ลักษณะทัวไปของสทรภภู่ พระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือ รื ที่เรีย รี กกันทั่วไปว่า ว่ สุนทรภู่ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 – พ.ศ. 2398) เป็นอาลักษณ์ชาวไทยที่ มีชื่อเสียงเชิงกวี เขาได้รับ ยกย่อง
เป็น เชกสเปียร์แห่ง ประเทศไทย[2] เกิดหลังจาก ตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ 4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็น อาลักษณ์ราชสำ นักในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย เมื่อสิ้นรัชกาลได้ ออกบวชเป็นเวลาร่วม 20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีก ครั้ง
สุนทรภู่เป็นกวีที่ วีที่ มีความ ชำ นาญทางด้านกลอน ได้ สร้างขนบการประพันธ์กลอน นิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่ จนกลายเป็นที่นิยมอย่าง กว้า ว้ งขวางสืบเนื่องมาจน กระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่ มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มี มากมายหลายเรื่อ รื่ ง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณเพลงยาวถวายโอวาท กาพย์ พระไชยสุริย ริ า และ พระอภัย มณี เป็นต้น
โดยเฉพาะเรื่อ รื่ ง พระ อภัยมณี ได้รับ ยกย่องจาก วรรณคดีสโมสรว่า ว่ เป็นยอดของ วรรณคดีประเภท กลอนนิทาน และเป็น ผลงานที่แสดงถึง ทักษะ และความรู้
ปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชย สุริย ริ า นิราศพระบาท และอีก หลาย ๆ เรื่อ รื่ ง ปี พ.ศ. 2529 ในโอกาสครบ รอบ 200 ปีชาตกาล สุนทรภู่ ได้รับยกย่องจากองค์การยู เนสโกให้เป็นบุคคลสำ คัญ ของโลกด้านงานวรรณกรรม ผลงานของสุนทรภู่ยังเป็นที่ นิยมในสังคมไทย
อ้างอิง ประวัติสุทรภภู่