SACIT
โครงการยกระดับคุณภาพการผลิตและ
ผลิตภัณฑ์ด้วยเทคโนโลยีผสานภูมิปัญญา
ประจำปีงบประมาณ 2565
SACIT 01 01 กลุ่มทอผ้ามัดหมี่โฮโบราณ ครูสุรโชติ ตามเจริญ 03 กลุ่มแม่บ้านผลิตภัณฑ์จักสานคลุ้มบ้านของโอน
จังหวัดสุรินทร์ ครูจิตรา พวงกัน จังหวัดสุรินทร์
ด้านคุณภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์
02 กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านหนองหญ้าปล้องพังโคน 04 กลุ่มกระจูดบ้านทอนอามาน ครูพัชรินทร์ บินเจ๊ะมิง
สิ่งทอและจักสาน ครูสุนทร แสงลุน จังหวัดสกลนคร จังหวัดนราธิวาส
SACIT 02
01 กลุ่มทอผ้ามัดหมี่โฮโบราณ ครูสุรโชติ ตามเจริญ
จังหวัดสุรินทร์
SACIT 03
ครูสุรโชติ ตามเจริญ
ครูสุรโชติ ตามเจริญ ผู้สืบทอดองค์ความ
รู้การทอผ้าโฮส รุ่นที่ 3 จากการที่ได้มา
เป็นเขยสุรินทร์และเห็นคุณยาย ของ
ภรรยาทอผ้าและมัดหมี่ลายฟ้า ด้วยความ
คุ้นเคยในวัฒนธรรมการทำผ้าโฮสโบราณ
จึงเกิดความสนใจที่จะ เรียนรู้และฝึกฝน
การมัดหมี่ การย้อมสีธรรมชาติจน
ชำนาญก่อเกิดเป็นความรักความผูกผัน
ในการสร้างสรรค์งานหัตถ์ศิลปที่เป็น
เอกลักษณ์ตามแบบดั้งเดิม โดยสืบค้น
ลายผ้าเก่าจากพิพิธภัณฑ์ หนังสือผ้า
โบราณ รังสรรค์เป็นผืนผ้าให้กลับอวด
โฉมอีกครั้ง เพื่อรักษามรดกทาง
ภูมิปัญญานี้ไวไม่ให้สูญหาย
SACIT 04
เอกลักษณ์ที่โดดเด่น
เอกลักษณ์ที่ทำให้ผ้าโฮสของครูสุรโชติมีความโดดเด่นงดงาม คือ
การเลือกใช้ "ไหมน้อย" หรือไหมเส้นในสุด
05SACIT
กรรมวิธีและขั้นตอนการทำงาน
นำเส้นไหมน้อยมามัดหลายอย่างน้อย 21 ลำ ตามลวดลายโบราณที่ต้องการ
นำเส้นไหมที่ลอกกาวออก ไปแช่น้ำสะอาดประมาณ 1 คืน (ไม่ใช่นำประปาหรือน้ำ
เค็ม)
ตักน้ำครั่งที่เตรียมไว้ลงในหม้อ 20 ลิตร ตั้งบนเตาไฟต้มให้เดือด นำใบไม้ที่เป็น
สารจับสีใส่ลงไป ได้แก่ ใบมะขาม 1 กำมือ ใบชงโค 1 กำมือ ใบเหมือนแอ 1 กำมือ
สารต้มตำ 1 ช้อนชา
ตักน้ำครั่งที่เตรียมไว้ ใส่ในหม้อที่ไม่ได้ต้มพอท่วมเส้นไหม เติมสารส้มป่นครึ่งช้อน
ชา แล้วตักน้ำครั่งที่ต้มเดือดแล้วประมาณ 1 ลิตร เทผสมกับน้ำครั่งเย็นพออุ่น ๆ
นำเส้นไหมที่เตรียมไว้ชุบน้ำให้เปียกพอหมาก ๆ ลงไปแช่น้ำอุ่นในกะละมัง และนวด
เส้นไหมเบา ๆ ให้น้ำสีซึมเข้าไปในเส้นไหมให้ทั่วประมาณ 10 นาที
ยกเส้นไหมขึ้น แล้วบิดน้ำให้ออกพอหมาด ๆ นำน้ำครั่งที่ใช้นวดเส้นไหม เทใส่หม้อ
ต้มรวมกัน พอน้ำเดือดจัดนำเส้นไหมลงไปต้ม
ต้มน้ำครั่งไปเรื่อย ๆ กับเส้นไหมไปเรื่อย ๆ จนสีของน้ำครางจางและใส (โดยตักน้ำ
ต้มแล้วเทลงลักษณะสีน้ำครั่งใส) แล้วยกห่วง เอาเส้นไหมขึ้นจากหม้อต้ม
นำเส้นไหมไปตาก บิดเส้นไหมให้น้ำที่ย้อมออกมาจนหมด และกระตุกเส้นไหมให้น้ำ
และเศษใบไม้หลุด แล้วนำไปตากให้แห้ง (เมื่อยงไม่ได้สีตรงตามความต้องการให้
กลับไปทำใหม่)
เมื่อได้สีตามต้องการแล้ว ให้นำไปล้างน้ำฝนหรือน้ำประปา น้ำบ่อที่สะอาด จึงนำ
เส้นไหมที่เราทำไว้ไปตากให้แห้ง จากนั้นนำเส้นไหมไปเก็บรักษาหรือนำไปกรอ เพื่อใช่
ทอผ้าต่อไป
06 ต้นตำรับผ้าโฮลโบราณ
PRODUCT ผ้าโฮลโบราณ เป็นผ้าไหมมัดหมี่ของกลุ่มชา
ติพันธ์ุไทยเชื้อสายเขมรในจังหวัดสุรินทร์
SACIT
SACIT 07
กลุ่มทอผ้ามัดหมี่โฮโบราณ ครูสุรโชติ ตามเจริญ
จังหวัดสุรินทร์
4 หมู่ 8 ตำบลเขวาสิรินทร์
อำเภอเขวาสิรินทร์
จังหวัดสุรินทร์ 32000
โทร. 087 241 4420
SACIT 08
02 กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านหนองหญ้าปล้องพังโคน
ครูสุนทร แสงลุน จังหวัดสกลนคร
SACIT 09
ครูสุนทร แสงลุน
ครูสุนทร จัดตั้งกลุ่มจักสานตะกร้าหวา
ยลายขิด ตามแม่สุนทร เพื่อเผลแพร่ความรู้
ด้านหัตถกรรมจักสานให้แก่คนในชุมชนและผู้ที่
สนใจ เพื่อช่วยเสริมสร้างรายได้ อีกทั้งยังได้
เข้าไปบรรยายตามศุนย์ศิลปาชีพต่าง ๆ ที่
จังหวัดสกลนคร ด้านการสืบสานต่อสู่ทายาท
ครูสุนทร เล่าว่าลูกสาวทั้งลูกและหลานสามารถ
ทำหัตถกรรมเครื่องจักสานได้ เนื่องจา่กครู
สุนทรเป็นผู้ฝึกอบรมให้
SACIT 10
เอกลักษณ์ที่โดดเด่น
ลายทุกลายนำมาประยุกต์ลงเครื่องจักสานเป็นลายที่ออกแบบเองผ่านการสังเกต
จากชีวิตประจำวัน มีการนำลายผ้าอีสานเข้ามาประยุกต์ อายศัยความชำนาญ
11SACIT
กรรมวิธีและ
ขั้นตอนการทำงาน
ไม่ไผ่ ลำต้นหวาย ต้นกก
โดยนำวัสดุทั้งสามเข้ามาผสมกัน เนื่องจากมีคุณสมบัติเด่นแตกต่างกัน หวายมี
ความอ่อนและเหนียวใช้ดัดเป็นโครงทรงโค้งต่าง ๆ เช่น ฐานตะกร้าหรือที่จับตะกร้า
ส่วนไม่้ผ่โครงสร้างแข็งแรงใช้ทำโครงหลัก เพื่อให้สามารถสานต้นกกลงไปตามช่อง
วางระหว่างซี่ไม้ไผ่ และเพื่อเป็นการเสริมความคงทนให้กับผลิตภัณฑ์ ครูสุนทรจึง
นำต้นกกมาฉีกเป็นเส้น ๆ สายเปียคล้ายกับถักผมเปีย ก่อนนำมาสานโครงไม้ไผ่
บางชิ้นมีการเล่นสีด้วยการย้อมสียอมกก
SACIT 12
PRODUCT
ตะกร้าลายนาคนาคี ตะกร้าสานลายหงส์คู่และ
สองฝั่งโขง
ตะกร้าสานลายหงส์คู่ ตะกร้าลายช้าง
SACIT 13
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านหนองหญ้าปล้องพังโคน
ครูสุนทร แสงลุน จังหวัดสกลนคร
9 หมู่ 7 ตำบลพังโคน
อำเภอพังโคน
จังหวัดสกลนคร 47160
โทร. 083 346 5856
SACIT
ส ถ า บั น ส่ ง เ ส ริ ม
ศิ ล ป หั ต ถ ก ร ร ม ไ ท ย