สนุ ทรียศาสตร์(และ) พุทธศลิ ป์
เก่ยี วกบั ผู้เขียน
หอมหวล บัวระภา
ดร.ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สาขาปรัชญาและศาสนา คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
ผบู้ รรยายรายวชิ าในระดบั ปริญญาตรี รายวิชาเลือกเสรีคอื 419122 ศาสนา สงั คมและ
วัฒนธรรม และ 419317 สนุ ทรียศาสตร์
ระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสาขาปรัชญา สัมมนาปรชั ญาและศาสนา และระดับดษุ ฎบัณฑติ
หลักสตู รปรัชญาและศาสนาตะวันออก วิชาสมั มนาปรชั ญาและศนา
บทที่ 1
บทน�ำ
1.ปรชั ญาและสาขาของปรัชญา
ในการจะศึกษาวิชาสุนทรียศาสตร์ให้เข้าใจรากเหง้าที่ไปท่ีมาอย่างถ่องแท้นั้นกมีความ
จำ�เป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องทำ�ความเข้าใจบริบทเบื้องต้นของวิชานี้ก่อนกเพราะไม่ว่าจะเป็น
เน้อื หา ทฤษฎี ศพั ท์เฉพาะ (technical terms) ของรายวชิ าน้ตี า่ งก็ใช้โดยอาศัยศพั ท์ดงั้ เดิม
มาจากปรัชญาและสาขาที่เกี่ยวขอ้ ง เพือ่ ใชอ้ ธบิ ายความลกึ ซ้ึงและนยั ยะทซี่ ่อนอยใู่ นระหวา่ ง
บรรทัดของภาษาทใ่ี ช้ดังน้นั จงึ เรม่ิ อธบิ ายพอสังเขปดงั ต่อไปน้ี
1.1 ความหมายของปรัชญา
วชิ าความรู้ดา้ นสนุ ทรยี ศาสตรน์ ั้นเปน็ วชิ าท่วี ่าดว้ ยความงาม และทฤษฎคี วามงามเป็นปัญหา
หนึง่ ทางปรชั ญา ฉะนนั้ การทำ�ความเขา้ ใจเกี่ยวกับทไี่ ปทมี่ าของวชิ าน้ีว่ามคี วามเก่ยี วขอ้ งกบั
ปรัชญาอยา่ งไร จงึ เป็นส่งิ ท่ีควรจะรเู้ นื่องจากวา่ ในเรอ่ื งเกณฑ์การตดั สินความงาม นัน้ มสี ่วน
ท่ีต้องท�ำ ความเข้าใจกับศพั ทแ์ ละทฤษฎที างปรัชญาในสาขาอ่ืนๆ ด้วย
Philosophy is the study of general problems concerning matters such as exis-
tence, knowledge, truth, beauty, justice, validity, mind, and language. Philos-
ophy is distinguished from other ways of addressing these questions (such as
mysticism or mythology) by its critical, generally systematic approach and its
reliance on reasoned argument. The word philosophy is of Ancient Greek ori-
gin:, meaning "love of wisdom. (http://en.wikipedia.org/wiki/Philosophy)
คำ�นิยามและรากศัพท์ท่ียกมาน้ีให้ผู้อ่านพิจารณาเพื่อความเข้าใจในภาษาเองจะดีกว่า
เพราะการแปลบางครั้งก็ทำ�ให้เรื่องง่ายกลายเป็นเร่ืองยากกแต่อย่างไรก็ตามจะพยายาม
ท�ำ ความเข้าใจกบั ค�ำ ศพั ทท์ ั้งสองนี้เพือ่ ความกระจา่ งแจ้งยง่ิ ขน้ึ
ค�ำ ว่า Philosophy และ ปรัชญา เมื่อพิจารณาจากรากศพั ทแ์ ล้วความหมายอาจจะไมต่ รง
กันนกั แตใ่ นดา้ นขอบเขตเนื้อหาวชิ าแลว้ พอจะอนโุ ลมให้เป็นเรือ่ งเดยี วกนั ได้
คำ�ว่ากPhilosophyกมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกโบราณกคือกφιλοσοφία
(philosophía) โดยคำ�วา่ Philos แปลว่า Love และ sophia หมายถึง Wisdom
ดังน้ัน คำ�วา่ Philosophy จงึ มีความหมายว่า Love of wisdom แปลวา่ รกั ในความ
รู้ รักท่จี ะมคี วามรู้ โดยใจความจงึ หมายถงึ ฝักใฝห่ รือชอบขวนขวายในในการแสวงหาความ
รเู้ พิม่ พูนสตปิ ญั ญาอย่ตู ลอดเวลา ความรปู้ ระเภทนีเ้ ป็นความรู้สามญั ท่ัวไป แต่เปน็ ความร้ทู ่ีได้
มาอยา่ งมีหลกั เกณฑ์ด้วยวธิ ีการทางปรชั ญา ดังนั้น Philosophy จึงเป็นวชิ าทีเ่ ป็น Science
of principles แปลว่าความร้แู ห่งหลัก (สวามสี ตั ยานันทปรุ :ี 2514;2) หมายความว่าความ
รทู้ ่เี ปน็ หลกั การหรอื เปน็ เกณฑ์ในการตัดสินเก่ียวกบั ปญั หาทัว่ ไป เช่น ความมีอยูจ่ ริง (ของ
สรรพสิ่ง) ความรู้ สัจธรรม ความงาม ความยุติธรรม โดยอาศัยการวิพากษ์ท่ีประกอบดว้ ย
หลักเหตุผลหรือหลักตรรกศาสตร์ ที่บอกว่าเปน็ ความรู้ทว่ั ไปเพราะเป็นความรูใ้ นระดับ(โลกิย
ปัญญา)ท่คี นธรรมดาสามญั สามารถคิดไดค้ ิดเปน็ นี่เปน็ ความหมายในทางปราชญต์ ะวนั ตกให้
ไวอ้ ยา่ งกว้างๆ
สว่ นค�ำ วา่ “ปรัชญา” มาจากศพั ท์ภาษาสนั สกฤต คอื คำ�วา่ ปร+ชญา = ปรชั ญา
(ปรดั -ยา) แปลวา่ ความรอบรู้ ความรู้ทปี่ ระเสริฐ หรอื ความปราดเปรอ่ื ง เพื่อความเขา้
ง่าย ค�ำ วา่ ปรัชญา ตรงกับภาษาบาลีวา่ ปัญญา ซึง่ แปลวา่ ความรทู้ ว่ั หรือความรอบรู้ (ในกอง
สงั ขาร) นน่ั เอง
อีกศัพท์หน่งึ ที่นกั ปรชั ญาอนิ เดยี (Radhakrishanan S.1994;42) ใชแ้ ปลความหมายของ
Philosophy คือค�ำ ว่า ทรรศนะ(Darśana) ซง่ึ มาจากรากศัพทว์ า่ ทฤศ (Drś) หมาย
ถึง การดหู รอื มองเหน็ ซึง่ การมองเห็นนหี้ มายรวมเอาทง้ั การมองเห็นโดยการสงั เกตผ่าน
ประสาทสัมผสั ทางสายตาปกติ เปน็ การตรวจสอบข้อเท็จจรงิ เปิดเผยใหเ้ ห็นใหเ้ ข้าใจด้วยการ
วพิ ากษว์ จิ ารณ์ และการมองเหน็ ด้วยความรทู้ ี่เกดิ จากการคิด เป็นการสืบคน้ ด้วยหลักการ
คดิ ทางตรรกศาสตร์ รวมถงึ การเห็นจากประสบการณ์ทางญาณทรรศนะ เป็นการหยัง่ รูเ้ ร่ือง
จติ วญิ ญาณอยา่ งเปน็ ระบบในลกั ษณะนเ้ี ปน็ การเห็นแจง้ ความจรงิ แท้ ซึง่ เกดิ ผุดขึ้นเองในใจ
โดยทันที และมคี วามหมายรวมไปถงึ เคร่ืองมือที่จะท�ำ ใหเ้ กดิ ความเหน็ แจ้งความจรงิ แทด้ ้วย
(อดิศักด์ิ ทองบุญ:2546;5)ดังนนั้ ความหมายโดยทั่วไปของคำ�วา่ ทรรศนะ จึงหมายถึงระบบ
ความคิดทางปรชั ญา หลักทฤษฎหี รือศาสตร์ ที่ผา่ นการเรียนรจู้ ากประสบการณท์ างเพทนา
การ ผสานด้วยแนวความคดิ ทฤษฎีของหลกั เหตผุ ล ระคนดว้ ยปรีชาญาณหยัง่ รภู้ ายในจติ ท่ี
เกิดสว่างกระจา่ งแจ้งในจิตโดยฉับพลัน
เม่ือรวมค�ำ นยิ ามทั้ง 3 ศัพทค์ อื คำ�ว่า Philosophy ปรัชญา และ ทรรศนะ จงึ สามารถ
กำ�หนดขอบเขตความรูท้ างปรชั ญาทเี่ ป็นหลักการ หรอื ทฤษฎเี กย่ี วกบั ขวนขวายแสวงหา
ความรู้ ความจรงิ แท้โดยผา่ นเพทนาการหรือประสาทสมั ผัสทั้ง 5 เช่นความรู้เรอ่ื งความมี
อยู่จริงของวัตถุ ความงาม ความรูท้ ี่ผ่านหลกั การหรือทฤษฎกี ารคดิ ดว้ ยหลักการ เชน่ ความ
ยตุ ิธรรม หลกั เหตุผล และความร้ทู ่ีเป็นญาณทรรศนะระดบั สูงเชน่ สัจธรรม ธรรมชาตขิ องส่ิง
ทีม่ ีอยู่จริง ตลอดจนลักษณะของสง่ิ น้นั ๆโดยอาศัยธรรมชาติของมนั เอง เป็นต้น อกี อย่างหนึ่ง
ปรัชญาถ้าเป็นแนวคิดทางตะวันตกนั้นเป็นกระบวนการแห่งความสงสัยหรือฉงนใจฉุกคิดใน
เร่ืองราวต่างๆ จึงตอ้ งเสาะแสวงหาความจริงในเรือ่ งราวน้ันๆ เรยี กว่าเปน็ การแสวงหาคำ�ถาม
มากกวา่ ค�ำ ตอบ หรือจะพูดให้เท่ๆ หน่อยกค็ ือแทนทีจ่ ะแสวงหาความจริงสิ่งทสี่ ำ�เรจ็ รปู
ตายตัวมาแลว้ แตป่ รัชญากลับตอ้ งการสิ่งที่เป็นปัญหา ฉะนัน้ กระบวนการทางปรัชญาจึง
เป็นกระบวนการแหง่ ความสงสยั และแสวงหาคำ�ถาม คน้ หา สบื ค้นเพอื่ น�ำ ให้ไปพบความจริง
นน้ั ๆ แต่ผคู้ นพบความจริงจะไม่พอใจอยแู่ ค่นัน้ เพราะความจริงทค่ี น้ พบไม่มเี สนห่ พ์ อทีจ่ ะ
ทำ�ใหน้ กั ปรัชญาฉงนสนเท่ ในกระบวนการคน้ หาความงามกเ็ ช่นกนั กองประกวดนางงาม
จกั รวาลอาจจะพอใจอยูท่ กี่ ารได้ประกาศผลวา่ ใครคือนางงามแหง่ จกั รวาลประจ�ำ ปนี ้ี แตน่ กั
สุนทรียศาสตรเ์ ขาจะคดิ ไปตอ่ ว่า ท่วี า่ งามอย่างมคี ุณค่าน้นั งามอยา่ งไร? ใชเ้ กณฑม์ าตรฐาน
ใดมาชี้นำ�? เกณฑ์เหลา่ นนั้ เชือ่ ถือไดม้ ากนอ้ ยแค่ไหน? เปน็ ต้น เสน่ห์ของแนวคดิ อย่างทีว่ ่าน้ี
กค็ อื ว่า เราอยา่ จ�ำ นนต่อความจรงิ ทีอ่ ยูต่ รงหนา้ เพราะเหตวุ ่าคนเขาบอกวา่ มันจริง? ดังนน้ั
วิชาปรัชญาจึงสามารถแบ่งขอบเขตของการแสวงหาคำ�ถามเพื่อสืบเสาะหาความรู้เป็นเครื่อง
นำ�ทางไปสูค่ วามจริงตามสาขาตา่ งๆ ดงั น้ี
1.2 สาขาของปรชั ญา
การแบ่งสาขาของวิชาปรัชญาตามคำ�นิยามน้ันอาจจะแบ่งได้หลากหลายลักษณะ
เพราะมีขอบเขตกว้างขวางครอบคลมุ ความร้หู รือศาสตร์หลายสาขา แต่ในหนงั สอื เล่มน้ีจะ
กำ�หนดขอบเขตง่ายๆ พอเปน็ แนวทางการศึกษาปรัชญาเบอ้ื งต้น เพือ่ ปทู างไปสกู่ ารเรยี นรู้
สุนทรียศาสตร์อย่างมีกฎเกณฑ์ ดังนน้ั จงึ แบง่ วชิ าปรัชญาเป็น 2 ประเภท คอื ปรัชญาบรสิ ทุ ธ์
( pure philosophy )และปรัชญาประยุกต(์ applied philosophy)
ปรัชญาบริสุทธิ์กคือกปัญหาหรือขอบเขตของปรัชญาท่ีเป็นเรื่องของปรัชญาโดยเฉพาะ
ไม่เกยี่ วขอ้ งกับขอ้ สรุปของวิชาอืน่ ๆ ทีแ่ ยกตวั ออกไปจากวิชาปรชั ญา (วิธาน สุชีวคุปต์
และคณะ:2534;11) แบง่ ออกเปน็ 4 สาขา คอื อภิปรชั ญา ญาณวทิ ยา จรยิ ศาสตร์ และ
สนุ ทรียศาสตร์
ปรัชญาประยุกต์กหมายถึงกปัญหาปรัชญาเฉพาะเรื่องเพราะเป็นปัญหาปรัชญาที่
พาดพงิ กับผลสรุปของวชิ าอื่นๆ ท่แี ยกตวั ออกไปจากวชิ าปรชั ญาแลว้ (วธิ าน สชุ ีวคุปตแ์ ละ
คณะ:2534;17) เนื้อหาของปรัชญาประยุกต์เป็นการน�ำ ปรัชญาบริสทุ ธิไ์ ปประสมประสาน
เข้ากบั เนือ้ หาของศาสตรต์ ่าง ๆ กลา่ วคอื น�ำ หลักความจริงหรือความคดิ ทไ่ี ดจ้ ากปรัชญาบริ
สุทธไ์ ปใช้ในการหาความจรงิ ในวิชาการด้านอนื่ ๆ ทำ�ให้เกิดคำ�ถามท่ศี าสตร์ตา่ ง ๆ ไมเ่ คย
ถามเก่ียวกับศาสตร์ของตัวเอง เชน่ วทิ ยาศาสตรจ์ ะไมถ่ ามว่าวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์นา่ เช่ือ
ถอื มากน้อยเพียงใด คณิตศาสตร์จะไมถ่ ามวา่ ความหมายของจำ�นวนคืออะไร แต่ปรัชญา
วทิ ยาศาสตรแ์ ละปรัชญาคณติ ศาสตร์จะเริ่มต้นดว้ ยคำ�ถามดังกล่าว ดังนน้ั ปรัชญาประยุกต์
จึงท�ำ ให้ศาสตรน์ ้นั ๆ มคี วามลกึ ซึง้ และนา่ เชอื่ ถือมากขึน้ ตวั อยา่ งปรชั ญาประยุกต์ ได้แก่
ปรชั ญาวทิ ยาศาสตร์ ปรัชญาคณติ ศาสตร์ ปรชั ญาการเมอื ง ปรชั ญาการศกึ ษา ปรัชญา
สังคม ปรชั ญาศาสนา ปรชั ญาเศรษฐศาสตร์ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง เป็นตน้
ทกี่ ลา่ วมาข้างต้นเป็นกรอบของปรัชญาโดยสังเขป ดังนนั้ เมือ่ พูดวา่ ส่งิ ใดเป็นปรชั ญาเราจะ
ต้องเขา้ ใจเบือ้ งต้นก่อนวา่ ขอบเขตของวชิ าปรัชญามีอะไรบ้าง มวี ิธกี ารศกึ ษาหรอื วธิ กี ารทาง
ปรัชญาอย่างไร? จึงจะทำ�ใหม้ องภาพของสิ่งน้ันๆวา่ เปน็ ปรชั ญาไดอ้ ยา่ งไรเพื่อให้เหมาะกบั
ขอบเขตและเนือ้ หาจงึ เสนอเฉพาะปรชั ญาบริสทุ ธ์ดิ ังต่อไป
1.2.1 อภิปรชั ญา (Metaphysics)หลักเกณฑก์ ารคน้ หาความจรงิ แท้
ค�ำ ว่า อภิปรัชญา รูปศพั ทบ์ าลีสันสกฤตมาจากรากศัพท์ คือ อภิ (อุปสรรค(Prefix))
แปลวา่ ยงิ่ ใหญ่ และ ชญฺ า (ธาต)ุ ความรู้ ประกอบเป็น ปรชั ญา แปลวา่ ความรู้ท่ปี ระเสรฐิ
ยง่ิ หรือ ปรัชญาอนั ยงิ่ หรอื ปรชั ญาชน้ั สูง(อดศิ ักดิ์ ทองบญุ :2533;1) ค�ำ น้ี เป็นศพั ทบ์ ัญญตั ิ
ขน้ึ ใชก้ บั ค�ำ ว่า Metaphysics อ่านวา่ met⋅a⋅phys⋅ics [met-uh-fiz-iks] (http://dic-
tionary.reference.com/ browse/philosophy /26/01/2009/06.00am.) ซ่ึงเปน็ คำ�ทมี่ ี
รากศพั ท์มาจากภาษกรีกว่า meta physika = The works after the physics ดงั
น้นั ค�ำ ว่า Metaphysics ตามรปู ศัพทจ์ งึ หมายถงึ วิชาทอ่ี ย่หู ลงั วชิ าฟสิ ิกส์ ซงึ่ เปน็ งานเขียน
ของอริสโตเตลิ (Aristotle กอ่ น ค.ศ.384-322) ได้แกว่ ิชา First Philosophy หรือหลกั มูล
แหง่ วชิ าความรู้
เป็นตน้ เคา้ ของวชิ าการทงั้ หลายที่วา่ ดว้ ยความเป็นจริงหรือความจรงิ แท้ (reality) ของโลก
และจกั รวาลตลอดจนธรรมชาติของมนษุ ย์ ความเป็นจริงท่อี ภปิ รชั ญาแสวงหานนั้ เป็นความ
จรงิ สดุ ทา้ ย หรือความจรงิ สงู สุดทีเ่ รียกวา่ ความจรงิ อันตมิ ะ (Ultimate Reality) อันเปน็ พนื้
ฐานท่ีมาของความจริงอน่ื ๆ ดงั นนั้ จงึ เริม่ ต้นด้วยคำ�ถามทว่ี ่าอะไรคือสิง่ ท่ีมอี ยจู่ ริง ความจรงิ
ของโลกและชวี ติ คอื อะไร อะไรคอื ความจริงอนั สงู สดุ แมก้ ระท่งั ปัญหาที่วา่ ความงามมีอยู่
จริงหรอื ไม่ อภปิ รชั ญาพยายามตอบคำ�ถามวา่ ส่ิงที่มีอย่จู ริงคืออะไรและถา้ มีค�ำ ตอบแลว้ ยงั
ถาม (และพยายามตอบ) ตอ่ ไปอีกดว้ ยว่า ทำ�ไมส่งิ ตา่ ง ๆ จึงมีอยู่แทนทีจ่ ะไมม่ ีอะไรเลย
เนอื้ หาส่วนใหญ่ของอภิปรชั ญาจงึ อธิบายเกี่ยวกับสารตั ถะ (Substance) พระเจ้า (God)
วิญญาณ (Soul) และเจตจำ�นงเสรี วา่ สิ่งเหลา่ นมี้ อี ยูจ่ ริงหรอื ไม่ ถ้ามีอยู่จริง มีอยู่อย่างไร
และทำ�ไมจึงมอี ยู่ เป็นต้น
1.2.2 ญาณวทิ ยา (Epistemology) ความรใู้ นฐานะเปน็ เครื่องมือในการแสวงหาหาความ
จรงิ แท้
ค�ำ ว่า ญาณวิทยา รปู ศพั ท์บาลีสันสกฤตมาจาก 2 ค�ำ คอื ญาณะ แปลวา่ ความรู้ รู้
แจ้ง และ วิทยา แปลว่า ความรู้ หรือ วิชา รวมกันเข้าเป็น ญาณวิทยา แปลวา่ วชิ าวา่ ด้วย
ความรู้ และเป็นศพั ท์บญั ญัติทีใ่ ชก้ บั คำ�ว่า Epistemology อ่านวา่ e·pis·te·mol·o·gy
(ĭ-pĭs'tə-mŏl'ə-jē) n. [Greek epistēmē, knowledge (from epistasthai, epistē-, to under-
stand : epi-, epi- + histasthai, middle voice of histanai, to place, determine; see stā- in
Indo-European roots) + -logy.] มีค�ำ อธิบายวา่ The branch of philosophy that studies
the nature of knowledge, its presuppositions and foundations, and its extent
and validity. (D.R.) ใช้ร่วมกับคำ�ว่า ทฤษฎคี วามรู้ (theory of knowledge ) เป็นวิชา ทีว่ า่
ด้วยบอ่ เกิด ลกั ษณะหน้าที่ ประเภท ระเบยี บวธิ ีและความสมเหตุสมผลของความรู้
(ราชบัณฑติ ยสถาน:2540;34) เป็นวชิ าท่มี ขี อบเขตเกี่ยวกับความหมายของสภาวะทเี่ รยี ก
วา่ การรู้ การรบั รู้รบั ทราบ ความร้สู ึกทีแ่ นใ่ จ การเดา ความผดิ พลาด ความจ�ำ การคน้ พบ
การพิสจู น์ การอนมุ านอ้างอิง การทำ�ให้มขี ึ้น การหาพยานหลักฐานมายนื ยัน(ความคดิ เห็น
ของตนเอง) ความกงั ขาน่าสงสัย การสะทอ้ นมมุ มอง การคดิ จนิ ตนาการ ความฝัน เปน็ ต้น
(Jonathan Rée and Urmson J.O.:2005;113)
ดังน้ัน ญาณวทิ ยาจงึ เปน็ วชิ าท่ศี ึกษาเกย่ี วกบั ธรรมชาติของความรู้ ความเปน็ ไปได้ของ
ความรู้ ส่ิงทที่ ำ�ให้ความรู้เกดิ ข้ึน ความสัมพันธ์ระหว่างผรู้ ้แู ละส่ิงท่ีถกู รู้ ตลอดจนศึกษาถึง
ลกั ษณะ ขอบเขต ประเภท และความสมเหตสุ มผลของความรู้ เนือ้ หาของญาณวิทยา
พยายามท่จี ะตอบปัญหาท่วี า่ ความรู้เกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร อะไรคือส่ิงที่เรารู้ เราจะสร้าง
ความร้ไู ดอ้ ย่างไร อะไรคือเงอ่ื นไขหรอื ปัจจยั ของความร้แู ละเกณฑ์ตดั สนิ ความรคู้ อื อะไร โดย
เฉพาะค�ำ วา่ ความสมเหตสุ มผลของความรู้ น่ันมุ่งหมายถึงความรูห้ รือส่งิ ที่มนุษยร์ ู้จกั จะต้อง
สอดคลอ้ งหรือตรงกับความเป็นจริง เชน่ เราบอกว่าเรามีความร้เู รอ่ื งรถยนต์ จะตอ้ งมีรถยนต์
จอดให้เหน็ เป็นประจักษ์ เปน็ อาทิ ดงั น้นั ญาณวทิ ยาจงึ เปน็ การสืบสวนค้นคว้าความเป็นไป
ได้ ต้นก�ำ เนิด และลกั ษณะของความรู้ของมนุษย์ ถงึ แมว้ า่ ตลอดระยะแหง่ ความเพียรพยายาม
ทจี่ ะพัฒนาทฤษฎคี วามร้ใู หเ้ พยี งพอกา้ วหน้ามาจากงานเขียนของเพลโตที่ชอื่ Theaetetus
เปน็ ตน้ มา ญาณวิทยาจงึ ไดม้ ีอทิ ธพิ ลต่อความคดิ ครอบงำ�ปรชั ญาตะวันตกมาตั้งแต่ยคุ ของ
เดส์การ์ต (Descartes:1596-1650) และจอห์น ลอ็ ก (John Locke:1632-1704) ในปัญหา
ขอ้ แย้งกนั ระหว่างความรทู้ ีเ่ ป็นเหตุผลนยิ มและประสบการณ์นยิ ม เกยี่ วกบั ปญั หาสำ�คญั เรอ่ื ง
การรับรทู้ มี่ มี าก่อนประสบการณแ์ ละหลงั ประสบการณ์ ยังไดร้ ับการถกแถลงกันอยเู่ สมอ
ดังนั้นวิธที ี่จะพิสูจน์รับความถูกต้องของความร้จู งึ ตอ้ งอาศยั ฐานรองรับทเี่ ชือ่ ถือได้ ในทาง
ปรัชญาจงึ อาศัยตรรกศาสตรเ์ ป็นเครือ่ งมอื
ตรรกศาสตร์ (logic = log⋅ic [loj-ik] ) วา่ ด้วยการใชเ้ หตผุ ลการอา้ งเหตผุ ล การตรวจ
สอบการอา้ งเหตุผลวา่ สมเหตสุ มผลหรือไม่ และขอ้ บกพรอ่ งของการอ้างเหตุผล เนื้อหาทาง
ตรรกศาสตรอ์ ธอิ บายว่าการใช้เหตุผลแบบใดเป็นการใช้เหตุผลท่ีดี นา่ เชื่อถอื มคี วามถูกตอ้ ง
และสมเหตสุ มผล การใชเ้ หตผุ ลแบบใดเป็นการใชเ้ หตผุ ลทม่ี ขี อ้ บกพรอ่ ง ไม่สมเหตสุ มผล
ดังนั้นหน้าท่ีอย่างหนึ่งของตรรกศาสตร์คือตรวจสอบการใช้เหตุผลและคำ�อธิบายของศาสตร์
ต่าง ๆ วา่ มีความนา่ เช่ือถอื มากน้อยเพยี งใด ในการเรยี นวิชาปรชั ญาตรรกศาสตร์จึงเปน็
สว่ นส�ำ คญั ในการเสนอรูปแบบทางความคดิ แบบปรัชญาทีส่ มเหตุสมผล และใชเ้ ป็นเครื่องมอื
ในการตรวจสอบรูปแบบการน�ำ เสนอความคิดของนักปรัชญาวา่ นา่ เชือ่ ถือหรอื ไม่เพยี งใด