The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Lamphun Economic Reports, 2021-09-15 04:30:41

รายงานภาวะเศรษฐกิจจ.ลำพูนเดือน ก.ค.64

EF Lamphun Report July 2021

Keywords: ภาวะเศรษฐกิจจ.ลำพุนเดือน ก.ค.64

รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลังจงั หวดั ลาพูน

Lamphun Economic & Fiscal Report

ฉบบั เดอื น 7/2564

รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลังจงั หวัดลำพูน ประจำเดอื น กรกฎาคม 2564

“เครื่องชี้เศรษฐกิจจังหวัดใน เดือน กรกฎาคม 2564 เศรษฐกิจของจังหวัดลำพูนหดตัวร้อยละ -1.5
หดตัวน้อยลงเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สะท้อนจากเครื่องชี้ด้านอุปทานที่มีการหดตัวในภาคบริการ
ขณะท่ีด้านอุปสงค์ที่ขยายตัวจากการบริโภคภาคเอกชนและการใช้จ่ายภาครัฐ สำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจ
โดยรวมของจังหวัดลำพูนปรับตัวลดลง ตามดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ลดลง ด้านการ
จา้ งงานปรับตวั ลดลงเล็กนอ้ ยจากความต้องการแรงงานของภาคบริการทล่ี ดลงเปน็ สำคัญ”

เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) พบว่าหดตัวร้อยละ -2.6 หดตัวน้อยลงเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน
ของปีก่อน สะท้อนจาก ดชั นีผลผลิตภาคบริการ หดตวั ในอัตราร้อยละ -7.3 หดตวั ใกล้เคียงเม่ือเทียบกับเดือนเดียวกัน
ของปีก่อน จากภาษีมูลค่าเพ่ิมหมวดโรงแรมและภัตตาคาร และยอดขายสินค้าทั้งปลีกและส่ง หดตัวรอ้ ยละ -20.3 และ
-7.5 ตามลำดับ ผลจากผู้ประกอบการมีการชำระภาษีลดลงจากปีก่อน เนอ่ื งจากการระบาดของโรคระบาดไวรัสโคโรนา
2019 (COVID -19) รอบที่ 3 ทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวลดลง และผู้ประกอบการชำระภาษีลดลงเล็กน้อย
เม่อื เทียบกับปีก่อน จากผลต่อเน่ืองของมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครฐั หลายโครงการสิ้นสดุ ลงเมื่อเดือนก่อนหน้า
เชน่ โครงการ “เราชนะ” ท่ีมีการจา่ ยเงินยอดสุดทา้ ยในเดือนมิถนุ ายน 2564 ถงึ แมจ้ ะมโี ครงการคนละคร่ึง เฟส 3 ทเี่ ริ่ม
ใช้จ่ายได้ในเดือน กรกฎาคม 2564 ก็ตาม แต่ประชาชนยังคงระมัดระวังการใช้จ่าย เนื่องจากความกังวลในเรื่อง
การระบาดของโรคฯ รอบที่ 3 ที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น ซึ่งทำให้ยอดขายสินค้าอุปโภคบริโภคปรับตัวลดลง
ขณะที่ ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือนกรกฎาคม 2564 ขยายตัวในอัตราร้อยละ 0.8 ฟื้นตัวเมื่อเทียบกับ
เดือนเดียวกันของปีก่อน จากการเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม และจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม
ที่ขยายตัว ร้อยละ 9.7 และ 2.0 ตามลำดับ ผลจากกระบวนการผลิตภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะการผลิตหมวด
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มชิ้นส่วนประกอบในคอมพิวเตอร์และการสื่อสารในเขตนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดลำพูน
การส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ยังคงขยายตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อน และดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรม ขยายตัว
เล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.9 ชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จากปริมาณผลผลิตมะม่วงและลำไย
เพม่ิ ข้ึน 49.2 และ 23.2 เม่อื เทยี บกับเดือนเดยี วกนั ของปีก่อน เนื่องจากสภาพอากาศท่ีมีความเหมาะสมทำให้ผลผลิต
มะม่วงมีปริมาณมาก สำหรับลำไยมีผลผลิตเพิ่มข้ึนเนื่องจากฐานการผลิตที่ต่ำในปีก่อน ประกอบกับกิจกรรมการ
เก็บเกี่ยวผลผลิตลำไยของเกษตรกรในปีนี้ประสบปัญหาขาดแคลนแรงงานในการเก็บเกี่ยว น้อยกว่าปีที่แล้วที่มี
มาตรการควบคุมการเคล่ือนย้ายของแรงงาน

เครอ่ื งช้ีด้านอปุ ทาน (Supply Side) ปี ปี 2563 2564
ก.ค. Q2 พ.ค. มิ.ย. ก.ค.
(สัดส่วนตอ่ GPP) 2563 11.2 Q1 16.0 3.6 60.8 0.9 YTD
-19.8 -1.7
ดชั นีผลผลติ ภาคเกษตรกรรม(%yoy) 0.7 -14.4 1.6 14.1 4.4 5.5 0.8 6.9
(โครงสรา้ งสดั สว่ น 23.9%) 6.8 r 3.4
-7.4 4.2 r -15.1 r -4.2 r -7.3
ดัชนีผลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม(%yoy) -4.0 r
(โครงสรา้ งสดั ส่วน 48.0%)

ดชั นผี ลผลติ ภาคบรกิ าร(%yoy) -12.2 r
(โครงสรา้ งสดั สว่ น 28.1%)

หมายเหตุ r หมายถงึ revised หรอื การปรับปรุงข้อมูลยอ้ นหลัง

กลมุ่ งานบริหารการคลงั และเศรษฐกิจ สานกั งานคลงั จงั หวดั ลาพูน โทรศพั ท์ 053-512057 ต่อ 302, 304 E-mail: [email protected] หนา้ 1

เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) ขยายตัวในอัตราร้อยละ 3.8 ฟื้นตัวเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน
ของปีก่อนสะท้อนจาก ดชั นีการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวในอัตราร้อยละ 6.5 เมอื่ เทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน
สะท้อนจากเครื่องชี้ที่สำคัญทุกชนิดขยายตัว อาทิ จำนวนรถยนต์นั่งส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า
ของครัวเรือนที่อยู่อาศัย และจำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ที่ขยายตัวร้อยละ 24.4, 4.9 และ 3.7 ตามลำดับ
ผลจากกระบวนการผลิตภาคอุตสาหกรรมในเขตนิคมอุตสาหกรรมลำพูนกลับมาดำเนินการตามปกติ แรงงาน
มีการกลับมาทำงานตามปกติ ทำให้มีการซื้อรถยนต์นั่งส่วนบุคคลและจักรยานยนต์เพื่อใช้งานเพิ่มขึ้น
ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ ขยายตัวในอัตราร้อยละ 6.8 โดยรายจ่ายลงทุนมีการเบิกจ่ายขยายตัวร้อยละ 9.6 จากการ
เรง่ เบกิ จา่ ยงบลงทุนโครงการขนาดใหญ่ในจังหวดั ลำพูน อาทเิ ช่น โครงการก่อสร้างถนนทางหลวงหมายเลข 116 ป่าสัก-
สะปุ๋งของแขวงทางหลวงจังหวัดลำพูน และรายจ่ายประจำมีอัตราการเบิกจ่ายขยายตัวร้อยละ 6.8 เมื่อเทียบกับ
เดือนเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายของส่วนราชการในจังหวัดลำพูน ในขณะท่ี
ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน หดตัวในอัตราร้อยละ -2.7 ปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จากเครื่องชี้
ที่สำคัญทุกชนิดหดตัว อาทิพื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้างรวม จำนวนรถยนต์พาณิชย์จดทะเบียนใหม่และสินเชื่อเพ่ือ
การลงทนุ ทหี่ ดตัว รอ้ ยละ -11.0, -6.8 และ -0.2 ตามลำดับ เน่อื งจากความกังวลใจของภาคธรุ กจิ ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ระลอกที่ 3 ที่กลับมาแพร่ระบาดส่งผลกระทบให้มีการชะลอ
การลงทนุ ไวก้ ่อน

เคร่อื งช้ีด้านการใช้จ่าย ปี 2563 ปี 2563 Q1 Q2 ปี 2564
(Demand Side) ก.ค. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. YTD

ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน(%yoy) -13.3 r -17.5 -1.8 4.4 4.9 5.1 6.5 1.9

ดัชนกี ารลงทุนภาคเอกชน(%yoy) 1.5 2.4 -1.3 -0.9 0.7 -0.8 -2.7 -1.5

ดัชนกี ารใชจ้ ่ายภาครัฐ(%yoy) 2.2 10.0 14.6 11.2 13.1 4.9 6.8 11.9

หมายเหตุ r หมายถึง revised หรอื การปรบั ปรงุ ข้อมูลยอ้ นหลัง

ด้านรายได้เกษตรกรในจังหวัด เดือน กรกฎาคม 2564 หดตัวในอัตราร้อยละ -3.6 ปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับ
เดือนเดียวกันของปีก่อน จากดัชนีราคาผลผลิตภาคเกษตรกรรมท่ีลดลงร้อยละ -4.4 ผลจากความต้องการสินค้าเกษตร
ที่สำคัญลดลง โดยเฉพาะลำไยซึ่งเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของจังหวัดลำพูน เนื่องจากการระบาดของโรคระบาดไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID -19) รอบท่ี 3 ในประเทศ ทำให้ประเทศค่คู ้าสำคัญอย่างประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งเป็น
ผู้นำเข้าลำไยรายใหญ่จากไทยมีการชะลอตัวของการสั่งซื้อ ประกอบกับผลผลิตในประเทศเวียดนามมีปริมาณเพิ่มข้ึน
นำเข้าลำไยจากไทยเพื่อไปอบแห้งลดลง และปริมาณมะม่วงที่มีผลผลิตออกมาจำนวนมากในเดือนปัจจุบัน ทำให้มี
ผลผลติ ล้นตลาดสง่ ผลให้สนิ ค้าเกษตรทัง้ 2 ชนิดราคาลดลง

เคร่ืองช้รี ายได้เกษตรกร ปี 2563 ปี 2563 Q1 Q2 ปี 2564
และดา้ นการเงิน ก.ค. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. YTD

ดัชนรี ายได้เกษตรกร (%yoy) -3.5 5.5 -29.1 5.8 7.9 63.3 -3.6 -7.1

ปริมาณเงินฝากรวม (%yoy) 6.4 10.8 2.0 6.6 -0.1 -0.4 -0.7 -0.4

ปรมิ าณสินเชอ่ื รวม (%yoy) 0.1 0.1 0.1 1.0 1.0 -0.3 -0.2 -0.3

กลมุ่ งานบริหารการคลงั และเศรษฐกิจ สานกั งานคลงั จงั หวดั ลาพูน โทรศพั ท์ 053-512057 ต่อ 302, 304 E-mail: [email protected] หนา้ 2

ด้านการเงิน พบว่าสภาพคล่องในระบบสถาบันการเงินมีปริมาณสินเชื่อรวมสูงกว่าปริมาณเงินฝากรวม
โดยปริมาณสินเชื่อรวมมียอดสะสมรวม 44,134.4 ล้านบาท หดตัวในอัตรา ร้อยละ -0.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน
ของปีก่อน สำหรับด้านปริมาณเงินฝากรวมมียอดสะสมรวม 42,997.4 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -0.7 เมื่อเทียบกับ
เดือนเดยี วกนั ของปีกอ่ น

เสถียรภาพเศรษฐกิจ พบว่าอัตราเงินเฟ้อของจังหวัดลำพูนในเดือนกรฎาคม 2564 หดตัวในอัตรา
ร้อยละ -3.8 สะท้อนจากดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์หดตัวในอัตราร้อยละ -9.9 สำหรับ
การจ้างงานหดตัวลงเล็กน้อย อยูท่ ่ีรอ้ ยละ -3.2เน่ืองจากความต้องการแรงงานที่ลดลงตามการหดตัวของภาคบริการ

เครือ่ งช้เี สถียรภาพเศรษฐกิจ ปี 2563 ปี 2563 Q1 ปี 2564 ก.ค. YTD
ก.ค. -5.3 Q2 พ.ค. ม.ิ ย. -3.8 -4.0
0.3 -2.7 r -2.5 r -3.4 -3.2 -0.1
อัตราเงนิ เฟอ้ (Inflation) (%yoy) -0.1 0.6 0.5 r 0.5 r 0.5 r

การจ้างงาน (Employment) (%yoy) -0.2 -0.6

หมายเหตุ r หมายถึง revised หรอื การปรบั ปรงุ ข้อมูลย้อนหลงั

ด้านการคลังในเดือน กรกฎาคม 2564 พบว่าผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณในภาพรวม มีจำนวน 599.9
ล้านบาท หดตวั ในอัตรารอ้ ยละ -8.6 เมอื่ เทียบกบั เดอื นเดียวกันของปีกอ่ น จากรายจา่ ยลงทุนมกี ารเบิกจา่ ยจำนวน 81.8
ล้านบาท หดตัวในอัตราร้อยละ -54.7 สำหรับหน่วยงานที่มีผลเบิกจ่ายลงทุนสูงสุด ได้แก่ แขวงทางหลวงลำพูน
แขวงทางหลวงชนบทลำพูน และโครงการชลประทานลำพูน ขณะท่ีการเบิกจ่ายรายจ่ายประจำมีการเบิกจ่ายจำนวน
518.2 ล้านบาท ขยายตัวในอัตราร้อยละ 8.9 สำหรับหน่วยงานที่มีผลเบิกจ่ายประจำสูงสุด ได้แก่ องค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดลำพูน ทที่ ำการปกครองจงั หวดั ลำพนู และเทศบาลเมืองลำพนู

เครือ่ งช้ดี า้ นการคลงั ปีงบประมาณ ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564
(FY) พ.ศ.2563

พ.ศ.2563 ก.ค.. Q1/FY64 Q2/FY64 Q3/FY64 พ.ค.64 มิ.ย.64 ก.ค.64 YTD (FY)

รายได้จดั เกบ็ (ลา้ นบาท) 2,846.5 418.6 694.2 589.2 740.6 327.7 218.0 325.6 2,349.6

%yoy 4.6 r 33.2 -3.3 -1.7 15.5 48.7 9.7 -22.2 -1.2

ความแตกต่างเทียบกบั ประมาณการ 69.2 40.0 170.7 -208.6 137.6 91.5 73.5 115.4 1,447.4
(ลา้ นบาท)

รอ้ ยละความแตกตา่ งเทียบกบั 2.5 10.6 32.6 -26.1 22.8 38.8 50.9 54.9 160.4
ประมาณการ
30.7 417.9
รายได้นำสง่ คลัง (ล้านบาท) 643.1 84.8 150.4 114.1 122.7 34.6 48.1 -63.8 -24.1
599.9 6,315.8
%yoy -1.4 r 74.8 -12.1 -11.2 -26.2 -25.5 27.5 -8.6 11.3
518.2 5,051.4
รายจา่ ยรวม (ล้านบาท) 7,194.4 656.5 1,723.3 1,985.6 2,007.0 637.8 677.3 8.9 4.5
81.8 1,264.4
%yoy -9.7 r 16.3 8.8 25.8 8.2 8.7 -0.2 -54.7 50.3
-569.3 -5,897.9
-รายจา่ ยประจำส่วนราชการ (ลา้ นบาท) 5,910.5 476.0 1,546.6 1,512.5 1,474.1 507.8 490.0 210.2 902.2

%yoy -3.5 r 1.9 9.3 4.8 -1.5 7.1 -8.7

-รายจ่ายลงทนุ ส่วนราชการ (ลา้ นบาท) 1,283.9 180.5 176.7 473.1 532.9 130.0 187.3

%yoy -33.8 r 85.0 4.3 252.2 49.2 15.5 32.2

ดลุ เงนิ งบประมาณ (ลา้ นบาท) -6,551.3 -571.7 -1,572.9 -1,871.5 -1,884.3 -603.2 -629.2

ประมาณการ 2,777.4 378.6 523.5 797.8 603.0 236.2 144.5

หมายเหตุ 1. รายจ่ายเงนิ งบประมาณรวมเฉพาะส่วนราชการ ไม่รวมองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

2. ดุลเงนิ งบประมาณ คำนวณจากรายไดน้ ำสง่ คลังหักรายจ่ายเงินงบประมาณรวม

3. r หมายถึง revised หรอื การปรับปรงุ ขอ้ มูลยอ้ นหลัง

กลมุ่ งานบริหารการคลงั และเศรษฐกิจ สานกั งานคลงั จงั หวดั ลาพนู โทรศพั ท์ 053-512057 ตอ่ 302, 304 E-mail: [email protected] หนา้ 3

ด้านผลการจัดเก็บรายได้ มีผลการจัดเก็บรายได้จำนวนทั้งสิ้น 325.6 ล้านบาท หดตัวในอัตราร้อยละ -22.2

เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน สำหรับรายได้นำส่งคลัง มีจำนวนทั้งสิ้น 30.7 ล้านบาท หดตัวในอัตราร้อยละ

-63.8 เป็นผลจากการจัดเก็บรายได้ของทุกหน่วยงานลดลง ยกเว้นด่านศุลกากร เนื่องจากมีการนำเข้าสินค้าประเภท

เครอื่ งจักร และวัสดุช้ินส่วนประกอบในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการส่ือสารของโรงงานในเขตนิคมอุตสาหกรรม

จังหวัดลำพูน

สำหรับดุลเงินงบประมาณ ในเดือนกรกฎาคม 2564 ขาดดุลจำนวน -569.3 ล้านบาท จากผลการเบิกจ่าย

เงินงบประมาณรวมสูงกวา่ รายได้นำส่งคลัง สะท้อนจากนโยบายการคลังของภาครฐั ในการสนับสนุนเศรษฐกจิ จังหวัด
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สะสมตั้งแตต่ น้ ปีงบประมาณจนถงึ เดือน กรกฎาคม 2564

หนว่ ย : ลา้ นบาท

(A) (B) (C) (D) (E)

รายการ งบประมาณ ผลการเบกิ จา่ ย ร้อยละ เปา้ หมายการเบกิ จา่ ย

ที่ได้รับจดั สรร จริง การเบิกจา่ ย (รอ้ ยละ)

1. รายจ่ายจริงปงี บประมาณปัจจบุ นั 6,850.0 5,918.2 86.4 100

1.1 รายจา่ ยประจำ 5,363.0 5,051.4 94.2 -

1.2 รายจา่ ยลงทนุ 1,487.0 866.8 58.3 100

2. รายจ่ายงบประมาณเหลอ่ื มปี 447.0 397.6 88.9 -

2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 447.0 397.6 88.9 -

2.2 ก่อนปีงบประมาณ พ.ศ.2563 - - - -

3. รวมการเบิกจา่ ย (1+2) 7,297.0 6,315.8 86.6 -

ทม่ี า 1.รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

2.ระบบฐานข้อมลู การคลังและเศรษฐกิจของจังหวัด (Database CFO) ในสว่ นของเงินเดอื นจา่ ยตรง และบำนาญจ่ายตรง

กราฟผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เทียบกับเปา้ หมายการเบิกจา่ ยสะสมตง้ั แต่ตน้ ปีงบประมาณจนถึงเดอื น กรกฏาคม 2564

ภาพรวม
เป้าหมาย ผลการเบิกจ่าย
100 100
83.9 86.4
80 72.8 77.2 82.6 77 85 92
60 64.3
53.1 56.1 62 69

45.3 54
40 33.9 47
39
32
20 21

11
-

ต.ค.-63
พ.ย.-63
ธ.ค.-63
ม.ค.-64
ก.พ.-64
มี.ค.-64
เม.ย.-64
พ.ค.-64
มิ.ย.-64
ก.ค.-64
ส.ค.-64
ก.ย.-64

ท่มี า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)

กลมุ่ งานบริหารการคลงั และเศรษฐกิจ สานกั งานคลงั จงั หวดั ลาพูน โทรศพั ท์ 053-512057 ตอ่ 302, 304 E-mail: [email protected] หนา้ 4

กราฟผลการเบกิ จ่ายงบประมาณงบลงทุนประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เทยี บกบั เป้าหมายการเบิกจา่ ยสะสมตงั้ แต่ตน้ ปีงบประมาณจนถึงเดอื น กรกฏาคม 2564

งบลงทนุ 100

100 เป้าหมาย ผลการเบิกจา่ ย

88

80 77
58 65
60 52
40 45 38.2 46.4 54.0 58.3
37
28

20 13 20 27.0

- 7 1.0 3.4 7.0 12.9
0.4
ต.ค.-63
พ.ย.-63
ธ.ค.-63
ม.ค.-64
ก.พ.-64
ีม.ค.-64

เม.ย.-…
พ.ค.-64
ิม.ย.-64
ก.ค.-64
ส.ค.-64
ก.ย.-64

ท่ีมา : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)

ผลการเบกิ จ่ายงบลงทนุ ของหนว่ ยงานที่ได้รบั งบประมาณจดั สรรต้งั แต่ 100 ลา้ นบาท ขนึ้ ไป
สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือน กรกฎาคม 2564

หน่วย : ลา้ นบาท

ลำดับที่ สว่ นราชการ เงนิ ประจำ ก่อหนี้ ร้อยละ เบกิ จ่าย ร้อยละการ
งวด การกอ่ หนี้ เบิกจ่าย

1 แขวงทางหลวงลำพนู 356.5 34.5 9.7 277.6 77.9

2 แขวงทางหลวงชนบทลำพนู 169.7 38.6 22.7 110.5 65.1

3 โครงการชลประทานลำพูน 233.8 53.6 22.9 81.4 34.8
รวม 760.0 126.7 16.7 469.5 61.8

ท่ีมา : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

หน่วยงานที่มีรายจ่ายลงทุนวงเงินตั้งแต่ 100 ล้านบาทขึ้นไป มีจำนวน 3 หน่วยงาน รวมมีการเบิกจ่าย

469.5 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 61.8 ของงบลงทุนทไ่ี ดร้ ับจดั สรร

ผลการเบิกจา่ ยงบลงทนุ ของหนว่ ยงานทีไ่ ด้รบั งบประมาณจดั สรรตง้ั แต่ 10 ถงึ 100 ลา้ นบาท

สะสมตั้งแต่ต้นปงี บประมาณจนถงึ เดอื น กรกฎาคม 2564

หน่วย : ลา้ นบาท

ลำดบั สว่ นราชการ เงนิ ประจำ กอ่ หนี้ รอ้ ยละ เบิกจ่าย ร้อยละการ
ที่ งวด การกอ่ หนี้ เบกิ จา่ ย

1 สำนักงานจงั หวัดลำพนู 81.4 16.6 20.4 64.8 79.6
2 สถานพี ฒั นาทดี่ ินลำพูน
21.8 0.1 0.5 20.2 92.7

3 ทที่ ำการปกครองจังหวัดลำพนู 18.1 8.0 44.2 9.3 51.4

รวม 121.3 24.7 20.4 94.3 77.7

ทมี่ า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลังภาครฐั แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

หน่วยงานที่มีรายจ่ายลงทุนวงเงินตั้งแต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท จำนวน 3 หน่วยงาน รวมผลการเบิกจ่าย

94.3 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 77.7 ของงบรายจ่ายลงทุนท่ีได้รับจดั สรร

กลมุ่ งานบริหารการคลงั และเศรษฐกิจ สานกั งานคลงั จงั หวดั ลาพูน โทรศพั ท์ 053-512057 ต่อ 302, 304 E-mail: [email protected] หนา้ 5

เครอื่ งชี้ภาวะเศรษฐกจิ การคลังจงั หวัด (Economic and Fiscal) รายเดอื น
ตารางท่ี 1 เครื่องชเ้ี ศรษฐกิจ

เครอ่ื งชีเ้ ศรษฐกิจ หนว่ ย ปี 2563 ปี 2563 Q1 Q2 ปี 2564 ก.ค. YTD
ก.ค. พ.ค. ม.ิ ย.
GPP Index -10.5 r 0.9 r 8.5 r -1.5 3.7
เศรษฐกจิ ดา้ นอุปทาน -12.0 r -6.1 -0.4 r 9.4 r -2.8 r 8.9 r -2.6 3.4
-7.3 -5.0 r 10.4 r
ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรม 0.7 -19.8 16.0 0.9 -1.7
(โครงสร้างสัดส่วน 23.9%) %yoy 11.2 3.6 60.8
ปริมาณผลผลิต : 65,756.1 0.0 12,049.0 0.0 12,049.0
ข้าวเหนียว : ตัน 5.1 0.0 0.0 146.4 6,501.4 0.0 0.0 146.4
%yoy 0.0 712.8 19.0 174.1 n.a. 0.0 731.8
ปริมาณผลผลติ : ตัน 30,636.9 7.5 20,864.7 -97.6 11.5 7.5 n.a. -8.1
ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ %yoy -19.4 0.0 2,252.2 71.6 -98.2 -88.9 0.0 2,323.8
ตัน 2,826.3 0.0 17.6 -88.1 2.3 0.0 0.0 -7.6
ปรมิ าณผลผลิต : %yoy -3.9 0.0 940.6 27.3 0.0 0.0 0.0 967.9
หอมแดง ตัน 1,531.5 0.0 -18.9 -92.7 7.0 0.0 0.0 -36.8
%yoy -47.1 0.0 94.4 0.0
ปรมิ าณผลผลติ : ตนั 24,038.0 11,379.4 51,723.5 87,140.9
กระเทียม %yoy 157,237.2 41,996.2 -43.1 119.1 1,431.3 7,815.3 23.2 -2.5
ตัน -8.1 33.9 0.0 140,181.6
ปริมาณผลผลิต : %yoy 0.0 486.4 66.4 110.9 19,208.4 159,390.0
ลำไย 49,685.0 12,871.5 16,714.0 49.2 333.4
ตัว 64.3 30.3 15,672.0 -20.1 18,268.3 121,913.3 5,830.0 38,216.0
ปริมาณผลผลิต : %yoy 6,920.0 -27.5 11,820.2 47.4 1,061.2 -15.8 -22.7
มะมว่ ง ตัน 80,263.0 -3.3 -8.0 3,840.3 26,662.0
%yoy -7.0 4,275.9 11,001.5 5,898.0 5,830.0 -10.2 -10.8
จำนวนอาชญาบัตร : 5.5 -13.8 14.1
สุกร1 %yoy 48,331.7 -11.0 -14.4 0.8 6.9
3.9 -14.4 1.6 238.5 4,272.8 3,879.1
ปรมิ าณผลผลติ : ลา้ นบาท 5.5 89.1 543.0
นำ้ นมดบิ %yoy -4.0 r 81.2 215.5 61.1 -4.0 -4.4 9.7 2.4
ดัชนผี ลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม ลา้ นบาท -6.8 -3.4 32.3 16.3 138.6
โครงสร้างสดั ส่วน 48.0%) %yoy 920.8 17.3 61.2 35,697.3 4.4 5.5 -6.0 7.8
ปริมาณการใช้ไฟฟา้ ล้านบาท -4.8 -31.2 -5.9 15.4 35,567.3 35,567.3
ภาคอตุ สาหกรรม %yoy 226.1 r 36,365.1 35,516.3 466 84.8 82.1 -2.2 14.3
แห่ง -21.7 r -14.5 15.6 9.7 11.2 10.8 466 466
ภาษมี ูลค่าเพิม่ หมวด %yoy 35,526.0 457 459 18.7 22.2 2.0 8.2
อุตสาหกรรม 15.5 -5.8 11.0 4.2 r 15.0 21.4
%yoy 463 35,636.1 35,697.3 -7.3 3.4
ทนุ จดทะเบยี นของโรงงาน 11.5 -7.4 6.8 r 7,454.2 r -1.7 -1.6
อตุ สาหกรรม ล้านบาท 4.1 r 464 466 2,469.9 16,860.8
%yoy -12.2 2,670.9 6,936.7 2.7 2.6 -7.5 4.8
จำนวนโรงงานอุตสาหกรรม* ลา้ นบาท -5.3 10.9 38.3
%yoy 29,032.3 -0.6 -15.1 r -4.2 r 13.1 81.8
ดัชนผี ลผลิตภาคบริการ ล้านบาท -11.2 12.5 30.3 5.1 -0.1
(โครงสรา้ งสดั ส่วน 28.1%) -1.2 -1.6 0.5 2,508.8 2,136.2 r
%yoy 136.7 31.2 -16.3 -4.9 r 0.2 1.4
ยอดขายสนิ คา้ ทง้ั ปลกี และส่ง 1.0 0.2 0.7 -20.3 -32.8
3.9 r -57.1 -51.6 r 13.3 13.0
ปรมิ าณการใช้ไฟฟา้ -43.3 r 2.6 1.8
ภาคบรกิ าร
0.2 0.1
ภาษีมลู คา่ เพมิ่ หมวดโรงแรม 7.5 16.4
และภัตตาคาร

กลมุ่ งานบริหารการคลงั และเศรษฐกิจ สานกั งานคลงั จงั หวดั ลาพูน โทรศพั ท์ 053-512057 ต่อ 302, 304 E-mail: [email protected] หนา้ 6

เครอ่ื งช้ีเศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2563 ป2ี 563 Q1 Q2 ปี 2564 ก.ค. YTD
ก.ค. พ.ค. ม.ิ ย.
เศรษฐกจิ ดา้ นอุปสงค์ %yoy -4.8 r 5.0 5.6 3.8 5.0
คนั -13.3 r -0.6 -1.8 4.4 6.9 3.3 6.5 1.9
ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกชน %yoy 785 -17.5 252 196 4.9 5.1 56 504
จำนวนรถยนต์นง่ั ส่วนบคุ คล คนั -34.7 45 -16.8 8.3 63 55 24.4 -4.7
จดทะเบียนใหม่ %yoy 6,470 -49.4 1,947 1,891 16.7 -3.5 614 4,452
จำนวนรถจกั รยานยนต์ ล้าน kwh -19.8 592 13.2 47.7 520 738 3.7 23.9
จดทะเบยี นใหม่ %yoy 269.2 -18.2 57.7 79.5 55.2 60.1 26.3 163.6
ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้าของครัวเรือนท่ี %yoy 7.4 25.1 -1.3 -5.4 27.9 26.9 4.9 -2.4
อยอู่ าศยั ล้านบาท 1.5 0.7 -1.3 -0.9 2.7 -4.2 -2.7 -1.5
ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน %yoy 13,245.5 2.4 13,257.9 39,820.9 0.7 -0.8 13,240.3 13,240.3
ตรม. 0.1 13,261.9 13,385.7 13,201.4 -0.2 -0.2
สนิ เช่อื เพอื่ การลงทุน %yoy 522,805.9 0.1 0.1 0.2 42,382.7 301,956.7
คนั 13.1 47,613.4 120,760.3 138,813.7 1.0 -0.3 -11.0 -6.4
พนื้ ที่ได้รับอนุญาต %yoy 561 19.3 53,616.0 42,382.7 41 333
ให้กอ่ สรา้ งรวม %yoy -26.8 44 -4.8 -6.3 -6.8 -3.8
จำนวนรถยนตพ์ าณิชย์ท่ี ลา้ นบาท 2.2 -36.2 161 131 -0.6 -4.2 6.8 11.9
จดทะเบยี นใหม่ %yoy 7,991.9 10.0 -15.3 17.0 37 42 693.2 4,669.0
ดชั นีการใช้จา่ ยภาครัฐ ลา้ นบาท 0.9 r 649.1 14.6 11.2 8.8 13.5 6.8 3.0
%yoy 1,779.9 7.3 2,074.4 2,033.2 13.1 4.9 240.8 1,821.5
รายจ่ายประจำ 15.1 r 219.6 7.3 r 4.2 r 672.1 655.1 9.6 87.4
%yoy 85.0 6.6 r -5.3 r
รายจา่ ยลงทุน %yoy -3.5 780.3 247.5 -3.6 -7.1
%yoy 0.7 5.5 153.6 r -44.3 r 249.6 321.6 0.9 -1.7
ด้านรายได้ (Income) -3.6 r 11.2 62.7 r 75.6 r -4.4 -5.5
ดัชนรี ายไดเ้ กษตรกร ลา้ นบาท -5.1
ดัชนผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม %yoy 43,254.2 -29.1 5.8 7.9 63.3 42,997.4 42,997.4
ดชั นีราคาผลผลิตภาคเกษตรกรรม ล้านบาท 6.4 43,321.2 -19.8 16.0 3.6 60.8 -0.7 -0.4
ดา้ นการเงนิ (Financial) %yoy 10.8 -11.6 -3.7 4.2 1.5
44,151.7 44,134.4 44,134.4
ปริมาณเงนิ ฝากรวม 2558 0.1 44,206.3 42,027.8 43,251.5 42,407.4 42,975.8 -0.2 -0.3
=100 0.1 2.0 6.6 -0.1 -0.4
ปรมิ าณสนิ เชือ่ รวม %yoy 132.8 128.2 127.2
%yoy 133.2 44,193.1 44,692.5 44,618.8 44,004.6
ด้านเสถียรภาพเศรษฐกจิ (Stability) %yoy -0.1 0.1 1.0 1.0 -0.3 -3.8 -4.0
ดชั นีราคาผบู้ รโิ ภคท่ัวไป 2558 4.2 0.6 -9.9 -8.9
=100 -2.5 6.1 126.4 127.5 r 127.3 r 127.9 1.2 0.0
(อัตราเงนิ เฟอ้ ทั่วไป) %yoy -2.6 107.4 107.4
- อาหารและเคร่ืองดม่ื 2558 111.6 -5.3 -2.7 r -2.5 r -3.4
- ไม่ใช่อาหารและเคร่อื งดื่ม =100 111.4 -8.6 -8.9 -8.9 -9.0 -3.6 -3.6
%yoy 0.0 -2.4 2.2 2.6 1.1
ดชั นรี าคาผู้บรโิ ภคพ้นื ฐาน คน 1.0 107.3 107.4 107.4 107.4 102.2 100.8
(อตั ราเงนิ เฟอ้ พื้นฐาน) 97.7
%yoy 97.3 -3.7 -3.6 -3.5 -3.9 r 5.0 3.3
ดชั นีราคาผผู้ ลิต -1.6 254,280 254,280
(อตั ราการเปล่ยี นแปลง) 258,367 -2.4 97.7 98.0 101.6 102.1
262,568 -1.2 -3.2 -0.1
การจา้ งงาน (Employment) -0.2 253,209 1.7 5.8 5.5
-0.6 0.3 250,175 r 250,175 r 250,175 r

0.5 r 0.5 r 0.5 r

กลมุ่ งานบริหารการคลงั และเศรษฐกิจ สานกั งานคลงั จงั หวดั ลาพนู โทรศพั ท์ 053-512057 ต่อ 302, 304 E-mail: [email protected] หนา้ 7

ตารางที่ 2 เครอื่ งชด้ี า้ นการคลงั

เครื่องชี้ด้านการคลงั ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
หน่วย พ.ศ.2563 พ.ศ. 2563

(FY) ก.ค. Q1/FY64 Q2/FY64 Q3/FY64 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. YTD (FY)

ด้านการคลัง

รายได้จัดเกบ็ ล้านบาท 2,846.5 418.6 694.2 589.2 740.6 327.7 218.0 325.6 2,349.6

%yoy 4.6 r 33.2 -3.3 -1.7 15.5 48.7 9.7 -22.2 -1.2

สรรพากรพ้นื ท่ลี ำพูน ล้านบาท 2,516.8 375.4 641.3 519.6 681.5 310.9 193.1 308.4 2,150.7

%yoy 1.2 r 26.1 -2.7 7.5 19.2 50.1 2.8 -17.8 2.9

สรรพสามิตพน้ื ท่ี ลา้ นบาท 32.1 2.2 6.9 6.9 8.0 3.0 2.2 1.9 23.7
ลำพูน %yoy -18.2 -18.0 -17.7 -40.3 40.2 5.9 -0.3 -11.7 -14.8

ดา่ นศุลกากร ล้านบาท 72.7 5.0 32.6 40.6 32.1 9.1 12.4 11.1 116.3

%yoy -22.9 r -32.6 53.7 91.9 132.4 132.3 193.6 123.8 90.4

ธนารักษพ์ ื้นท่ี ลา้ นบาท 2.1 0.0 0.3 0.8 0.1 0.0 0.0 0.0 1.2
%yoy 8.7 r -20.9 -58.4 -20.0 -37.6 -36.9 -16.5 -32.0 -35.9

หนว่ ยงานอนื่ ล้านบาท 222.9 36.1 13.1 21.3 19.0 4.6 10.4 4.1 57.6
%yoy 112.5 r 457.1 -53.7 -74.2 -61.9 -28.4 125.6 -88.5 -70.8

รายไดน้ ำสง่ คลงั ลา้ นบาท 643.1 84.8 150.4 114.1 122.7 34.6 48.1 30.7 417.9
%yoy -1.4 r 74.8 -12.1 -11.2 -26.2 -25.5 27.5 -63.8 -24.1

รายจ่ายเงนิ ล้านบาท 7,194.4 656.5 1,723.3 1,985.6 2,007.0 637.8 677.3 599.9 6,315.8
งบประมาณรวม %yoy -9.7 r 16.3 8.8 25.8 8.2 8.7 -0.2 -8.6 11.3
ลา้ นบาท 5,910.5 476.0 1,546.6 1,512.5 1,474.1 507.8 490.0 518.2 5,051.4
- รายจา่ ยประจำ %yoy -3.5 r 1.9 9.3 4.8 -1.5 7.1 -8.7 8.9 4.5
สว่ นราชการ ล้านบาท 1,283.9 180.5 176.7 473.1 532.9 130.0 187.3 81.8 1,264.4
%yoy -33.8 r 85.0 4.3 252.2 49.2 15.5 32.2 -54.7 50.3
- รายจา่ ยลงทุน
ส่วนราชการ

ดุลเงนิ งบประมาณ ล้านบาท -6,551.3 -571.7 -1,572.9 -1,871.5 -1,884.3 -603.2 -629.2 -569.3 -5,897.9

หมายเหตุ 1. รายจ่ายเงนิ งบประมาณรวมเฉพาะสว่ นราชการ ไม่รวมองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
2. ดลุ เงินงบประมาณ คำนวณจากรายได้นำสง่ คลังหักรายจ่ายเงนิ งบประมาณรวม
3. n.a. หมายถงึ ขอ้ มูลไม่สามารถนำมาใช้ได้ (not applicable) หรือไมม่ ีข้อมลู (not available)
4. r หมายถงึ revised หรือการปรับปรงุ ขอ้ มูลย้อนหลงั

แหล่งข้อมูล : สำนักงานเกษตรจังหวัดลำพูน, สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, สำนักงานปศุสตั ว์จังหวัดลำพูน, สำนักงานอุตสาหกรรม
จังหวัดลำพูน,การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สาขาลำพูน, ฝ่ายบริการศุลกากรที่ 2 (ลำพูน), สำนักงานสรรพากรพื้นที่ลำพูน, สำนักงานสรรพสามิตพื้ นที่
ลำพูน, สำนักงานธนารักษ์พ้ืนทีล่ ำพูน, สำนักงานขนส่งจังหวดั ลำพนู , สำนักงานพฒั นาธรุ กจิ จงั หวัดลำพนู , สำนกั งานสถิตจิ ังหวัดลำพูน, สำนักงาน
ท่ดี นิ จังหวัดลำพูน, ธนาคารแหง่ ประเทศไทย สำนกั งานภาคเหนอื (BOT), ธนาคารออมสนิ , ธนาคารอาคารสงเคราะห,์ ธนาคารเพ่อื การเกษตรและ
สหกรณ์การเกษตร, ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์, สำนักงานประกันสังคม
จังหวดั ลำพูน, สำนักงานแรงงานจังหวัดลำพูน, สำนกั งานสถติ ิจังหวดั ลำพูน, การประปาส่วนภมู ิภาคสาขาลำพูน, สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬา
จงั หวดั ลำพนู

กลมุ่ งานบริหารการคลงั และเศรษฐกิจ สานกั งานคลงั จงั หวดั ลาพูน โทรศพั ท์ 053-512057 ตอ่ 302, 304 E-mail: [email protected] หนา้ 8


Click to View FlipBook Version