The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kittithut Thaisunthia, 2019-06-04 04:30:34

unit1

unit1

วชิ าหลักการเลี้ยงสัตว์

หน่วยท่ี 1 ความหมาย ความสาคญั ของการเลีย้ งสตั ว์
และสภาวะการเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยและตา่ งประเทศ

วา่ ทรี่ อ้ ยตรีกิตตทิ ัต ไทยสนั เทยี ะ
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสีมา
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

หน่วยการสอนที 1
เรือง ความหมาย ความสําคัญของการเลียงสัตว์

และสภาวะการเลียงสัตว์ในประเทศไทยและต่างประเทศ

เนือหาในหน่วยการสอน
1. ความหมายของการเลียงสัตว์
2. ประวัติความเป็นมาของการเลียงสัตว์
3. ประโยชน์และความสําคัญของการเลยี งสัตว์
4. ชนิดสัตว์เลียงของโลกและประเทศไทย
5. มูลค่าการนําเข้าและส่งออกสินค้าปศุสัตวแ์ ละผลติ ภัณฑ์ปศุสัตวข์ องประเทศไทย
6. ประเทศผู้ผลติ ปศุสัตว์รายใหญ่ของโลก

สมรรถนะทพี ึงประสงค์ (ความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ)
1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกียวกบั ความหมาย ความสําคัญและประโยชนข์ องการเลียงสัตว์
2. เห็นคุณค่าและความสําคัญของการเลียงสัตว์
3. วเิ คราะห์แนวโน้มการเลียงสัตว์ในประเทศไทยและต่างประเทศได้
4. มเี จตคติทีดีเกียวกับวิชาหลักการเลียงสัตว์
5. มวี นิ ัย รับผิดชอบ สนใจใฝ่ รู้ มมี นุษย์สัมพันธ์และมคี วามเชือมั นในตนเอง

เนือหาสาระ
1. ความหมายของการเลียงสัตว์

การเลียงสัตว์ หมายถึง การจัดการต่างๆ เกียวกับการเลียงดู การให้อาหาร การบํารุงพันธุ์
และการวางแผนการผสมพันธุ์ ตลอดจนการควบคุมป้ องกันโรค เพือใหผ้ ู้เลี ยงสตั ว์ ได้ประโยชน์
จากสัตว์ตามวัตถุประสงค์

2. ประวัตคิ วามเป็ นมาของการเลียงสัตว์
สัตว์ทุกชนิดทีเลียงในปัจจุบัน สืบเชือสายมาจากสตั ว์ป่ าทั งสิ น มนุษย์ได้ใช้เนือสตั ว์และ

ผลิตผลจากสตั ว์เป็ นอาหารมาเป็ นเวลานานแล้ว ในสมัยโบราณการเสาะแสวงหาอาหารจากสัตว์
ใช้วธิ ีการล่า ในบางครั งมนุษย์ล่าสัตว์ได้มาจํานวนมากไมส่ามารถบริโภคได้หมด ภายใน 1 วัน
จึงจําเป็นต้องกักขังสตั ว์เหล่านั นไว้ใกล้ทีพัก ขณะทีสัตว์ถกู กักขังอยู่ มนุษย์ได้สังเกตการเป็ นอยู่

2

อาหารทีสัตว์นั นๆ ต้องการ พร้อมทั งสังเกตการสืบพันธุ์และการผสมพันธุ์ของสตั ว์ การให้ลูก
ของสัตว์แต่ละชนิดเป็นอย่างไร การเลียงสัตว์ก็เกิดขึ นตั งแต่บัดนั นเป็ นต้นมาเมือเวลาล่วงเลยมา
วิทยาการต่าง ๆ ก็ได้ถูกค้นพบจากการสังเกต และการศึกษาของมนุษย์ ทําให้การเลี ยงสัตว์
พัฒนาก้าวหน้าตามลําดับ จนถึงปัจจุบัน การเลี ยงสัตว์ยังเป็ นอาชีพทีสําคัญ ทีผลิตอาหารให้กับ
มนุษยชาติ และการเลียงสัตว์มีความก้าวหน้าพัฒนาต่อไปอย่างไมห่ ยุดยั ง

3. ประโยชน์และความสําคัญของการเลียงสัตว์ ทังทางตรงและทางอ้อม พอสรุปได้ดังนี
3.1 ประโยชน์ของการเลียงสัตว์ต่อมนุษย์
3.1.1 สัตว์เป็นอาหารของมนุษย์
3.1.2 ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ใช้ทําเครืองนุ่งห่มเครืองประดับ เครืองใช้
3.1.3 ใช้สัตว์เป็นแรงงาน และพาหนะ
3.1.4 สัตว์ให้ความเพลิดเพลิน
3.1.5 สัตว์เป็นประโยชนใ์ นการทดลองวทิ ยาศาสตร์
3.2 ประโยชนข์ องสัตว์ต่อเกษตรกร
3.2.1 เกษตรกรใช้แรงงานจากสัตว์ในไร่ น่า และใชเ้ ป็ นพาหนะ ขนผลผลิต

ทางการเกษตร
3.2.2 สตั ว์ช่วยเปลียนสิงทีไม่มีประโยชน์หรือเศษอาหารเหลือใช้มาเป็ นผลผลิต

เนือ นม ไข่ ทีมีมูลค่าสูงขึ น
3.2.3 สัตว์ช่วยเพิมความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดินโดยการใช้มูลหรือสิงขับถา่ ยบํารุงดิน

3.3 ประโยชน์ของการเลียงสัตว์ต่อประเทศ
3.3.1 โดยภาพรวมทําให้ครอบครัวมคี วามเป็นอยู่ดีขึ น ส่งผลให้เศรษฐกิจดีขึ นด้วย
3.3.2 การเลียงสัตว์เป็นการเพมิ ผลผลติ อาหารประเภทโปรตีน ภายในประเทศ
3.3.3 สัตว์เป็นสินค้าส่งออกของประเทศ
3.3.4 เป็นการลดการนําเข้าสินค้าด้านเนือสัตว์
3.3.5 การเลี ยงสัตว์ช่วยใหเ้ กิดอาชีพอืนๆ ตามมา เช่น รับจ้างเลี ยงสัตว์ พ่อค้า

เนือสัตว์
3.3.6 การเลียงสัตว์ช่วยให้สามารถใช้พืนทีวา่ งเปลา่ ให้เกิดประโยชน์
3.3.7 การเลียงสัตว์ช่วยลดปัญหาสังคม อาชญากรรม และการวา่ งงาน
3.3.8 ช่วยให้ประเทศชาติมชี ือเสียงเป็นครัวโลก
3.3.9 พัฒนาให้เกิดระบบอตุ สาหกรรมต่อยอดจากผลผลิต

3

4. ชนิดสัตว์เลียงของโลกและประเทศไทย
สัตว์ เลียงทีมีอยู่ในโลกนี มอี ยู่มากมายหลายชนิดและหลายพันธแุ์ ต่ละชนิดและแต่ละพันธุ์

ให้ผลผลติ ทีแตกต่างกันออกไป บางชนิดให้เนือ บางชนิดให้นม บางชนิดให้ไข่ และบางชนิดก็ให้
ผลผลติ เป็นอย่างอนื เช่น ขน หนังและเขา เป็นต้นผู้ทีต้องการเลียงสัตว์ก็จะต้องเลอื กนชิดของสตั ว์
ทีจะเลียงเพอื ให้ผลผลติ ตามทีตนเองต้องการ ปริมาณสัตว์เลียงในโลกนี ส่วนใหญ่มีแนวโน้มทีจะมี
จํานวนเพิมขึ น แต่บางชนิดก็มีแนวโนม้ ว่าจะมีจํานวนลดลงซึงสาเหตุใหญ่มาจากความต้องการ
ในตลาดเป็ นหลัก สัตวช์ นิดใดทีตลาดตอ้ งการมากปริมาณการเลี ยงจะเพิมขึ น แต่สัตว์ชนิดใด
ทีตลาดไม่ต้องการหรื อต้องการน้อยจ ํานวนก็จะลดลงซึ งมีรายละเอียดเกียวกับชนิดและประชากร
สัตว์เลียงดงั ต่อไปนี

4.1 ชนิดสัตว์เลียงทีสําคัญทางเศรษฐกิจของโลก
สัตว์เลี ยงให้ประโยชน์ต่อมนุษย์มาก จนนบั เป็ นสัตว์ทีให้คุณค่าแก่มนุษย์ รวมแล้ว

มีจํานวนมากกว่า 20 ชนิด แต่สัตว์ทีเป็นสัตว์เลียงในไร่นา(farm animals) มีอยู่ 12 – 13 ชนิด เช่น
ม้า (horses) ลา (asses) ล่อ (mules) โค (cattle) กระบือ (buffaloes) สุกร (swine) แกะ (sheep)
แพะ (goats) ไก่ (chicken) ห่าน (geese) เป็ด (ducks) และไก่งวง (turkeys) เป็นต้น

4.2 ประชากรสัตว์เลียงทัวโลกและในประเทศไทย
การ เลียงสัตว์เป็นการประกอบอาชีพเกษตรกรรมทีมมี ากกวา่ 9,000 ปี มาแล้ว มนุษย์

รู้จกั นําเอาสัตว์เลี ยงมาเป็ นประโยชน์หลากหลายประการ ไดแ้ ก่ เป็ นแหล่งอาหาร แรงงาน
เครืองนุ่งห่ม เครืองมอื เครืองใช้ ยารักษาโรค ปุ ๋ ย และเชือเพลงิ เป็นต้น สัตว์เลียงจึงมคี วามผูกพัน
กับมนุษย์ ทั งทางตรงและทางอ้อม มีความต้องการผลผลิตและผลิตภัณฑท์ ีได้จากสัตว์ทําให้มี
การเลี ยงสตั วก์ ันแพร่หลายทัวโลก ซึงมีหลายชนิด หลายสายพันธุ์ ประชากรของสตั ว์เลี ยง
ทีกระจายอยู่ตามบริเวณต่าง ๆ ทัวโลกจึงขึ นอยูก่ ับปริมาณอาหารและสภาพแวดล้อมทีเหมาะสม
ของพืนทีบริเวณนั นทีเหมาะสมกับสัตว์เลี ยงแต่ละชนิดนอกจากนี ยังขึ นอยูก่ ับความต้องการทีจะ
บริโภคผลผลติ และผลติ ภัณฑ์จากสัตว์ต่าง ๆ จํานวนประชากรและการกระจายตัวของสตั ว์เลี ยง
ต่าง ๆ ในโลก ดังแสดงในตารางที 1.1 จํานวนประชากรสตั ว์เลี ยงทัวโลกจะเห็นว่าทวีปเอเชีย
เป็นทวปี เดียวทีพบสัตว์เลียงหลายชนิดทีสุด เช่น ม้าลา โค กระบือ สุกร แกะ แพะ ไก่ เป็ ด เป็ นต้น
อฐู พบมากในทวีปอาฟริกา ส่วนไก่งวงพบมากในทวีปยุโรป สําหรับในประเทศไทย ประชากร
สัตว์เลียงทีสําคัญๆ มีความ ผันแปรไปตามสภาพพืนทีและสภาวะเศรษฐกิจ ดังแสดงในตารางที 1.2
จากข้อมูลทีแสดงจํานวนประชากรสัตวร์ ะหว่างปี พ.ศ. 2525 – 2550 พบว่าประชากรสัตว์
ส่วนใหญ่มีแนวโน้มเพิมมากขึ น ยกเว้นสัตว์บางชนิด อาทกิ ระบือ แกะ และห่าน มีแนวโน้มลดลง
กล่าวคือ กระบือ มีจํานวนลดลงอย่างเห็นไดช้ ัดเจน อันเนืองมาจากอิทธิพลของเครืองจักรกล

4

ถูกนํามาใช้ในการเตรี ยมพืนทีเพาะปลูกทดแทนแรงงานสัตว์ ส่วนแกะมีจํานวนลดลง
อันเนืองมาจากปัญหาขาดแคลนทําเลหรือ ทุ่งหญ้าอาหารสัตว์ ส่วนจํานวนสตั ว์ในประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2550 แสดงไว้ในตารางที1.3 , 1.4 และ 1.5

ตารางที 1.1 แสดงจํานวนประชากรของสัตว์เลียงในทวีปต่างๆ ในปี พ.ศ. 2542 (หน่วย : ล้านตัว)

ทวปี

ชนิดสัตว์ ทัวโลก อาฟริกา อเมริกา อเมริกา เอเซีย ยุโรป โอเซีย
กลาง-เหนือ ใต้ เนีย
4.863 7.457 0.382
ม้า 61.095 15.000 15.334 15.652 17.406 0.798 0.009
ลา 43.479 223.343 3.751 150.554 36.340
โค 1,338.201 3.180 160.955 4.072 19.848 0.214
กระบือ 158.627 14.499 0.005 0.011 -
อูฐ 19.130 27.017 302.097 464.910 206.510 -
สุกร 912.708 240.342 - 154.262 5.263
แกะ 1,068.669 205.639 95.546 1.701 153.527 17.953 165.718
แพะ 709.934 1,142 15.151 1,772 0.716
ไก่ 14,139 13.028 - 4.620 107
เป็ ด 16 2,477 65 1
ไก่งวง 830 7 51.311 527.062 116 1
244 16
96 80.594 412.608

25.972 446.626

1,560 7,081

12 720

12 13

ทีมา : ดํารง กิตติชัยศรี และคณะ. 2546. เอกสารประมวลสาระวิชาหลักการเลียงสัตว.์

ตารางที 1.2 แสดงประชากรสัตว์เลียงในประเทศไทยปี พ.ศ. 2525 - 2550

ปี พ.ศ. โค จํานวนสัตว์(พันตัว) เป็ด ห่าน
กระบือ แพะ แกะ สุกร ไก่

2525 4,578 6,417 120 162 4,022 65,210 13,700 240

2535 7,121 4,728 159 176 8,332 135,175 19,344 439

2545 5,550 1,617 177 393 6,989 228,760 25,034 159

2550 9,338 1,577 444 51 9,300 283,126 24,952 176

ทีมา : กรมปศสุ ัตว์ http://www.dld.go.th/ict/stat_web/index_stat.htlm.

5

ตารางที 1.3 แสดงจํานวนโคนม โคเนือ และกระบือ ในประเทศแยกเป็นรายเขตปศสุ ัตว์ปีพ.ศ.2550

โคนม โคเนือ กระบือ

เขตปศุสัตว์ จํานวน(ตัว) เก ษ ต ร ก ร จํานวน(ตัว) เก ษ ต ร ก ร จํานวน(ตัว) เก ษ ต ร ก ร

(ครัวเรือน) (ครัวเรือน) (ครัวเรือน)

เขต 1 147,406 6,527 472,114 27,433 41,196 3,734

เขต 2 44,776 1,900 245,198 19,827 74,997 7,647

เขต 3 72,488 2,779 2,761,821 553,365 672,656 204,157

เขต 4 29,454 1,333 1,739,948 355,308 503,170 122,405

เขต 5 33,215 1,419 951,752 102,395 124,687 20,675

เขต 6 9,703 493 1,001,654 66,087 101,283 10,334

เขต 7 147,613 6,538 798,986 54,635 13,673 1,455

เขต 8 2,231 79 370,397 79,946 28,936 4,642

เขต 9 2,707 162 506,522 117,126 17,200 2,766

ทีมา : กรมปศุสัตว์ http://www.dld.go.th/ict/stat_web/index_stat.htlm.

ตารางที 1.4 แสดงจํานวนสกุ ร แพะ และแกะ ในประเทศแยกเป็นรายเขตปศุสัตว์ปี พ.ศ. 2550

สุกร แพะ แกะ

เขตปศสุ ัตว์ จํานวน(ตัว) เกษตรกร จํานวน(ตัว) เกษตรกร จํานวน(ตัว) เกษตรกร

(ครัวเรือน) (ครัวเรือน) (ครัวเรือน)

เขต 1 985,991 12,100 71,595 1,859 8,132 171

เขต 2 1,553,053 3,437 11,693 414 2,546 101

เขต 3 1,086,057 58,352 14,917 642 1,680 97

เขต 4 607,650 37,113 6,506 337 1,265 162

เขต 5 1,087,889 80,012 13,141 814 760 34

เขต 6 692,140 32,355 73,232 1,648 5,954 96

เขต 7 2,499,092 9,864 79,638 1,744 10,306 142

เขต 8 445,005 23,325 55,119 6,341 632 72

เขต 9 343,196 11,797 118,933 24,854 19,688 4,939

ทีมา : กรมปศุสัตว์ http://www.dld.go.th/ict/stat_web/index_stat.htlm.

6

ตารางที 1.5 แสดงจํานวนช้าง ม้า และกวาง ในประเทศแยกเป็นรายเขตปศสุ ัตว์ปพี .ศ. 2550

ช้าง ม้า กวาง

เขตปศุสัตว์ จํานวน(ตัว) เกษตรกร จํานวน(ตัว) เกษตรกร จํานวน(ตัว) เกษตรกร

(ครัวเรือน) (ครัวเรือน) (ครัวเรือน)

เขต 1 138 6 668 56 2,278 21

เขต 2 312 142 668 117 1,295 26

เขต 3 1,043 527 247 90 1,184 20

เขต 4 4 1 613 142 289 50

เขต 5 740 187 1750 667 670 21

เขต 6 145 110 193 66 134 9

เขต 7 194 20 939 317 2,288 32

เขต 8 439 168 404 200 268 15

เขต 9 86 62 147 64 140 4

ทีมา : กรมปศุสัตว์ http://www.dld.go.th/ict/stat_web/index_stat.htlm.

รายชือจังหวัดทีสํานักงานเขตปศุสัตว์แต่ละเขตรับผิดชอบ
เขต 1 ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี

สิงห์บุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง
เขต 2 ได้แก่ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง สมุทรปราการ

สระแก้ว
เขต 3 ได้แก่ ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สุรินทร์ อบุ ลราชธานี

อํานาจเจริญ
เขต 4 ได้แก่ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม มหาสารคาม มุกดาหาร เลย สกลนคร หนองคาย

หนองบัวลําภู อุดรธานี
เขต 5 ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลําปาง ลําพูน
เขต 6 ได้แก่ กําแพงเพชร ตากนครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ อทุ ัยธานี
เขต 7 ได้แก่ กาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี สมทุ รสงคราม สมุทรสาคร
เขต 8 ได้แก่ กระบี ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภเู กต็ ระนอง สุราษฎ์ธานี
เขต 9 ได้แก่ ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล

7

5. มูลค่าการนําเข้าและส่งออกสินค้าปศุสัตว์ และผลิตภัณฑ์ปศุสัตวข์ องประเทศไทย
มูลค่าการนําเข้าและส่งออกสินค้าปศสุ ัตว์ และผลิตภัณฑป์ ศุสัตวข์ องประเทศไทยตั งแต่

ปี พ.ศ. 2548 - 2550 พบวา่ มกี ารนําเข้าวัตถุดิบและอาหารเสริมสําหรับสตั วม์ ากทีสุดถึง 92,721.63
ล้านบาท รองลงไปคือ โคนมและผลิตภัณฑ์ ทมี ีการนําเข้าถึง 45,600.34 ล้านบาท ส่วนการส่งออก
นั นพบว่าส่งออกไก่เนือและผลิตภัณฑม์ ากทีสุดถึง 98,300.40 ล้านบาท รองลงไปคือ ผลิตภัณฑ์
เครืองหนัง 34,332.64 ล้านบาท โดยภาพรวมแล้วกถ็ อื วา่ ประเทศไทยยังมกี ําไรจากการส่งออกสินค้า
ปศสุ ัตว์ และผลิตภัณฑ์ปศสุ ัตว์อยเนู่ ืองจากมีมลู ค่าการนําเข้าเพียง 188,727. 57 ล้านบาท แต่กลับมี
มูลค่าการส่งออกถึง 220,160.47 ล้านบาท ดังแสดงไว้ในตารางที 1.6

ตารางที 1.6 แสดงมูลค่าการนําเข้า/ส่งออกสินค้าปศสุ ัตว์และผลติ ภัณฑ์ปศสุ ัตว์ ปพี .ศ. 2548–2550

(มูลค่า พันล้านบาท)

ปี พ.ศ.2548 ปี พ.ศ. 2549 ปี พ.ศ. 2550

รายการ มูลค่าการ มูลค่าการ มูลค่าการ มูลค่าการ มูลค่าการ มูลค่าการ

นําเข้า ส่งออก นําเข้า ส่งออก นําเข้า ส่งออก

โคเนือ และผลิตภัณฑ์ 8,711.97 1,432.12 8,635.63 451.97 9,086.81 543.08

โคนม และผลิตภัณฑ์ 14,419.41 4,771.37 14,006.84 3,797.01 17,174.09 4,506.32

กระบือ และผลิตภัณฑ์ 499.37 76.10 261.51 17.93 336.57 29.32

สุกร และผลิตภัณฑ์ 118.16 1644.64 121.90 1,782.63 772.10 1,765.24

แพะ และผลิตภัณฑ์ 29.70 0.91 20.89 0.52 20.39 1.67

แกะ และผลติ ภัณฑ์ 2,698.01 280.00 1,760.63 47.89 1,366.63 35.22

ไก่เนือ และผลิตภัณฑ์ 636.91 31,574.75 383.31 32,216.03 295.81 34,509.62

ไก่ไข่ และผลิตภัณฑ์ 190.61 385.79 197.89 489.98 251.52 952.32

เป็ดเนือ และผลิตภัณฑ์ 55.90 1,843.13 61.00 2,144.69 36.85 3,415.82

เป็ดไข่ และผลติ ภัณฑ์ 1.35 0.13 - 3.96 - 9.06

สัตว์อนื ๆ และผลติ ภัณฑ์ 915.97 389.59 1,315.87 334.86 1,512.90 421.58

ผลิตภัณฑ์เครืองหนัง 2,647.58 11,817.12 2,864.60 10,966.05 4,597.23 11,549.47

ผลิตภัณฑ์อาหารกระป๋ อง - 4,677.84 - 7243.10 - 7,614.32

เอ็นเทียมสําหรับสุนัข

เคี ยวเลน่ Dog Chews

และอนื ๆ - 1,701.91 - 1,471.67 - 1,253.92

8

ตารางที 1.6 (ต่อ)

ปี พ.ศ.2548 ปี พ.ศ. 2549 ปี พ.ศ. 2550

รายการ มูลค่าการ มูลค่าการ มูลค่าการ มูลค่าการ มูลค่าการ มูลค่าการ

นําเข้า ส่งออก นําเข้า ส่งออก นําเข้า ส่งออก

ปริมาณการนําเข้าวัตถุดบิ 28,374.45 2,697.76 32,798.74 4,184.14 31,548.44 25,108.94

และอาหารเสริมสําหรับ

สัตว์

รวม 59,299.41 63,293.16 62,428.82 65,151.41 66,999.34 91,715.90

ทีมา : กรมปศสุ ัตว์ http://www.dld.go.th/ict/stat_web/index_stat.htlm.

6. ประเทศผู้ผลิตปศุสัตว์รายใหญข่ องโลก
มีหลายประเทศในโลกทีสนับสนุนให้เกษตรกรประกอบอาชีพการเลี ยงสัตว์เป็ นอาชีพหลัก

จนสามารถผลิตสัตว์เป็นสินค้าส่งไปจําหน่ายยังต่างประเทศ ทํารายได้เข้าสู่ประเทศนั นๆ ประมาณ
ปี ละหลายพันล้านบาท ประเทศทีมีการผลิตสตั วเ์ ศรษฐกิจทีสําคญั ของโลก ปี พ.ศ.2547-2549
จากขอ้ มูลสถานการณ์ การตลาดและการค้าสินคา้ ปศุสัตว์ และสัตวป์ ี กของโลก ของกลุ่มวิจยั
เศรษฐกิจการปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ มดี ังนี

6.1 โคเนือ และลกู โค ประเทศทีมีการผลิตโคเนือและลกู โคมาก เรียงตามลําดบั ได้แก่
สหรัฐอเมริกา บราซิล สหภาพยุโรป จีน อาร์เจนตินา และอนิ เดีย ส่วนประเทศทีส่งออกเนือโคมาก
เรียงตามลําดับได้แก่ บราซิล ออสเตรเลยี อนิ เดีย อาร์เจนตินา นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา

6.2 สุกร ประเทศทีมีการผลิตสุกรมากทีสุดเรียงตามลําดับ ได้แก่ จีน สหภาพยุโรป
สหรัฐอเมริ กา บราซิล รัสเซีย และเกาหลีใต้ ส่วนประเทศทีส่งออกเนื อสุกรมากทีสุ ด
เรียงตามลําดับได้แก่ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล จีน และชิลี

6.3 ไก่เนือ ประเทศทีมีการผลิตเนือไก่มากทีสุดเรียงตามลําดับได้แก่ สหรัฐอเมริกา จีน
บราซิล สหภาพยุโรป เม็กซิโก อินเดีย ญีปุ ่ น และแคนาดา ส่วนประเทศทีส่งออกเนือไก่
มากทีสุด เรียงตามลําดับได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน ไทย และแคนาดา

9

เอกสารอ้างอิง

กรมอาชีวศึกษา. 2543. หนงั สือประกอบการเรียนหลักการเลียงสัตว์ทัวไป หลักสูตร
ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พุทธศักราช 2538. ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาชีวศกึ ษา5 หน่วย
ศกึ ษานิเทศก์ กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ.

ดํารง กิตติชัยศรี และคณะ. 2546. เอกสารประมวลสาระวิชาหลักการเลียงสัตว.์ บุรีรัมย์ :
โปรแกรมวชิ าสัตวบาล คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันราชภัฏบุรีรัมย.์

กรมปศุสัตว์ [ม.ป.ป.] “สถติ ิการนําเข้าและส่งออกสินค้าปศุสัตว”์ [ออนไลน]์ เข้าถึงได้จาก: http://
www.dld.go.th/ict/stat_web/index_stat.htlm. สืบค้น 16 พฤศจิกายน 2552.


Click to View FlipBook Version