The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by m.tao_sd, 2022-01-03 12:18:32

ชุดกิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม

ชุดที่ 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม 2564

ชดุ กจิ กรรมที่ 1 การถ่ายทอดยนี และโครโมโซม 1

นายวันชยั นราวงษ์ โรงเรยี นบ้านนา “นายกพทิ ยากร”

ชดุ กจิ กรรมท่ี 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม 2

คำนำ

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้เร่ือง ยีนและโครโมโซม จดั ทำขึ้นเพือ่ ใชป้ ระกอบกิจกรรมการจัดการ
เรยี นรรู้ ายวิชาชีววิทยา 1 รหสั วชิ า ว30241 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยชุดกิจกรรมการเรียนรู้
เลม่ นี้ เปน็ เอกสารที่เน้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ซึ่งนกั เรียนสามารถศกึ ษาหาความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง ผู้จัดทำ
ได้จัดทำขึ้นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 เอกสารประกอบ
การเรียนเล่มนี้ ประกอบด้วยใบความรู้ ใบกิจกรรม แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน และ
มภี าพประกอบทชี่ ดั เจน ตรงตามเนอ้ื หา ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ มีจำนวน 6 เล่ม ประกอบดว้ ย

ชดุ กจิ กรรมท่ี 1 การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม
ชุดกิจกรรมที่ 2 การค้นพบสารพนั ธกุ รรม
ชดุ กิจกรรมที่ 3 โครโมโซม
ชดุ กิจกรรมท่ี 4 องคป์ ระกอบและโครงสรา้ งทางเคมขี อง DNA
ชุดกจิ กรรมที่ 5 สมบตั ขิ องสารพันธกุ รรม
ชดุ กจิ กรรมท่ี 6 มวิ เทชัน
ในชุดกิจกรรมเล่มนี้เป็นชุดกิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม โดยมีเนื้อหา
เกยี่ วกบั การถ่ายทอดยีนและโครโมโซมผ่านทางกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยมุ่งเน้นให้นักเรียน
เกดิ การฝึกฝนและพฒั นาความรู้ ความเข้าใจ
ชุดกิจกรรมนี้ประกอบด้วยคำแนะนำในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้
ใบกจิ กรรม แบบทดสอบหลงั เรียน ใบเฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน ครูผู้สอนและ
ผู้สนใจโดยทั่วไป ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจ สนใจที่จะเรียนรู้ มีความมุ่งมั่นและมีความสุข
ในการศึกษาคน้ คว้าทางดา้ นวิชาชีววทิ ยาต่อไป

วนั ชยั นราวงษ์

นายวนั ชยั นราวงษ์ โรงเรยี นบา้ นนา “นายกพทิ ยากร”

ชุดกิจกรรมท่ี 1 การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม 3

สารบญั

หนา้
คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………. ก
สารบัญ………………………………………………………………………………………………………………… ข
สารบัญภาพ......................................................................................................................... ค
ผังมโนทัศน์ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้เรื่อง ยนี และโครโมโซม…………………………………………… 1
ผังมโนทศั น์เรอ่ื ง ยีนและโครโมโซม………………………………………………………………………….. 2
คำชีแ้ จง……………………………………………………………………………………………………………….. 3
คำแนะนำในการใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้………………………………………………………………… 4
มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้………………………………………. 5
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น......................................................................................................... 6
กระดาษคำตอบ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น.............................................................................. 8
ใบความรู้ท่ี 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม..................................................................... 9
ใบกจิ กรรมที่ 1.1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม................................................................ 12
ใบกิจกรรมที่ 1.2.1 โดมิโนการถ่ายทอดยนี และโครโมโซม.................................................. 13
ใบกจิ กรรมท่ี 1.2.2 ทบทวนความรกู้ ารถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม..................................... 17
แบบทดสอบหลงั เรยี น......................................................................................................... 18
กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลงั เรียน................................................................................ 20
บรรณานกุ รม....................................................................................................................... 21
แหล่งขอ้ มลู อา้ งองิ ภาพประกอบ.......................................................................................... 22
ภาคผนวก............................................................................................................................ 25
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน................................................................................................ 26
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น................................................................................................. 27
เฉลยใบกิจกรรมท่ี 1.1 การถ่ายทอดยนี และโครโมโซม....................................................... 28
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.2.1 โดมิโนการถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม.......................................... 29
เฉลยใบกิจกรรมท่ี 1.2.2 ทบทวนความรู้การถ่ายทอดยนี และโครโมโซม............................. 30

นายวนั ชยั นราวงษ์ โรงเรยี นบ้านนา “นายกพทิ ยากร”

ชุดกจิ กรรมที่ 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม 4

สารบญั ภาพ

ภาพที่ หน้า
1.1 การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิส (Mitosis)…………………………………………………………. 9
1.2 การแบง่ เซลล์แบบไมโอซิส (Meiosis)……………………………………………………….. 10
1.3 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งยีนกับโครโมโซม............................................................... 11

นายวันชัย นราวงษ์ โรงเรียนบ้านนา “นายกพทิ ยากร”

ชดุ กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม 5

ผังมโนทศั น์ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
เร่ืองยีนและโครโมโซม

ชุดกิจกรรมท่ี 3 ชุดกจิ กรรมท่ี 4
โครโมโซม องคป์ ระกอบและ
โครงสร้างทางเคมขี อง

DNA

ชดุ กิจกรรมท่ี 2 ชุดกจิ กรรมการ ชุดกจิ กรรมท่ี 5
การคน้ พบสาร เรียนรูเ้ รอ่ื ง สมบัติของสาร

พันธกุ รรม ยีนและโครโมโซม พันธุกรรม

ชดุ กิจกรรมที่ 1 ชดุ กิจกรรมที่ 6
การถ่ายทอดยนี มิวเทชัน
และโครโมโซม

นายวันชัย นราวงษ์ โรงเรียนบ้านนา “นายกพทิ ยากร”

ชุดกิจกรรมที่ 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม 6

ผังมโนทศั น์
เรอ่ื งยีนและโครโมโซม

ยีนและโครโมโซม

ควบคุม

การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม

ผา่ นทาง

ดเี อ็นเอ

มี หากเปลีย่ นแปลง

รหสั พนั ธุกรรม เกดิ มวิ เทชัน

ส่งผ่านทาง เกดิ

การสังเคราะห์โปรตีน เพ่อื mRNA เฉพาะจดุ

ได้ ประกอบด้วย ระดบั โครโมโซม

โปรตีนทเ่ี ปน็ โปรตีนเอนไซม์ พอลินิวคลโี อไทด์ ประกอบดว้ ย
องคป์ ระกอบ 1 สาย
ของเนอื้ เย่อื ควบคุม พอลินวิ คลีโอไทด์ 2 สาย
ประกอบดว้ ย
เมแทบอลิซึม ประกอบด้วย
ไรโบนิวคลีโอไทด์
สง่ ผลต่อ ดีออกซไี รโบนิวคลีโอไทด์

แสดง ลกั ษณะสงิ่ มชี ีวิต

นายวันชยั นราวงษ์ โรงเรียนบา้ นนา “นายกพิทยากร”

ชุดกจิ กรรมที่ 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม 7

คำชี้แจง

ชุดกิจกรรมการเรยี นรเู้ รอ่ื ง ยีนและโครโมโซม วชิ า ว30241 ชวี วิทยา 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4
ได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบการแก้ไขปัญหาการ
เรยี นร้วู ิชาชีววิทยา 1 ของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 มีมาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ และ
ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 มีการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรูอ้ ย่างเป็นระบบตามขัน้ ตอนการเรียนรู้จากงา่ ยไปหายาก ซึ่งนกั เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
โดยมีครเู ปน็ ผ้แู นะนำ และใหค้ ำปรกึ ษาแกน่ ักเรียน

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้เร่ืองยีนและโครโมโซม วิชา ว30241 ชีววทิ ยา 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4
เลม่ นี้ คอื ชดุ กจิ กรรมท่ี 1 การถ่ายทอดยนี และโครโมโซม ประกอบดว้ ยสาระทค่ี วรรู้ ดังน้ี

ลำดับท่ี เรื่อง

1. ใบความรูท้ ่ี 1 การถ่ายทอดยนี และโครโมโซม
2. ใบกิจกรรมท่ี 1.1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม
3. ใบกิจกรรมที่ 1.2.1 โดมิโนการถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม
4. ใบกิจกรรมที่ 1.2.2 ทบทวนความรู้การถ่ายทอดยีนและ

โครโมโซม

นายวนั ชยั นราวงษ์ โรงเรียนบา้ นนา “นายกพทิ ยากร”

ชุดกจิ กรรมท่ี 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม 8

คำแนะนำในการใช้
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้

ชุดกจิ กรรมการเรียนรเู้ รอื่ ง ยีนและโครโมโซม วิชา ว30241 ชวี วิทยา 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
ชดุ กจิ กรรมที่ 1 การถ่ายทอดยนี และโครโมโซมเล่มนี้ มีคำแนะนำในการใชด้ ังน้ี

1. ใหน้ กั เรยี นอ่านคำแนะนำในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นร้ใู หเ้ ขา้ ใจ
2. นกั เรียนต้องปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำอยา่ งเคร่งครัด
3. ขน้ั ตอนการศึกษาชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ นักเรยี นควรปฏิบตั ิดังนี้

3.1 ศกึ ษามาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง และ
จดุ ประสงค์การเรยี นรขู้ องชุดกจิ กรรมเลม่ น้ี

3.2 ทำแบบทดสอบก่อนการเรียนรู้แล้วตรวจคำตอบจากใบเฉลยคำตอบและ
รวมคะแนนการทดสอบไว้ เพอ่ื เปรยี บเทยี บกับคะแนนที่ไดจ้ ากการทดสอบหลงั การเรียนรู้

3.3 ศึกษาใบความรู้และปฏิบัติตามกิจกรรมที่ให้ไว้ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ทกุ ชดุ กจิ กรรมตามลำดบั หากไม่เข้าใจใหท้ บทวนใหมห่ รอื ปรกึ ษาครูผสู้ อน

3.4 เมอ่ื นักเรยี นปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอนดงั กล่าวมาแล้ว นกั เรยี นสามารถประเมินผล
การเรียนรขู้ องตนเองได้ โดยทำแบบทดสอบหลังเรยี นรูแ้ ลว้ ตรวจคำตอบด้วยใบเฉลยคำตอบหลังเรียน

3.5 นักเรียนนำคะแนนที่ได้มาเปรียบเทียบกับคะแนนจากแบบทดสอบก่อนการ
เรียนรู้ นักเรียนจะทราบความก้าวหน้าของตนเองในการเรียนชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้ และ
หากผลการศึกษาท่ีไดย้ ังไมด่ เี ท่าท่ีควร นักเรยี นสามารถศึกษาทบทวนบทเรยี นอีกครงั้ ได้

4. นักเรียนควรศึกษาและทำกจิ กรรมด้วยความตั้งใจ
5. นกั เรียนควรให้ความรว่ มมอื ในการทำกจิ กรรมกลุม่ อย่างเต็มความสามารถ

นายวนั ชยั นราวงษ์ โรงเรียนบา้ นนา “นายกพิทยากร”

ชดุ กจิ กรรมที่ 1 การถ่ายทอดยนี และโครโมโซม 9

สาระการเรยี นรู้

สาระชีววทิ ยา
เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและหน้าที่

ของสารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิดเกี่ยวกับ
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก การเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ กำเนิดของสิง่ มีชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และอนุกรมวธิ าน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ผลการเรียนรู้
สบื ค้นขอ้ มลู อธิบายสมบัติและหนา้ ท่ีของสารพันธุกรรม โครงสรา้ งและองค์ประกอบทางเคมี

ของ DNA และสรปุ การจำลอง DNA
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ นกั เรยี นสามารถ
1. สบื คน้ ข้อมูล อภปิ ราย และสรปุ เก่ยี วกบั การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม
2. อธิบายและสรุปไดว้ า่ ยีนอย่บู นโครโมโซม

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ นกั เรียนสามารถ
3. สือ่ สาร และแลกเปลยี่ นความรกู้ ับนักเรยี นคนอื่น

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
4. มวี ินยั
5. มุง่ ม่ันในการทำงาน
6. มีจิตสาธารณะ

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา

นายวันชัย นราวงษ์ โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร”

ชดุ กจิ กรรมที่ 1 การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม 10

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรเู้ ร่ือง ยีนและโครโมโซม
วิชา ว30241 ชีววิทยา 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4
ชดุ กจิ กรรมท่ี 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม
จำนวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที

คำชี้แจง

1. แบบทดสอบฉบับนีเ้ ปน็ แบบเลือกตอบ 4 ตวั เลอื ก
2. ให้เลือกคำตอบที่เหมาะสมที่สุดเพียงคำตอบเดียว แลว้ ทำเครือ่ งหมายกากบาท (×)

ลงในช่อง ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคำตอบ

1. จากการศกึ ษาพบวา่ ยนี จากพอ่ และแม่สามารถถา่ ยทอดไปสูล่ กู ได้ด้วยกระบวนการใด

ก. กระบวนการสบื พนั ธุ์ ข. กระบวนการถ่ายทอดยีน

ค. กระบวนการสงั เคราะห์ DNA ง. กระบวนการถา่ ยทอดโครโมโซม

2. กระบวนการแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซสิ ข้อใดกล่าวไมถ่ กู ตอ้ ง

ก. มกี ระบวนการจำลอง DNA (ระยะ S) เกิดข้นึ 1 ครง้ั

ข. เมอ่ื สิ้นสดุ ระยะ Telophase I จำนวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง

ค. ระยะ Anaphase I เปน็ การแยก sister chromatid ออกจากกนั

ง. ระยะ Anaphase I จำนวนโครโมโซมเพมิ่ เป็นสองเทา่

3. ถา้ ตอ้ งการศึกษาโครโมโซมท่ีมีรปู รา่ งเหมอื นดงั ภาพ จะต้องศึกษาในระยะใดของการแบ่งเซลล์

A. Interphase B. Prophase C. Telophase I

D. Anaphase II E. Metaphase II F. Prophase

II

ก. A , B , C ข. B , C , F

ค. C , D , E ง. B , C , E , F

4. การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิสในระยะใดทนี่ วิ เคลียสแบ่งจากหน่ึงเซลลเ์ ปน็ สองเซลล์

ก. โพรเฟส ข. เทโลเฟส

ค. แอนาเฟส ง. เมทาเฟส

นายวันชยั นราวงษ์ โรงเรียนบ้านนา “นายกพทิ ยากร”

ชดุ กิจกรรมที่ 1 การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม 11

5. การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ จะไดผ้ ลทเี่ กิดขนึ้ ตามขอ้ ใด

ก. ยนี คร่งึ หน่งึ จะมาจากแม่และอีกครงึ่ หนึ่งมาจากพอ่

ข. เซลลล์ กู ที่เกดิ ข้ึนมจี ำนวนโครโมโซมเป็นครงึ่ หนึง่ ของเซลลเ์ ริม่ ต้น

ค. โครโมโซมมีการเขา้ คกู่ นั และต่างแยกจากกนั ไปยงั เซลลล์ ูกทีเ่ กดิ ขึน้ คนละเซลล์

ง. เซลล์ลกู ทีเ่ กิดขน้ึ มโี ครโมโซมเหมือนกันทั้งหมด และมจี ำนวนโครโมโซมเท่ากับเซลล์

เริม่ ตน้

6. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซสิ จะไดผ้ ลทเ่ี กดิ ขึน้ ตามข้อใด

ก. เซลล์ลกู ทีเ่ กิดขึ้นจะมีจำนวนโครโมโซมเปน็ คร่งึ หน่ึงของเซลลเ์ รมิ่ ตน้

ข. การรวมกันระหวา่ งชดุ โครโมโซมจากเซลล์ไขแ่ ละสเปิร์มจะเปน็ ไปอย่างส่มุ

ค. มีการรวมกันของโครโมโซม ทำใหเ้ ซลลล์ กู ที่เกิดมามีจำนวนโครโมโซมคงท่ี

ง. เซลล์ลกู ทเ่ี กดิ ขึ้นมโี ครโมโซมเหมือนกันท้งั หมด และจำนวนโครโมโซมเท่าเซลล์เรมิ่ ตน้

7. ระยะใดของการแบง่ เซลล์ท่นี ิยมนำมาใช้ในการจัดเรียงคารโิ อไทป์

ก. ระยะอินเตอรเ์ ฟส ข. ระยะโพรเฟส

ค. ระยะเมตาเฟส ง. ระยะเทโลเฟส

8. เซลล์ดพิ ลอยด์ (diploid) มีความหมายตรงกับข้อใด

ก. เซลล์ลูกที่เกดิ ขน้ึ มีจำนวนโครโมโซมเปน็ ครึง่ หนึง่ ของเซลล์เริม่ ตน้

ข. เซลลล์ ูกที่เกิดข้นึ มีจำนวนโครโมโซมเปน็ สามเท่าของเซลล์เริ่มตน้

ค. โครโมโซมมกี ารเขา้ คู่กัน และตา่ งแยกจากกนั ไปยงั เซลลล์ ูกที่เกดิ ขน้ึ คนละเซลล์

ง. เซลลท์ ี่ประกอบดว้ ยโครโมโซม 2 ชุด (2n) โดยโครโมโซมจะอยกู่ นั เปน็ ค่ๆู เช่น

เซลล์ร่างกายของมนษุ ยท์ ่ปี ระกอบดว้ ยโครโมโซม 46 แท่ง

9. บริเวณท่ีควบคุมการแสดงออกของลกั ษณะทางพันธุกรรมคอื …1… และสามารถพบไดท้ ี่ ..2..

1 และ 2 หมายถงึ ข้อใดตามลำดบั

ก. โครโมโซม ยีน ข. ยนี โครโมโซม

ค. DNA โครโมโซม ง. โครโมโซม DNA

10. เซลล์ใหมท่ ่ีได้จากการแบง่ แบบไมโอซิส มสี ารพนั ธกุ รรมเหมือนเดิมหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด

ก. เหมือน เพราะมีการจำลองโครโมโซมขึ้นมาอกี 1 ชุด

ข. เหมือน เพราะมกี ารแบง่ เซลล์ครง้ั เดียว เป็นการแบง่ ครึ่งโครโมโซม

ค. อาจไม่เหมอื น เพราะขณะแบ่งเซลลอ์ าจเกิดความผดิ พลาด มบี างสว่ นของโครโมโซม

ขาดหายไป

ง. อาจไมเ่ หมอื น เพราะขณะแบ่งเซลลม์ ีการแลกเปล่ียนบางสว่ นของโครโมโซมจากการ

ไซแนปซสิ ไคแอสมา และครอสซิงโอเวอร์

นายวันชยั นราวงษ์ โรงเรยี นบา้ นนา “นายกพิทยากร”

ชุดกิจกรรมท่ี 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม 12

กระดาษคำตอบ

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ชดุ กิจกรรมการเรียนรเู้ รอ่ื ง ยนี และโครโมโซม
วิชา ว30241 ชีววิทยา 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4
ชดุ กจิ กรรมท่ี 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม

ชอื่ -สกลุ ……………………………………………………………… ชัน้ ม. 4/…... เลขที่ ……….

ข้อ ก ตวั เลือก ง
ขค

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนนที่ได้ ……………………….. คะแนน

นายวันชยั นราวงษ์ โรงเรียนบ้านนา “นายกพทิ ยากร”

ชดุ กิจกรรมท่ี 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม 13

ใบความรทู้ ี่ 1
การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม

สวัสดีครบั เพื่อนๆ ทกุ คนผมจะเป็นผ้ชู ่วย พาเพอื่ นๆ ไปหาคำตอบ
ในเร่ืองยีนและโครโมโซมกัน เพอื่ นๆ พรอ้ มหรือยงั ครบั ถ้าพรอ้ มแลว้
เราไปหาคำตอบในเรื่องแรกกนั เลย เรอื่ งการถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม
ไปกันเลย.....

การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม
สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่แต่ละชนิดประกอบขึ้นด้วยเพศที่แตกต่างกัน คือ เพศผู้และเพศเมีย
ในกระบวนการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตรุ่นใหม่เกิดขึ้น เกิดจากการปฏิสนธิระหว่าง
เซลล์สืบพันธุ์ของเพศผู้คือ สเปิร์ม และเซลล์สืบพันธุ์ของเพศเมียคือ เซลล์ไข่ ซึ่งจะได้เป็นไซโกต
และมีการเจริญเติบโตต่อไป ดังนั้นยีนจากพ่อและแม่จะมีการส่งถ่ายสู่ลูกด้วยกระบวนการดังกล่าว
นักวิทยาศาสตร์ได้ตั้งข้อสังเกตนี้มาตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 นับตั้งแต่มีการสังเกตด้วยกล้องจุลทรรศน์
เห็นการรวมตวั ของสเปริ ม์ และเซลล์ไข่ของกบและเมน่ ทะเล
ในปี พ.ศ. 2423 นกั วทิ ยาศาสตร์ได้คน้ พบสีย้อมนิวเคลียส จึงพบว่าในนวิ เคลียสมีโครงสร้าง
ที่มีลักษณะเป็นเส้น เรียกว่า โครโมโซม สีย้อมดังกล่าวทำให้นักวิทยาศาสตร์สามารถติดตามการ
เปลี่ยนแปลงของโครโมโซมขณะที่มีการแบ่งเซลล์ และทำให้รู้จักการแบ่งเซลล์ 2 แบบ คือ
การแบง่ เซลล์แบบไมโทซิส ซึ่งพบว่ากระบวนการนีเ้ ซลลล์ ูกท่ีเกิดขน้ึ จะมีโครโมโซมเหมือนกันท้ังหมด
และมีจำนวนโครโมโซมเท่ากบั เซลล์เริ่มต้น เรียกว่า เซลล์ดิพลอยด์ ดังภาพที่ 1.1 และการแบ่งเซลล์
แบบไมโอซิสที่มีผลทำให้เซลล์ลูกที่เกิดขึ้นมีจำนวนโครโมโซมเป็นครึ่งหนึ่งของเซลล์เริ่มต้น เรียกว่า
เซลล์แฮพลอยด์ ดงั ภาพที่ 1.2

ภาพที่ 1.1 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ (Mitosis)

(ท่มี า : https://play.google.com/store/apps/details?id=com.miantan.myoface)

นายวันชัย นราวงษ์ โรงเรยี นบา้ นนา “นายกพิทยากร”

ชดุ กิจกรรมท่ี 1 การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม 14

ภาพท่ี 1.2 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซสิ (Meiosis)

(ทม่ี า : https://socratic.org/questions/what-are-the-3-main-parts-of-the-cell-cycle)

ในปี พ.ศ. 2445 วอลเตอร์ ซัตตัน (Walter Sutton) เสนอทฤษฎีโครโมโซมในการถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรม (chromosome theory of inheritance) โดยเสนอสิ่งที่เรียกว่า แฟกเตอร์
ท่ีเมนเดลเคยเสนอนั้น ซง่ึ ตอ่ มาเรยี กว่า ยนี (gene) โดยยีนนา่ จะอยบู่ นโครโมโซม เพราะมีเหตุการณ์
หลายอยา่ งที่ยนี และโครโมโซมมคี วามสอดคล้องกัน ดงั น้ี

1. ยนี มี 2 ชดุ และโครโมโซมก็มี 2 ชดุ
2. ยีนและโครโมโซมสามารถถ่ายทอดไปส่รู นุ่ ลูกหลาน
3. ขณะที่มีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส โครโมโซมมีการเข้าคู่กัน และต่างแยกจากกันไปยัง
เซลล์ลูกที่เกิดขึ้นคนละเซลล์ ซึ่งลักษณะเดียวกันน้ีเกิดขึ้นได้กับยีน โดยมีการแยกตัวของแอลลีล
ท้งั สองไปยังเซลลส์ ืบพนั ธุ์
4. การแยกตัวของโครโมโซมที่เป็นคู่กันไปยังขั้วเซลล์ขณะที่มีการแบ่งเซลล์นั้น แต่ละคู่
เกดิ อยา่ งอสิ ระเช่นเดียวกบั การแยกตัวของแตล่ ะแอลลีลไปยงั เซลล์สบื พันธุ์
5. ขณะเกิดการสืบพันธุ์ การรวมของเซลล์ไข่และสเปิร์มเกิดเป็นไซโกตเปน็ ไปอย่างสุ่ม ทำให้
เกิดการรวมกันระหว่างชุดโครโมโซมจากเซลลไ์ ข่และสเปริ ์มเปน็ ไปอย่างสุ่มด้วย ซ่ึงเหมอื นกบั การทีช่ ุด

นายวนั ชยั นราวงษ์ โรงเรียนบ้านนา “นายกพทิ ยากร”

ชดุ กิจกรรมท่ี 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม 15

ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อกลับมารวมกันอีกครั้งกับแอลลีลในเซลล์สืบพันธุ์ของแม่
เม่อื มกี ารสบื พันธ์เุ ปน็ ไปอยา่ งสุ่มเช่นกนั

6. ทุกเซลล์ทพ่ี ัฒนามาจากไซโกตจะมีโครโมโซมครึ่งหนงึ่ จากแมแ่ ละอกี ครึ่งหนึง่ จากพอ่
ซึง่ ยีนครึ่งหนึ่งก็มาจากแมแ่ ละอกี คร่ึงหน่งึ ก็มาจากพ่อเชน่ กนั ทำให้ลกู ที่เกิดมาจงึ มลี กั ษณะแปรผนั
ไปจากพอ่ และแม่

ภาพที่ 1.3 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างยีนกับโครโมโซม

(ทีม่ า : http://tumcrum3.blogspot.com/2014/01/blog-post_3270.html)

สรุปได้ว่า ยีนซึ่งเป็นหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อแม่สามารถถ่ายทอดไปยัง
ลูกได้ โดยผ่านทางโครโมโซมในเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อแม่ จากการที่โครโมโซมติดสีย้อมจึงทำให้
นักวิทยาศาสตรต์ ดิ ตามการเปลยี่ นแปลงของโครโมโซมขณะท่มี กี ารแบง่ เซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส
ซง่ึ จะเหน็ โครโมโซมชัดเจนมากในระยะเมทาเฟส และเซลลล์ กู ท่ีได้จากการแบง่ เซลล์แบบไมโทซิส จะมี
จำนวนโครโมโซมเทา่ กับเซลลต์ ัง้ ต้น ส่วนเซลล์ลูกที่ได้จากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซสิ มีจำนวนลดลง
เป็นครึ่งหนึ่งจากเซลล์ตั้งต้น และจากการศึกษาทฤษฎีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามที่
วอลเตอร์ ซัตตนั เสนอไว้จนทำให้ทราบว่า ยีนอยูบ่ นโครโมโซม

นายวนั ชยั นราวงษ์ โรงเรียนบา้ นนา “นายกพิทยากร”

ชดุ กจิ กรรมที่ 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม 16

ใบกิจกรรมท่ี 1.1
การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม

ช่ือ – สกุล …………………………………………………………………….. ชั้น ม. 4/………… เลขท่ี……………

คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนตอบคำถามเกยี่ วกับการถา่ ยทอดยนี และโครโมโซมใหถ้ กู ต้อง

1. นกั เรยี นคดิ วา่ ลักษณะต่างๆ ของสิง่ มีชีวติ สามารถถา่ ยทอดไปยังลูกหลานได้อยา่ งไร
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
2. ยนี และโครโมโซม มีความสมั พันธ์กนั อย่างไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. นกั เรยี นทำเครื่องหมาย √ หนา้ ขอ้ ความทถ่ี ูก และทำเคร่อื งหมาย × หนา้ ข้อความท่ีผดิ

.................. 3.1 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซสิ มีผลทำให้เซลลล์ ูกท่ีเกิดขึ้นมีจำนวนโครโมโซมเป็น
คร่งึ หนึ่งของเซลลเ์ รมิ่ ต้น เรียกว่า เซลล์แฮพลอยด์

................. 3.2 ส่ิงมีชีวิตท่ีมีโครโมโซม 2 ชุด โครโมโซมแตล่ ะแทง่ จะมีคูข่ องตวั เอง ซึ่งมี
ลกั ษณะเหมือนกนั และมีตำแหน่งยีนท่ีเป็นคกู่ ันอยู่ตรงกนั เรยี กโครโมโซมนว้ี า่ ฮอมอโลกัส โครโมโซม
(Homologous chromosome)

................. 3.3 ยนี ที่เปน็ แอลลีลกนั จะตอ้ งอยู่ท่ีตำแหนง่ ตรงกันบนโครโมโซมทีเ่ ปน็
ฮฮโมโลกัส โครโมโซมกันเสมอ

................. 3.4 การแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซสิ ซึ่งพบว่ากระบวนการนเี้ ซลล์ลกู ท่เี กดิ ขึน้ จะมี
โครโมโซมเหมอื นกันทง้ั หมด

................. 3.5 ทุกเซลลท์ ่พี ัฒนามาจากไซโกตจะมีโครโมโซมคร่ึงหน่ึงจากแมแ่ ละอีกคร่ึงหนึ่ง
จากพ่อ ซ่งึ ยีนคร่งึ หนึง่ กม็ าจากแม่และอีกคร่งึ หน่งึ ก็มาจากพอ่ เช่นกัน
4. จำนวนโครโมโซมของเซลล์ลูกท่ีไดจ้ ากการแบง่ เซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซิสแตกตา่ งกันอย่างไร
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

นายวนั ชัย นราวงษ์ โรงเรยี นบ้านนา “นายกพทิ ยากร”

ชดุ กจิ กรรมท่ี 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม 17

ใบกิจกรรมที่ 1.2.1
โดมโิ นการถ่ายทอดยีนและโครโมโซม

จดุ ประสงค์
1. สบื คน้ ขอ้ มูล อภิปราย และสรปุ เกีย่ วกบั การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม
2. สามารถต่อโดมโิ นการถ่ายทอดยีนและโครโมโซม

วัสดุอุปกรณ์
โดมิโนการถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม จำนวน 12 ชิน้ ตอ่ กลมุ่

วธิ ที ำกจิ กรรม
1. นกั เรียนตวั แทนกลมุ่ รบั ซองโดมโิ นการถา่ ยทอดยนี และโครโมโซมจากครู ภายในมีโดมิโน

การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม จำนวน 12 ชนิ้
2. ลกั ษณะของแผ่นโดมิโนแบ่งเป็น 2 ช่อง ชอ่ งแรกเป็นระยะของการแบง่ เซลล์ในระยะตา่ งๆ

และช่องที่ 2 เป็นช่อื ระยะของการแบง่ เซลล์ ดงั ตวั อย่าง

Anaphase

3. ให้นักเรยี นหาแผน่ โดมโิ นทสี่ ามารถเข้าคู่ได้อยา่ งเหมาะสมมาต่อทางด้านหน้าและด้านหลงั
ใหม้ ีลักษณะเป็นรูปส่ีเหลีย่ มผืนผ้า (เพือ่ ใหป้ ลายด้านหน่ึงสามารถเขา้ คู่กับปลายอกี ด้านหน่ึงไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสม)

4. นกั เรียนแต่ละกล่มุ รอฟังสัญญาณเร่ิมทำกิจกรรมจากครู
5. เมือ่ ไดย้ ินสญั ญาณเริม่ ทำกิจกรรม ให้นักเรียนเปิดซองโดมโิ น และเริม่ ทำกจิ กรรม
6. นักเรียนกล่มุ ใดต่อโดมโิ นการถา่ ยทอดยนี และโครโมโซมเสร็จ พรอ้ มตรวจสอบความ
ถกู ต้องแลว้ ใหย้ กมือแลว้ พูดช่ือกลุม่ ของตวั เองพรอ้ มกนั ตามด้วยคำวา่ เย่ ตวั อยา่ ง กลุ่ม 1 เย่
7. ตัวแทนแตล่ ะกล่มุ สลับกนั ตรวจสอบความถกู ต้องของโดมิโนการถ่ายทอดยีนและโครโมโซม
ของกล่มุ เพอ่ื น ถ้ากล่มุ ใดต่อโดมโิ นการถ่ายทอดยีนและโครโมโซมผิดให้ทำการตอ่ ใหม่ให้ถกู ตอ้ ง แล้ว
บนั ทึกผล
8. นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายผลการทำกจิ กรรม

นายวนั ชัย นราวงษ์ โรงเรยี นบา้ นนา “นายกพทิ ยากร”

ชดุ กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดยนี และโครโมโซม 18
โดมโิ นการถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม

นายวนั ชยั นราวงษ์ โรงเรยี นบา้ นนา “นายกพิทยากร”

ชดุ กิจกรรมที่ 1 การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม 19

นายวันชัย นราวงษ์ โรงเรยี นบา้ นนา “นายกพทิ ยากร”

ชุดกิจกรรมที่ 1 การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม 20

สรุปผลการทำกิจกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………..…………………………………………………………………………………………………………………………………

***************************************

นายวนั ชัย นราวงษ์ โรงเรยี นบา้ นนา “นายกพทิ ยากร”

ชดุ กิจกรรมท่ี 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม 21

ใบกจิ กรรมท่ี 1.2.2
ทบทวนความรกู้ ารถ่ายทอดยนี และโครโมโซม

ชื่อ – สกุล …………………………………………………………………….. ชนั้ ม. 4/………… เลขท่ี……………
คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นโยงเสน้ จบั คคู่ วามสมั พนั ธ์เก่ียวกับการถ่ายทอดยนี และโครโมโซมให้ถกู ตอ้ ง
1.

A. Telophase II
2. B. Anaphase II
3. C. Telophase I
4. D. Telophase
5. E. Metaphase
6. F. Prophase I
7. G. Prophase II
8. H. Prophase
9. I. Anaphase I
10. J. Metaphase I

นายวันชยั นราวงษ์ โรงเรยี นบ้านนา “นายกพิทยากร”

ชุดกิจกรรมที่ 1 การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม 22

แบบทดสอบหลงั เรยี น

ชดุ กิจกรรมการเรียนรเู้ ร่ือง ยีนและโครโมโซม
วิชา ว30241 ชวี วิทยา 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4
ชุดกิจกรรมที่ 1 การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม
จำนวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลา 10 นาที

คำช้ีแจง

1. แบบทดสอบฉบับน้เี ปน็ แบบเลอื กตอบ 4 ตัวเลือก
2. ให้เลอื กคำตอบทีเ่ หมาะสมท่ีสุดเพียงคำตอบเดยี ว แล้วทำเครอ่ื งหมายกากบาท (×)

ลงในชอ่ ง ก ข ค หรอื ง ในกระดาษคำตอบ

1. ถา้ ต้องการศึกษาโครโมโซมท่ีมีรปู รา่ งเหมอื นดงั ภาพ จะตอ้ งศึกษาในระยะใดของการแบง่ เซลล์

A. Prophase B. Interphase C. Telophase I

D. Anaphase II E. Prophase II F. Metaphase II

ก. B , C , F ข. A , B , C

ค. A , C , E , F ง. C , D , E

2. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสในระยะใดทนี่ ิวเคลียสแบง่ จากหนง่ึ เซลลเ์ ปน็ สองเซลล์

ก. เทโลเฟส ข. แอนาเฟส

ค. เมทาเฟส ง. โพรเฟส

3. จากการศกึ ษาพบวา่ ยีนจากพอ่ และแมส่ ามารถถา่ ยทอดไปสลู่ ูกได้ดว้ ยกระบวนการใด

ก. กระบวนการถ่ายทอดโครโมโซม ข. กระบวนการถา่ ยทอดยีน

ค. กระบวนการสบื พันธุ์ ง. กระบวนการสงั เคราะห์ DNA

4. การแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซสิ จะได้ผลทเี่ กิดข้ึนตามข้อใด

ก. เซลล์ลกู ทีเ่ กดิ ขึ้นมจี ำนวนโครโมโซมเปน็ คร่งึ หนึง่ ของเซลล์เริม่ ตน้

ข. ยนี คร่ึงหนง่ึ จะมาจากแม่และอีกครง่ึ หน่งึ มาจากพ่อ

ค. เซลลล์ ูกทีเ่ กดิ ขึน้ มีโครโมโซมเหมือนกนั ทง้ั หมด และมจี ำนวนโครโมโซมเท่ากับเซลล์

เร่ิมตน้

ง. โครโมโซมมกี ารเข้าคู่กัน และต่างแยกจากกันไปยังเซลลล์ ูกทเี่ กิดขน้ึ คนละเซลล์

นายวนั ชัย นราวงษ์ โรงเรยี นบ้านนา “นายกพิทยากร”

ชดุ กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดยนี และโครโมโซม 23

5. กระบวนการแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซิส ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ต้อง

ก. ระยะ Anaphase I มจี ำนวนโครโมโซมเพ่ิมเปน็ สองเทา่

ข. ระยะ Anaphase I เปน็ การแยก sister chromatid ออกจากกัน

ค. เม่อื ส้ินสุดระยะ Telophase I จำนวนโครโมโซมลดลงครึง่ หนง่ึ

ง. กระบวนการจำลอง DNA (ระยะ S) เกิดข้ึน 1 ครั้ง

6. บรเิ วณที่ควบคุมการแสดงออกของลกั ษณะทางพนั ธุกรรมคอื …1… และสามารถพบไดท้ ี่..2..

1 และ 2 หมายถึงข้อใดตามลำดบั

ก. ยนี โครโมโซม ข. DNA โครโมโซม

ค. โครโมโซม DNA ง. โครโมโซม ยีน

7. เซลลด์ ิพลอยด์ (diploid) มีความหมายตรงกับข้อใด

ก. เซลล์ทป่ี ระกอบด้วยโครโมโซม 2 ชุด (2n) โดยโครโมโซมจะอยกู่ ันเปน็ คู่ๆ เช่น

เซลลร์ ่างกายของมนษุ ย์ท่ปี ระกอบดว้ ยโครโมโซม 46 แทง่

ข. เซลล์ลกู ที่เกดิ ขน้ึ มจี ำนวนโครโมโซมเป็นสามเทา่ ของเซลล์เรมิ่ ตน้

ค. โครโมโซมมีการเข้าคูก่ นั และตา่ งแยกจากกันไปยงั เซลลล์ ูกท่ีเกดิ ขึ้นคนละเซลล์

ง. เซลลล์ กู ที่เกดิ ขึ้นมจี ำนวนโครโมโซมเปน็ ครงึ่ หนง่ึ ของเซลลเ์ รม่ิ ตน้

8. เซลล์ใหมท่ ไ่ี ด้จากการแบง่ แบบไมโอซสิ มีสารพันธกุ รรมเหมอื นเดิมหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด

ก. เหมือน เพราะมีการแบ่งเซลลค์ รง้ั เดยี ว เป็นการแบ่งครึ่งโครโมโซม

ข. อาจไม่เหมือน เพราะขณะแบง่ เซลลม์ กี ารแลกเปลีย่ นบางสว่ นของโครโมโซมจากการ

ไซแนปซิส ไคแอสมา และครอสซิงโอเวอร์

ค. เหมอื น เพราะมกี ารจำลองโครโมโซมขึน้ มาอีก 1 ชดุ

ง. อาจไม่เหมือน เพราะขณะแบง่ เซลลอ์ าจเกิดความผดิ พลาด มีบางสว่ นของโครโมโซม

ขาดหายไป

9. การแบง่ เซลล์แบบไมโอซสิ จะได้ผลท่ีเกิดข้ึนตามขอ้ ใด

ก. การรวมกันระหวา่ งชุดโครโมโซมจากเซลลไ์ ขแ่ ละสเปริ ม์ จะเป็นไปอยา่ งส่มุ

ข. มีการรวมกันของโครโมโซม ทำให้เซลลล์ ูกที่เกดิ มามีจำนวนโครโมโซมคงที่

ค. เซลล์ลูกที่เกดิ ขึน้ มโี ครโมโซมเหมือนกันทั้งหมด และจำนวนโครโมโซมเทา่ เซลลเ์ รม่ิ ตน้

ง. เซลลล์ กู ที่เกิดขนึ้ จะมีจำนวนโครโมโซมเป็นครึ่งหนึ่งของเซลล์เริม่ ต้น

10. ระยะใดของการแบ่งเซลลท์ ่ีนยิ มนำมาใช้ในการจดั เรียงคาริโอไทป์

ก. ระยะเทโลเฟส ข. ระยะโพรเฟส

ค. ระยะอนิ เตอร์เฟส ง. ระยะเมตาเฟส

นายวนั ชัย นราวงษ์ โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร”

ชดุ กจิ กรรมที่ 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม 24

กระดาษคำตอบ

แบบทดสอบหลงั เรยี น

ชุดกิจกรรมการเรยี นรเู้ รือ่ ง ยีนและโครโมโซม
วชิ า ว30241 ชีววิทยา 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4
ชุดกจิ กรรมที่ 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม

ชอื่ -สกลุ ……………………………………………………………… ชั้น ม. 4/…... เลขท่ี ……….

ขอ้ ก ตวั เลอื ก ง
ขค

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนนที่ได้ ……………………….. คะแนน

นายวันชยั นราวงษ์ โรงเรยี นบา้ นนา “นายกพิทยากร”

ชดุ กิจกรรมที่ 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม 25

บรรณานุกรม

กิตติพัฒน์ อุโฆษกจิ . (2549). พนั ธุศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพม์ หาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.
ตรีทพิ ย์ รตั นวรชยั . (2552). อณพู ันธุศาสตร์เบอ้ื งตน้ มหัศจรรย์ของดเี อ็นเอ. กรุงเทพฯ :

สำนกั พิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ปรีชา สวุ รรณพินจิ และนงลักษณ์ สุวรรณพินจิ . (2553). ชวี วทิ ยา 2. พิมพค์ รง้ั ที่ 8. กรุงเทพฯ :

สำนกั พิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
ยภุ า ผลโภค และคณะ. (2546). หลกั พันธศุ าสตร์. กรงุ เทพฯ : สมาคมพนั ธุศาสตร์แห่งประเทศไทย.
เศรษฐวัชร ฉ่ำศาสตร.์ (2553). พนั ธศุ าสตร์. เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาพันธุศาสตร์

มหาวิทยาลัยบูรพา
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2556). หนังสอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เติม

ชวี วิทยา เล่ม 4. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.
สมาน แก้วไวยทุ ธ. (2556). ชีววทิ ยา ม.6 เลม่ 5. พมิ พค์ รัง้ ที่ 2 . กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ.์
สภุ าลัย ไชตสุต. (2551). พนั ธศุ าสตร์. พมิ พ์ครง้ั ที่ 2 . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ของมหาวทิ ยาลัย

รามคำแหง.
Cecie Starr. (2551). ชวี วิทยา 1. แปลโดย ทมี คณาจารย์ ภาควชิ าชวี วทิ ยา

มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. กรุงเทพฯ : เจเอสที พบั ลิชชงิ่ .

นายวันชัย นราวงษ์ โรงเรยี นบา้ นนา “นายกพทิ ยากร”

ชดุ กิจกรรมท่ี 1 การถ่ายทอดยนี และโครโมโซม 26

แหล่งขอ้ มลู อ้างอิงภาพประกอบ

ภาพหนา้ ปก
ภาพพ้ืนหลงั . (ออนไลน)์ . เขา้ ถึงได้จาก:

https://i.pinimg.com/originals/4d/f9/72/4df972468709971c2faf316dcedd69d
4.jpg (วนั ท่ีสืบคน้ ขอ้ มลู 26 มิถนุ ายน 2558)
ภาพดีเอ็นเอ. (ออนไลน)์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก:
http://www.nuovapsicologiadisintesi.com/seminari/kryon-il-dna-e-lintenzione-
di-ascendere/ (วนั ที่สบื ค้นขอ้ มูล 26 มิถุนายน 2558)
ภาพดเี อ็นเอ. (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://www.pinterest.co.uk/pin/70437471672161/
(วนั ทสี่ บื ค้นข้อมูล 26 มิถุนายน 2558)
ภาพโครโมโซม. (ออนไลน์). เข้าถงึ ไดจ้ าก:
https://www.youtube.com/watch?v=iaKPHn3Sk3Y (วันทสี่ บื ค้นขอ้ มูล 26
มิถุนายน 2558)
ภาพ X-ray diffraction. (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ ได้จาก:
http://dnaandsocialresponsibility.blogspot.com/2011/03/short-and-simple-ish-
guide-to-x-ray.html (วันทีส่ บื ค้นขอ้ มูล 26 มิถุนายน 2558)
ภาพพนื้ หลงั ในเอกสาร
ภาพพ้นื หลัง. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
https://www.vexels.com/vectors/preview/76582/spring-grass (วันที่สบื ค้นข้อมลู
27 เมษายน 2558)
ภาพดีเอน็ เอ. (ออนไลน)์ . เข้าถึงได้จาก: https://www.shutterstock.com/image-vector/dna-
strands-vector-76196551 (วนั ทสี่ บื คน้ ข้อมูล 27 เมษายน 2558)
ภาพประกอบอื่นๆ
ภาพตน้ ไมด้ เี อน็ เอ. (ออนไลน์). เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://www.capturethebrilliance.com/your-
biological-clock/ (วันที่สบื คน้ ข้อมูล 28 เมษายน 2558)
ภาพดเี อ็นเอบริเวณหัวข้อเรือ่ ง. (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ได้จาก :
https://manuelsolanos.wordpress.com/2014/09/25/creatividad-publicitaria-
adn-de-la-marca/ (วันท่ีสืบค้นข้อมลู 28 เมษายน 2558)

นายวนั ชัย นราวงษ์ โรงเรยี นบา้ นนา “นายกพทิ ยากร”

ชดุ กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม 27

ภาพพน้ื หลังคำชี้แจง. (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ข้อมูลไดจ้ าก:
http://pixelbrush.ru/2013/05/19/backgrounds-landscapes-for-children-7-fony-
peyzazhi-dlya-detey-7.html (วันท่สี บื คน้ ขอ้ มูล 28 เมษายน 2558)

ภาพพื้นหลงั มาตรฐานการเรียนรู้. (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ขอ้ มลู ได้จาก: https://suwalls.com/digital-
art/butterfly-in-the-meadow-18580/ (วนั ท่ีสืบค้นขอ้ มลู 28 เมษายน 2558)

ใบความรูท้ ี่ 1 การถา่ ยทอดยีนและโครโมโซม
ภาพเด็กผู้ชาย. (ออนไลน)์ . เข้าถึงไดจ้ าก:

https://play.google.com/store/apps/details?id=com.miantan.myoface(วันที่สืบคน้
ขอ้ มูล 27 เมษายน 2558)
ภาพการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส. (ออนไลน์). เขา้ ถึงข้อมูลได้จาก:
https://socratic.org/questions/what-are-the-3-main-parts-of-the-cell-cycle
(วันทส่ี ืบคน้ ข้อมลู 29 เมษายน 2558)
ภาพการแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ . (ออนไลน)์ . เขา้ ถึงข้อมลู ไดจ้ าก:
https://biologydictionary.net/meiosis/#prettyPhoto/0/ (วันทสี่ ืบค้นขอ้ มลู 29
เมษายน 2558)
ภาพความสัมพนั ธร์ ะหว่างยนี กับโครโมโซม. (ออนไลน)์ . เข้าถึงขอ้ มลู ได้จาก:
http://tumcrum3.blogspot.com/2014/01/blog-post_3270.html (วันท่สี ืบคน้ ขอ้ มูล
29 เมษายน 2558)
ใบกิจกรรมท่ี 1.1 การถ่ายทอดยนี และโครโมโซม
พ้ืนหลังกรอบใบกจิ กรรมท่ี 1.1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม. (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได้จาก:
https://www.freevector.com/spring-vector-meadow (วันที่สบื ค้นขอ้ มลู 29 เมษายน
2558)
ใบกจิ กรรมท่ี 1.2.1 โดมิโนการถ่ายทอดยีนและโครโมโซม
พน้ื หลงั กรอบใบกิจกรรมที่ 1.2.1 โดมโิ นการถ่ายทอดยนี และโครโมโซม. (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ข้อมลู ได้
จาก: https://klwy2543.wordpress.com/about/ (วนั ท่สี ืบค้นข้อมูล 29 เมษายน
2558)
ภาพการแบง่ เซลล์ระยะเมทาเฟส. (ออนไลน)์ . เข้าถึงขอ้ มูลไดจ้ าก:
https://www.biologycorner.com/APbiology/inheritance/9-1_mitosis.html (วันที่
สืบค้นขอ้ มูล 29 เมษายน 2558)

นายวันชัย นราวงษ์ โรงเรยี นบ้านนา “นายกพทิ ยากร”

ชดุ กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม 28

ภาพโดมิโนการแบง่ เซลล์แบบไมโทซสิ . (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ข้อมูลได้จาก:
https://sites.google.com/site/karbaengsell1212312121/home/kar-baeng-sell-
baeb-mi-tho-sis-mitosis (วันท่ีสืบค้นข้อมูล 29 เมษายน 2558)

ภาพโดมโิ นการแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ . (ออนไลน)์ . เขา้ ถึงข้อมูลได้จาก:
http://www.printablediagram.com/free-and-printable-diagram-of-meiosis/ (วันที่
สืบค้นขอ้ มลู 29 เมษายน 2558)

ใบกิจกรรมท่ี 1.2.2 ทบทวนความรู้การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม
พ้ืนหลงั กรอบใบกจิ กรรมที่ 1.2.2 ทบทวนความรู้การถ่ายทอดยนี และโครโมโซม. (ออนไลน์). เขา้ ถงึ

ขอ้ มลู ได้จาก: https://klwy2543.wordpress.com/about/ (วันทีส่ ืบคน้ ขอ้ มลู 29
เมษายน 2558)
ภาพการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส. (ออนไลน)์ . เขา้ ถึงข้อมลู ไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/karbaengsell1212312121/home/kar-baeng-sell-
baeb-mi-tho-sis-mitosis (วันท่ีสืบค้นข้อมูล 29 เมษายน 2558)
ภาพการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส. (ออนไลน์). เขา้ ถึงขอ้ มูลได้จาก:
http://www.printablediagram.com/free-and-printable-diagram-of-meiosis/ (วันที่
สบื คน้ ข้อมลู 29 เมษายน 2558)

นายวันชยั นราวงษ์ โรงเรียนบา้ นนา “นายกพิทยากร”


Click to View FlipBook Version