The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kittithut Thaisunthia, 2019-06-04 04:32:37

unit3

unit3

วชิ าหลักการเลี้ยงสตั ว์

หน่วยที่ 3 ชนิด ประเภท และพนั ธ์ุสตั วม์ าตรฐาน

ว่าทีร่ ้อยตรกี ิตตทิ ตั ไทยสันเทยี ะ
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสมี า
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

25

หน่วยการสอนที 3
เรือง ชนิด ประเภท และพันธุ์สัตว์มาตรฐาน

เนือหาในหน่วยการสอน
1. การจัดหมวดหมูท่ างสัตวศาสตร์ของสัตว์เลียง
2. ประเภทและพันธุ์สัตว์เลียงมาตรฐาน

สมรรถนะทพี ึงประสงค์ (ความรู้ ทักษะ คณุ ธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ)
1. สามารถแยกและจัดหมวดหมู่ทางสัตวศาสตร์ของสัตว์กระเพาะรวม สัตว์กระเพาะ

เดียว และสัตว์ปี กได้
2. สามารถบอกประเภทของสัตว์เลียงได้
3. สามารถอธิบายลักษณะประจําพันธุ์ของสัตว์ชนิดต่างๆ ได้
4. สามารถเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหวา่ งโคอนิ เดียและโคยุโรปได้
5. สามารถจดจําลักษณะภายนอกทีเด่นชัดของพันธุ์สัตว์ชนิดต่าง ๆ ได้
6. มเี จตคติทีดีเกียวกับวิชาหลักการเลียงสัตว์
7. มวี นิ ัย รับผิดชอบ สนใจใฝ่ รู้ มีมนุษย์สัมพันธ์และมคี วามเชือมั นในตนเอง

เนือหาสาระ
องค์ประกอบทีสําคัญทีจะทําให้ผู้เลี ยงสัตว์ปะรสบความสําเร็จเป็ นอยา่ งดี ได้แก่ พันธุส์ ัตว์

อาหาร และการจัดการ พันธุ์สัตว์จัดเป็ นองค์ประกอบทีสําคัญอย่างหนึ งในการเลี ยงสัตว์
ทีผู้ประกอบการเลี ยงสัตว์ควรทราบถึงความสามารถของสัตวใ์ นลักษณะปริมาณและคุณภาพ
ความสามารถในดา้ นความต้านทานต่อโรค การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม สัตวแ์ ต่ละชนิด
และแต่ละประเภทจะมีคุณสมบัติเฉพาะตัวแตกต่างกันออกไป ผู้เลี ยงสัตว์จําเป็ นตอ้ งทราบ
คุณสมบัติเฉพาะตัวของสัตว์ เพอื ทีจะได้ดําเนินการจัดการกับสัตว์แต่ละชนิด แต่ละประเภทได้อย่าง
ถูกต้อง สตั ว์ทุกชนิดจะอยูใ่ นอาณาจักรสัตว์ (animal kingdom) ซึงมีอยูม่ ากมายหลายตระกลู และ
หลายชนิด

1. การจัดหมวดหมู่ทางสัตวศาสตร์ของสัตว์เลียง
1.1 การจัดหมวดหมูท่ างสัตวศาสตร์ของสัตว์กระเพาะรวมสัตว์กระเพาะรวมมีอยูด่ ้วยกัน

หลายชนิด โดยทัวไปสตั ว์กระเพาะรวมจะมีกระเพาะอยู่4 กระเพาะ และกินอาหารโดยการเคี ยว

26

อย่างหยาบ ๆ แล้วกลืนลงกระเพาะที1 อาหารจะมกี ารหมักระยะหนึ ง จากนั นสตั ว์จะขยอกอาหาร
ออกมาเคี ยวให้ละเอียดอีกครั งหนึ งก่อนทีจะกลืน กลับเขา้ ไปผ่านกระบวนการย่อยและดูดซึม
ในกระเพาะที 2, 3 และ 4 ตามลําดับ การจัดหมวดหมูท่ างสัตวศาสตรข์ องสัตว์กระเพาะรวมได้สรุป
ไว ้ในตารางที 3.1

ตารางที 3.1 การจัดหมวดหมูท่ างสัตวศาสตร์ของสัตว์กระเพาะรวม

ลําดับ ชือ ประเภทของสัตว์

ไฟลั ม(phylum) Chordate สัตว์มกี ระดูกสันหลัง

ชนั (class) Mammalian สัตว์เลียงลูกด้วยนํ านม

ลําดับ(order) Ungulate สัตวเ์ ลียงลูกด้วยนํ านม กมีบเท้า

ตระกูล (family) bovidae สัตว์เคี ยวเอือง เขากลวง มีรกแบบกระดุม

สกลุ (genus) Bos 1.สัตว์กระเพาะรวม กินอาหารหยาบ

เป็นหลัก มี4 เท้าขนาดใหญ่

Ovis 2.สัตว์กระเพาะรวม มขี นาดเล็ก ขนฟู

หางห้อย

Capra 3.สัตว์กระเพาะรวม มขี นาดเลก็ ขนสั น

หนา หางตั ง

ชนิด (species) สัตว์ในสกุลนี มีหลายชนิดได้แก่ โค กระบือ แกะ แพะ

Genus species

โคยุโรป Bos taurus

โคอินเดีย Bos indicus

กระบือ Bos bubalis

แกะบ้าน Ovis aries

แพะบ้าน Capra hircus

ทีมา : ธาตรี จีราพันธ.ุ์ 2548. หลักการผลิตสัตว.์

1.2 การจัดหมวดหมู่ทางสัตวศาสตร์ของสตั ว์กระเพาะเดียว สัตวก์ ระเพาะเดียวต่างจาก
สัตว์กระเพาะรวมตรงทีมกี ระเพาะเพยี งหนึงกระเพาะเท่านั น กินอาหารโดยการเคี ยวให้ละเอียดกอ่ น
กลืนลงกระเพาะ อาหารจะถูกย่อยทีกระเพาะและดูดซึมทีลําไส้เล็ก สัตว์กระเพาะเดียวจะไม่

27

สามารถย่อยอาหารทีมเี ส้นใยสูง ๆ ได้ ซึงผิดจากสตั ว์กระเพาะรวมทีสามารถยอ่ ยอาหารทีมีเส้นใย
สูง ๆ ได้ การจัดหมวดหมูท่ างสัตวศาสตร์ของสัตว์กระเพาะเดียวไดส้ รุปไว้ดังตารางที3.2

ตารางที 3.2 การจัดหมวดหมูท่ างสัตวศาสตร์ของสัตว์กระเพาะเดียว

ลําดับ ชือ ประเภทของสัตว์

ไฟลั ม(phylum) Chordate สัตว์มีกระดกู สันหลัง

ชนั (class) Mammalian สัตว์เลียงลูกด้วยนํ านม

ลําดับ(order) Ungulate สัตว์เลียงลูกด้วยนํ านมกมีบี เท้า

ตระกูล (family) suidae สัตว์กระเพาะเดียว ไมเ่ คี ยวเอือง มรี กแบบ

กระจาย

สกุล (genus) Sus สัตว์กระเพาะเดียว มจี มูกขุดคุ้ยหาอาหาร

ชนิด (species) domesticus ได้แก่สุกรบ้าน

ทีมา : ดํารง กิตติชัยศรี และคณะ. 2546. เอกสารประมวลสาระวชิ าหลักการเลียงสัตว.์

1.3 การจัดหมวดหมู่ทางสัตวศาสตร์ของสัตว์ปี ก สัตว์ปี กมีความแตกต่างจากสัตว์
เคี ยวเอืองและสัตว์กระเพาะเดียวชนิดอนื ๆ ตรงทีสัตว์ปี กไมม่ ฟี ันสําหรับบดเคี ยวอาหาร กินอาหาร
ได้โดยการทําให้อาหารออ่ นและเปี ยกภายในปากแล้วกลนื ลงสู่กระเพาะแรก ทีเรียกวา่ กระเพาะพัก
(crop) อาหารจะถกู บดย่อยในกระเพาะบดทีเรียกว่า กึน (gizzard) ก่อนทีจะดูดซึมไปใช้ต่อไป
การจัดหมวดหมูท่ างสัตวศาสตร์ของสัตว์ปี กได้สรุปไว้ดังตารางท3ี.3

28

ตารางที 3.3 การจัดหมวดหมูท่ างสัตวศาสตร์ของสัตว์ปี ก

ลําดับ ชือ ประเภทของสัตว์

ไฟลั ม(phylum) Chordate สัตว์มีกระดูกสันหลัง

ชนั (class) aves สัตว์มีปี ก บนิ ได้และไมไ่ ด้ ขนปกคลมุ ตัว ออกไข่

มกี ืน

ลําดับ(order) aneriforms 1.มนี ิวเท้า4 นิว มีแผ่นผังผืดยึด3 นิว จงอยปากแบน

ชอบนํ า ว่ายนํ าได้ดี ชอบกินสัตว์นํ า2มขี า ขาเรียบ

galliforms ไม่มเี กล็ด

2.มนี ิวเท้า4 นิว นิวแยกกัน จงอยปากแหลม ชอบอยู่

บนดินเป็นฝูงๆกินเมล็ดพชื เป็นหลัก

ตระกูล (family) antidae phasianidae Meleaerinidae

มปี ุ ่ มเหนือ ไม่มีปุ ่ มเหนือ มหี งอน มี 2ขา ไมม่ หี งอน

ปาก มีเหนียง ปาก ไมม่ ีเหนียง ขามีเกลด็ ไม่มี มี 2 ขา ขามี

งวง ไมม่ ี เกล็ด มงี วง

เหนียง มีเหนียง

สกลุ (genus) Aser Anas Gallus Meleagris

ชนิด (species) domesticus domestica domesticus gallopavo

ได้แก่ ห่าน เป็ด ไก่บ้าน ไก่งวง

ทีมา : จรัส สวา่ งทัพ. 2539. หลักการเลียงสัตว.์

2. ประเภทและพันธุ์สัตว์เลียงมาตรฐาน
การแบ่งประเภทของสัตว์เพือจัดหมวดหมู่ตามทรัพยากรสตั ว์ หรือตามผลผลิตทีให้ หรือ

ตามระบบสรี ระ เช่น ระบบโครงร่าง ระบบการย่อยอาหาร เป็ นต้น เพือให้สามารถทราบถึง
คุณสมบัติ ความสามารถในการให้ผลผลิต แหล่งทีอยู่ จุดประสงค์ในการเลี ยงของมนุษย์ ระบบ
สรีระทีมีความคล้ายคลึงกันและพฤติกรรมการกินอาหารสัตว์เลียงทีมีอยู่ในโลกนี หลายประเภทและ
หลายพันธุ์ ประเภทและพันธุ์ของสัตว์เลียงได้แบ่งไว้ดังนี

2.1 ประเภทสัตว์เลี ยง สัตวเ์ ลี ยงมีอยูด่ ้วยกันหลายประเภท ซึ งแต่ละประเภทก็มีความ
แตกต่างกันไปทั งด้านการกินอาหาร แหลง่ ทีอยูอ่ าศัย และพฤติกรรม เราสามารถแบ่งประเภทของ
สัตว์ได้ดังนี

29

2.1.1 แบ่งตามจุดประสงค์ของมนุษย์ทีจะนํามาใช้ประโยชน์
2.1.1.1 สัตว์ป่ า(wild animals) ได้แก่ กวาง ช้าง แรด อีเก้ง นกป่ า เสือ สิงโต งู

ไก่ป่ า กระทิง เต่า เป็นต้น
2.1.1.2 สัตว์เลียงในฟาร์ม(farm animals) ได้แก่ โค กระบือ แพะ แกะ สุกร ม้า

ลา ล่อ เป็ด ไก่ ห่าน ไก่งวง นกกระทา เป็นต้น
2.1.2 แบ่งตามวัตถปุ ระสงค์(purpose animals) ของการเลียง
2.1.2.1 เพือเป็ นสัตว์เศรษฐกิจ (economic animals) ไดแ้ ก่ โคเนือ โคนม

กระบือ สุกร ไก่เนือ ไก่ไข่ เป็ด เป็นต้น
2.1.2.2 เพือเป็ นสัตว์เศรษฐกิจทางเลือกใหม่ (new alternative economic

animals) ได้แก่ นกกระจอกเทศ อูฐ จระเข้ กวาง วัวแดง ผึง สุกรป่ า จิงหรีด เป็นต้น
2.1.2.3 เพือเป็ นสัตว์สวยงามและให้ความเพลิดเพลิน (companion animals)

ได้แก่ สุนัข แมว โคชน นกเขา กระต่าย นกสวยงาม เป็นต้น
2.1.2.4 เพือเป็นสัตว์สงวนหรือสัตว์อนุรกั ษ์พันธุ์(conservative animals) ได้แก่

วัวแดง กูปรี เป็นต้น
2.1.3 แบ่งตามสรีระ ระบบโครงร่างหรือขนาดของสัตว์
2.1.3.1 สัตว์ใหญ่ ได้แก่ ช้าง ม้า โค กระบือ ลา ลอ่ เป็นต้น
2.1.3.2 สัตว์เล็ก ได้แก่ สุกร แพะ แกะ กระต่าย สุนัข แมว เป็นต้น
2.1.3.3 สัตว์ปี ก ไดแ้ ก่ ไก่ เป็ด ไก่งวง ห่าน เป็ดเทศ นกกระทา นกกระจอกเทศ

เป็ นต้น
2.1.3.4 สัตว์นํ า ได้แก่ ปลา กุ้ง ปู หอย เป็นต้น(จัดเป็นสัตว์จําพวกการประมง)
2.1.3.5 สัตว์อืน ๆ ได้แก่ จระเข้ กบ เต่า ไหม ผึง ตะพาบนํ า งู เป็นต้น

2.1.4 แบ่งตามสรีระ ระบบย่อยอาหาร
2.1.4.1 สตั ว์กระเพาะเดียว (simple stomach) ได้แก่ สุกร ไก่ ม้า ลา ล่อ กระต่าย

หนู เป็นต้น
2.1.4.2 สัตว์กระเพาะรวม (compound stomach) ได้แก่ โค กระบือ แพะ แกะ

เป็ นต้น
2.1.5 แบ่งตามพฤติกรรมการกิน
2.1.5.1 สัตว์กินพืช(herbivores)ได้แก่ โค กระบือ แพะ แกะ ช้าง ม้า อูฐ

เป็ นต้น
2.1.5.2 สัตว์กินเนือ(carnivores) ได้แก่ เสือ สิงโต สุนัข แมว เป็นต้น

30

2.1.5.3 สัตว์กินพชื และกินเนือ(omnivores) ได้แก่ สุกร หนู เป็นต้น
2.2 พันธุ์สัตว์เลียงมาตรฐานทีควรทราบ สัตว์แต่ละชนิดมอี ยู่ด้วยกันหลายพันธุ์ ซึงแต่ละ
พนั ธุ์ก็มีรูปร่าง ลักษณะ พฤติกรรม และการกินอาหารแตกต่างกันออกไป สัตว์เลี ยงทีเป็ นสัตว์
เศรษฐกิจในโลกนี มีอยู่ด้วยกันหลายพันธุ์ดังต่อไปนี

2.2.1 พันธุ์โค โคทีเลี ยงกันในปัจจุบัน มีทั งพันธุแ์ ทแ้ ละพันธุ์ทีได้รับการคัดเลือก
ปรับปรุงพันธุ์จากการผสมข้ามพันธเุ์ ป็ นลูกผสมก่อนและพัฒนามาเป็ นพันธุ์แท้ ดงั แสดงไว้ใน
ตารางที 3.5 ซึงสามารถแบ่งออกเป็นจําพวกตามจุดประสงค์ต่าง ๆ ดังนี

2.2.1.1 พันธุ์โค แบ่งตามการให้ประโยชนไ์ ด้ ดังนี
1) โคเนือ (beef type) เป็นประเภททีเลียงไว้เพือเป็นอาหาร โดยเฉพาะ

ลักษณะเด่นของโคประเภทนี จึงมุ่งเน้นให้มเี นือมากและมีคุณภาพเนือสูง เช่น เนือสะโพก เนือสัน
เป็ นต้น จึงจะต้องมีรูปทรงเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ้า (blocky form) ทรงตํา ลําตัวยาว กว้างและลึก
คอสั นหนา มีกล้ามเนือเป็ นมัด ๆ ไม่แสดงการสะสมของไขมันโดยเฉพาะบริเวณมะพร้าวหา้ ว
โคนขาด้านหลัง เป็นต้น เป็นลักษณะทีแสดงออกถงึ การมเี นือมาก

2) โคนม (dairy type) เป็ นประเภททีเลี ยงไว้เพือรีดนมจาํ หน่าย
ลักษณะเด่นจึงมุ่งเน้นลักษณะในการให้นมมาก เช่น ความจุลําตัว เตา้ นม เป็ นต้น จึงจะต้อง
มีรูปทรงเป็ นรูปสามเหลียมรูปลิม (angular form หรือ wedge – shaped) โดยมีส่วนท้ายของลําตัว
ใหญ่กว่าส่วนหน้า แสดงถึงความจุของกระเพาะและเต้านม โคนมต้องไม่อ้วนหรือผอมเกินไป
ถ้าอ้วนมักผสมไมต่ ิดและให้ผลผลิตตํา แต่ถ้าผอมเกินไปจะไมเ่ ป็นสัดและผสมติดยาก

3) โคงาน (draft type) เป็ นประเภททีเลียงไว้เพือใช้งาน ลักษณะเด่น
จึงมุ่งเน้นลักษณะทีแสดงถึงความสามารถในการทํางาน เช่น มีความปราดเปรี ยว แข็งแรง
มีกล้ามเนือบริเวณคอ โคนขา มกี ีบเท้าข้อเท้าแข็งแรง ส่วนใหญ่เป็ นโคพันธุ์พืนเมือง เนืองจาก
เป็นโคทีมลี ักษณะรูปร่างเหมาะสมต่อการใชง้ าน

4) โคเอนกประสงค์ (multipurpose type) เป็ นประเภททีเลี ยงไว้เพือ
จุดประสงค์ตั งแต่ 2 ประการขึ นไป เช่น เพือใหเ้ นือใหน้ ม หรือเพือให้เนือใหง้ าน เช่น โคแขก
พวกเรดซินดี และซาฮิวาล เป็นตน้

2.2.1.2 พันธุ์โค แบ่งตามสายพันธุ์และแหล่งทีพบ
1) โคเนือประเภทโคซบี ู หรือโคอินเดีย หรือโคในเขตร้อน
2) โคเนือประเภทโคยุโรป หรือโคในเขตอบอุน่
3) โคเนือประเภทโคพันธุ์ลูกผสม หรือโคเนือประเภทพันธุ์ประดิษฐ์

31

โคสายพันธุ์อินเดียและยโุ รปจะมคี วามแตกต่างกันของรูปร่าง ลักษณะและคุณสมบัติ
แสดงไว้ดังตารางที3.4

ตารางที 3.4 ความแตกต่างของรูปร่าง ลักษณะและคุณสมบัติระหวา่ งโคยุโรปและโคอนิ เดีย

ลักษณะ โคยุโรป โคอินเดีย

ถินกําเนิด มกี ําเนิดในเขตอบอุน่ มีถินกําเนิดในเขตร้อน

ตะโหนก ไมม่ ตี ะโหนก มตี ะโหนก บางพันธุ์มีขนาดเล็ก

แนวหลัง ตรง จรดโคนหาง หลังแอ่น บั นท้ายสูงและหกั ลงโคน

หาง

บั นท้าย หักเป็นมมุ ฉากตรงโคนหาง บั นท้ายลาดและมน

ระดับกระดกู ระดับเดียวกัน ก้นกบอยู่ตํากวา่ สะโพก

สะโพกถึงก้นกบ

กระดกู ปลายหาง มีกระดูกจดปลายหาง ปลายหางราว8-9นิวไมม่ ีกระดกู

เหนียงคอ สั นและมนี ้อย หย่อนยานมาก

หนังพืนท้องตัวผู้ แน่นชิดลําตัว หย่อนยานหุ้มอวัยวะสืบพันธุ์

หนัง แน่น ตึง เนือทีผิวน้อย หย่อน หลวม เนือทีผิวมาก

หู สั น ตั ง ปลายมน ยาวรีปลายแหลม และมักพับห้อย

ขา สั น เดินช้า ยาว ก้าวยาวและเร็ว

ต่อมเหงือ มีน้อย มมี าก ช่วยในการระบายความร้อน

เต้านม รูปกระทะ หัวนมกระจาย รูปกรวย หัวนมรวมเป็นกระจุก

ความทนร้อน ทนร้อนได้ไมเ่ กิน 26. 7 องศาเซลเซียส ทนร้อนได้ถึง 35.9 องศาเซลเซียส

ทนต่อโรคเมือง ไม่ทนทาน ทนทานได้ดี

ร้อน

การสันผิวหนัง ไม่มี มี

เพอื ไล่แมลง

นิสัย เชืองไมต่ ืนง่าย เปรียว ประสาทไว ตืนง่าย

การกินอาหาร กินอาหารจุ กินไมจ่ ุ

การให้ผลผลติ ให้นมและเนือดี ให้นมและเนือไมด่ ี

ทีมา : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2538. เอกสารการสอนชุดวิชาการผลติ สัตว.์

32

ตารางที 3.5 แสดงข้อมูลเกยี วกับพันธุ์โคสําคัญๆ ทีควรทราบ

พนั ธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

โคเนือพันธุ์แท้ในเขตร้อน ลําสัน ลําตัวยาวลึก หน้ายาว
หน้าผากนูน ตะโหนกสูง มี
อเมริกันบราหม์ ัน รัฐเทก็ ซัส เทา ขาว แดง เหนียงคอ เหนียงท้อง หูกาง
และยาว บั นท้ายลาดมน เป็น
(American brahman) สหรัฐอเมริกา โคเนือพันธหุ์ ลักทีรัฐส่งเสริม
ให้เกษตรกรเลี ยง
อนิ ดบู ราซิล บราซิล เทาเข้ม นํ าหนักตั:ว
(Indu brazil)
เพศผู้ 800 กก.
โคพืนเมืองไทย (Native) ไทย ขาว นํ าตาล เพศเมีย 550-600 กก.
แดง คล้ายอเมริกันบราหม์ ันแต่
โครงร่างใหญ่ หูใหญ่และยาว
โคเนือพันธุ์แท้ในเขตอบอุน่ สก๊อตแลนด์ ดําปลอด มาก ตะโหนกตั งสูง ลําตัวสูงถึง
อะเบอร์ดีน แองกัส 175 ซม.เป็นโคทีเลียงกันตาม
(Aberdeen angus) สมัยนิยม หรือโคสวยงาม
นํ าหนักตัว:
เพศผู้ 1,100-1,200 กก.
เพศเมยี 650-700 กก.
หน้ายาว บอบบาง หน้าผาก
แคบ จมูกแคบ ใบหูเล็กปลาย
แหลม มีตะโหนก มเี หนียงคอ
เหนียงท้องเลก็ น้อย
นํ าหนักตัว:
เพศผู้ 300-350 กก.
เพศเมีย 200-250 กก.

หัวเล็กและยาวปานกลาง
ลําตัวยาวและลกึ เป็นสีเหลยี ม

33

ตารางที 3.5 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์โคสําคัญๆ ทีควรทราบ (ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

ไม่มีเขา

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 900 กก

เพศเมีย 700 กก.

ชอร์ทฮอร์น (Shorthorn) อังกฤษ แดง โรน ขาว หน้าสั น ขนหยิก จมกู กว้าง เขาโค้งลง

สีแดงนิยม ลา่ ง คอสั น รูปร่างเป็นสีเหลยี ม

มากทีสุด นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 850-900 กก.

เพศเมีย 600-650 กก.

เฮียฟอร์ด (Hereford) อังกฤษ สีแดงหน้าสี รูปร่างหนาเตี ยและสั น เขาค่อนข้าง

ขาว พืนท้อง สนั หรือไมม่ เี ขา

หน้าอกพูห่ าง นํ าหนักตัว:

ข้อเท้าทงั สีมี เพศผู้ 1,000 กก

สีขาว เพศเมยี 860 กก.

ชาโรเลส่ ์ (Charolais) ฝรังเศส สีครีมตลอด คอสนั รูปร่างยาว ขายาว สูงกว่า

ตัว พันธอุ์ นื ๆ เกษตรกรไทยนิยมนํามา

ผลติ เป็นลูกผสมให้เนือมาก

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 1,100-1,450 กก.

เพศเมีย 770-1,000 กก.

ลมิ ัวซีน(Limousin) ฝรังเศส สีเหลอื งออ่ น คอสั น รูปทรงคล้ายชาโรเล่ส์

ตลอดทั งตัว ตะโหนกสูง หน้าผากกว้าง

แต่ขอบตา นํ าหนักตัว:

จมูก มีสีคลํ า เพศผู้ 1,100 กก.

เพศเมีย 650-850 กก.

ซิมเมนทอล (Simmental) สวสิ เซอร์ สีนํ าตาลแดง สูงใหญ่ ลําตัวยาว ไม่มเี ขา เป็นโค

แลนด์ หน้าขาว ทวปิ ระสงค์ ให้เนือดีและให้นมมาก

(มีสายเลอื ด

34

ตารางที 3.5 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์โคสําคัญๆ ทีควรทราบ (ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

ของเฮียร์ฟอร์ด นํ าหนักตัว:

อย)ู่ พืนท้อง ขา เพศผู้ 1,100- 1,300 กก.

พูห่ าง มสี ีขาว เพศเมีย 700-800 กก.

ให้นมเฉลยี 5,000 กก. ต่อระยะ

การให้นม

โคเนือพันธุ์ประดิษฐ์

แซนต้า เกอร์ทรูดีส อเมริกา สีแดงมะฮอกกานี มขี นาดใหญ่ โตเร็ว มีเขา ผิวหนัง

(Santa gertrudis) ยืดหยุ่น มีเหนียงคอ มเี ลือด 37.5

เปอร์เซน็ ต์บราห์หมัน+62.5

เปอร์เซน็ ตช์ อร์ทฮอร์น

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 900 กก.

เพศเมยี 750 กก.

เดร้าท์มาสเตอร์ (Drought ออสเตรลีย สีแดง อาจผัน ลําตัวยาวและลึก แนวหลังตรง

master) เหนือ แปรตั งแต่สีแดง หัวใหญ่ หน้ายาวและกว้าง โตเร็ว

อ่อนไปจนถงึ ทนเห็บ มเี ลอื ด 50 เปอร์เซน็ ต์

สีแดงเข้ม โคยุโรป(เฮียร์ฟอร์ด-ชอร์ทฮอร์น)

+50 เปอร์เซน็ ต์ โคอินเดีย

(บราหม์ ัน)

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 800-900 กก.

เพศเมยี 600-700 กก.

กบินทร์บุรี ประเทศไทย สีนํ าตาลอ่อน ลําตัวหนาลึกพอประมาณ ผิวหนัง

จนถึงเข้ม ยืดหยุ่น มเี หนียงคอ ศรี ษะกว้าง

แข็งแรง หน้าผากหนาค่อนข้างยาว

มีเลอื ดซิมเมททอล 50 เปอร์เซน็ ต์

+ บราหม์ ัน50 เปอร์เซ็นต์

35

ตารางที 3.5 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์โคสําคัญๆ ทีควรทราบ (ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 800-900 กก.

เพศเมีย 500-650 กก.

ตาก จังหวัดตาก สีนํ าตาลอ่อนจนถึง มีขนาดใหญ่ โตเร็ว ทนต่อ

ประเทศไทย คล้ายสีทอง สภาพอากาศร้อน ผิวหนัง

หลวมยืดหยุ่น หน้าผากกว้าง

หน้าสั นจมูกและปากกว้าง

ข้อเท้าสั น แข็งแรง มีเลือด

ชาร์โรเลส่ ์ 62.5 เปอร์เซน็ ต+์

บราหม์ ัน37.5 เปอร์เซ็นต์

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 800-1,000 กก.

เพศเมีย 500-600 กก.

กําแพงแสน อําเภอ สีขาวครีม ขนสั นเรียบเป็นมัน จมูกและ

(Kamphaengsaen) กําแพงแสน จนถงึ สีเหลืองอ่อน ปากกว้าง ลําตัวยาวและกว้าง

จังหวัด ทั งตัว ความลกึ ของลําตัวสมดุลกับ

นครปฐม ส่วนต่างๆของร่างกาย

ประเทศไทย ขนสั นเรียบเป็นมัน จมูกและ

ปากกว้าง ลําตัวยาวและกว้าง

ความลึกของลําตัวสมดุลกับ

ส่วนต่างๆของร่างกาย

หลังกว้าง แนวหลังตรง

ไปจนถึงโคนหาง ซีโครงกาง

อกใหญ่พืนอกกว้าง มเี นือมาก

ขายาวพอควร ขณะยืน คู่ขา

หน้า-คู่ขาหลังจะห่างตั งตรง

และมั นคงข้อเท้าสั น แข็งแรง

กีบขนาดพอเหมาะ

36

ตารางที 3.5 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์โคสําคัญๆ ทีควรทราบ (ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

มเี ลือด 25 เปอร์เซ็นต์

พืนเมือง +25 เปอร์เซ็นต์ บราห์มัน

+50 เปอร์เซ็นต์ ชาโรเลส่ ์

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 600-900 กก.

เพศเมีย 400-600 กก.

ไทยบราห์มัน ประเทศไทย สีขาวเทาหรือ จมูกและปากโดยรอบมีสีดํา

(Thai Bhramun) สีแดง หรือแดงเรือ ๆ หน้าผากโค้งมน

ไปทางลูกตา หูค่อนข้างยาวปรก

เป็ นโคขนาดใหญ่ ลําตวั กว้างยาว

ผิวหนังค่อนข้างหลวมและย่นสีดํา

สามารถกระตุกได้ มีตะโหนกขนาด

ใหญ่ เหนียงคอหย่อนยาน

ค่อนข้างมาก กีบเท้าโค้งมนสีดํา

แข็งแรงเหมือนกันสีเท้า หนังหุ้ม

ลงึ ค์หย่อนยานมาก มเี ลือดบราห์มัน

100 เปอร์เซ็นต์ จากออสเตรเลีย

และบราห์มนั 100 เปอร์เซ็นต์จาก

สหรัฐอเมริกา

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 800-1,000 กก.

เพศเมีย 500-600 กก.

โคนมพันธุ์แท้ในเขตร้อน

เรดซินดี (Red sindhi) ปากีสถาน สีแดงเข้ม ลําตัวหนาแน่น บั นท้ายกลม

และลาดโค้ง หน้าผากนูน มี

เหนียงคอ-เหนียงท้อง หูรูปใบหอก

37

ตารางที 3.5 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์โคสําคัญๆ ทีควรทราบ (ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

ตะโหนกขนาดปานกลาง

เต้านมยาน หัวนมใหญ่

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 450-500 กก.

เพศเมยี 300-350 กก.

ให้นมเฉลยี 2,000-2,500 กก.

ต่อระยะการให้นม

ซาฮิวาล (Sahiwal) ปากีสถาน สีแดงออ่ น คล้ายเรดซินดีแต่ขนาดใหญ่

เป็ นโคนมทีดี กวา่ เล็กน้อย มีสีดําทีขอบใบหู

ทีสุดใน หูยาว ใบหูแคบ หน้าผากกว้าง

ปากีสถาน ลําตัวยาวและลกึ มีเหนียงคอ

และเหนียงท้อง เจ้าเนือ ขาสั น

ตะโหนกใหญ่ หัวนมใหญ่

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 550 กก.

เพศเมีย 370-450 กก.

ให้นมเฉลยี 4,000 กก. ต่อระยะ

การให้นม

โคนมพันธุ์แท้เขตหนาว-อบอ่นุ

โฮลสไตน์ ฟรีเซียน เนเธอร์แลนด์ สีขาว ดํา ขนาดใหญ่ หัวค่อนข้างยาวแคบ

(Holstein friesian) และตรง เต้านมใหญ่ ได้ชือว่าราชินี

แห่งโคนม ให้นมมากทีสุด ลําตัวรูป

สามเหลียมรูปลิม

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 800-900 กก.

เพศเมีย 600 กก.

38

ตารางที 3.5 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์โคสําคัญๆ ทีควรทราบ (ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

ให้นม 6,000-8,000 กก.

ต่อระยะการให้นม

บราวน์สวิส (Brown swiss) สวิสเซอร์แลนด์ สีนํ าตาลอ่อน โครงร่างใหญ่ หัวใหญ่ แบบ

จนถึงสีนํ าตาล หนา เดิมเป็นโคทีให้ทั งเนือและ

เข้ม มสี ีดําตาม นมปัจจุบันจัดเป็นโคนมเจ้าเนือ

แนวหลังและ นํ าหนักตัว:

แถบบนของ เพศผู้ 800 กก.

หัว ขนรอบ เพศเมยี 500-600 กก.

จมูกสีขาว ใหน้ มเฉลยี 4,500 กก. ต่อระยะ

การให้นม

เรดเดน (Reddane) เดนมาร์ก สีแดงเข้ม ขนาดใหญ่พอ ๆ กับโฮลสไตน์

ฟรีเซียน เต้านมค่อนข้างใหญ่

หัวนมใหญ่ หัวใหญ่ หน้าผาก

กว้างและแบน รูจมูกใหญ่

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 800 กก.

เพศเมีย 650-700 กก.

ให้นมเฉลีย 4,450 กก. ต่อระยะ

การให้นม

เจอร์ซี (Jersey) เกาะเจอร์ซี สีเทาปน เป็นโคนมทีมีรูปร่างตามแบบ

อังกฤษ เหลืองหรือ ฉบับของโคนมในอุดมคติ

นํ าตาล (ideal type) เป็นรูปสามเหลียม

รูปลิม มีชือเสียงในการให้

ไขมันสูงสุด มีขนาดเล็กเมือ

เทียบกับโคนมอืน ๆ

39

ตารางที 3.5 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์โคสําคัญๆ ทีควรทราบ (ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 650-700 กก.

เพศเมยี 350-500 กก.

ให้นม 3,500-4,000 กก. ต่อ

ระยะการให้นม ไขมันนมสูงถึง

5.1 เปอร์เซ็นต์

โคนมพันธุ์ประดิษฐ์

ออสเตรเลยี น อลิ ลาวาร์รา ออสเตรเลยี สีแดง โคนมทนร้อน เป็นลูกผสม

ชอร์ทฮอร์น หรือ เอไอเอส ระหวา่ งโคหลายพันธุ์คือ

(Australian Illawarra ชอร์ทฮอร์น แอร์-ชาย ดีวอน

Shorthorn หรือ AIS) มีเลือดชอร์ทฮอร์นของอังกฤษ

เป็นหลักมขี นาดใหญ่

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 700 กก.

เพศเมีย 450-600 กก.

ให้นม 3,400-3,860 กก.

ต่อระยะการให้นม

มลิ กิง ชอรท์ ฮอร์น อังกฤษ สีแดง โรน มขี นาดใหญ่ ตัวผู้เจ้าเนือ ตัวเมยี

(Milking shorthorn) หรือขาว ลําตัวยาว รูปรา่ งสามเหลยี ม

เป็ นลูกผสมโคหลายพันธุ์

เช่นเดียวกับพันธุ์เอไอเอส

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 890-1,100 กก.

เพศเมยี 625-800 กก.

ให้นมเฉลยี 3,700 กก. ต่อระยะ

การให้นม

40

ตารางที 3.5 แสดงข้อมูลเกยี วกับพันธุ์โคสําคัญๆ ทีควรทราบ(ต่อ)

พันธุ์ ถนิ กําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

ไทยมิลคก์ ิงซีบู (Thai Milking ประเทศไทย สีขาว-ดํา เป็นโคนมทนร้อนทีพัฒนาจาก

Zebu) โคนมพันธุ์ขาว-ดําผสมกับโค

ตระกูลซีบู เช่น โคบราหม์ ัน

หรือแมโ่ คบราห์มันผสม

โคพืนเมอื ง จนมีเลอื ดของ

โคนมพันธุ์ขาว-ดําอยู่ในระดับ

75 เปอร์เซ็นต์

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 650 กก.

เพศเมีย 450-500 กก.

ให้นม 3,500 กก. ต่อระยะ

การให้นม

ไทยฟรีเซียน ประเทศไทย สีขาว-ดํา แต่ เป็นโคนมทีพัฒนามาจากโคนม

(Thai-Friesian) จะมีสีดํา พันธุ์ขาว-ดําผสมกับโคซีบู

มากกว่าสีขาว เช่นซาฮิวาล เรดเซนดี

บราหม์ ัน และพันธุ์พืนเมือง

จนมเี ลือดโคนมพันธุ์ขาว-ดํา

สูงกว่า 75 เปอร์เซน็ ต์

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 700-800 กก.

เพศเมยี 550-600 กก.

ให้นม 4,500 กก. ต่อระยะ

การให้นม

ออสเตรเลียน ฟรีเซียน ออสเตรเลีย ขาว แดง หรือ เป็นโคลูกผสม ทนพยาธิและ

ซาฮิวาล หรือ เอเอฟเอส แดง-ดํา เห็บ ทนร้อน ให้นมไขมันนม

(Australian Friesian Sahiwal สูง โครงสร้างขาและกีบเท้าดี

หรือ AFS) คลอดลูกง่าย มีเลอื ด

41

ตารางที 3.5 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์โคสําคัญๆ ทีควรทราบ (ต่อ)

พันธุ์ ถนิ กําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

50 เปอร์เซ็นต์โฮลสไตน์

ฟรีเซียน 50 เปอร์เซน็ ตซ์ าฮิวาล

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 700-800 กก.

เพศเมยี 550-600 กก.

ให้นมเฉลีย 3,000 กก. ต่อระยะ

การให้นม

ทีมา : ดํารง กิตติชัยศรี และคณะ. 2546. เอกสารประมวลสาระวิชาหลักการเลียงสัตว.์

42

โคเนือพันธุ์ลิมัวซิน โคเนือพันธชุ์ าโรเลส่ ์ โคเนือพันธซุ์ ิมเมนทอล

โคเนือพันธฮุ์ ินดูบราซิล โคเนือพันธอุ์ เมริกันบราห์มัน โคเนือพันธุ์เดร้าท์มาสเตอร์

โคเนือพันธอุ์ เบอดีน แองกัส โคเนือพันธเุ์ฮียฟอร์ด โคเนือพันธชุ์ อร์ทฮอร์น

โคเนือพันธแุ์ ซนด้า เกอทรูดิส โคพืนเมืองไทย โคเนือพันธตุ์ าก

ภาพที 2 โคเนือพันธุ์ต่าง ๆ
ทีมา : http://www.nsru. ac.th/e-learning/animals/php

43

โคนมพันธโุ์ ฮลสไตน์ฟรีเซียน โคนมพันธุ์บราวนส์ วิส โคนมพันธุ์เรดเดน

โคนมพันธุ์เจอร์ซี โคนมพันธุ์แอร์ไชร์ โคนมพันธุ์เรดซินดี

โคนมพันธมุ์ ิลกิง ชอร์ทฮอร์น
ภาพที 3 โคนมพันธุ์ต่าง ๆ
ทีมา : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/php

2.2.2 พันธุ์กระบือกระบือทัวๆ ไป เรียกกันวา่ กระบือปลักและกระบือแม่นํ า กระบือ
ทีเลียงกันในปัจจุบันมีอยู่หลายพันธุ์ ซึงได้แสดงไว้ในตารางท3.ี 6 สามารถแบ่งตามพฤติกรรมและ
การให้ประโยชนไ์ ด้ดังนี

2.2.2.1 กระบือแมน่ ํ า เป็ นพวกชอบแช่นํ าใส ๆ และนํ าไหล เลี ยงไว้เพือรีดนม
ใช้งาน และบริโภคเนือ มถี ินกําเนิดแถบประเทศอินเดียและปากีสถาน

2.2.2.2 กระบือปลัก เป็ นพวกชอบนอนคลุกกับปลักโคลน เลี ยงไว้เพือใช้งาน
และบริโภคเนือ กระบือทีใช้งานในไร่นาของเกษตรกรไทยจัดเป็นกระบือปลัก

44

ตารางที 3.6 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์กระบือสําคัญ ๆ ทีควรทราบ

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

มูร่าห์ (Murrah) อินเดีย สีดํา ตัวใหญ่ หน้าผากนูน เขาม้วนงอ เต้านมเจริญดี

เป็นกระบือนมทดี ีทีสุด ตอนเหนือ ให้นมสูงสุดในอินเดีย

ของอนิ เดีย นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 550 กก.

เพศเมยี 450 กก.

ให้นมเฉลยี 4,000 กก. ต่อระยะ

การให้นม

นิลี ราวี (Nili-ravi) ปากีสถาน สีดํา/ มีขนยาวทีหน้าผาก จมูก ขาและหาง

เป็นกระบือนมทดี ีทีสุด นํ าตาล (บางทีพบแถบชมพูทีเต้านม หน้าอก) ตัวใหญ่

ของปากีสถาน ลักษณะเขาม้วนงอ คล้ายมูร่าห์ ให้นมสงูสุด

ในปากีสถาน

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 600 กก.

เพศเมีย 500 กก.

ให้นมเฉลยี 4,300 กก. ต่อระยะการให้นม

จาฟาราบาดี (Jafarabadi) อนิ เดีย สีดํา โครงร่างใหญ่ มีหน้าผาก แข็งแรง

ตะวันออก นอกจากเลี ยงไว ้รี ดนมแล้วย ั งใช้ชนกัน

เฉียงเหนือ เป็นกีฬาทีมีชือเสียงในอนิ เดีย

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 650 กก.

เพศเมยี 550 กก.

ให้นมสูงถงึ 15-20 กก. ต่อวัน

แต่ระยะการให้นมสั น

45

ตารางที 3.6 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์กระบือสําคัญ ๆ ทีควรทราบ(ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตวั รูปร่างลักษณะ

กระบือปลักไทย ประเทศไทย สีเทาจนถึงดํา รูปร่างเล็ก หูเล็ก กีบเท้าใหญ่

(Native buffalo) ขาแขง็ แรงดี มชี ือเรียกแตกต่าง

กันตามภาคต่าง ๆ เช่น

ภาคเหนือ : ควายทุย ควายแขม

ควายจาม

ภาคกลาง : ควายมะริด

ควายแกลบ

ภาคอีสาน : ควายตู้

ภาคใต้ : ควายจ้อน

ส่วนกระบือเผือกมสี ีขาว มี

ประมาณ 10 เปอร์เซน็ ต์ในไทย

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 450-650 กก.

เพศเมีย 350-450 กก.

ทีมา : จรัส สวา่ งทัพ. 2539. หลักการเลียงสัตว.์

หมายเหตุ
กระบือปลักในแถบเอเซีย ทีพบในจีน ฟิลิปปิ นส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ เวยี ดนาม พม่า กัมพชู า

ลาว ฯลฯ มีรูปร่างลักษณะคล้ายคลงึ กันเช่นเดียวกับกระบือไทย การเรียกชือกระบือแตกต่างกันไป
เช่น ชาวสเปนในฟิ ลิปปิ นส์ เรียกกระบือเพศผู้ว่า คาราบาว และเรียกกระบือเพศเมียว่า คาราเบลลา
ชาวกัมพูชา เรียกว่า กระบาย ชาวอังกฤษใน มาเลเซีย เรียกวา่ เคอร์บาว ชาวฮอลันดาในอินโดนีเซีย
เรียกวา่ คาร์บาว ชาวจีน เรียกว่า สุ่ยหนิว ชาวไทย เรียกว่า ควาย ฝรังชาวยุโรป เรียกว่า บัฟฟาโล่
เป็ นต้น

46

กระบือปลัก(กระบือไทย) กระบือแม่นํ า(มูร่าห)์ กระบือพันธุ์ผสม

ภาพที 4 กระบือพันธุ์ต่าง ๆ
ทีมา : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/php

2.2.3 พันธุ์แพะ แบ่งออกเป็ น แพะนมและแพะเนือ แพะมีอยู่หลายพันธุเ์ ลี ยงกันมาก
ในกลมุ่ ประเทศมุสลิม เนืองจากชาวมสุ ลมิ ชอบบริโภคนมและเนือแพะมาก ดังแสดงในตารางที 3.7
และ 3.8

ตารางที 3.7 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์แพะนมสําคัญ ๆ ทีครวทราบ

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

ซาเนน (Saanen) สวิสเซอร์แลนด์ สีขาวล้วน หน้าผากแบน ดั งจมูกใบหน้า

หรือขาวครีม ตรง หูเล็กชีขึ น ไม่มีเขา นํ านม

จุดดําทีจมูก ทีให้ 1,000 กก.

หู เต้านม นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 65-80 กก.

เพศเมีย 50-60 กก.

ทอ๊ กเกนเบอร์ก (Toggenburg) สวิสเซอร์แลนด์ สีนํ าตาลอ่อน จมูก-ใบหน้าตรง หน้าผากแบน

ไปจนถงึ สี มีเครา หูเล็กชขี ึ นไม่มเี ขา นํ านม

ช็อกโกแลต ทีให้ 700-800 กก.

เข้ม มีแถบ นํ าหนักตัว:

ขาวพาด เพศผู้ 65 กก.

บริเวณหน้า เพศเมยี 50 กก.

47

ตารางที 3.7 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์แพะนมสําคัญ ๆ ทีควรทราบ(ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

แอลไพน์ (Alpine) สวสิ เซอร์แลนด์ สีไมค่ ่อย ใบหน้าโค้ง กว้าง จมูกใบหน้า

แน่นอน ตรง หูชีขึ นขนไม่ยาวมาก

มตี ั งแต่สีดํา ไม่มีเครา นํ านมทีให7้ 50 กก.

จนถงึ สีขาว นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 65-80 กก.

เพศเมยี 50-60 กก.

นูเบียน (Nubian) อเมริกา มีหลายสี เช่น ลําตัวใหญ่ หู ใหญ่ยาวปรก

ดํา เทา ครีม จมูกโด่ง ไม่มีเครา ปกติไม่มีเขา

ขาว นํ าตาล นํ านมทีให2้ 50-300 กก.

แดง นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 65-80 กก.

เพศเมยี 50-70 กก.

ทีมา : จรัส สวา่ งทัพ. 2539. หลักการเลียงสัตว.์

ตารางที 3.8 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์แพะเนือสําคัญ ๆ ทีควรทราบ

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

บัวร์ (Boer) อาฟริกาใต้ สีขาว ตัวผู้อาจ ใบหูยาวปรก หลังกว้าง ซีโครง

มีแถบขนสี กางออก ขามีกล้ามเนื อ มีเขา

นํ าตาลทีคอ มเี ครา

ตลอดไป นํ าหนักตัว:

จนถึงใบหน้า เพศผู้ 80-90 กก.

และขอบตา เพศเมีย 50-70 กก.

กัตจัง (Katjang) มาเลเซีย ดํา บางตัว ขนาดเล็ก วอ่ งไว และ

อินโดนีเซีย อาจมสี ีขาว ปราดเปรียว หูสั นตั งมีเครา

บนลําตัวด้วย นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 25 กก.

เพศเมีย 20 กก.

48

ตารางที 3.8 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์แพะเนือสําคัญ ๆทีควรทราบ (ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

พืนเมอื งไทย (Thai native) ไทย มีหลายสี เช่น ขนาดเล็ก ดั งจมูกตรงเป็นสัน

ดํา นํ าตาล ระหวา่ งตาถงึ ปลายจมูก หูเล็ก

ไหม้ นํ าตาล ตั ง มเี ขา มเี ครา

อ่อน ครีม ขาว นํ าหนักตัว:

ฯลฯ เพศผู้ 30-35 กก.

เพศเมีย 20-25 กก.

ทีมา : ดํารง กิตติชัยศรี และคณะ. 2546. เอกสารประมวลสาระวชิ าหลักการเลียงสัตว.์

แพะนมพันธุ์แองโกนูเปี ยน แพะนมพันธุ์แอลไพน์ แพะนมพันธุ์ซาแนน

แพะนมพันธุ์ทอกแกนเบอร์ก แพะนมพันธบุ์ อร์ แพะนมพันธุ์แจมนาบารี

แพะเนือพันธุ์พืนเมอื ง
ภาพที 5 แพะนม และแพะเนือพันธุ์ต่าง ๆ
ทีมา : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/php

49

2.2.4 พันธุ์แกะ แบ่งเป็ น แกะขนและแกะเนือ ซึงนิยมเลี ยงกันมากในกลุ่มประเทศ
มุสลิม ซึงนิยมรบั ประทานเนือแกะมาก พันธุ์แกะมหี ลายพันธุ์ดังแสดงไว้ในตารางท3ี.9 และ 3.10

ตารางที 3.9 แสดงข้อมูลเกียวพันธุ์แกะขนสําคัญ ๆ ทีควรทราบ

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

เมอริโน (Merino) สเปนและ สีขาว ขนเล็กละเอยี ด ผิวหนังมีรอยย่น ตัวผู้มีเขา

เยอรมัน ตัวเมยี ไม่มี ชอบอยู่เป็นฝูง ผสมได้ตลอดปี

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 120-130 กก.

เพศเมีย 80-90 กก.

รองบูเยต์ (Rambouillet) สเปนและ ครีมถึง ขนเล็กละเอียด รอยย่นน้อย ร่ างใหญ่

ฝรังเศส ขาว ดูเทอะทะ โตเร็ว เนือมาก ตัวผู้มีเขาตัวเมีย

ไม่มีเขา

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 125 กก.

เพศเมีย 85 กก.

ดอร์เซท (Dorset) อังกฤษ(เดิม) สีขาว ขนปานกลาง ขนาดกลาง หางเล็กยาว มีเขา

อเมริกา(ใหม)่ ให้นมดี ลูกดก ผสมได้ตลอดปี

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 80-115 กก.

เพศเมีย 55-80 กก.

รอมเนย์ (Romney) อังกฤษ สีขาว ขนยาว หน้ากว้าง หูหนา ตาโต

ไม่มีเขา หลังตรง

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 80 กก.

เพศเมีย 60 กก.

50

ตารางที 3.9 แสดงข้อมูลเกียวพันธุ์แกะขนสําคัญ ๆ ทีควรทราบ(ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนดิ สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

ลนิ คอล์น (Lincoln) อังกฤษ สีขาว ขนยาว ลําตัวสีเหลียมลกึ หลังตรง

เป็นพันธุ์ทีใหญ่ทีสุด ไมม่ เี ขา

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 90-135 กก.

เพศเมีย 80-115 กก.

ทีมา : ดํารง กิตติชัยศรี และคณะ. 2546. เอกสารประมวลสาระวิชาหลักการเลียงสัตว.์

ตารางที 3.10 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์แกะเนือสําคัญ ๆ ทีควรทราบ

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

เซ้าท์ดาวน์(Southdown) อังกฤษ สีขาว มีสี ลําตัวสีเหลยี ม ทรงเตี ย

นํ าตาลทีหน้า หลังกว้าง ตานนู เด่น

และขา ขนละเอียดสั น ไม่มีเขา

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 85-105 กก.

เพศเมยี 60-80 กก.

ออกฟอร์ด (Oxford) อังกฤษ สีขาว โครงร่างใหญ่ หัวเรียบ หขู นาด

มีสีนํ าตาล ปานกลาง ลําตัวยาว หลังกว้าง

ทีหน้าและขา ซีโครงยืดหยุ่นดี เนือมาก

มีไขมันแทรกดี ไมม่ เี ขา

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 115-155 กก.

เพศเมยี 90-115 กก.

ซัฟโฟล์ค(Suffolk) อังกฤษ สีขาว แต่มี ขนาดใหญ่ หลังยาวตรงซีโครง

สีดําทีหัว หู กางดี ไม่มีเขา ทนร้อนได้ดี

ขา นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 115-150 กก.

เพศเมยี 90-115 กก.

51

ตารางที 3.10 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์แกะเนือสําคัญ ๆ ทีควรทราบ(ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

แฮมเชียร์ (Hampshire) อังกฤษ สีขาว มสี ี ขนาดใหญ่ แต่ปราดเปรียว

นํ าตาลเข้ม หูยาวหนา หน้ายาว

ทีหน้า หู หลังได้ระดับ ไม่มีเขา

และขา นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 125 กก.

เพศเมีย 90 กก.

พืนเมอื งไทย (Thai Native) ไทย ส่วนมาก ขนาดเล็ก จมูกตรง หูเล็กและ

สีขาว อาจมี ขนานไปกับพืน มที ั งหางสั น-

สีดํา นํ าตาล หางยาว ไมม่ เี ขา ผสมพันธุ์ได้

ตลอดปี

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 25-30 กก.

เพศเมยี 20 กก.

ดอเปอร์ อังกฤษ ขาว หัวสีดํา เป็นแกะทีมลี ักษณะเนือคุณภาพ

สูง ปรับตัวเข้ากับสิงแวดล้อม

ไดด้ ี ทนแล้ง ไมม่ เี ขา

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 80-95 กก.

เพศเมีย 60-75 กก.

บาร์บาโดส แบล็คเบลลี มสี ีนํ าตาล เป็นแกะเนือ มสี ีดําใต้คาง

อ่อนถึงเข้ม ใต้ใบหู ขอบตาและพืนท้อง

ลงมาถงึ ใต้ขา ให้ลูกดก

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 45-60 กก.

เพศเมยี 45 กก.

ซานตาอีเนส บราซิล ขาวสลับแดง เป็นแกะเนือขนาดใหญ่

ใบหูยาวปรก จมูกโค้งมน

52

ตารางที 3.10 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์แกะเนือสําคัญ ๆ ทีควรทราบ(ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 80-90 กก.

เพศเมยี 50-65 กก.

คาทาดิน สหรัฐอเมริกา ขาวสลับเทา เป็ นแกะเนื อทีปรับตัวเข้ากับ

สภาพแวดล้อมได้ดี และปลอ่ ยเลียง

ทุ่งหญ้าธรรมชาติได้ เป็ นแกะ

ใหเ้ นือทีมีคุณภาพ ไมม่ ีกลิน

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 60-95 กก.

เพศเมยี 55-60 กก.

ทีมา : จรัส สว่างทัพ. 2539. หลักการเลียงสัตว.์

แกะขนพันธุ์ดอร์เซท แกะขนพันธุ์ลินคอร์น แกะขนพันธุ์เมอริโน

แกะขนพันธุ์รอมบเู ยต์ แกะขนพันธุ์รอมเนย์

ภาพที 6 แกะขนพันธุ์ต่าง ๆ
ทีมา : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/php

53

แกะเนือพันธุ์ออกฟอร์ด แกะเนือพันธุ์เช้าว์ดาวน์ แกะเนือพันธุ์ชีฟโฟล์ค

แกะเนือพันธุ์บาร์บาโดส แกะเนือพันธุ์ชานตาอิเนส แกะเนือพันธุ์คอร์เปอ์ ร

แกะเนือพันธุ์คาทาดิน แกะเนือพันธแุ์ฮมเชียร์

ภาพที 7 แกะเนือพันธุ์ต่าง ๆ
ทีมา : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/php

2.2.5 พันธุ์สุกร สุกรทีเลี ยงกนั ในปัจจุบัน ประกอบด้วยพันธุ์ต่าง ๆ จํานวนมาก
ดังแสดงไว้ในตารางที3.11 ซึงสามารถแบ่งออกตามการให้ผลผลติ ได้ดังนี

2.2.5.1 สุกรมัน (lard type) เป็ นสุกรประเภททีมีส่วนทีให้ไขมันมาก รูปร่าง
อ้วนเตี ย ลําตัวสั น สะโพกเล็ก มไี ขมันหุ้มซากสูง หลังแอ่น ทง้อหยอ่ น หนงั ย่น เป็ นต้น สุกรพันธุ์
พืนเมืองจัดอยู่ในสุกรมัน เนืองจากซากมีเนือน้อยมมี ันมากกวา่

2.2.5.2 สุกรเบคอน (bacon type) เป็ นสุกรประเภททีมีส่วนทีให้เบคอนหรือ
เนือสามชั นมาก จึงมีขนาดใหญ่ ลําตัวยาว บาง ไหลบ่ าง หลังและบริเวณสะโพกแคบ แนวหลังและ

54

แนวพืนท้องขนานกันกับพืน สุกรเบคอนส่วนใหญ่เมือตัดเนือตามขวางแล้วจะพบมันสลับเนืออยา่ ง
ละ 3 ชั น สุกรลาร์จไวท์และแลนด์เรซจัดเป็นสุกรเบคอน

2.2.5.3 สุกรเนือ (meat type) เป็ นสุกรประเภททีมีส่วนทีใหเ้ นือแดงมาก เช่น
เนือสะโพกหรือแฮม เนือสัน เป็ นต้น มีลําตัวสั นกว่าสุกรเบคอน ไหล่และสะโพกใหญ่กว่า ส่วน
หลังโค้งเหมือนคนั ธนู แนวพืนท้องขนานกบั พืน เติบโตเร็ว มีไขมันมากกว่าสุกรเบคอน เมือ
ชําแหละแล้วซากจะให้เนือมากกวา่ มัน สุกรดูรอคเจอร์ซีจัดเป็นสุกรเนือ

ตารางที 3.11 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์สุกรสําคัญๆ ทีควรทราบ

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ
ประเภทมัน หลังแอ่นเล็กน้อย
สุกรไทยพันธุ์ควาย พวง ราด ไทย ดํา จมูกยาว หูมที ั งตั ง-ปรก ข้อดีคือ
ให้ลูกดก เลียงลกู เก่ง ข้อเสียคือ
หรือกระโดน ขา/ข้อเท้าอ่อนแอมาก
นํ าหนักตัว:
สุกรจีนพันธไุ์ หหลํา เหมยซาน จีน ดําท้องขาว
คละเพศ 60-150 กก.
ลาร์จไวท์ (Large white) อังกฤษ ขาว
ประเภทมัน หลังแอ่น จมูกยาว
หนังย่น หูตั ง ข้อดีคือ ขุนให้
อ้วนง่าย ข้อเสียคือ ขา/ข้อเท้า
อ่อนแอมาก
นํ าหนักตัว:

คละเพศ 100-150 กก.
ประเภทเบคอน หูตั ง ลําตัวยาว
และลึก ข้อดีคือ ให้ลูกดก
เติบโตเร็ว คุณภาพซากสูง
ข้อเสียคือ ถ้าขุนอ้วนจัดจะ
ไขมันสะสมมาก
นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 250-300 กก.
เพศเมยี 150-200 กก.

55

ตารางที 3.11 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์สุกรสําคัญ ๆ ทีควรทราบ(ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

แลนด์เรซ (Land race) เดนมาร์ก ขาว ประเภทเบคอน หูใหญ่พับปรก ลําตัวยาว

ไม่ลึกมาก ข้อดีคือ ให้ลูกดก เติบโตเร็ว

คุณภาพซากสูง มีกระดกู ซีโครงมากกว่า

พันธุ์อืนๆ 1 คู่ (16-17) ข้อเสียคือ ข้อเท้า

ออ่ น

นํ าหนักตัว:

คละเพศ 200-250 กก.

ดูรอคเจอร์ซี อเมริกา แดง ประเภทเนือ หูเอยี งไปข้างหน้า สันหลัง

(Duroc jersey) โค้ง ข้อดีคือ ขุนให้อ้วนง่าย ทนโรค

คุณภาพซากสูง ขอ้ เสียคือ ให้ลูกไม่ดก

นํ าหนักตัว:

เพศผู้ 450 กก.

เพศเมีย 350 กก.

แฮมเชียร์ (Hampshire) อเมริกา ดํา (คาดขาว) ประเภทเนือ หูตั ง หลังโค้ง ข้อดีคือ ให้ลูก

ทีหัวไหล่จรด ดก คณุ ภาพซากสูงให้ลูกผสม มีคุณภาพดี

ลงไปทีคู่ขา ข้อเสียคอื เลียงลูกไมเ่ ก่ง

หน้า นํ าหนักตัว:

คละเพศ 200-250 กก.

เปี ยแตรง (Pietrain) เบลเยียม ขาวสลับจุดดํา ประเภทเนือ มีกล้ามเนือมาก สะโพก

ทัวตัว ใหญ่ไขมันน้อย ตกใจง่าย มียีนสไ์ วต่อ

ความเครียด ข้อดีคือ สะโพกใหญ่

คุณภาพซากดี ให้เนือแดงสูง มันน้อย

ข้อเสียคือ เนือสีซีด ตลาดไมต่ ้องการ

อัตราการเจริญเติบโตตํา จํานวนลูกไม่ดก

เครียด ตกใจง่าย

นํ าหนักตัว:

คละเพศ 200-250 กก.

56

ตารางที 3.11 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์สุกรสําคัญ ๆ ทีควรทราบ(ต่อ)

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

ปากช่อง 3 ไทย ขาว ประเภทเนือ หูตั ง รูปร่างสมส่วน

มกี ล้ามเนือมาก มขี าหน้าและหลังดี

เป็นลูกผสมระหวา่ งพันธุ์ลาร์จไวท์และ

พันธุ์เปี ยแตรง ข้อดีคือ อัตรา

การเจริญเติบโตดี มีเนือแดงมาก ข้อเสีย

คือ เหมาะสําหรับทําเป็นพอ่ พันธสุ์ ุดท้าย

(Terminal Boar)ในการผลติ สุกรขนุ

นํ าหนักตัว:

คละเพศ 200-250 กก.

ปากช่อง 2 ไทย ขนเหลือง-ดํา ประเภทเนือ หูปรก ลําสันแขง็ แรง

แดง-ดํา ทนทาน ลูกผสมระหว่างพันธุ์เปี ยแตรง

และสุกรพันธุ์ดูรอคเจอร์ซี ข้อดีคือ อัตรา

การเจริญเติบโตและประสิทธิภาพการใช้

อาหารดี ความหนาไขมันสันหลังบาง

ข้อเสียคือเหมาะสําหรับทําเป็ นพ่อพันธุ์

สุดท้าย(Terminal Boar) ในการผลิตสุกร

ขนุ

นํ าหนักตัว: คละเพศ 200-250 กก.

ทีมา : ธาตรี จีราพันธ.ุ์ 2548. หลักการผลิตสัตว.์

57

สุกรพันธุ์ควาย สุกรพันธุ์ไหหลํา สุกรพันธุ์พวง

สุกรพันธุ์เปี ยแตรง สุกรพันธุ์แฮมเชียร์ สุกรพันธุ์ดรู ็อคเจอร์ซี

สุกรพันธุ์แลนเรซ สุกรพันธุ์ลาร์จไวท์

สุกรพันธุ์ปากช่อง2 สุกรพันธุ์ปากช่อง3

ภาพที 8 สุกรพันธุ์ต่างประเทศและสุกรไทย
ทีมา : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/php

58

2.2.6 พันธุ์ไก่ แบ่งออกเป็นไก่เนือ(broilers) ไก่ไข่ (layers) และไก่ทวิประสงค์ หรือ
ไก่ทีให้ทั งเนือและไข(่ dual purpose) นอกจากนี ยังมีพันธุ์ไก่ทีเลียงไว้เพือการกีฬา เช่น ไก่ชน หรือ
ไก่พืนเมอื งของไทย ทีประกอบด้วยพนั ธุ์ต่าง ๆ ดังแสดงไว้ในตารางที3.12

ตารางที 3.12 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์ไก่สําคัญ ๆ ทีควรทราบ

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

เล็กฮอร์นสีขาว เมดิเตอร์ สีขาว ประเภทไข่ 300 ฟองต่อปี ขึ นไป ขนาด

(Leghorn) เรเนียน ลําตัวหนัก108-2.7 กก. ลักษณะหงอน

แบบจักร เปลือกไข่สีขาว

โรดไอแลนด์แดง อเมริกา สีนํ าตาลแดง ประเภททวปิ ระสงค์ ไข่ 280-

(Rhode island red) ผิวหนังสีเหลือง 300 ฟองต่อปี ขนาดลําตัวหนัก

2.5-3.9 กก.ลักษณะหงอนแบบจักร

เปลือกไข่สีนํ าตาล

บาร์พลีมัทร๊อค อเมริกา ลายสลับสีขาว-ดํา ประเภททวปิ ระสงค์ ไข2่ 80-

(Barred plymouth ผิวหนังสีเหลือง 300 ฟองต่อปี ขนาดลําตัวหนัก

rocks) 2.7-4.3 กก. ลักษณะหงอนแบบจักร

เปลอื กไข่สีนํ าตาล

คอร์นิช อังกฤษ สีขาว ผิวหนังสี ประเภทเนือ ขนาดลําตัวหนัก3 - 4.9

(Cornish) เหลือง กก. ลักษณะหงอนแบบถั ว เปลือกไข่สี

นํ าตาล

นิวแฮมเชียร์ อเมริกา สีนํ าตาลออ่ น ประเภทเนือ ขนาดลําตัวหนัก

(New hamshire) ผิวหนังสีเหลอื ง 2.5- 3.9 กก.ลักษณะหงอนแบบจักร

เปลอื กไข่สีชมพูจนถึงนํ าตาล

พืนเมือง(ไก่อ)ู เอเซีย หลากสี มีสร้อยสี ประเภทเนือ ขนาดลําตัวหนัก

(Native) เหลอื งจักร 1.5 - 2 กก. ลักษณะหงอนแบบ

จักร เปลือกไข่สีนํ าตาล

ทีมา : อภิชัย รัตนาราหะ และสุทัศน์ ศิริ. 2527. การผสมพันธุ์สัตว์ปี ก.

59

พันธุ์ไก่กระทงเพือการค้า ได้แก่ อาร์เบอร์เอเคอร์ ฮับบาร์ด รอสวัน คอบบ์ มีท
นิค และไฮโบร ส่วนใหญ่เป็นลูกผสมทีเกิดจากการการผสมข้ามพันธุ์

พันธุ์ไก่ไข่เพือการค้า ได้แก่ ซุปเปอร์ฮาร์โก้ เอ-เอบราวน์ อีซ่าบราวน์ โกล
เดน้ ท์ฮบั บาร์ด ไฮเซค ไฮไลน์คัมเบอร์ และโกโต-120 เป็ นลูกผสมเกิดจากการผสมข้ามพันธุ์
ปัจจุบันมกี ารเลียงลูกผสมอย2ู่ สี คือ สีนํ าตาลและสีดํา

ไก่พันธุ์คอร์นิช ไก่พันธุ์นิวแฮมเชียร์ ไก่พันธุ์เล็กฮอร์น

ไก่พันธุ์พืนเมอื ง ไก่พันธุ์พืนเมือง ไก่พันธุ์ไอซ์แลนเรด

ไก่พันธุ์บาร์พลีมัทร็อค
ภาพที 9 ไก่พันธตุ์ ่าง ๆ
ทีมา : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/php

60

2.2.7 พันธุไ์ ก่ชนของไทยมีอยู่ด้วยกันหลายพันธุ์ แต่ทคี นไทยนิยมเลี ยงมีสายพันธุ์
ต่าง ๆ ดังแสดงไว้ในตารางที3.13

ตารางที 3.13 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์ไกช่ นสําคัญ ๆ ทีควรทราบ

สายพันธุ์ ขนาด สีขนทีนิยม รูปร่างลักษณะ

สายพันธุ์ไทย มี 3 ขนาด มี 5 สี มรี ูปร่างและขนาดกะทัดรัด

- เล็ก 2.5 – 2.9 กก. - สีเหลืองหางเทา ขนสวยงาม ชั นเชิงดี

- กลาง 3.0 – 3.5 กก. - สีประดู่หางดํา ปราดเปรียว ฉลาดอดทน

- ใหญ่ 3.5 กก.ขึ นไป - สีเขียวหรือเขียวพาสี เป็นเลศิ

- สีแดงหรือแดงเลอื ดนก

- สีเทาทอง

สายพันธุ์พม่า ประมาณ 3 กก. มี 2 สี มีขนาดเล็กกวา่ ไก่สายพันธุ์ไทย

- สีดอกหมาก(เทียบได้ จุดเด่นในการใช้ชน คือ ว่องไว

กับเหลอื งหางขาวของ ใช้เดือยได้ดีกว่าแข้ง มักแทงทีหู

ไทย) และตา ดีดแข้งเปลา่ ได้ดี

- สีนกกรดแดง(เทียบได้

กับสีประดู่ของไทย)

สายพันธุ์ ประมาณ 3.5 กก. สีคล้ายไก่ไทย มสี ีเขียว มขี นาดใหญ่ กระดูกใหญ่ ขน

เวยี ดนาม ขึ นไป เป็นชนิดสายพันธุ์ชนเก่ง น้อย สร้อยคอและหลังไมค่ อ่ ยมี

จุดเด่นในการใช้ชน คือ กระดูก

ใหญ่แขง็ แรง ปอดใหญ่ ชนแล้ว

ไมค่ ่อยหอบ อดทน ลําแขง็ โต

มักตีทีลําตัว

ทีมา : ดํารง กิตติชัยศรี และคณะ. 2546. เอกสารประมวลสาระวิชาหลักการเลียงสัตว.์

61

ไก่ชนพันธุ์สีเหลอื งใหญ่ ไก่ชนพันธุ์สีเขียว

ไก่ชนพันธุ์สีเทาทอง ไก่ชนพันธุ์สีประดู่หางดํา

ภาพที 10 พันธุ์ไก่ชนของไทย
ทีมา : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/php

2.2.8 พันธุ์เป็ด แบ่งออกเป็นเป็ดเนือ เป็ดไข่ และเป็ดทวิประสงค์หรือเป็ ดทีใหท้ ั งเนือ
และไข่ (dual purpose) เป็ ดไข่ทีไข่ดกทีสุดคือพันธุก์ ากี แคมเบล ซึงเป็ นพันธุ์จากต่างประเทศ
เป็ดเทศของไทยก็จัดว่าเป็นพันธุ์ทีมเี นือรสชาติอร่อย และเลี ยงง่าย ซึงประกอบด้วยพันธุ์แท้ต่างๆ
และพันธุ์ลูกผสมเพอื การค้า ดังแสดงไว้ในตารางท3ี .14

62

ตารางที 3.14 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์เป็ดสําคัญ ๆ ทีควรทราบ

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

ปักกิง(Pekin) จีน สีครีมอ่อนเกือบ ประเภทเนือ ขนาด 3.64-4.18

ขาว กก.

เป็ดเทศ (Muscovy) อเมริกาใต้ สีขาวหรือดํา หรือ ประเภทเนือ ขนาด 2.04-5.45

ขาวสลับดํา กก.

โป๊ ยฉ่าย (Mule duck) ไต้หวัน สีขาว ประเภทเนือ เป็นหมัน มีไขมัน

น้อย ขนาด 3.0 กก.

กากี แคมเบลล์ อังกฤษ กากี/นํ าตาล ประเภทไข่ 300 ฟองต่อปี

(Khaki Campbell) ขนาด 2.04-2.27 กก.

อินเดียร์รันเนอร์ อินเดีย สีเทา-ขาว และลาย ประเภทไข่ 300 ฟองต่อปี

(Indian runner) ตะวันออก สลับทีตัว ขนาดเพศผู้ 2.1 กก. ขนาด

เพศเมยี 1.8 กก.

เป็ดพืนเมืองนครปฐม ไทย ลายกาบอ้อย ปาก ประเภทเนือ-ไข่ เน้นให้เนือ

และแข้งสีเหลอื ง ขนาดเพศผู้ 3.0-3.5 กก. ขนาด

ขนคอควั นสขี าว เพศเมยี 2.5-3.0 กก.

อกแดง

เป็ดพืนเมอื งปากนํ า ไทย ขนดํา ปากและ ประเภทเนือ-ไข่ เน้นให้ไข่

แข้งสีดํา ขนหัวสี ขนาด 2.0-2.5 กก.

เขียว อกขาว

ทีมา : ธาตรี จีราพันธ.ุ์ 2548. หลักการผลิตสัตว.์

63

เป็ดพันธุ์อนิ เดียรันเนอร์ เป็ ดพั นธุ์ท่าพระ เป็ ดพันธุ์นคปรฐม

เป็ดพันธุ์ปากนํ า เป็ ดไข่พันธุ์กบินทร์บุรี เป็ดเทศกบินทร์บรุ ี

เป็ ดพันธุ์มัสโควี เป็ ดพั นธุ์กากีแคมเบลล์ เป็ดพันธุ์โป๊ ยฉ่าย

เป็ ดเนื อพันธุ์ปักกิ ง

ภาพที 11 เป็ดเนือและเป็ดไขพ่ ันธุ์ต่าง ๆ
ทีมา : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/php

64

2.2.9 พันธุ์ห่าน แบ่งออกเป็นห่านเนือ และห่านทวิประสงคห์ รือห่านทีใหท้ ั งเนือและ
ไข่ (dual purpose) ห่านทีนิยมเลี ยงไว้บริโภคเนือส่วนใหญ่จะเป็ นห่านจีนสีเทา แต่ถ้าเลี ยงไว้เพือ
ความสวยงามหรื อเฝ้ าบ้านมกั เลี ยงห่านจีนสขี าว ซึ งประกอบด้วยพนั ธุ์ต่างๆ ดังแสดงไว้ใน
ตารางที 3.15

ตารางที 3.15 แสดงข้อมูลเกียวกับพันธุ์ห่านสําคัญๆ ทีควรทราบ

พันธุ์ ถินกําเนิด สีลําตัว รูปร่างลักษณะ

จีน(Chinese) จีน สีเทาขาว ประเภทเนือ+ไข่ ขนาด 4.5-5.5

กก.

เอ็มเดน (Emden) เยอรมัน สีขาว ประเภทเนือ+ไข่ ขนาด 9.1-

11.8 กก.

ทเู ลาส(์ Toulouse) ฝรั งเศส ส่วนหัว ปี กและ ประเภทเนือ+ไข่ ขนาด 9.1-

ส่วนบนลําตัวมีสี 11.8 กก.

เทาเข้ม ส่วนลา่ ง

มสี ีขาว

อาฟริกัน(African) อาฟริกา สีนํ าตาล ประเภทเนือ ขนาด 8.2-9.1 กก.

อยี ิปต(์ Egyptian) อียิปต์ ส่วนบนมีสีเทา ประเภทเนือ ขนาด 2.5-3.5 กก.

ส่วนล่างมีสีเหลือง

ลาย ๆ

แคนาดา(Canada) แคนาดา ดํา เทา ประเภทเนือ ขนาด 4.5-5.5 กก.

ทีมา : จรัส สวา่ งทัพ. 2539. หลักการเลียงสัตว.์

65

ห่านพันธุ์ทเู ลาส์ ห่านพันธุ์เอม็ เด็น ห่านพันธุ์จีน

ห่านพันธุ์อยี ิปต์ ห่านพันธุ์แคนาดา ห่านพันธุ์อาฟริกัน

ภาพที 12 ห่านพันธุ์ต่าง ๆ
ทีมา : http://www.nsru. ac.th/e-learning/animals/php

2.2.10 พันธุ์นกกระทา พันธุ์นกกระทาทีนิยมเลียงในประเทศไทยมีอยู่พันธุ์เดียว คือ
นกกระทาญีปุ ่ น ซึงมีรายละเอียดดังแสดงไว้ในตารางท3ี.16

ตารางที 3.16 รายละเอยี ดพันธุ์นกกระทาญีปุ ่ น

สายพันธุ์ ขนาด สีขนทีนิยม ถินกําเนิด รูปร่างลักษณะ
ญีปุ ่ น มรี ูปร่างเล็ก ปราด
นกกระทาญีปุ ่ น 130-140 กรัม ลายนํ าตาลเข้ม
เปรียว สีขนลายนํ าตาล
เข้ม ตัวเมียมขี นสีเทา
ด้านล่างลําตัว มขี นที
คอสีคลํ า ตัวผู้มีขนสี
แดงด้านล่างลําตัวส่วน
คอสีนํ าตาลแดง

ทีมา :ไชยา อุ้ยสูงเนิน. 2541. นกกระทา.

66

ภาพที 13 นกกระทาญีปุ ่ น
ทีมา : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/php

2.2.11 พันธุ์นกกระจอกเทศ(Ostrich) เป็นนกทีมีขนาดใหญ่ทีสุดและบินไม่ได้ มีถิน
กําเนิดในทวปี อาฟริกาเป็นสัตว์ในตระกูลStruthionilac ตัวผู้เมือโตเต็มทีจะมีความสูงถึง2.5 เมตร
กึงหนึงเป็นความสูงของลําคอและศรีษะมีนํ าหนักประมาณ155 กิโลกรัม ส่วนตัวเมียจะมีขนาดเล็ก
กว่า ไข่ของนกกระจอกเทศมคี วามยาวเฉลยี 150 มิลลิกรัม นํ าหนักไข1่ .35 กิโลกรัม จัดว่าเป็ นไข่
ทีใหญ่ทีสุดของกล่มุ สัตว์ปี กด้วยกัน

ลักษณะทัวไป จะมีขนสีดํา ส่วนหางและปี กเป็ นขนสีขาว นกตัวเมียส่วนมาก
จะมีขนสีนํ าตาลส่วนหัวมีสีชมพูและฟ้ า ส่วนขาไมม่ ขี น ศรีษะเล็ก จงอยปากสั นและแบน ตาโตขน
ตามีสีนํ าตาลปนดํา ธรรมชาติของนกกระจอกเทศมักชอบอยู่กันเป็ นฝูงรวา 5-10 ตัว กินพืชเป็ น
อาหาร ส่วนเท้ามนี ิว2 นิวแขง็ แรงจนเป็นกีบ เมือตกใจหรือถูกรุกรานจากคนหรือสตั ว์กินเนือจะวิง
หนีได้ในอัตราความเร็ว65 กิโลเมตร/ชัวโมง และในยามคับขันจะใช้เท้าเป็นอาวุธเตะคู่ต่อสู้

สําหรับนกกระจอกเทศทีปรับปรุงพันธุ์ขึ นมาเลี ยงเป็ นการคาใ้ นปัจจุบัน แบ่ง
ออกเป็น 3 สายพันธุ์ด้วยกัน คือ

1) พันธุ์คอแดง(Red Neck)
นกกระจอกเทศสายพันธุ์นี จะมีผิวสีชมพเู ข้ม ตัวผู้จะมีขนสีดําตลอดลําตัว

ยกเว้นปลายหางและปลายปี กจะมสี ีขาว ส่วนตัวเมยี จะมีสีนํ าตาลเทา มีขนาดตัวใหญ่มาก สูง2.00-
2.50 เมตร นํ าหนัก105-165 กิโลกรัม ให้ผลผลติ เนือมาก แต่ให้ไข่น้อย ตัวผู้ค่อนข้างดุโดยเฉพาะใน
ฤดูผสมพันธุ์

2) พันธุ์คอนํ าเงิน(Blue Neck)
นกกระจอกเทศสายพันธุ์นี จะมีลักษณะผิวหนังสีฟ้ าอมเทา สีขนจะ

เหมือนกับพันธุ์คอแดงแต่ตัวจะเล็กกว่าเล็กน้อย ให้เนือน้อยกวา่ พันธุ์คอแดง แต่ให้ไข่มากกว่า
3) พันธุ์คอดํา(Black Neck or African Black)

67
นกกระจอกเทศสายพันธุน์ ี จะมีผิวหนงั สีเทาดํา เทา้ และปากสีดํา ตัวเล็ก ให้
ผลผลติ เนือน้อย แต่ให้ไข่มากกวา่ พันธุ์อนื ๆ และมีนิสัยเชือง ไม่ดุร้าย พันธุ์คอดําถือเป็ นสายพันธุท์ ี
ได้รับความนิยมเลียงมากทสี ุดในปัจจุบันเนืองจากให้ไข่ได้มาก

ภาพที 14 นกกระจอกเทศ
ทีมา : http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/php

68

เอกสารอ้างอิง

จรัส สว่างทัพ. 2539. หลักการเลียงสัตว.์ บุรีรัมย์ : โปรแกรมวิชาสัตวบาล คณะเทคโนโลยี
การเกษตร สถาบันราชภฏั บุรีรัมย.์

ไชยา อุ้ยสูงเนิน. 2541. นกกระทา. พิมพ์ครั งท4ี . กรุงเทพมหานคร : ปราณีเจริญบล็อกการพมิ พ.์
ดํารง กิตติชัยศรี และคณะ. 2546. เอกสารประมวลสาระวิชาหลักการเลียงสัตว.์ บุรีรัมย์ :

โปรแกรมวชิ าสัตวบาล คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันราชภัฏบุรีรัมย.์
ธาตรี จีราพันธ.ุ์ 2548. หลักการผลิตสัตว.์ นครสวรรค์ : คณะเทคโนโลยีการเกษตรและ

เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค.์
ปฐม เลาหะเกษตร. 2530. การเลียงห่าน. กรุงเทพมหานคร : รั วเขียว.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2538. เอกสารการสอนชุดวชิ าการผลิตสัตว์ หน่วยที 1- 15.

พิมพ์ครั งท7ี . กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชวนพิมพ.์
ศิริพันธ์ โมราถบ, สวัสดิ ธรรมบุตรและ ไสว นามคุณ. ม.ป.ป. การเลียงนกกระจอกเทศ.

ชัยนาท : ฟาร์มนกกระจอกเทศ พ.ี พ.ี
อภิชัย รัตนวราหะ และสุทัศน์ ศริ ิ. 2527. การผสมพันธุ์สัตว์ปี ก. เชียงใหม่ : คณะผลิตกรรม

การเกษตร สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ.้
“หลักการเลียงสัตว์Introduction to Animal Science”. [ม.ป.ป.] [ออนไลน]์ เข้าถงึ ได้จาก:

http://www.nsru. ac.th/e-learning/animals/php. สืบค้น 16 พฤศจิกายน 2552.


Click to View FlipBook Version