นทิ านพื้นบ้าน
ทอ้ งถ่นิ ภาคเหนือ
ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑
นิทานพื้นบ้านภาคเหนือ
สามกษัตริย์
พ่อขุนรามคำแหง พ่อขุนมังราย พ่อขุนงำเมือง เป็นโอรสของกษัตริย์ ท้ังสาม
พระองค์อยู่ในวัยเดียวกัน เป็นพระสหายกันมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์และได้เดินทางไปศึษา
ศิลปวิชาการด้วยกนั ท่ีสำนักสกุ ทันตฤษี วดั เขาสมอคอน เมืองละโว้ ครั้นเมื่อเจริญวัยต่างก็ได้
ครองเมืองทุกพระองค์ คือพ่อขุนรามคำแหงครองเมืองสุโขทัย พ่อ ขุนมังรายครองเมือง
เชียงราย (ภายหลงั ยา้ ยมาเมืองเชียงใหม่) พ่อขุนงำเมืองครองเมืองพะเยา ทั้งสามพระองค์ยัง
เปน็ พระสหายรักใครก่ นั อยู่ เช่นเม่ือครั้งพ่อขุนมังรายย้ายราชธานีมาเมืองเชียงใหม่ ยังเชิญ
พระสหายท้งั สองไปดูทำเลสร้างเมอื งด้วย
นิทานพนื้ บ้านภาคเหนือ
สามกษัตริย์
พระยาร่วงเห็นเข้าก็ทรงสมัครรักใคร่ ส่วนพระนางก็มีพระทัยตรงกัน พระยาร่วงหา
โอกาสลอบเป็นชู้กบั พระนางจนทราบถึงพระยางำเมืองจึงสั่งให้เสนาจับตัวพระยาร่วง พระยา
ร่วงจำแลงเปน็ นกเอยี้ ง พระยางำเมืองร่าย เวทมนตร์ให้นกเอี้ยงอ่อนกำลังบินไม่ได้ตกลงใน
หนองน้าซึ่งเรียกว่า “หนองเอย้ี ง” ทุกวนั นีใ้ นทส่ี ุดพระยางำเมืองจับตัวพระยาร่วงได้และกักขัง
ไว้เพราะยังตัดสินใจไม่ได้ว่าจะทำอย่างไรกับพระสหาย จึงส่งพระราชสารเชิญพระย า
มังรายพระสหายมาเปน็ ผ้ตู ดั สนิ
นิทานพ้ืนบ้านภาคเหนือ
สามกษัตรยิ ์
เม่ือพระยามังรายมาถึงเมืองพะเยาแลว้ ทรงรำพึงว่า ถา้ หากพระยาร่วงกบั พระยางำเมือง
ผิดใจกันก็จะเป็นเวรกรรม (รบราฆ่าฟันกัน) ต่อไปภายหน้า พระยามังรายจึงหาวิธีการ
ที่นมุ่ นวลคือใหพ้ ระยารว่ งเสยี ค่าสนิ ไหมแกพ่ ระยางำเมือง แล้วไกล่เกลี่ยให้ทั้งสองสหายเป็น
มิตรไมตรีกันเชน่ เดมิ
ในระหว่างนน้ั พระยาร่วงถกู จองจำอยู่ด้วยความทุกข์จึงจำแลงกายเป็นตุ่นขุดดินเป็น
รูหนีออกจากที่จำขัง บริเวณน้ันเรียกชื่อว่า “บ้านตุ่น” และรูท่ีตุ่นขุดหนีนั้นกลายเป็นแม่น้า
เรียกวา่ “หว้ นแมต่ นุ่ ”
นทิ านพ้นื บา้ นภาคเหนือ
สามกษัตริย์
แตพ่ ระยางำเมืองกจ็ ับพระยารว่ งได้อกี และพระยาร่วงทราบว่าพระยามังรายพระสหาย
มาถึงเมอื งพะเยาแลว้ จงึ ไมค่ ดิ จะหนีตอ่ ไปเมือ่ พระยามังรายตดั สนิ ให้พระยาร่วงเสียค่าสินไหม
แก่พระยางำเมอื งและให้คนื ดีเป็นมติ รไมตรีกนั ตอ่ ไป
พระยาร่วงก็รับเสียสินไหมให้แต่โดยดี ท้ังสามสหายก็พากันไปกล่าวคำสัจปฏิญาณ
กันท่รี มิ ฝง่ั แมน่ า้ “ขนุ ภ”ู ว่าต่อไปจะเป็นมิตรสหายที่ซ่ือตรงต่อกัน ไม่ทำศึกสงครามกันไม่ว่า
กรณีใด ๆ ท้ังสามกษัตริย์ทรงนั่งอิงปรึกษากันอยู่นาน จึงเรียกช่ือแม่น้า นั้นว่า “แม่อิง”
สืบต่อมาจนทกุ วนั น้ี เม่อื เสร็จพิธีปฏิญาณแล้วพระยาร่วงและพระยามังรายก็แยกย้ายกลับเมอื ง
นทิ านพืน้ บ้าน
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑