์ของการสำ รวจเพื่อพื่นำ ผลของการสำ รวจมาวิเวิคราะห์ สภาพบริบริท ปัญหา และความต้องการการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีล มีเมีดียดีของกลุ่มลุ่ผู้สูผู้ งสูอายุในโรงเรียรีนชราบาลหนองเม็กม็ และนำ ไเป็น แนวทางในการกำ หนดกิจกรรมในการพัฒพันาคุณคุภาพชีวิชีตวิผู้สูผู้ งสูอายุเพื่อพื่การสื่อสื่สารผ่าผ่นโซเชียชีลมีเมีดียดี โดยมีกมีลุ่มลุ่เป้าป้หมายของ การสำ รวจคือ ผู้สูผู้ งสูอายุที่ศึกษาในโรงเรียรีนชราบาลหนองเม็กม็จำ นวน 60 คน การมีอุมีอุปกรณ์ที่ณ์ ที่พร้อร้มสำ หรับรัการใช้งช้าน Social Media ใช้งช้าน เป็นป็ ประจำ (2-3 ชั่วชั่โมง / วันวั ) ใช้งช้าน เพื่อพื่การสื่อสื่สาร ใช้งช้าน เพื่อพื่การรับรัรู้ข้รู้อข้มูลข่าข่วสาร ใช้งช้าน เพื่อพื่การซื้อซื้ - ขาย สินสิค้าออนไลน์ ใช้งช้านเพื่อพื่การทำ ธุรกิจ ใช้งช้านโปรแกรม Line พื้นพื้ฐานได้ ใช้งช้านโปรแกรม Facebook พื้นพื้ฐานได้ ใช้งช้านโปรแกรม Tiktok พื้นพื้ฐานได้ ใช้งช้านโปรแกรมซื้อซื้ - ขาย สินสิค้าออนไลน์พื้น์พื้นพื้ ฐานได้ รายละเอียดของหัวหัข้อข้การสำ รวจสภาพบริบริทและ พฤติกรรมการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดี 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 71% ผู้สูผู้ งสูอายุใช้โช้ซเชียชีลมีเมีดียดีเพื่อพื่การสื่อสื่สาร จากการสำ รวจสภาพบริบริทและพฤติกรรมการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดีของผู้สูผู้ งสูอายุที่ศึกษาในโรงเรียรีนชราบาลหนองเม็กม็ จำ นวน 60 คน พบว่าว่ ร้อร้ยละ 77 ของผู้สูผู้ งสูอายุการมีอุมีอุปกรณ์ที่ณ์ ที่พร้อร้มสำ หรับรัการใช้งช้าน Social Media ร้อร้ยละ 53 ของผู้สูผู้ งสู อายุใช้งช้านโซเชียชีลมีเมีดียดี ร้อร้ยละ 71 ของผู้สูผู้ งสูอายุใช้งช้านโซเชียชีลมีเมีดียดีเพื่อพื่การสื่อสื่สาร ร้อร้ยละ 65 ของผู้สูผู้ งสูอายุใช้งช้านโซเชียชีล มีเมีดียดีเเพื่อพื่การรับรัรู้ข้รู้อข้มูลข่าข่วสาร ร้อร้ยละ 28 ของผู้สูผู้ งสูอายุใช้งช้านโซเชียชีลมีเมีดียดีเพื่อพื่การซื้อซื้ - ขาย สินสิค้าออนไลน์ ร้อร้ยละ 62 ของผู้สูผู้ งสูอายุใช้งช้านโปรแกรม Line พื้นพื้ฐานได้ ร้อร้ยละ 48 ของผู้สูผู้ งสูอายุใช้งช้านโปรแกรม Facebook พื้นพื้ฐานได้ ร้อร้ยละ 3 ของ ผู้สูผู้ งสูอายุใช้งช้านโปรแกรม Tiktok พื้นพื้ฐานได้ ด้และ ร้อร้ยละ 3 ของผู้สูผู้ งสูอายุใช้งช้านโปรแกรมซื้อซื้ - ขาย สินสิค้าออนไลน์พื้นพื้ฐานได้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 50 40 30 20 10 0 3 มีอุมีอุปกรณ์ที่ณ์ ที่พร้อร้มสำ หรับรัการใช้งช้าน 77% Social Mediaร
82% 97% 4 จากสัมสัภาษณ์คณ์วามต้องการในการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดีของกลุ่มลุ่ผู้ สูงสูอายุในโรงเรียรีนชราบาลหนองเม็กม็พบว่าว่ ผู้สูผู้ งสูอายุมีพมีฤติกรรม สนใจในการใช้กช้ารใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดีเพิ่มพิ่มากขึ้นขึ้ โดยมีวัมีตวัถุปถุระสงค์ใน การใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดีเพื่อพื่การติดต่อสื่อสื่สารกับครอบครัวรัและเพื่อพื่น เป็นป็หลัก นอกจากนี้การใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชีบชีลมีเมีดียดียังยัช่วช่ยให้ผู้ห้สูผู้ งสูอายุสามารถ เข้าข้ถึงข้อข้มูลต่าง ๆ ที่ตนเองสนใจไม่ว่ม่าว่จะเป็นป็ข้อข้มูลทางด้านสุขสุภาพ หรือรืด้าด้นความบันบัเทิงได้อด้ย่าย่ง สะดวกรวดเร็วร็แต่ผู้สูผู้ งสูอายุจำ นวนหนึ่ง เลือกที่จะไม่ใม่ช้กช้ารติดต่อสื่อสื่สารด้วด้ยการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดีเนื่องจาก เหตุผตุลในด้าด้นความกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยของข้อข้มูลส่วส่นตัว และความรู้สึรู้กสึยุ่งยุ่ยากในการใช้คำช้ คำสั่งสั่บนแอปพลิเคชันชั แต่อย่าย่งไรก็ตามจากข้อข้มูลการสัมสัภาษณ์ผู้ณ์สูผู้ งสูอายุให้ข้ห้อข้มูลว่าว่หาก มีกมีารให้คห้วามมั่นมั่ ใจเกี่ยวกับประเด็นด็ดังดักล่าวโดยมีกมีารสอนการใช้งช้า นที่ถฅูกฅูต้อง และปลอดภัยก็เล็งเห็นห็ถึงประโยชน์ที่ตนเองจะได้รัด้บรัจาก การใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดีและยินยิดีที่ดี ที่จะทดลองใช้งช้าน ในการประชุมร่วร่มกับผู้นำ ผู้ นำชุมชน กลุ่มลุ่แม่บ้ม่าบ้น ครูใรูนโรงเรียรีนชรา บาล สามารถสรุปรุปัญหาและความต้องการการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดีของ ผู้สูผู้ งสูอายุในโรงเรียรีนชราบาลหนองเม็กม็คือ ผู้สูผู้ งสูอายุส่วส่นใหญ่ขญ่าด ความเข้าข้ใจเกี่ยวกับระบบการใช้งช้านแอพพลิเคชันชัและขาดทักษะ ที่จำ เป็นป็เกี่ยวกับการใช้งช้านได้อย่าย่งปลอดภัย รวมถึงยังยัมีคมีวาม กังวลเกี่ยวกับการถูกถูหลอก โกง หรือรืการถูกถูล่อลวงผ่าผ่นการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดี ดังดั นั้นนั้ควรมีกมีารส่งส่เสริมริ ให้ผู้ห้สูผู้ งสูอายุมีคมีวามเข้าข้ใจ เล็งเห็นห็ถึง ประโยชน์ที่ตนเองจะได้รัด้บรั และมีทัมี ทักษะของการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดี อย่าย่งถูกถูต้องและปลอดภัย ซึ่งซึ่จะทำ ให้ผู้ห้สูผู้ งสูอายุสามารถใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีล มีเมีดียดี ในการสื่อสื่สาร การสร้าร้งพื้นพื้ที่ของผู้สูผู้ งสูอายุในการแสดงความ เป็นป็ตัวของตัวเอง และการแลกเปลี่ยนกิจกรรมของตนและความคิด เห็นห็กับผู้อื่ผู้ อื่น ซึ่งซึ่เป็นป็อีกช่อช่งทางหนึ่งของการพัฒพันาคุณคุภาพชีวิชีตวิของ ผู้สูผู้ งสูอายุในสังสัคมออนไลน์ สนใจเรียรีนรู้แรู้ละใช้งช้านโซเชียชีลมีเมีดีย มีคมีวามกังวลกับการใช้งช้านโซเชียชีลมีเมีดีย
5 03 กระบวนการที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นขึ้ การวิจัวิยจัเชิงชิปฏิบัติบั ติการแบบมีส่มีวส่นร่วร่ม (Participatory Action Research-PAR) เป็ นการวิจัวิยจัเพื่อพื่พัฒพันาและ แก้ไขปัญหาสังสัคมและชุมชน พยายามศึกษาชุมชน โดยเน้นการวิเวิคราะห์ปัห์ ปัญหา ศึกษาหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา วางแผนและดําดํเนินการตามแผนในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งทั้การดําดํเนินการประเมินมิผล โดยที่ทุกทุขั้นขั้ตอนดังดักล่าวสมาชิกชิ ชุมชนเข้าข้ร่วร่มด้วด้ย อันเป็นป็การส่งส่เสริมริ ให้ชุห้ชุมชนได้เด้กิดการเรียรีนรู้ รู้ได้พัด้ฒพันาตนเอง จากปัญหาผู้สูผู้ งสูอายุส่วส่นใหญ่ขญ่าดความเข้าข้ใจเกี่ยวกับระบบการใช้งช้านแอพพลิเคชันชัขาดทักษะที่จำ เป็นเกี่ยวกับ การใช้งช้านได้อด้ย่าย่งปลอดภัย และความต้องการการมีทัมี ทักษะของการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดีอย่าย่งถูกถูต้องและปลอดภัยของ ผู้สูผู้ งสูอายุ ดังดั นั้นนั้ ในการส่งส่เสริมริและพัฒพันาคุณคุภาพชีวิชีตวิผู้สูผู้ งสูอายุเพื่อพื่การสื่อสื่สารผ่าผ่นโซเชียชีลมีเมีดียดี ได้ใด้ช้รูช้รูปแบบการวิจัวิยจั เชิงชิปฏิบัติบั ติการ แบบมีส่มีวส่นร่วร่ม (Participatory Action Research: PAR) โดยใช้กช้ระบวนการ PAOR 4 ขั้นขั้ตอน 1) ขั้นขั้วางแผน (Planing) 2) ขั้นขั้ ปฏิบัติบั ติ (Action) 3) ขั้นขั้สังสัเกตการณ์ (Observation) ณ์และ 4) ขั้นขั้สะท้อนผล (Reflection) ภายใต้การมีส่มีวส่นร่วร่มและการยอมรับรัจากโรงเรียรีนชราบาลตำ บลหนองเม็กม็องค์การบริหริารส่วส่นตำ บล หนองเม็กม็และสมาชิกชิชุมชนตำ บลหนองเม็กม็อำ เภอนาเชือชืก จังจัหวัดวัมหาสารคาม ในการส่งส่เสริมริ ให้ผู้ห้สูผู้ งสูอายุมีคมีวามเข้าข้ใจ เล็งเห็นห็ถึงประโยชน์ที่ตนเองจะได้รัด้บรัและมีทัมี ทักษะของการใช้สื่ช้ สื่อสื่ โซเชียชีลมีเมีดียดีอย่าย่งถูกถูต้องและปลอดภัย โดยการมีส่มีวส่น ร่วร่มของ ซึ่งซึ่มีขั้มีนขั้ตอนของการดำ เนินการดังดั นี้ ขั้นขั้ตอนกระบวนการในการพัฒพันาคุณคุภาพชีวิชีตวิผู้สูผู้ งสูอายุเพื่อพื่การสื่อสื่สารผ่าผ่นโซเชียชีลมีเมีดีย
6 04 ความรู้ค รู้ วามเชี่ย ชี่ วชาญที่ใช้ทำ ช้ ทำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นขึ้ ผู้สูงอายุของโรงเรียนชราบาลหนองเม็กส่วนใหญ่ ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการใช้งานแอพพลิเคชัน และขาดทักษะที่จำ เป็นเกี่ยวกับการใช้งานได้อย่าง ปลอดภัย ผู้ดำ เนินโครงการจึงได้ประชุม ร่วมกับผู้นำ ชุมชน กลุ่มแม่บ้าน ครูในโรงเรียนชราบาล ในการสรุป ปัญหา ความต้องการการใช้สื่อโซเชียลมีเดียของผู้สูง อายุ พร้อมทั้งได้ร่วมกันกำ หนดแนวทางกิจกรรมของ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเพื่อการสื่อสารผ่าน โซเชียลมีเดียอย่างปลอดภัย ซึ่งเป็นการเป็นการ ดำ เนินการในลักษณะการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยมี กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการพัฒนาคุณภาพ คือ ผู้สูง อายุของโรงเรียนชราบาลหนองเม็ก ตำ บลหนองเม็ก อำ เภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาร จำ นวน 30 คนที่ สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ เตรียมความพร้อม/สร้างความเข้าใจ เป็นขั้นตอนการเตรียมการอบรม ทดสอบ เครื่องมือประกอบการอบรม และทดสอบ ความรู้พื้นฐานของผู้เข้าร่วมอบรม ถ่ายทอดองค์ความรู้ เป็นขั้นตอนการ อบรมเชิงปฏิบัติการ ทดสอบความรู้/ทักษะ/ความพึงพอใจ เป็นขั้นตอนการประเมินผลการถ่ายทอด องค์ความรู้ ขั้นตอนกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ การใช้สื่อโซเชียลมีเดียอย่างปลอดภัย ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1. 2. 3. กร ะบวนกา รถ่ายทอดองค์คว ามรู้ กา ร ใช้สื่อโซเชียลมีเดียอย่างปลอดภัย ขั้นตอนการถ่ายทอดความรู้ เป็นการถ่ายทอดและฝึกปฏิบัติเพื่อให้ผู้สูงอายุทักษะของการใช้สื่อโซเชียลมีเดีย อย่างถูกต้องและปลอดภัย ซึ่งดำ เนินการใน 3 ขั้นตอน คือ 1. รู้เท่าทัน เน้นถ่ายทอดความรู้พื้นฐานและเห็นถึงความสำ คัญของโซเชียลมีเดีย 2. ดำ เนินชีวิต เน้นถ่ายทอดการใช้งานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย 3. เพิ่มคุณภาพ เน้นถ่ายทอดการนำ หลักการแนวคิดไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้อย่างเหมาะสม โดยมีเนื้อหาของการถ่ายทอดองค์ความรู้ 4 หน่วยการเรียนรู้คือ หน่วยที่ 1 ความสำ คัญของการสื่อสารด้วย Social Media หน่วยที่ 2 ลิขสิทธิ์ และมารยาทในการใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร หน่วยที่ 3 การรักษา ความปลอดภัยในการสื่อสารด้วย Social Media และ หน่วยที่ 4 ทักษะที่มีความจำ เป็นในการใช้ Social Media Application (Facebook , Line, TikTok, YouTube
7 การถ่ายทอดองค์ความรู้การใช้สื่อโซเชียลมีเดียอย่างปลอดภัยให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ โรงเรียนชราบาลหนองเม็ก ด้วยกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ออกแบบขึ้น พบว่า ผลการ ถ่ายทอดองค์รู้ให้กับผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายในแต่ละด้านมีดังนี้ ด้านความรู้ >> จากการทดสอบความรู้ของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายด้วยแบบทดสอบ พบว่า ผู้รับการ อบรมมีผลการเรียนรู้สูงขึ้น โดยมีคะแนนเฉลี่ยรวม เท่ากับ 7.93 หรือคิดเป็นร้อยละ 79.33 โดยผู้เข้า รับการอบรมที่มีคะแนนหลังการฝึกอบรมผ่านเกณฑ์ที่กำ หนดร้อยละ 70 จำ นวน 30 คน หรือคิดเป็น ร้อยละ 100.00 ด้านทักษะ >> ผลการวิเคราะห์คะแนนการฝึกปฏิบัติของผู้รับการอบรมหลังการฝึกอบรมหลักสูตร ผ่านเกณฑ์ จำ นวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 โดยผ่านในระดับดี ร้อยละ 56.67 และระดับดีมาก ร้อยละ 43.33 ด้านความพึงพอใจ >> ผู้รับการอบรมมีความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมหลักสูตร โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด (X=4.71, SD. = 0.46) ผลกา รถ่ายทอดองค์คว ามรู้ กา ร ใช้สื่อโซเชียลมีเดียอย่างปลอดภัย
05 กา รคาดกา รณ์สิ่งที่จ ะตามมาหลัง จ ากกา ร เปลี่ยนแปลงได้เกิดขึ้นแล้ว 8 กา รพัฒนาคุณภาพชี วิตผู้สูงอายุเพื่อกา รสื่อสา รผ่านโ ซ เ ชียลมีเดียเป็นกิจกร รมที่ส่ง เสริมให้ผู้สูงอายุมีทักษะในกา ร เ รียนรู้กา ร ใ ช้ เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อกา ร ใ ช้ ชี วิตของผู้สูงอายุให้มี คุณภาพชี วิตที่ดีขึ้นในกา ร ใ ช้ S o c i a l Med i a อย่า งสร้ า งสร รค์และปลอดภัย โดยได้คาดกา รณ์ สิ่งที่จ ะตามมาหลัง จ ากกา ร เปลี่ยนแปลง ได้เกิดขึ้น ดังนี้ ในกา รคาดกา รณ์สิ่งที่จ ะตามมาหลัง จ ากกา ร เปลี่ยนแปลง ได้เกิดขึ้นทั้ง 3 ปร ะเด็น ได้ว า งแนวทา ง ของกา รพิจ า รณาผลลัพธ์ที่จ ะเกิดขึ้นในแต่ละปร ะเด็นเป็น 3 ร ะดับ ดังนี้ ร ะดับที่ 1 รับรู้ หมายถึง รับทร าบ รู้ จัก และเ ข้ า ใ จ คว ามหมาย กา ร ใ ช้ ง าน ของ โ ซ เ ชียลมีเดีย ร ะดับที่ 2 ใช้งาน หมายถึง มีกา ร ใ ช้ ง านโ ซ เ ชียลมีเดียขั้นพื้นฐ านในลักษณะ ง านต่า งๆ ตามคว าม เหมา ะสมของแต่ละโปรแกรม ร ะดับที่ 3 ปร ะยุกต์ หมายถึง มีกา รนำ โ ซ เ ชียลมีเดียไปปร ะยุกต์ใ ช้ ง าน และเกิดปร ะโยชน์ต่อ ตนเองหรือองค์กร ในกา รพัฒนาคุณภาพชี วิต ซึ่ งผลลัพธ์ ของกา รคาดกา รณ์ที่จ ะเกิดขึ้นทั้ง 3 ร ะดับ จ ะพิจ า รณา จ ากกา ร ใ ช้ ง านโ ซ เ ชียลมีเดียของ ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายที่เ ข้ า ร่ วมโคร งกา ร
ประเด็นการประเมินมิผล ร้อร้ยละของการประเมินมิผล รับรัรู้ ใช้งช้าน ประยุกต์ ผู้สูผู้ งสูอายุมีทัมี ทักษะที่มีคมีวามจำ เป็นของการสื่อสื่สารด้วยสื่อสื่ ใหม่ผ่ม่าผ่นโซเชียชีลมีเมีดีย 1. การใช้งช้านแอพพลิเคชันชั Line 100.00 68.00 0.00 2. การใช้งช้านแอพพลิเคชันชั Facebook 100.00 43.00 23.33 3. การใช้งช้านแอพพลิเคชันชั Tiktok 100.00 12.00 0.00 4. การใช้งช้านแอพพลิเคชันชั Youtube 100.00 71.00 0.00 เฉลี่ย 100.00 48.50 5.83 ผู้สูผู้ งสูอายุมีกมีารรับรัรู้เรู้ท่าทันสื่อสื่ภัยออนไลน์ และใช้งช้านได้อย่าย่งปลอดภัย 1. การรู้ภัรู้ ภัย และการใช้งช้านที่ปลอดภัยของแอพพลิเคชันชั Line 100.00 68.00 0.00 2. การรู้ภัรู้ ภัย และการใช้งช้านที่ปลอดภัยของแอพพลิเคชันชั Facebook 100.00 43.00 23.33 3. การรู้ภัรู้ ภัย และการใช้งช้านที่ปลอดภัยของแอพพลิเคชันชั Tiktok 100.00 12.00 0.00 4. การรู้ภัรู้ ภัย และการใช้งช้านที่ปลอดภัยของแอพพลิเคชันชั Youtube 100.00 71.00 0.00 เฉลี่ย 100.00 48.50 5.83 ผู้สูผู้ งสูอายุมีแมีนวคิดในการพัฒพันาคุณคุภาพชีวิชีตวิด้วยการสื่อสื่สารด้วยสื่อสื่ ใหม่ผ่ม่าผ่นโซเชียชีลมีเมีดีย 1.การนำ แอพพลิเคชันชั Line ไปประยุกต์ใช้ใช้นการเพิ่มพิ่คุณคุภาพชีวิชีตวิ 100.00 47.00 0.00 2. การนำ แอพพลิเคชันชั Facebookไปประยุกต์ใช้ใช้นการเพิ่มพิ่คุณคุภาพชีวิชีตวิ 100.00 23.33 0.00 3. การนำ งแอพพลิเคชันชั Tiktok ไปประยุกต์ใช้ใช้นการเพิ่มพิ่คุณคุภาพชีวิชีตวิ 100.00 0.00 0.00 4. การนำ แอพพลิเคชันชั Youtube ไปประยุกต์ใช้ใช้นการเพิ่มพิ่คุณคุภาพชีวิชีตวิ 100.00 0.00 0.00 เฉลี่ย 100.00 17.58 0.00 เฉลี่ยโดยรวม 100.00 38.19 3.89 9 06 กา รปร ะเมินผลลัพธ์กา ร เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กา รปร ะเมินผลลัพธ์กา ร เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น คือ กา รตร ว จสอบปร ะสิทธิภาพ / คว ามสํา เ ร็ จ ของกา รพัฒนาคุณภาพชี วิตผู้สูงอายุเพื่อกา รสื่อสา รผ่านโ ซ เ ชียลมีเดีย โดยทำ กา รกา รปร ะเมินผล จ ากกา ร ใ ช้ ง านโ ซ เ ชียลมีเดียของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายที่เ ข้ า ร่ วมโคร งกา ร จำ นวน 30 คน ซึ่ ง ได้ ดำ เนินกา รหลัง จ ากกา ร จัดกิจกร รมกา รถ่ายทอดองค์คว ามรู้กา ร ใ ช้สื่อโ ซ เ ชียลมีเดียอย่า งปลอดภัย เป็นร ะยะเ วลา 1 เดือน ซึ่ งมีวิ ธีกา รปร ะเมินผลจ ากกา รสัง เกตกา ร ใ ช้ ง านโ ซ เ ชียลมีเดีย กา ร สัมภาษณ์ และแบบสอบถาม จ ากผลกา รปร ะเมินกา ร เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจ าก กา ร ใ ช้ ง านโ ซ เ ชียลมีเดียของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย พบว่ า ร ะดับของกา ร รับรู้มีค่า เฉลี่ยโดยร วมร้อยละ 100 ร ะดับของกา ร ใ ช้ ง านมีค่า เฉลี่ยโดยร วมร้อยละ 3 8 . 1 9 และ ร ะดับของกา รปร ะยุกต์มีค่า เฉลี่ยโดยร วม ร้อยละ 3 . 8 9 เมื่อพิจ า รณา เป็นร ายปร ะเด็นของคว าม คาดหวั งพบว่ า ปร ะเด็นกา รมีทักษะที่มีคว ามจำ เป็น ของกา รสื่อสา รด้วยสื่อใหม่ผ่านโ ซ เ ชียลมีเดีย มีร ะดับ ของกา ร รับรู้มีค่า เฉลี่ยร้อยละ 100 ร ะดับของกา ร ใ ช้ ง านมีค่า เฉลี่ยร้อยละ 48 . 50 และ ร ะดับของกา ร ปร ะยุกต์มีค่า เฉลี่ยร้อยละ 5 . 8 3 ปร ะเด็นมีกา ร รับรู้ เท่าทันสื่อ ภัยออนไลน์ และใ ช้ ง านได้อย่า งปลอดภัย มีร ะดับของกา ร รับรู้มีค่า เฉลี่ยร้อยละ 100 ร ะดับของ กา ร ใ ช้ ง านมีค่า เฉลี่ยร้อยละ 48 . 50 และ ร ะดับของ กา รปร ะยุกต์มีค่า เฉลี่ยร้อยละ 5 . 8 3 และปร ะเด็นมี แนวคิดในกา รพัฒนาคุณภาพชี วิตด้วยกา รสื่อสา ร ด้วยสื่อใหม่ผ่านโ ซ เ ชียลมีเดีย มีร ะดับของกา ร รับรู้ มีค่า เฉลี่ยร้อยละ 100 ร ะดับของกา ร ใ ช้ ง านมี ค่า เฉลี่ยร้อยละ 1 7 . 5 8 และ ร ะดับของกา ร ปร ะยุกต์มีค่า เฉลี่ยร้อยละ 3 . 8 9 เมื่อทำ กา รสัมภาษณ์เพิ่มเติมในเ รื่อง ของ กา รปร ะยุกต์ใ ช้ โ ซ เ ชียลมีเดียพัฒนาคุณภาพ ชี วิตผู้สูงอายุ พบว่ า ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย จำ นวน 7 คน ซึ่ ง เป็นสมา ชิกของกลุ่มทอผ้า 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทอผ้าบ้านกุดน้ำ ใส และกลุ่มทอ ผ้า ไหมและผ้าฝ้ายบ้านหมากหม้อ ต.หนอง เม็ก อ.นา เ ชือก จ .มหาสา รคาม ได้นำ แนวคิดของ กา ร ใช้งานเฟสบุ๊คที่ได้รับจ ากกิจกร รมกา ร ถ่ายทอดองค์คว ามรู้กา ร ใช้สื่อโซเชียลมีเดีย อย่างปลอดภัยกา ร ไปสร้ างเพจ เพื่อกา ร สื่อสา รปร ะชาสัมพันธ์กลุ่มทอผ้า ของตนบน โลกออนไลน์ ซึ่ งถือได้ว่ า เป็นกา รปร ะยุกต์ใ ช้ โ ซ เ ชียลมีเดียเพื่อกา รพัฒนาคุณภาพชี วิตอย่า ง เป็นรูปธ ร รม
10 หน้า เพจของกลุ่มทอผ้าบ้านกุดน้ำ ใส และกลุ่มทอผ้า ไหมและผ้าฝ้ายบ้านหมากหม้อ 07 แนวทางกา รติดตามและ ธำ รงรักษาพัฒนากา ร ที่เกิดขึ้นให้คงอยู่ต่อไป จ ากกา รดำ เนินกา ร กา รกา รพัฒนาคุณภาพชี วิตผู้สูงอายุเพื่อกา รสื่อสา รผ่าน โ ซ เ ชียลมีเดียแนวทา งกา รติดตามและ ธำ ร ง รักษาพัฒนากา รที่เกิดขึ้นให้คงอยู่ต่อไป ดังนี้คือ กา รติดตาม = > 1 . พฤติกร รมกา ร เลือกใ ช้ ง านและกา ร ใ ช้ ง านโ ซ เ ชียลมีเดียเพื่อกา รสื่อสา รที่เหมา ะ สมเป็นร ะยะผ่านผู้นำ ชุมชน กา ร ธำ รงรักษา = > 1 . กา รถอดบทเ รียนและกา รคืนข้อมูลให้ชุมชน เพื่อให้เกิดกา ร เ รียนรู้ เพิ่มเติม 2 . กา รนำ กร ะบวนกา ร ไปขยายผลในพื้นที่ชุมชนอื่นๆ