The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มารู้จักอ่างทอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by punpatps.1108, 2020-10-26 11:35:48

มารู้จักอ่างทอง

มารู้จักอ่างทอง

มารูจ้ กั จงั หวดั อา่ งทอง

คานา

รายงานเลม่ นีจ้ ดั ทาขนึ้ เพ่ือเป็นสว่ นหน่งึ ของวชิ า คอมพิวเตอร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที4
เพ่ือใหไ้ ดศ้ กึ ษาหาความรูใ้ นเร่อื ง จงั หวดั อ่างทอง และไดศ้ กึ ษาอย่างเขา้ ใจเพ่ือเป็น
ประโยชนก์ บั การเรียนผจู้ ดั ทาหวงั ว่ารายงานเล่มนีจ้ ะเป็นประโยชนก์ บั ผอู้ ่านหรอื
นกั เรยี นนกั ศกึ ษาท่ีกาลงั หาขอ้ มลู เรอ่ื งนีอ้ ยหู่ ากมขี อ้ แนะนาหรอื ขอ้ ผิดพลาดประการ
ใดผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่นี ีด้ ว้ ย

สารบญั

บทท1่ี ภมู ศิ าสตร์

1.1 ทตี่ งั้ และอาณาเขต
1.2 ภมู ปิ ระเทศ
1.3 ภมู ิอากาศ

บทท2ี่ ประวัตศิ าสตร์

2.1 ท่ีมาของช่ือ
2.2 การกอ่ ตงั้ เมือง
2.3 สมยั อยธุ ยา

บทท3่ี สัญลักษณป์ ระจาจังหวดั
บทท4่ี การเมอื งการปกครอง

4.1 หนว่ ยการปกครอง
4.2 เจา้ เมืองและผวู้ า่ ราชการจงั หวดั

บทท5่ี ประชากร
บทท6่ี ศาลหลักเมือง
บทท7่ี การขนส่ง

7.1 ระยะทางจากตวั เมืองไปยงั อาเภอตา่ งๆ

บทท8ี่ บุคคลทมี่ ชี อ่ื เสยี ง
บทท9่ี สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วและทพ่ี กั ในจังหวดั อ่างทอง
บทท1่ี 0รายชอื่ วดั ในจังหวัดอ่างทอง
บรรณานุกรม

มารู้จักจงั หวัดอ่างทอง

อา่ งทอง เป็นจงั หวดั หน่งึ ในภาคกลางของประเทศไทย ตงั้ อยใู่ นท่รี าบล่มุ
แมน่ า้ เจา้ พระยา เป็นจงั หวดั ท่เี ป็นแหลง่ ผลิตหตั ถกรรมพืน้ บา้ น เชน่ ต๊กุ ตา
ชาววงั งานจกั สาน เป็นตน้

ภมู ิศาสตร์

ทตี่ ัง้ และอาณาเขต

จงั หวดั อ่างทองเป็นพืน้ ท่รี าบลมุ่ ภาคกลาง พิกดั ภมู ิศาสตรเ์ สน้ รุง้ ท่ี 14 องศา
35 ลปิ ดา 12 พิลปิ ดาเหนือ เสน้ แวงท่ี 100 องศา 27 ลิปดา ห่างจาก
กรุงเทพมหานครมาตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 (บางปะอิน-พยหุ ะ
คีร)ี ระทางประมาณ 108 กิโลเมตร และเสน้ ทางเรอื ตามแมน่ า้ เจา้ พระยาถึง
ตลาดท่าเตียน ระยะทางประมาณ 120 กิโลเมตร มีรูปรา่ งลกั ษณะคลา้ ยรูป
ส่เี หล่ียมจตั รุ สั มีส่วนกวา้ งตามแนวทิศตะวนั ออกถึงทิศตะวนั ตก และสว่ นยาว
ตามแนวทิศเหนือถงึ ทิศใตใ้ กลเ้ คยี งกนั คือ ประมาณ 40 กิโลเมตร มพี ืน้ ท่ี
ทงั้ หมด 968.372 ตารางกิโลเมตรหรอื ประมาณ 605,232.5 ไร่ และมีอาณา
เขตดงั นี้
ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั อาเภอค่ายบางระจนั อาเภอพรหมบรุ ี อาเภอทา่
ชา้ ง จงั หวดั สิงหบ์ รุ ี และอาเภอทา่ วงุ้ จงั หวดั ลพบรุ ี
ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั อาเภอผกั ไหแ่ ละอาเภอบางบาล จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กบั อาเภอบางปะหนั อาเภอมหาราช และอาเภอบา้ น
แพรก จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กบั อาเภอเมอื งสพุ รรณบรุ ี อาเภอศรปี ระจนั ต์ อาเภอ
สามชกุ และอาเภอเดมิ บางนางบวช จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ภูมิประเทศ

จงั หวดั อา่ งทอง มีลกั ษณะภมู ปิ ระเทศโดยท่วั ไปเป็นท่รี าบลมุ่ ลกั ษณะคลา้ ย
อา่ ง ไมม่ ีภเู ขา ดินเป็นดินเหนียวปนทราย พืน้ ท่สี ว่ นใหญ่เหมาะแกก่ ารปลกู
ขา้ ว ทาไร่ ทานา และทาสวน และมแี ม่นา้ สายสาคญั ไหลผ่าน 2 สาย คอื
แมน่ า้ เจา้ พระยาและแมน่ า้ นอ้ ย แมน่ า้ เจา้ พระยาเป็นแมน่ า้ สายแขนงท่ไี หล
ผา่ นจงั หวดั นครสวรรค์ จงั หวดั ชยั นาท จงั หวดั สิงหบ์ รุ ี และจงั หวดั อ่างทอง ซง่ึ
ไหลผา่ นอาเภอไชโย อาเภอเมืองอ่างทอง อาเภอป่าโมก รวมระยะทางท่ไี หล
ผา่ นจงั หวดั อ่างทองประมาณ 40 กิโลเมตร

ภมู ิอากาศ

ลกั ษณะภมู ิอากาศจดั อยใู่ นโซนรอ้ นและชมุ่ ชืน้ เป็นแบบฝนเมืองรอ้ นเฉพาะ
ฤดู โดยไดร้ บั อิทธิพลจากลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ในช่วงเดอื น
พฤศจิกายนถงึ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ทาใหอ้ ากาศหนาวเย็น และแหง้ แลง้ ในช่วงนี้
และไดร้ บั อทิ ธิพลจากลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใตใ้ นช่วงเดือนพฤษภาคมถงึ
เดอื นกนั ยายน ทาใหม้ ีเมฆมากและฝนตกชกุ ในช่วงนี้

ประวัตศิ าสตร์

อา่ งทองในอดตี นนั้ มีผคู้ นอาศยั อยมู่ านานหลายรอ้ ยปี เพราะทอ้ งท่ขี อง
อา่ งทองเป็นท่รี าบล่มุ ชลกั ษณะคลา้ ยอา่ ง ไมม่ ีภเู ขา ป่า หรอื แรธ่ าตุ ไดร้ บั การ
หลอ่ เลีย้ งจากแมน่ า้ 2 สาย คือ แมน่ า้ เจา้ พระยาและแมน่ า้ นอ้ ย ซง่ึ ประชาชน
สว่ นใหญ่ไดอ้ าศยั ทาการเพาะปลกู อปุ โภคบรโิ ภค และคมนาคมตลอดมา

ทมี่ าของชือ่

เมืองอ่างทอง ไดช้ ่ือนีม้ าจากไหน มกี ารสนั นิษฐานเป็น 3 นยั
นยั แรกเช่ือว่า คาวา่ “อา่ งทอง” น่าจะมาจากลกั ษณะทางกายภาพของพนั้ ท่ีนี้
คอื เป็นท่รี าบลมุ่ เป็นแอง่ คลา้ ยอา่ ง ซง่ึ เต็มไปดว้ ยทงุ่ นาท่ีออกรวงเหลืองอรา่ ม
เหมือนทอง จงึ เป็นท่ีมาของช่ือจงั หวดั อ่างทอง และดวงตราของจงั หวดั เป็น
รูปรวงขา้ วสที องอย่ใู นอา่ งนา้ ซง่ึ มคี วามหมายถงึ ความอดุ มสมบรู ณด์ ว้ ยพืช
พนั ธธุ์ ญั ญาหารและเป็นอขู่ า้ วอ่นู า้
นยั ท่สี องเช่ือว่า อา่ งทองน่าจะมาจากช่ือของหมบู่ า้ นเดิมท่เี รยี กวา่ “บางคา
ทอง” ตามคาสนั นิษฐานของพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคปุ ต)์
สมหุ เทศาภบิ าล มณฑลอยธุ ยา เม่อื ครงั้ ท่ีกราบทลู พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ
เกลา้ เจา้ อย่หู วั ในคราวเสดจ็ ประพาสลาแมน่ า้ นอ้ ยและลาแม่นา้ ใหญ่ใน
พ.ศ. 2459 วา่ ช่ือของเมืองอา่ งทองก็จะมาจากช่ือ บางคาทอง ซง่ึ แตง่ ตงั้ ครงั้
กรุงเก่า วา่ ดว้ ยตามเสดจ็ พระราชดาเนินเมืองนครสวรรคข์ องสมเดจ็ พระ
นารายณม์ หาราชจากกรุงเกา่ “ลถุ งึ บางนา้ ช่ือ คาทอง นา้ ป่ วนเป็นฟอง คว่าง

ควา้ ง” และบางกระแสกว็ ่า อาจเพีย้ นมาจากช่ือของแม่นา้ ลาคลองในย่านนนั้
ท่เี คยมีช่ือว่า “ปากนา้ ประคาทอง” ซง่ึ เป็นทางแยกแมน่ า้ หลงั ศาลากลาง
จงั หวดั และสว่ นในเขา้ ไปเรยี กว่า “แมน่ า้ สายทอง” ซง่ึ ปัจจบุ นั ตนื้ เขินใชไ้ มไ่ ด้
แลว้
นยั ท่สี ามเช่ือวา่ ช่ืออา่ งทองน่าจะมาจากช่ือ บา้ นอ่างทอง ซง่ึ สมเดจ็ พระเจา้
บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ ทรงกลา่ วไวใ้ นหนงั สอื ชมุ นมุ พระ
นิพนธเ์ ร่อื งสรา้ งเมืองไวต้ อนหนึง่ ว่า “เมอื งอา่ งทองดเู หมอื นจะตงั้ เม่ือครงั้
สมเดจ็ พระนเรศวร เดมิ ช่ือเมอื งวา่ วเิ ศษไชยชาญ ตงั้ อยรู่ มิ แม่นา้ นอ้ ย ท่ลี งมา
จากนครสวรรค์ อย่มู าแมน่ า้ นอ้ ยตืน้ เขิน ฤดแู ลง้ ใชเ้ รอื ไมส่ ะดวก ยา้ ยเมอื ง
ออกมาตงั้ ริมแมน่ า้ พระยาท่บี า้ นอา่ งทองจงึ เปล่ยี นช่ือเป็นเมอื งอา่ งทอง”
ถงึ แมว้ า่ ช่ือของจงั หวดั อา่ งทอง จะไดม้ าตามนยั ใดก็ตาม ช่ืออา่ งทองนีเ้ ป็นช่ือ
ท่เี ร่มิ มาในสมยั กรุงธนบรุ หี รอื สมยั รตั นโกสินทรต์ อนตน้ คือ เม่ือประมาณ 200
ปีท่ผี ่านมา ยอ้ นกลบั ไปในอดีต สมยั กรุงศรอี ยธุ ยาเป็นราชธานีนนั้ อ่างทอง
เป็นท่รี ูจ้ กั ในนามของเมืองวิเศษไชยชาญ ดงั นนั้ การศกึ ษาความเป็นมาทาง
ประวตั ศิ าสตรข์ องเมืองอา่ งทองนนั้ หมายถงึ การศกึ ษาความเป็นมาของ
ดินแดนแถบนีย้ อ้ นกลบั ไปกวา่ 1 พนั ปี เป็นสมยั ท่ีช่ือเสยี งของเมอื งอา่ งทองยงั
ไมป่ รากฏ แตม่ ีหลกั ฐานแนช่ ดั ว่า มีดินแดนแถบนีม้ านานแลว้ และอาจจะ
สรุปไดว้ ่าดินแดนนีม้ ีลกั ษณะเดน่ ชดั อย่างนอ้ ย 2 ประการ คือ ความอดุ ม
สมบรู ณท์ ่เี หมาะแกก่ ารทาเกษตรกรรม ทาใหม้ มี นษุ ยต์ งั้ หลกั ฐานอยกู่ นั มา
นานนบั พนั ๆ ปี และเป็นดินแดนท่ีมคี วามสาคญั ในแงก่ ารเป็นยทุ ธศาสตร์
โดยเฉพาะอย่างย่ิงในสมยั กรุงศรอี ยธุ ยา

การก่อตัง้ เมือง

จงั หวดั อา่ งทองในสมยั ทวารวดไี ดม้ ผี คู้ นเขา้ มาตงั้ ถ่ินฐานเป็นเมอื งแลว้ แต่
เป็นเมอื งไมใ่ หญ่โตนกั หลกั ฐานท่ยี งั เหลืออยใู่ นปัจจบุ นั ก็คือ คเู มอื งท่บี า้ นคู
เมอื ง ตาบลหว้ ยไผ่ อาเภอแสวงหา ซง่ึ นายบาเซอลเี ย นกั โบราณคดชี าว
ฝร่งั เศส และเจา้ หนา้ ท่ีกรมศิลปากรไดส้ ารวจพบ สนั นิษฐานว่าเป็นเมอื ง
โบราณสมยั ทวาราวดี ปัจจบุ นั นีบ้ า้ นคเู มืองอย่หู ่างจากท่ีวา่ การอาเภอ
แสวงหาไปทางทิศเหนือ 4 กิโลเมตร ในสมยั สโุ ขทยั กเ็ ขา้ ใจวา่ ผเู้ ขา้ มาตงั้ ถ่ิน
ฐานอย่อู าศยั เช่นกนั และดินแดนอ่างทองไดร้ บั อทิ ธิพลจากสโุ ขทยั ดว้ ย โดย
การสงั เกตจากลกั ษณะของพระพทุ ธรูปสาคญั ในทอ้ งถ่ินท่อี ่างทองมีลกั ษณะ
เป็นแบบสโุ ขทยั หลายองค์ เช่น พระพทุ ธไสยาสนว์ ดั ขนุ อินทประมลู อาเภอ
โพธิ์ทอง และพระพทุ ธไสยาสนว์ ดั ป่าโมกวรวิหาร อาเภอป่าโมก เป็นตน้

ตอ่ มาในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาระยะตน้ ๆ สนั นิษฐานว่าอา่ งทองคงเป็นชานเมือง
ของกรุงศรอี ยธุ ยา เพ่ิงจะยกฐานะเป็นเมอื งมีช่ือวา่ “แขวงเมอื งวเิ ศษไชย
ชาญ” เม่อื ประมาณ พ.ศ. 2127 โดยในพระราชพงศาวดารไดก้ ลา่ วถงึ ช่ือเมอื ง
วเิ ศษไชยชาญเป็นครงั้ แรกวา่ สมเดจ็ พระนเรศวรเม่อื ครงั้ ยงั ทรงเป็นมหา
อปุ ราชและสมเดจ็ พระเอกาทศรถ ไดเ้ สด็จยกกองทบั ไปรบกบั พระยาพะสิมท่ี
เมืองสพุ รรณบรุ ี พระองคไ์ ดเ้ สดจ็ โดยทางเรอื จากกรุงศรอี ยธุ ยา ไปทาพิธี
เหยียบชิงชยั ภมู ิตดั ไมข้ ่มนาม ท่ตี าบลลมุ พลี พระองคไ์ ดเ้ สดจ็ ไปประทบั ท่ี
แขวงเมืองวเิ ศษไชยชาญอนั เป็นท่ชี มุ พล จงึ สนั นิษฐานวา่ เมอื งวิเศษไชยชาญ
ไดต้ งั้ เมืองในแผ่นดินพระมหาธรรมราชา ตวั เมอื งวเิ ศษไชยชาญสมยั นนั้ ตงั้ อยู่

ทางลาแม่นา้ นอ้ ย ฝ่ังตะวนั ออก หมบู่ า้ นตรงนนั้ ปัจจบุ นั ยงั เรยี กวา่ “บา้ นจวน”
แสดงวา่ เป็นท่ีตงั้ จวนเจา้ เมอื งเดิม ตอ่ มา สภาพพืน้ ท่แี ละกระแสนา้ ในแควนา้
นอ้ ยเปล่ียนแปลงไป การคมนาคมไปมาระหว่างแมน่ า้ นอ้ ยกบั แมน่ า้ ใหญ่ (คอื
แมน่ า้ เจา้ พระยา) เดินทางตดิ ตอ่ ไมส่ ะดวก จงึ ยา้ ยท่ีตงั้ เมืองไปอย่ทู ่ตี าบลบา้ น
แห ตรงวดั ไชยสงคราม (วดั กระเจา) ฝ่ังขวาหรอื ฝ่ังตะวนั ตกของแมน่ า้
เจา้ พระยา พรอ้ มกบั ขนานนามใหเ้ ป็นสริ มิ งคลแก่เมืองใหม่วา่ “เมอื งอา่ งทอง”
สว่ นเมืองวเิ ศษไชยชาญยงั คงเป็นเมอื งอยตู่ ลอดมาจนถงึ พ.ศ. 2439 จงึ ลดลง
เป็นอาเภอ เรยี กว่า อาเภอไผจ่ าศีล ภายหลงั จึงเปล่ียนช่ือเป็น อาเภอวเิ ศษ
ไชยชาญ และราชการกใ็ ชช้ ่ือ อาเภอวิเศษไชยชาญ มาจนถงึ อยา่ งนอ้ ยวนั ท่ี 4
มกราคม พ.ศ. 2509 หลงั จากนนั้ ก็พบว่า เม่อื 12 มกราคม พ.ศ. 2509
ราชการก็ใชช้ ่ือเป็น อาเภอวิเศษชยั ชาญ (ไมพ่ บหลกั ฐานคาส่งั ใหเ้ ปล่ียนช่ือ
อาเภอ ในหนงั สอื ราชกิจจานเุ บกษา)

กาลลว่ งมาถงึ พ.ศ. 2356 พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั ไดโ้ ปรด
เกลา้ ฯ ใหพ้ ระยาภธู ร สมหุ นายกไปเป็นแมก่ องทาการเปิดทานบกนั้ นา้ ท่ีหนา้
เมืองอา่ งทอง เพ่ือใหน้ า้ ไหลไปทางคลองบางแกว้ แตไ่ มส่ าเรจ็ จงึ ยา้ ยเมือง
อา่ งทองไปตงั้ ท่ปี ากคลองบางแกว้ ตาบลบางแกว้ ทอ้ งท่อี าเภอเมืองอา่ งทอง
ฝ่ังซา้ ยของแมน่ า้ พระยาจนถงึ ปัจจบุ นั นี้

สมัยอยุธยา

เมอื งอา่ งทองมีทอ้ งท่ีต่อเน่ืองกบั กรุงศรอี ยธุ ยา เสมือนเป็นเมอื งท่ตี งั้ อย่ชู าน
เมืองหลวง จงึ มปี ระวตั ิศาสตรเ์ ก่ียวเน่ืองกนั หลายตอน เฉพาะท่สี าคญั ๆ มี
ดงั นี้ ราว พ.ศ. 2122 ญาณพิเชียรมาซอ่ มสมุ คนในตาบลย่ีลน้ ขนุ ศรมี งคล
แขวง สง่ ข่าวกบฏนนั้ มาถวาย สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาโปรดใหพ้ ระยาจกั รี
ยกกาลงั ไปปราบปราม ตงั้ ทพั ในตาบลมหาดไทย ญาณพิเชียรและพรรคพวก
ก็เขา้ สรู้ บกบั พระยาจกั รี เจา้ พระยาจกั รเี สียชีวิตในการสรู้ บ พวกชาวบา้ นก็เขา้
เป็นพวกญาณพิเชียร ญาณพิเชียรตดิ เอาเมอื งลพบรุ ี กย็ กกาลงั ไปปลน้ เมือง
ลพบรุ ี จงึ เกิดรบกบั พระยาสีหราชเดโช ญาณพิเชียรถกู ยิงตาย พรรคพวกกบฏ
กห็ นีกระจดั กระจายไป กบฏญาณพิเชียรนบั ว่าเป็นเหตกุ ารณส์ าคญั มาก
เหตกุ ารณห์ นง่ึ ท่ชี าวบา้ นย่ีลน้ และชาวบา้ นมหาดไทย แขวงเมืองวิเศษไชย
ชาญเขา้ ไปเก่ียวขอ้ งดว้ ย

พ.ศ. 2128 พระเจา้ เชียงใหมย่ กกองทพั มาตงั้ ท่บี า้ นสระเกศ ทอ้ งท่ีตาบลไชย
ภมู ิ อาเภอไชโย สมเดจ็ พระนเรศวรกบั พระเอกาทศรถยกกองทพั ไปถงึ ตาบล
ป่าโมก กพ็ บทหารพมา่ ซง่ึ ลงมาเท่ยี วรงั แกราษฎรทางเมืองวิเศษไชยชาญ จงึ
ไดเ้ ขา้ โจมตีทหารพมา่ ลา่ ถอยไป พระเจา้ เชียงใหมจ่ งึ ไดจ้ ดั กองทพั ยกลงมา
สมเดจ็ พระนเรศวรจงึ ดารสั ส่งั ใหพ้ ระราชมนคู มุ กองทพั ขนึ้ ตระเวนดกู อ่ น
กองทพั ระราชมนไู ปปะทะกบั กองทพั พมา่ ท่บี า้ นบางแกว้ สมเดจ็ พระนเรศวร
เสดจ็ ขนึ้ ไปถึงบา้ นแห จงึ มีดารสใหข้ า้ หลวงขนึ้ ไปส่งั พระราชมนใู หท้ าเป็นถอย
ทพั กลบั มา แลว้ พระองคก์ ็โอบลอ้ มรุกไลต่ ีทพั พม่าแตกทงั้ ทพั หนา้ และทพั

หลวง จนถึงท่ีตงั้ ทพั พระเจา้ เชียงใหมท่ ่บี า้ นสระเกศ กองทพั ของพระเจา้
เชียงใหมจ่ งึ แตกพ่ายกลบั ไป

พ.ศ. 2130 พระเจา้ กรุงหงสาวดยี กทพั มาลอ้ มกรุงศรอี ยธุ ยา ทหารไทยไดเ้ อา
ปืนลงเรอื สาเภาขนึ้ ไประดมยิงค่ายหลวงพระเจา้ หงสาวดี จนพระเจา้ หงสาวดี
ทนไมไ่ หวตอ้ งถอยทพั หลวงกลบั ขนึ้ ไปตงั้ ป่าโมก สมเดจ็ พระนเรศวรเสดจ็ โดย
ขบวนทพั เรอื ตามตีกองทพั หลวงของพระเจา้ หงสาวดีไปจนถงึ ป่าโมก จนพมา่
แตกพ่ายถอยทพั กลบั ไป

พ.ศ. 2135 สมเดจ็ พระนเรศวรกบั พระเอกาทศรถยกทพั จากรุงศรอี ยธุ ยาไปตงั้
ท่ที งุ่ ป่าโมก แลว้ ยกทพั หลวงไปเมอื งสพุ รรณบรุ ที างบา้ นสามโก้ และทรง
กระทายทุ ธหตั ถีกบั พระมหาอปุ ราชาท่ตี าบลตระพงั ตรุ หนองสาหรา่ ย อาเภอ
ดอนเจดยี ์ เมืองสพุ รรณบรุ ี จนมีชยั ชนะยทุ ธหตั ถีในครงั้ นนั้

พ.ศ. 2147 สมเดจ็ พระนเรศวรและสมเดจ็ พระเอกาทศรถยกกองทพั ไปตกี รุง
องั วะ เสดจ็ เขา้ พกั พลท่ตี าบลป่าโมก แลว้ เสดจ็ ไปทางชลมารค ขนึ้ เหยียบ
ชยั ภมู ิตาบลเอกราช อาเภอป่าโมก ตดั ไมข้ ่มนามตามพระราชพิธีของ
พราหมณแ์ ลว้ ยกทพั ไป แตส่ วรรคตเสยี ท่เี มืองหางหรอื เมอื งหา้ งหลวง สมเดจ็
พระเอกาทศรถนาพระบรมศพกลบั กรุงพรอ้ มดว้ ยพระเกียรตแิ ละในสมยั
แผ่นดินสมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ่ี 8 (พระเจา้ เสอื ) พระองคไ์ ดป้ ลอมพระองคเ์ ป็น
สามญั ชนไปในงานฉลองพระอาราม ไดท้ รงชกมวยไดช้ ยั ชนะถงึ 2 ครงั้
สถานท่ีเสดจ็ ไปก็คือ บา้ นพระจนั ตชนบท แขวงเมืองวิเศษไชยชาญ เช่ือกนั วา่
งานฉลองวดั ท่เี สรจ็ ไปนนั้ อาจเป็นวดั โพธิ์ถนนหรอื วดั ถนน ซง่ึ เป็นวดั รา้ งอย่ใู น

ตาบลตลาดกรวด (อาเภอเมอื งอ่างทอง) น่นั เอง ซง่ึ เหตกุ ารณด์ งั กล่าวชีใ้ หเ้ ห็น
วา่ ดินแดนของอา่ งทองยงั คงความสาคญั ตอ่ เมอื งหลวง คอื กรุงศรอี ยธุ ยา เม่ือ
มีงานนกั ขตั ฤกษข์ องสามญั ชนท่เี ล่อื งลอื เขา้ ไปถงึ พระราชวงั ในเมืองหลวง
แมแ้ ตพ่ ระมหากษัตรยิ ก์ ็ทรงสนพระทยั ท่จี ะทอดพระเนตรและทรงเขา้ รว่ ม
ดว้ ยกนั อย่างสามญั

พ.ศ. 2269 ในสมยั แผ่นดินสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทา้ ยสระ พระองคไ์ ดเ้ สดจ็ ไป
ควบคมุ ชลอพระพทุ ธไสยาสนว์ ดั ป่าโมก เพราะปรากฏว่าแมน่ า้ เจา้ พระยา
ตรงหนา้ วดั ป่าโมก นา้ เซาะกดั ตล่งิ จนทาใหพ้ ระวิหารพระพทุ ธไสยาสนอ์ าจพงั
ลงได้ จงึ มรี บั ส่งั ใหท้ าการชลอพระพทุ ธไสยาสนเ์ ขา้ ไปประดิษฐานห่างฝ่ัง
ออกไป 150 เมตร กินเวลาทงั้ หมดกวา่ 5 เดอื น

เน่ืองจากเมอื งอา่ งทองเคยเป็นยทุ ธภมู ิระหว่างทหารไทยกบั ทหารพม่าหลาย
ครงั้ จงึ มบี รรพบรุ ุษของเมืองอ่างทองไดส้ รา้ งวรี กรรมอนั กลา้ หาญในการรบ
กบั พมา่ หลายทา่ น เชน่ นายแทน่ นายโชติ นายอนิ และนายเมือง ทงั้ ส่ีทา่ น
เป็นชาวบา้ นสีบวั ทอง (ตาบลสีบวั ทอง อาเภอแสวงหาในปัจจบุ นั ) และมีนาย
ดอก ชาวบา้ นกรบั และนายทองแกว้ ชาวบา้ นโพธิ์ทะเล ทงั้ สองทา่ นเป็น
ชาวเมืองวิเศษไชยชาญ ไดร้ ว่ มกบั ชาวบา้ นของเมืองวิเศษไชยชาญสรู้ บกบั
พมา่ อย่ทู ่ีคา่ ยบางระจนั ซ่งึ สมยั นนั้ อย่ใู นแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ และสนาม
รบสว่ นใหญ่อยใู่ นทอ้ งท่อี าเภอแสวงหา วรี กรรมอนั กลา้ หาญชาญชยั ของ
นกั รบไทยค่ายบางระจนั สมยั นนั้ เป็นท่ภี าคภมู ิใจและประทบั อย่ใู นความทรง
จาของคนไทยทกุ คนตลอดมา ประชาชนชาวเมืองอา่ งทองจงึ พรอ้ มใจกนั สรา้ ง

อนสุ าวรยี ์ เพ่ือเป็นอนสุ รณแ์ ก่นายดอ และนายทองแกว้ ไวท้ ่บี รเิ วณวดั วเิ ศษ
ไชยชาญ อาเภอวเิ ศษชยั ชาญ โดยท่ีสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชสยาม
มกฎุ ราชกมุ ารเสดจ็ พระราชดาเนินมาทรงกระทาพิธีเปิดอนสุ าวรยี เ์ ม่ือวนั ท่ี 25
มนี าคม พ.ศ. 2520 ดงั นนั้ ในวนั ท่ี 25 มีนาคมของทกุ ปี ชาวเมืองอา่ งทองจึงได้
กระทาพิธีวางมาลาสกั การะอนสุ าวรยี น์ ายดอก นายทองแกว้ เพ่ือเป็นการ
ระลกึ ถงึ คณุ ความดีในวีรกรรมความกลา้ หาญของท่านเป็นประจาทกุ ปี

อีกครงั้ ของวรี กรรมของนบั รบแขวงเมอื งวิเศษไชยชาญ คอื ขนุ รองปลดั ชกู บั
กองอาทมาต คอื เม่อื ปี พ.ศ. 2302 ตรงกบั รชั กาลของสมเดจ็ พระท่นี ่งั สรุ ยิ าศน์
อมั รินทร์ (พระเจา้ เอกทศั ) ขนึ้ ครองราชสมบตั ิกรุงเทพทวารวดีศรอี ยธุ ยา ใน
ครงั้ นนั้ พระเจา้ อลองพญาครองราชสมบตั ิกรุงองั วะรตั นสิงห์ ปกครองพมา่
รามญั ทงั้ ปวง พระองคใ์ หเ้ กณฑไ์ พรพ่ ล 8000 ใหม้ งั ฆอ้ งนรธาเป็นนายทพั ยก
มา ตเี มืองทวาย มะรดิ และตะนาวศรี พระเจา้ เอกทศั ทรงเกณฑพ์ ล 5000
แบ่งเป็นสองทพั โดยใหพ้ ระราชรองเมอื งว่าท่ีออกญายมราชคมุ ทพั ใหญ่พล
3000 แลใหอ้ อกญารตั นาธิเบศรค์ มุ ทพั หนนุ พล 2000 ในครงั้ นนั้ มีครูฝึกเพลง
อาวธุ อย่ใู นเมอื งวิเศษไชยชาญอยผู่ หู้ น่งึ ช่ือ ครูดาบชู ซง่ึ ไดร้ บั แตง่ ตงั้ จาก
สมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั บรมโกศใหเ้ ป็นปลดั เมือง กรมการเมืองวเิ ศษไชยชาญ
ชาวบา้ นจงึ เรยี นวา่ ขนุ รองปลดั ชู นากองอาทมาต 400 มาอาสาศกึ แลได้
ตดิ ตามไปกบั กองทพั ออกญารตั นาธิเบศร์ เม่อื เดินทางขา้ มพน้ เขาบรรทดั ก็ได้
ทราบวา่ เมืองมะรดิ และตะนาวศรเี สยี แก่ขา้ ศกึ แลว้ จงึ ตงั้ ทพั รออยู่เฉย ๆ โดย
ทพั พระราชรองเมืองตงั้ อย่ทู ่แี ก่งตมุ่ ตอนปลายแมน่ า้ ตะนาวศรี สว่ นออกญา

รตั นาธิเบศรต์ งั้ ทพั อย่ทู ่เี มอื งกยุ บรุ ี แตใ่ หก้ องอาทมาตมาขดั ตาทพั รอท่อี า่ ว
หวา้ ขาว

จากนนั้ สามวนั ทพั พมา่ เขา้ ตีทพั ไทยท่แี ก่งตมุ่ แตกพ่าย และยกมาเพ่ือเขา้ ตที พั
หนนุ กองอาทมาตของขนุ รองปลดั ชู ไดร้ บั คาส่งั ใหต้ งั้ รบั พม่าท่ตี าบลหวา้ ขาว
รมิ ทะเล ครนั้ พอเพลาเชา้ ทพั พมา่ 8000 ก็ปะทะกบั กองอาทมาต 400 นาย
ทพั ทงั้ สองปะทะกนั ดเุ ดอื ดจนถงึ เท่ยี ง มิแพช้ นะ แตท่ พั ไทยพลนอ้ ยกวา่ ก็เร่มิ
ออ่ นแรง ขนุ รองปลดั ชรู บจนสิน้ กาลงั ถกู ทหารพมา่ รุมจบั ตวั ไป จากนนั้ พมา่ ให้
ชา้ งศกึ เขา้ เหยียบย่าทพั ไทยลม้ ตายเป็นอนั มาก กองอาทมาต 400 คนตาย
แทบจะสิน้ ทงั้ ทพั เพ่ือระลกึ ถึงวีรกรรมของกองอาสาวเิ ศษไชยชาญในครงั้ นนั้
จงึ ไดม้ กี ารสรา้ งวดั ขนึ้ เป็นท่รี ะลกึ แกน่ กั รบกลา้ ทงั้ 400 คนโดยเรยี กกนั วา่ "วดั
ส่รี อ้ ย"

สัญลักษณ์ประจาจังหวัด

คาขวญั ประจาจงั หวดั คือ พระสมเดจ็ เกษไชโย หลวงพ่อโตองคใ์ หญ่
วีรไทยใจกลา้ ตกุ๊ ตาชาววงั โดง่ ดงั จกั สาน ถ่ินฐานทากลอง เมอื งสองพระนอน
ตราประจาจงั หวดั คือ รูปอา่ งทอง ในอ่างมีรวงขา้ วและใบขา้ ว จงั หวดั อ่างทอง
เป็นท่รี าบล่มุ มีลกั ษณะเป็นแอง่ รบั นา้ ภมู ิประเทศเหมาะแก่การเพาะปลกู ดวง
ตราของจงั หวดั จงึ เป็นรูปอ่างสีทองซ่งึ หมายถึงความอดุ มสมบรู ณข์ องจงั หวดั
และในอา่ งมีรวงขา้ วและใบขา้ วซง่ึ หมายถงึ การทานา อาชีพหลกั ของคนใน
ภมู ภิ าคนี้
ตน้ ไมป้ ระจาจงั หวดั คือ มะพลบั (Diospyros malabarica)

สตั วน์ า้ ประจาจงั หวดั คือ ปลาตะเพียนทอง (Barbonymus altus)

ตราประจาจงั หวดั อา่ งทอง มะพลบั ตน้ ไมป้ ระจาจงั หวดั

ปลาตะเพียนทอง สตั วน์ า้ ประจาจงั หวดั

การเมืองการปกครอง

หน่วยการปกครอง

การปกครองสว่ นภมู ิภาคของจงั หวดั อา่ งทองแบง่ ออกเป็น
7 อาเภอ 73 ตาบล 513 หมบู่ า้ น โดยอาเภอทงั้ 7 อาเภอ ไดแ้ ก่
อาเภอเมอื งอา่ งทอง
อาเภอไชโย
อาเภอป่ าโมก
อาเภอโพธิ์ทอง
อาเภอแสวงหา
อาเภอวิเศษชยั ชาญ
อาเภอสามโก้
จงั หวดั อา่ งทองมีองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินรวม 65 แหง่
ประกอบดว้ ย องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั 1 แหง่ คือ องคก์ ารบรหิ ารสว่ น
จงั หวดั อา่ งทอง, เทศบาลเมือง 1 แหง่ คือ เทศบาลเมืองอ่างทอง, เทศบาล
ตาบล 20 แหง่ และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล 43 แหง่ [7] โดยรายช่ือเทศบาล
ทงั้ หมดในจงั หวดั อา่ งทองแบ่งตามอาเภอมดี งั นี้

อาเภอเมืองอา่ งทอง อาเภอโพธิ์ทอง

 เทศบาลเมืองอ่างทอง  เทศบาลตาบลโพธิ์ทอง
 เทศบาลตาบลศาลาแดง  เทศบาลตาบลรามะสกั
 เทศบาลตาบลโพสะ  เทศบาลตาบลโคกพทุ รา
อาเภอไชโย  เทศบาลตาบลทางพระ
 เทศบาลตาบลมว่ งคนั
 เทศบาลตาบลเกษไชโย อาเภอแสวงหา
 เทศบาลตาบลไชโย
อาเภอป่ าโมก  เทศบาลตาบลแสวงหา
 เทศบาลตาบลเพชรเมืองทอง
 เทศบาลตาบลป่ าโมก

อาเภอวเิ ศษชยั ชาญ

 เทศบาลตาบลบางจกั
 เทศบาลตาบลวิเศษไชยชาญ
 เทศบาลตาบลหว้ ยคนั แหลน
 เทศบาลตาบลทา่ ชา้ ง
 เทศบาลตาบลไผด่ าพฒั นา
 เทศบาลตาบลสาวรอ้ งไห้
 เทศบาลตาบลมว่ งเตีย้
อาเภอสามโก้

 เทศบาลตาบลสามโก้

เจ้าเมืองและผู้ว่าราชการจังหวัด

นบั ตงั้ แตพ่ ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั ทรงปฏิรูปการปกครอง
โดยนาระบบเทศาภิบาลมาใชใ้ นประเทศไทย เมืองอา่ งทองยงั คงมีสภาพเป็น
เมอื งตามรูปการปกครองแบบเดิมกอ่ นการปฏิรูป ปรากฏพระนามและ
รายนามผดู้ ารงตาแหน่งเจา้ เมอื งหรือผูว้ ่าราชการจงั หวดั อ่างทองดงั นี้

รายพระนามและผวู้ า่ ราชการจงั หวดั อา่ งทอง

ลาดบั พระนาม/ช่ือ เรม่ิ ดารงตาแหน่ง ออกจากตาแหนง่

1 พระยาวเิ ศษไชยชาญ ปรชี าญาณยตุ ธิ รรมโกศลสกลเกษตรวิไสย พ.ศ. 2438 พ.ศ. 2438
พ.ศ. 2439
2 พระพทิ กั ษเ์ ทพธานี พ.ศ. 2438 พ.ศ. 2442
พ.ศ. 2446
3 พระยาวิเศษไชยชาญ 28 กนั ยายน 2439 พ.ศ. 2447
พ.ศ. 2450
4 พระยาอนิ ทรวชิ ิต (อวบ เปาโรหติ ) พ.ศ. 2442 พ.ศ. 2456
พ.ศ. 2462
5 พระศรณี รงค์ (คา) พ.ศ. 2446 พ.ศ. 2465
พ.ศ. 2470
6 หมอ่ มอมรวงษว์ จิ ิตร (หมอ่ มราชวงศป์ ฐม คเนจร) พ.ศ. 2448 พ.ศ. 2473
พ.ศ. 2474
7 พระยาอนิ ทรวชิ ติ (รตั น์ อาวธุ ) พ.ศ. 2450 พ.ศ. 2478
พ.ศ. 2483
8 พระยาวิเศษไชยชาญ (ชอมุ่ อมตั ริ ตั น)์ พ.ศ. 2456 พ.ศ. 2484
พ.ศ. 2486
9 พระยาวิเศษภกั ดี (หมอ่ มราชวงศก์ มล นพวงศ)์ พ.ศ. 2462 พ.ศ. 2487
พ.ศ. 2490
10 หมอ่ มเจา้ ธงชยั สิรพิ นั ธ์ ศรีธวชั พ.ศ. 2465

11 พระกาแพงพราหมณ์ (ทองสกุ รตางศ)ุ พ.ศ. 2470

12 พระยาวิชิตรสรไกร (เอ่ียม อมั พานนท์ พ.ศ. 2473

13 หลวงวิโรจนร์ ฐั กิจ (เปร่ือง โรจนกลุ ) พ.ศ. 2474

14 พระประชากรบริรกั ษ์ (แอรม่ สนุ ทรศารทลู ) พ.ศ. 2478

15 หลวงอรรถเกษมภาษา (สวงิ ถาวรพนั ธ)์ พ.ศ. 2483

16 หลวงองั คณานรุ กั ษ์ (สมถวิล เทพาคา) พ.ศ. 2484

17 หลวงบรรณสารประสิทธิ์ (สิทธิ โรจนวิภาต) พ.ศ. 2486

18 ขนุ พานกั นิคมคาม (สนธิ พานกั นิคมคาม) พ.ศ. 2487

19 นายประกอบ ทรพั ยม์ ณี พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2492
20 หลวงธรุ ะนยั พินจิ (นพ นยั พนิ ิจ) พ.ศ. 2492 พ.ศ. 2495
21 นายพรหม สตู รสคุ นธ์ พ.ศ. 2495 พ.ศ. 2500
22 นายแสวง ทมิ ทอง พ.ศ. 2500 พ.ศ. 2501
23 นายยรรยง ศนุ าลยั พ.ศ. 2502 พ.ศ. 2503
24 นายพล จฑุ ากร พ.ศ. 2503 พ.ศ. 2508
25 ร.ต.ท. เรือง สถานานนท์ พ.ศ. 2508 พ.ศ. 2510
26 นายวิชาญ บรรณโศภิษฐ์ พ.ศ. 2510 พ.ศ. 2517
27 นายสงวน สารติ านนท์ พ.ศ. 2517 พ.ศ. 2519
28 นายเสถียร จนั ทรจานงค์ พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2521
29 นายวิเชียร วิมลศาสตร์ พ.ศ. 2521 พ.ศ. 2526
30 ายสมหวงั จตู ะกานนท์ พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2530
31 นายคงศกั ดิ์ ล่วิ มโนมนต์ พ.ศ. 2530 พ.ศ. 2532
32 นายทวีป ทวีพาณิชย์ พ.ศ. 2532 พ.ศ. 2534
33 นายประสาน สขุ รงั สรรค์ พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2535
34 นายนธิ ิศกั ดิ์ ราชพิตร พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2537
35 นายประเสรฐิ เปล่ียนรงั ษี พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2538
36 นายสชุ าติ สหสั โชติ พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2542
37 นายพสิ ฐิ เกตผุ าสขุ พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2544
38 นายเชนทร์ วิพฒั นบ์ วรวงศ์ พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2547
39 นายกมล จิตระวงั พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2548
40 นายวบิ ลู ย์ สงวนพงศ์ พ.ศ. 2548 1 ตลุ าคม 2550
41 นายศทุ ธนะ ธีวีระปัญญา 1 ตลุ าคม 2550 30 กนั ยายน 2552
42 นายวิศว ศะศสิ มิต 1 ตลุ าคม 2552 30 กนั ยายน 2556
43 นายเสรี ศรหี ะไตร 1 ตลุ าคม 2556 1 ตลุ าคม 2556
44 นายปวิณ ชานปิ ระศาสน์ 2 ตลุ าคม 2556 30 กนั ยายน 2558
45 นายวีรร์ วทุ ธ์ ปตุ ระเศรณี 1 ตลุ าคม 2558 30 กนั ยายน 2561
46 นายเรวตั ประสงค์ 1 ตลุ าคม 2561 30 กนั ยายน 2563
47 นายขจรเกียรติ รกั พานิชมณี 1 ตลุ าคม 2563 ปัจจบุ นั

ประชากร

เม่อื สิน้ ปี พ.ศ. 2556 จงั หวดั อ่างทองมีจานวนประชากรทงั้ สิน้ 283,732 คน
จาแนกเป็นชาย 136,237 คน เป็นหญิง 147,495 คน (อนั ดบั ท่ี 69 ของ
ประเทศ) จานวนบา้ น 92,520 หลงั ความหนาแนน่ ของประชากร 292.99 ตร.
กม (อนั ดบั ท่ี 11 ของประเทศ)

ศาลหลักเมือง

หลกั เมอื งมีความหมายวา่ เป็นประธานของเมือง เป็นศนู ยร์ วมความม่นั คง
ของเมือง เป็นนิมิตมงคลของเมือง เป็นหลกั ชยั หลกั ใจ และศนู ยร์ วมความ
สามคั คขี องประชาชน หลกั เมอื งจะเป็นเสาหลกั โดดเดน่ ไม่มีภาพ รูป หรอื
พระพทุ ธรูป การสรา้ งหลกั เมอื งตอ้ งขอพระบรมราชานญุ าตจาก
พระมหากษัตรยิ ผ์ เู้ ป็นประมขุ ของประเทศก่อน เม่อื ไดร้ บั พระบรมราชานญุ าต
แลว้ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั หรือเจา้ เมืองจงึ จะดาเนินการสรา้ งต่อไปได้
เน่ืองจากไมม่ ีหลกั ฐานวา่ เสาหลกั เมืองและศาลหลกั เมอื ง จงั หวดั อา่ งทอง ได้
มปี รากฏอย่ทู ่ใี ด คณะสงฆ์ ขา้ ราชการ พ่อคา้ และประชาชนจงั หวดั อ่างทอง
จงึ ไดร้ ว่ มใจกนั จดั หาทนุ สรา้ งศาลหลกั เมืองขนึ้ เพ่ือเป็นศนู ยร์ วมจิตใจและ
ความสามคั คีของประชาชนในจงั หวดั จงั หวดั อ่างทอง ไดม้ อบใหน้ ายกาจดั
คงมีสขุ ขา้ ราชการครูบานาญผมู้ ผี ลงานดีเด่นทางดา้ น

จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรมไทยเป็นผอู้ อกแบบสรา้ ง
ศาลหลกั เมอื ง และมีพระครูวเิ ศษชยั วฒั น์ เจา้ อาวาสวดั ชยั มงคลเป็นท่ปี รกึ ษา
สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรนิ ายก ไดเ้ สดจ็ ไป
เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ ศาลหลกั เมืองจงั หวดั อา่ งทอง เม่อื วนั ท่ี 18 มีนาคม
พ.ศ. 2533 การก่อสรา้ งสาเรจ็ เรยี บรอ้ ย เม่อื วนั ท่ี 10 เมษายน พ.ศ.
2534 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชไดพ้ ระราชทานพระ
บรมราชวโรกาสใหผ้ วู้ ่าราชการจงั หวดั (นายทวีป ทวีพาณิชย)์ เขา้ เฝา้ นอ้ ม
เกลา้ ฯ ถวายยอดเสาหลกั เมืองเพ่ือทรงเจิม ทรงพระสหุ รา่ ย และทรงบรรจุ
แผ่นยนั ตเ์ ม่อื วนั ท่ี 11 เมษายน พ.ศ. 2534 เวลา 16.30 นาฬิกา ณ พระ
ตาหนกั จิตรลดารโหฐาน และทรงพระกรุณาโปรด เกลา้ ฯ ใหส้ มเดจ็ พระบรม
โอรสาธิราชฯ สยามบรมราชกมุ ารเสดจ็ แทนพระองคไ์ ปทรงประกอบพิธียกเสา
หลกั เมอื งและเปิดศาลหลกั เมอื งเม่อื วนั ท่ี 24 เมษายน พ.ศ. 2534 เวลา
15.30 นาฬิกา
ศาลหลกั เมืองจงั หวดั อา่ งทอง อยตู่ รงขา้ มศาลากลางจังหวดั เป็นอาคาร
จตรุ มขุ (4 หนา้ ) ยอดปรางคห์ ลงั คาเป็นปนู ซเี มนตฉ์ าบสีแดงตวั ศาลสงู จาก
พืน้ ประมาณ 1.5 เมตร ภายในศาลเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนงั ภา พมุ่ ขา้ ว
บิณฑกา้ นแยกสวยงามมาก ศาลหลกั เมืองจงั หวดั อา่ งทอง เป็นศาลหลกั เมือง
แหง่ ท่ี 2 ท่มี ีการเขียนภาพ จิตรกรรมฝาผนงั ทงั้ 4 ดา้ น
เสาหลกั เมอื งซ่งึ ประดษิ ฐอ์ ย่ใู นศาลหลกั เมืองบนแทน่ แปดเหล่ียมพืน้ ปดู ว้ ยหิน
ออ่ นทาจากไมช้ ยั พฤกษซ์ ง่ึ ถือเป็นไมม้ งคล คดั จาก 1 ในจานวน 5 ตน้ ท่ีนิคม
สรา้ งตนเองพระพทุ ธบาทจงั หวดั สระบรุ ี มลี กั ษณะท่เี รยี กวา่ ไมข้ านาง คอื ลา

ตน้ ตรงขนึ้ ไปแลว้ แยกเป็น 2 ก่ิง แบบง่ามหนงั สติก๊ โบราณถือวา่ เป็นไมท้ ่ี
เหมาะจะเป็นเสาโบสถ์ หรอื เสาวิการ ไมม้ งคลซง่ึ นามาทาเป็นเสาหลกั เมือง
ของจงั หวดั อ่างทองนนั้ ไดผ้ า่ นพิธีคดั เลอื ก ตน้ ไม้ พิธีตดั พิธีอญั เชิญ พิธีกลงึ
เสาและฉลองรบั ขวญั อย่างถกู ตอ้ ง ตามพิธีหลวงของสานกั พระราชวงั ทกุ
ประการ เสาหลกั เมืองนีไ้ ดร้ บั การตกแต่งแกะสลกั ลงรกั ปิดทองจากพระครู
วเิ ศษชยั วฒั นแ์ ละนายกาจดั คงมสี ขุ ซ่งึ เป็น ชาวอา่ งทอง และมีความชานาญ
ในการสรา้ งเมอื งมาหลายจงั หวดั แลว้
ดา้ นทิศเหนือของศาลหลกั เมอื งมีศาลาตรมี ขุ ซ่งึ ใชเ้ ป็นท่ปี ระทบั หรอื ท่ีน่งั ของ
องคป์ ระธานหรอื ประธาน ในการประกอบพิธีตา่ ง ๆ ดา้ นทิศใตม้ ีศาลาทรงไทย
2 หลงั ใชเ้ ป็นสถานท่ใี หบ้ รจิ าคบชู าวตั ถมุ งคล และดอกไม้ ธูป เทยี น ดา้ นทิศ
ใตม้ ีศาลาเรอื นไทย เป็นท่รี วบรวมของดีเมืองอ่างทองมาจาหน่ายระหวา่ งตวั
ศาลหลกั เมอื ง คอื ศาลาตรีมขุ ซง่ึ หา่ งกนั ประมาณ 30 เมตร เป็นลานกวา้ งใช้
เป็นสถานท่ปี ระกอบพิธีกรรมและการแสดงตา่ ง ๆ บรเิ วณศาลหลกั เมืองมี
พืน้ ท่ีทงั้ หมดประมาณ 1.5 ไร่ จงึ สามารถจดั ทาสวนดอกไม้ สวนหย่อม และ
ปลกู หญา้ ไดส้ วยงาม
ศาลหลกั เมอื งของจงั หวดั อ่างทอง เป็นสถานท่ศี กั ดสิ์ ิทธิ์สวยงามสมกบั เป็น
หลกั ชยั และหลกั ใจของประชาชน ชาวอา่ งทองอย่างย่ิง ผมู้ ีโอกาสไปเยือน
จงั หวดั อ่างทองไมค่ วรละเวน้ ท่จี ะไปเคารพสกั การะศาลหลกั เมอื งและหาของ
ดีเมอื งอ่างทองบรเิ วณศาลนนั้ เพ่ือเป็นสมบตั ปิ ระจาตนและเพ่ือเป็นสิริมงคล
แก่ชีวติ

การขนส่ง

1. ใชเ้ สน้ ทางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) จาก
กรุงเทพมหานคร แยกเขา้ เสน้ ทางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 (บาง
ปะอนิ -พยหุ ะครี )ี ผ่านอาเภอบางปะอิน-บางปะหนั -อยธุ ยา-อา่ งทอง
รวมระยะทาง 105 กิโลเมตร เป็นระยะทางท่ใี กลท้ ่ีสดุ

2. ใชเ้ สน้ ทางตดั ใหมข่ า้ มสะพานสมเดจ็ พระป่ินเกลา้ -ตล่งิ ชนั เขา้ ทาง
หลวงแผ่นดินหมายเลข 340 (บางบวั ทอง-ชยั นาท) ผ่านจงั หวดั นนทบรุ ี-
ปทมุ ธานี-อยธุ ยา-สพุ รรณบรุ ี-อา่ งทอง รวมระยะทางประมาณ 150
กิโลเมตร

3. ใชเ้ สน้ ทางกรุงเทพมหานคร-ปทมุ ธานี ผ่านอาเภอปากเกรด็ เขา้ ทาง
หลวงแผ่นดินหมายเลข 3111 ผา่ นอาเภอบางไทร-อาเภอเสนา-อยธุ ยา
จากนนั้ ใชเ้ สน้ ทางทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 309 (วงั นอ้ ย-สิงหบ์ รุ )ี
เขา้ อาเภอป่ าโมก-อา่ งทอง รวมระยะทาง 140 กิโลเมตร

4. บรษิ ัท ขนสง่ จากดั มีบรกิ ารรถโดยสารธรรมดาและรถปรบั อากาศทกุ
วนั วนั ละหลายเท่ียว สามารถขนึ้ รถไดท้ ่สี ถานีขนสง่ สายเหนือ ถนน
กาแพงเพชร 2 (จตจุ กั ร)

ระยะทางจากตัวเมอื งไปยังอาเภอต่างๆ

อาเภอไชโย 10 กิโลเมตร อาเภอวิเศษชยั ชาญ 15 กิโลเมตร

อาเภอป่าโมก 13 กิโลเมตร อาเภอแสวงหา 27 กิโลเมตร

อาเภอโพธิ์ทอง 13 กิโลเมตร อาเภอสามโก้ 29 กิโลเมตร

บุคคลทม่ี ีช่ือเสยี ง

บวั ผนั จนั ทรศ์ ร-ี ศิลปินแหง่ ชาติสาขาศิลปการแสดงเพลงพนื้ บา้ นภาคกลาง ออย อามีนา – นกั รอ้ ง

บญุ มา สดุ สวุ รรณ-ศิลปินเพลงพนื้ บา้ น จ๋ิว พิจิตร – ครูเพลงลกู ทงุ่ รุน่ เก่า

สมศกั ดิ์ ปรศิ นานนั ทกลุ สรอ้ ยเพชร พรสพุ รรณ – นกั รอ้ งลกู ทงุ่ รุน่ เกา่

ภราดร ปรศิ นานนั ทกลุ ฉลอง วฒุ ิวยั – ครูเพลงลกู ทงุ่ รุน่ เกา่

กรวีร์ ปรศิ นานนั ทกลุ

เจิมศกั ดิ์ ปิ่นทอง

พลตารวจโทวิโรจน์ เปาอนิ ทร์

สภุ า ศริ มิ านนท์

บาเรอ ผอ่ งอินทรกลุ (โนต้ เชิญยมิ้ )

โรจน์ เมอื งลพ – นกั รอ้ งเพลงลกู ท่งุ ชื่อดงั

ไชยา มิตรชยั

ปิยพล มว่ งมี (ยนื หรอื จีโน่ The Snack) - เน็ตไอดอล The Snack สงั กดั เดอะสกาฟิลม์

แอน มติ รชยั

ผศ.ดร.อนนั ต์ เมฆสวรรค์ ศษิ ยเ์ กา่ มหาวิทยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ วิทยาเขตอา่ งทอง ปัจจบุ นั ดารงตาแหนง่ รองอธิการบดี

สถาบนั การพลศกึ ษา ประจาวิทยาเขตชยั ภมู ิ

ไปรยา สวนดอกไม้ - นกั แสดง

วีรยทุ ธ รสโอชา

ลขิ ิต เอกมงคล

สวิ ะ แตรสงั ข์

เจรญิ พร ออ่ นละมา้ ย (โก๊ะต๋ี)

อนสุ รณ์ มณีเทศ (โยง่ อารม์ แชร)์ - นกั รอ้ ง,นกั แสดง

นงผณี มหาดไทย (จ๊ะ อารส์ ยาม)

อสิ รยิ ะ อภิชยั – มสิ ไทยแลนดเ์ วลิ ด์ ในปี พ.ศ. 2534

พลเอกปฐมพงษ์ เกษรศกุ ร์

วิบลู ย์ ลสี้ วุ รรณ – ราชบณั ฑติ

ปลมื้ จิตร์ ถินขาว – นกั วอลเลยบ์ อลหญิงทมี ชาติไทย

มลกิ า กนั ทอง – นกั วอลเลยบ์ อลหญิงทีมชาติไทย

รชั เดช เครอื ทิวา - นกั บาสเกตบอลทมี ชาตไิ ทย

บญุ เลศิ นาจพนิ จิ – ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ลเิ ก)

ปักษิณ ลกู วเิ ศษ – นกั รอ้ งลกู ทงุ่ รุน่ เก่า

เสกศกั ดิ์ พกู่ นั ทอง – นกั รอ้ งลกู ทงุ่ รุน่ เกา่ เจา้ ของเพลง ทหารอากาศขาดรกั -ขนั หมากเศรษฐี

สถานทท่ี อ่ งเทย่ี วจังหวดั อ่างทอง

อาเภอเมือง

 ศาลหลกั เมือง ตงั้ อย่ตู รงขา้ มศาลากลางจงั หวดั เป็นอาคารจตรุ มขุ

(4 หนา้ ) ตวั ศาลสงู จากพืน้ ประมาณ 1.5 เมตร ภายในศาลเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนงั ภาพพมุ่ ขา้ วบณิ ฑ์
กา้ นแยง่ สวยงามมาก ศาลหลกั เมืองจงั หวดั อา่ งทองเป็นศาลหลกั เมืองแหง่ ท่ี 2 ท่ีมีการเขียนภาพจติ รกรรม
ฝาผนงั ทงั้ 4 ดา้ น (ศาลหลกั เมืองแหง่ แรกท่ีมีภาพจิตรกรรมฝาผนงั คือ ศาลหลกั เมือง กรุงเทพฯ)
ศาลหลกั เมืองอา่ งทองเป็นสถานท่ีศกั ดสิ์ ิทธิ์สวยงาม สมกบั เป็นหลกั ชยั และหลกั ใจของประชาชนชาว
อา่ งทองอยา่ งย่ิง ผทู้ ่ีมีโอกาสไปเยือนจงั หวดั นีไ้ มค่ วรละเวน้ ท่ีจะไปเคารพสกั การะศาลหลกั เมืองและหาของ
ดี เมืองอา่ งทองบรเิ วณศาลเพ่ือเป็นสิรมิ งคลแก่ชีวิต

 บา้ นทรงไทยจาลอง สว่ นประกอบบา้ นทรงไทย เคร่อื งเรอื นไมต้ าล เป็นฝีมือเชิงชา่ งท่ีสืบทอดจาก
บรรพบรุ ุษ นอกจาก จะมีการจดั สรา้ งท่ีสวยงามแลว้ ยงั คงความเป็นไทยไวอ้ ยา่ งนา่ สนใจ เป็นแหลง่
ทาสว่ นประกอบของบา้ นทรงไทยทกุ ชนดิ มีการประดิษฐบ์ า้ นทรงไทยจาลองท่ียอ่ ส่วนจากของจรงิ
และยงั มีสินคา้ ประเภทเฟอรน์ เิ จอรต์ า่ ง ๆ ท่ีทาจากไมต้ าลอีกด การเดนิ ทาง ตามเสน้ ทางสาย
อยธุ ยา-ป่าโมก และตาบลโพสะ

 วดั อ่างทองวรวหิ าร เป็นพระอารามหลวงชนั้ ตรี ตงั้ อยตู่ รงขา้ มศาลากลางจงั หวดั เดมิ เป็นวดั เล็ก ๆ
2 วดั ช่ือวดั โพธิ์เงิน และวดั โพธิ์ทอง สรา้ งในสมยั รชั กาลท่ี 4 ครนั้ ในสมยั รชั กาลท่ี 5 โปรดเกลา้ ฯ ให้
รวมเป็นวดั เดียวกนั เม่ือ พ.ศ. 2443 แลว้ พระราชทานนามวา่ "วดั อ่างทอง" วดั นีม้ ีพระอโุ บสถท่ี
งดงามย่งิ นกั พระเจดียท์ รงระฆงั ประดบั ดว้ ยกระจกสีอยา่ งสวยงาม และหมกู่ ฏุ ิทรงไทยสรา้ งดว้ ย
ไมส้ กั งดงามเป็นระเบยี บลว้ นเป็นศลิ ปะสถาปัตยกรรมตามแบบสมยั รตั นโกสินทรต์ อนตน้

 วดั ตน้ สน อยรู่ มิ ฝ่ังฟากตะวนั ตกของแมน่ า้ เจา้ พระยา ตรงขา้ มกบั วิทยาลยั เทคนิคอา่ งทอง เป็นวดั
เกา่ แก่โบราณ ท่ีประดษิ ฐานพระพทุ ธรูปปางสมาธิ เรียกวา่ "สมเดจ็ พระศรเี มืองทอง" ขนาดหนา้ ตกั
กวา้ ง 6 วา 3 ศอก 9 นวิ้ สงู 9 วา 2 ศอก 19 นวิ้ มีพทุ ธลกั ษณะท่ีสวยงามมากอีกองคห์ นง่ึ นบั วา่
เป็นพระพทุ ธรูปหลอ่ ดว้ ยโลหะท่ีใหญ่ ท่ีสดุ องคแ์ รก

 วดั สวุ รรณเสวรยิ าราม อยรู่ มิ แมน่ า้ เจา้ พระยาทิศตะวนั ออกในทอ้ งท่ีตาบลตลาดกรวด จากศาลา
กลางจงั หวดั ไปตามถนน คลองชลประทานประมาณ 3 กม. มีพระพทุ ธไสยาสนข์ นาดองคพ์ ระยาว
ประมาณ 10 วา ประดิษฐานอยภู่ ายในพระวิหารและโบราณวตั ถสุ ถานตา่ ง ๆ ท่ีมีอายรุ าว 100 ปี

อาเภอป่ ามมก

 วดั ป่ าโมกวรวิหาร อยใู่ นเขตเทศบาลตาบลป่ าโมก รมิ แมน่ า้ เจา้ พระยาฝ่ังตะวนั ตกหา่ งจากอาเภอ
เมืองอา่ งทองไปประมาณ 18 กม. ตามเสน้ ทางหลวงหมายเลข 309 สายอา่ งทอง-อยธุ ยา เดมิ มีวดั
2 วดั อย่ตู ดิ กนั คือ วดั ตลาดกบั วดั ชีปะขาว เป็นท่ีประดษิ ฐานพระพทุ ธไสยาสนท์ ่ีงดงามมากองค์
หน่งึ ของประเทศไทย มีความยาวจากพระเมาลีถึงปลายพระบาทประมาณ 22.58 เมตรกอ่ อฐิ ถือปนู
ปิดทอง องคพ์ ระนีส้ นั นษิ ฐานวา่ สรา้ งในสมยั สโุ ขทยั มีประวตั คิ วามเป็นมานา่ อศั จรรยเ์ ลา่ ขานวา่ ได้
ลอยนา้ มาจมอยหู่ นา้ วดั ราษฎรบวงสรวงแลว้ ชกั ลากขนึ้ มาไวท้ ่ีรมิ ฝ่ังแมน่ า้ ในพระราชพงศาวดาร
กลา่ ววา่ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชก่อนจะยกทพั ไปรบกบั พระมหาอปุ ราชไดเ้ สดจ็ มาชมุ นมุ พล และ
ถวายสกั การบชู าพระพทุ ธรูปองคน์ ี้ ในปี พ.ศ. 2269 สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทา้ ยสระ ไดเ้ สดจ็ มา
ควบคมุ การชะลอองคพ์ ระ ใหพ้ น้ จาก กระแสนา้ เซาะตล่งิ พงั ไปไวย้ งั วหิ ารใหมท่ ่ีวดั ตลาดหา่ งจากฝ่ัง
แมน่ า้ 168 เมตร แลว้ โปรดใหร้ วม ทงั้ สองเป็นวดั เดียวกนั พระราชทานนามว่าวดั ป่าโมกเพราะ
บรเิ วณนนั้ มีตน้ โมกมากมาย ส่งิ ท่ีนา่ สนใจในวดั นีม้ ีมากมาย อาทิ พระวหิ ารพระพทุ ธไสยาสน์ วิหาร
เขียน มณฑปพระพทุ ธบาท 4 รอย เป็นตน้

 วดั สระแกว้ อยถู่ ดั จากวดั ทา่ สทุ ธาวาส ประมาณ 200 เมตร ตามถนนเลียบคนั คลองชลประทาน
หากเดินทางมาจาก อยธุ ยาตามเสน้ ทางอยธุ ยา-อา่ งทอง (ทางหลวงหมายเลข 309) ทางเขา้ วดั จะ
อยซู่ า้ ยมือหา่ งจากอยธุ ยาประมาณ 15 กม. วดั นีส้ รา้ งเม่ือปี พ.ศ. 2242 เดมิ ช่ือวา่ "วดั สระแก" เป็น
สถานเลีย้ งเด็กกาพรา้ ท่ีมีเด็กอยใู่ นความดแู ล และไดจ้ ดั ตงั้ คณะลิเกเดก็ กาพรา้ วดั สระแกว้ เพ่ือหา
รายไดช้ ว่ ยเหลือคา่ ใชจ้ า่ ย ในการเลีย้ งดเู ดก็ กาพรา้ ดว้ ย นอกจากนีย้ งั เป็นท่ีตงั้ ของ "สามคั คีสมา
คาร" ซง่ึ เป็นศนู ยโ์ ครงการทอผา้ ตามพระราชประสงคก์ ่อตงั้
เม่ือ พ.ศ. 2524 อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของ กองอตุ สาหกรรมในครอบครวั กระทรวงอตุ สาหกรรม ท่ี
บา้ นบางเสดจ็ นีจ้ ะมีก่ีทอผา้ อยแู่ ทบทกุ หลงั คาเรือน ชาวบางเสดจ็ จะขยนั ขนั แข็งมงุ่ ผลิตสนิ คา้ ผา้ ทอ
ตา่ ง ๆ เชน่ ผา้ ซ่ิน ผา้ ขาวมา้ ผา้ ปโู ต๊ะ ปลอกหมอน ฯลฯ ใหม้ ีคณุ ภาพดี และมีความสวยงามจนเป็น
ท่ีรูจ้ กั แพรห่ ลายท่วั ไป สินคา้ เหลา่ นีจ้ ะรวบรวมไปจดั จาหนา่ ยแกผ่ สู้ นใจท่ีศนู ยส์ ามคั คีสมาคาร
ตดิ ตอ่ สอบถามรายละเอียดเพ่มิ เตมิ ไดท้ ่ี โทร. (035) 611169

 หมบู่ า้ นทากลอง ตงั้ อยทู่ ่ีหม่บู า้ นแพ ตาบลเอกราช หลงั ตลาดป่ าโมก รมิ ฝ่ังซา้ ยของแมน่ า้ เจา้ พระยา
การเดนิ ทางใชถ้ นนสายใน ผา่ นหนา้ ท่ีทาการเทศบาลอาเภอป่าโมกซ่ึงขนานไปกบั ลาคลอง
ชลประทาน ระยะทางประมาณ 17 กม. ชาวบา้ นแพเรม่ิ ผลติ กลองมาตงั้ แต่ พ.ศ. 2470 โดยจะเร่มิ
หลงั ฤดเู ก็บเก่ียว วตั ถดุ บิ ท่ีใชไ้ ดแ้ ก่ไมฉ้ าฉาเพราะเป็นไมเ้ นือ้ ออ่ นท่ีสามารถขดุ เนือ้ ไมไ้ ดง้ า่ ยกบั หนงั
ววั นอกจากคณุ ภาพท่ีประณีตสวยงามแลว้ ยงั มีหลายขนาดใหเ้ ลือกอีกดว้ ย โดยเฉพาะกลองขนาด
จ๋ิวจะเป็นท่ีนยิ มหาซือ้ ไวเ้ ป็นของท่ีระลกึ ซง่ึ ขายดมี าก

 วดั ทา่ สทุ ธาวาส อยรู่ มิ ฝ่ังแมน่ า้ เจา้ พระยาดา้ นทิศตะวนั ออกเขตตาบลบางเสดจ็ หากใชเ้ สน้ ทางสาย
อยธุ ยา-อา่ งทอง (ทางหลวงหมายเลข 309) ทางเขา้ วดั จะอยทู่ างซา้ ยมือหา่ งจากตวั จงั หวดั อ่างทอง
ประมาณ 17 กม. หรอื ห่างจากจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ประมาณ 14 กม. วดั นีเ้ ป็นวดั เกา่ แกแ่ ต่
โบราณ สมยั อยธุ ยาตอนตน้ ในการศกึ สงครามครงั้ กรุงศรีอยธุ ยา บรเิ วณนีจ้ ะเป็นเสน้ ทางเดนิ ทพั
ขา้ มแมน่ า้ เจา้ พระยาปัจจบุ นั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกมุ ารี ทรงรบั ไวใ้ นพระราช
อปุ ถมั ภ์ มีการจดั สรา้ งพลบั พลาท่ีประทบั กลางสระนา้ พระเจดยี เ์ พ่ือแสดงพระพทุ ธรูปโบราณและ
โบราณวตั ถตุ า่ ง ๆ รวมทงั้ พระบรมราชานสุ าวรียส์ มเดจ็ พระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศ
รถ ภายในพระอโุ บสถ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ิตรกรสว่ น
พระองค์ และนกั เขียนโครงการศลิ ปาชีพ เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนงั ดว้ ย บรเิ วณวดั แหง่ นีม้ ีความรม่
ร่นื ดว้ ยตน้ ไมข้ นาดใหญ่ และทิวทศั นส์ วยงามรมิ ฝ่ังแมน่ า้ เจา้ พระยาชวนใหเ้ ป็นท่ีนา่ พักผอ่ น

 ต๊กุ ตาชาววงั บางเสดจ็ ตาบลบางเสดจ็ ตงั้ อยใู่ นเสน้ ทางหลวงหมายเลข 309 จากอยธุ ยาไปจงั หวดั
อา่ งทองประมาณ 16 กม. จะมีทางแยกซา้ ยมือเขา้ สบู่ า้ นบางเสดจ็ อย่ตู ดิ กบั วดั ทา่ สทุ ธาวาส ตาบล
นีเ้ ดมิ ช่ือ ตาบลบา้ นวดั ตาล เม่ือพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระบรมราชินีนาถ เสดจ็
พระราชดาเนนิ พระราชทานความชว่ ยเหลือแก่ราษฎรผปู้ ระสบอทุ กภยั ใน ปี พ.ศ. 2518 สรา้ งความ
ปลืม้ ปิติใหแ้ ก่ราษฎรเป็นอนั มาก เพ่ือเป็นการระลึกถึงพระมหากรุณาธิคณุ จงึ พรอ้ มใจกนั เปล่ียนช่ือ
บา้ นวดั ตาลเป็น บา้ นบางเสดจ็ ภายในหมบู่ า้ นบางเสดจ็ นี้ นอกจากจะไดช้ มทศั นียภาพอนั รม่ ร่ืน
และสวยงาม รมิ ฝ่ังแมน่ า้ เจา้ พระยาแลว้ ยงั สามารถเดนิ ชมการปั้นตกุ๊ ตาในบรเิ วณบา้ นเรอื นราษฎร
ละแวกนนั้ ไดอ้ ยา่ งเป็นกนั เอง
โครงการต๊กุ ตาชาววงั ท่ีบา้ นบางเสดจ็ เป็นโครงการท่ีสมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรมราชินีนาถ มี
พระราชดารใิ หจ้ ดั ตงั้ ขนึ้ เม่ือ พ.ศ. 2519 เพ่ือใหเ้ ป็นอาชีพเสรมิ เพ่มิ พนู รายไดใ้ หแ้ กร่ าษฎร มีการ
รวมกลมุ่ ในรูปสหกรณโ์ ดยมีศนู ยก์ ลางอย่ทู ่ีดา้ นหนา้ วดั ท่าสทุ ธาวาส ซง่ึ จะจดั ใหส้ มาชิกมา สาธิต
การปั้นพรอ้ มกบั จดั จาหนา่ ยในราคาท่ียอ่ มเยา ตกุ๊ ตาชาววงั เป็นประดษิ ฐกรหรมดนิ เหนียว ท่ี
สวยงามจดั แสดงชีวติ ความเป็นอย่ขู องคนไทยทกุ เพศทกุ วยั วฒั นธรรมประเพณีไทย เชน่ การละเลน่
ของเดก็ ไทย วงมโหรีป่ีพาทย์ ตลอดจนผลไมไ้ ทยหลายหลากชนิดลว้ นมีความสวยงาม นา่ รกั และ
เหมาะท่ีจะซือ้ เป็นของฝากหรือของท่ีระลกึ เป็นอยา่ งย่งิ

 อิฐอา่ งทอง เป็นอตุ สาหกรรมในครวั เรือนคณุ ภาพสงู ท่ีผลิตขนึ้ เพ่ือจดั จาหนา่ ยไปท่วั ประเทศไทย
สว่ นมากจะใชใ้ นการทาอฐิ โชวแ์ นวประดบั อาคาร บา้ นเรือน ผสู้ นใจจะตดิ ตอ่ ซือ้ ไดจ้ ากโรงอฐิ
โดยตรงเฉพาะท่ีอาเภอ ป่ าโมกจะมีโรงอิฐมากกวา่ 42 แหง่

อาเภอไชมย

 วดั ไชโยราชวรวิหาร เป็นวดั พระอารามหลวงชนั้ โท อยบู่ นเสน้ ทางสายอา่ งทอง-สิงหบ์ รุ ี หา่ งจาก
อาเภอเมืองอา่ งทองประมาณ 18 กม. เดมิ เป็นวดั ราษฏรโ์ บราณสรา้ งมาแตค่ รงั้ ใดไมป่ รากฏ มี
ความสาคญั ขนึ้ มาในสมยั รชั กาลท่ี 4 เม่ือสมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (โต พรหมรงั สี) แหง่ วดั ระฆงั โฆสิตา
ราม ธนบรุ ี ไดส้ รา้ งพระพทุ ธรูปปางสมาธิองคใ์ หญ่เป็นปนู ขาวไมป่ ิดทองไวก้ ลางแจง้ ณ วดั แหง่ นี้ ถึง
สมยั รชั กาลท่ี 5 ไดเ้ สดจ็ ฯ มานมสั การและโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ฏิสงั ขรณว์ ดั ไชโย ในปี พ.ศ. 2430 แต่
แรงส่นั สะเทือน ระหวา่ งการลงรากพระวิหารทาใหอ้ งคห์ ลวงพอ่ โตพงั ลงมาจงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ ง
หลวงพอ่ โตขนึ้ ใหมต่ ามแบบหลวงพอ่ โต วดั กลั ยาณมติ ร มีขนาดหนา้ ตกั กวา้ ง 16.10 เมตร สงู
22.65 เมตร แลว้ พระราชทานนามวา่ "พระมหาพทุ ธพมิ พ"์ มีการจดั งานฉลองนบั เป็นงานใหญ่ท่ีสดุ
ของจงั หวดั อา่ งทองในสมยั นนั้ องคห์ ลวงพอ่ โตประดษิ ฐานอยใู่ นพระวิหารท่ีมีความสงู ใหญ่สง่างาม
แปลกตากวา่ วิหารแหง่ อ่ืน ๆ พทุ ธศาสนกิ ชนจากท่ีตา่ ง ๆ มานมสั การอยา่ งไมข่ าดสายตดิ กบั
ดา้ นหนา้ พระวิหาร มีพระอโุ บสถ หนั ดา้ นหนา้ ออกสแู่ มน่ า้ เจา้ พระยา ก่อสรา้ งดว้ ยสถาปัตยกรรม
ไทยอนั งดงามเชน่ กนั ภายในพระอโุ บสถมีภาพจิตกรรมฝาผนงั เร่อื งพทุ ธประวตั ิ ฝีมือช่างสมยั
รชั กาลท่ี 5 ปัจจบุ นั วดั ไชโยวรวิหารไดร้ บั การบรู ณปฏิสงั ขรณใ์ หมจ่ นมีความงามอยา่ งสมบรู ณย์ ่งิ

 วดั สระเกศ ตงั้ อยทู่ ่ีตาบลชยั ภมู ิ รมิ ฝ่ังแมน่ า้ เจา้ พระยาทิศตะวนั ออก ห่างจากอาเภอเมืองอา่ งทอง
ประมาณ 15 กม.เป็นวดั เก่าตงั้ แตส่ มยั อยธุ ยา ตาบลชยั ภมู นิ ีเ้ ดมิ ช่ือ บา้ นสระเกศ ขนึ้ อยกู่ บั แขวง
เมืองวิเศษชยั ชาญ มีกลา่ วไวใ้ นพระราชพงศาวดารวา่ เม่ือ พ.ศ. 2128 พระเจา้ เชียงใหม่ ยกทพั มา
ตงั้ คา่ ยอย่ทู ่ีบา้ นสระเกศ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช และสมเดจ็ พระเอกาทศรถ ไดเ้ คยเสดจ็ พระ
ราชดาเนินมา ณ วดั สระเกศเม่ือปี พ.ศ. 2513 เพ่ือทรงบาเพญ็ พระราชกศุ ลบวงสรวงสมเดจ็ พระ
นเรศวรมหาราช

อาเภอมพธ์ิทอง

 วดั โพธิ์ทอง อยทู่ ่ีบา้ นโพธิ์ทอง ตาบลคาหยาด ตรงขา้ มทางเขา้ บา้ นบางเจา้ ฉ่า หา่ งจากอาเภอเมือง
ไปตามเสน้ ทางสายอา่ งทอง-โพธิ์ทอง ประมาณ 9 กม. นามวดั โพธิ์ทองในพระราชพงศาวดารกลา่ ว
วา่ เป็นวดั ท่ีกรมขนุ พรพินติ (เจา้ ฟา้ อทุ มุ พร หรือขนุ หลวงหาวดั ) เสดจ็ มาผนวช วดั โพธิ์ทองแหง่
นี้ รชั กาลท่ี 6 มา ประทบั รอ้ น เม่ือคราวเสดจ็ ประพาสลานา้ นอ้ ย ลานา้ ใหญ่ มณฑลกรุงเก่า เม่ือ
พ.ศ. 2459

 วดั ขนุ อินทประมลู วดั นีเ้ ป็นวดั โบราณ พจิ ารณาจากซากอิฐแนวเขตเดมิ คะเนวา่ เป็นวดั ใหญ่ เป็นท่ี
ประดษิ ฐาน พระพทุ ธไสยาสนท์ ่ีใหญ่และยาวท่ีสดุ ในประเทศไทย มีความยาวถงึ 50 เมตร (25 วา)
เดมิ ประดิษฐานอยใู่ นวหิ าร แตถ่ กู ไฟไหมป้ รกั หกั พงั ไปเหลือแตอ่ งคพ์ ระตากแดดตากฝนนานนบั เป็น

รอ้ ย ๆ ปี องคพ์ ระนอนมีพทุ ธลกั ษณะท่ีงดงาม พระพกั ตรย์ มิ้ ละไม สงบเยือกเย็นนา่ เล่ือมใสศรทั ธา
ย่งิ นกั พระมหากษัตริยไ์ ทยหลายพระองคไ์ ดเ้ คยเสดจ็ มาสกั การบชู า อาทิ พระเจา้ อยหู่ วั บรม
โกศ เสดจ็ มาเม่ือ พ.ศ. 2296 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ฯ ในปี พ.ศ. 2221
และ พ.ศ. 2451 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลปัจจบุ นั เสดจ็ ฯ มาถวายผา้ พระกฐินตน้ ในปี
พ.ศ. 2516 และเสดจ็ มานมสั การอีกครงั้ ในปี พ.ศ. 2518 พทุ ธศาสนิกชนท่วั ประเทศตา่ งนยิ มมา
นมสั การเป็นเนืองนิจนอกจากนีภ้ ายในบรเิ วณวดั ขนุ อินทประมลู ยงั มีโบราณสถานวิหารหลวงพอ่
ขาว ซ่งึ เหลือเพียงฐาน และผนงั บางสว่ นและพระพทุ ธรูป ดา้ นหนา้ พระนอนมีศาลรูปปั้น ขนุ อินท
ประมลู ซ่งึ ตามประวตั ิ กลา่ ววา่ เป็นผสู้ รา้ งพระพทุ ธไสยาสน์
 คา้ งคาวแมไ่ ก่วดั จนั ทาราม วดั จนั ทารามเป็นวดั เกา่ แก่ ตงั้ อยทู่ ่ีบา้ นชา้ ง หม่ทู ่ี 5 ตาบลโคกพทุ รา
หา่ งจากท่ีวา่ การอาเภอโพธิ์ทองไปทางทศิ ตะวนั ตก ประมาณ 4 กม. การเดนิ ทาง ใชเ้ สน้ ทางสาย
โพธิ์ทอง-แสวงหาประมาณ 1 กม. แลว้ แยกซา้ ยไปอีก 3 กม. ในบรเิ วณวดั แหง่ นีม้ ีตน้ ไมข้ นึ้ หนาแนน่
จงึ เป็นท่ีอยอู่ าศยั และแพรพ่ นั ธุค์ า้ งคาวแมไ่ ก่ และนกนานาชนดิ มาหลายช่วั อายคุ นแลว้ คา้ งคาวแม่
ไก่นีจ้ ะออกหากินในเวลากลางคืน สว่ นเวลากลางวนั จะเกาะหอ้ ยหวั อยตู่ ามก่ิงไมเ้ ป็นสีดาพรืด
มองเหน็ แตไ่ กลซ่งึ ผสู้ นใจสามารถจะไปชมไดใ้ นทกุ ฤดกู าล
 หมบู่ า้ นจกั สาน งานฝีมือจกั สานอนั ลือช่ือของอา่ งทองสว่ นมากจะเป็นฝีมือของชาวอาเภอโพธิ์ทอง
แทบทกุ ครวั เรือนท่ีตงั้ บา้ นเรือนเรยี งรายอยทู่ งั้ สองฟากฝ่ังแมน่ า้ เจา้ พระยา มีการจดั ตงั้ เป็นกลมุ่ การ
ผลติ เคร่ืองจกั สานเคร่ืองหวาย กลมุ่ จกั สานไมไ้ ผ่ เชน่ กลมุ่ ตาบลองครกั ษ์ กลมุ่ ตาบลบางเจ้าฉ่า
กลมุ่ ตาบลบางระกา กลมุ่ ตาบลพลบั และกลมุ่ ตาบลอนิ ทประมลู เป็นตน้ แหลง่ หตั ถกรรมเคร่อื งจกั
สานท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ "บางเจา้ ฉ่า" ตงั้ อยทู่ ่ีหมู่ 8 บา้ นยางทอง ตาบลบางเจา้ ฉ่า การเดนิ ทาง ใชเ้ สน้ ทาง
สายอา่ งทอง-โพธิ์ทอง ประมาณ 9 กม. ถงึ คลองชลประทานยางมณี จากนนั้ เลีย้ วขวาเลียบคลองไป
อีกประมาณ 5 กม. จงึ เลีย้ วขวาไปตามทางเขา้ วดั ยางทอง แหลง่ หตั ถกรรมจะตงั้ อยบู่ รเิ วณหลงั วดั
ท่ีน่ีเป็นแหลง่ เคร่อื งจกั สานดว้ ยไมไ้ ผ่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกมุ ารี ไดเ้ คยเสดจ็
พระราชดาเนนิ มาเยือนและไดพ้ ระราชทานคาแนะนาใหร้ าษฎรปลกู ไมไ้ ผส่ ีสกุ เพ่ือเป็นวตั ถดุ บิ ใน
การทา จกั สานใหม้ ีปรมิ าณมากขนึ้ ก่อนท่ีจะมีปัญหาการขาดแคลน งานจกั สานของบางเจา้ ฉ่านีม้ ี
ความประณีตสวยงามเป็นพเิ ศษ และสามารถพฒั นางานฝีมือตามความนิยมของตลาด จงึ ไดร้ บั การ
ยกยอ่ งวา่ เป็นหมบู่ า้ นตวั อยา่ งในการพฒั นาอาชีพ นอกจากบางเจา้ ฉ่าแลว้ หา่ งจากอาเภอโพธิ์ทอง
ไปอีกประมาณ ห 4 กม. ก็มีผลติ ภณั ฑเ์ คร่ืองจกั สานไมไ้ ผเ่ ชน่ เดียวกนั
 พระตาหนกั คาหยาด อยใู่ นทอ้ งท่ีตาบลคาหยาด ถดั จากวดั โพธิ์ทอง ไปทางทิศตะวนั ตกประมาณ 2
กม. บนถนนสายเดียวกนั ตวั อาคารตงั้ โดดเดน่ อย่กู ลางทงุ่ นา ก่อดว้ ยอฐิ ถือปนู ขนาดกวา้ ง 10 เมตร
ยาว 20 เมตร สภาพปัจจบุ นั มีเพียงฝนงั 4 ดา้ น แตย่ งั คงเหน็ เคา้ ความสวยงามทางดา้ นศลิ ปกรรม
เชน่ ลอดลายประดบั ซมุ้ จรนาหนา้ ตา่ ง ในคราวท่ีพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็

ประพาสลานา้ มะขามเฒา่ เม่ือ พ.ศ. 2451 ไดเ้ สดจ็ มายงั โบราณสถานแหง่ นีแ้ ละมีพระ
ราชหตั ถเลขาอรรถาธิบายไวว้ า่ เดมิ ทีมีพระราชดารวิ า่ ขนุ หลวงหาวดั (เจา้ ฟ้าอุทมุ พร กรมขนุ พร
พินติ ) ผนวชท่ีวดั โพธิ์ทองแลว้ สรา้ งพระตาหนกั แหง่ นีข้ นึ้ เพ่ือจาพรรษา เน่ืองจากมีชยั ภมู ทิ ่ีเหมาะสม
ครนั้ ไดท้ อดพระเนตรเหน็ ตวั พระตาหนกั สรา้ งดว้ ยความประณีตสวยงามแลว้ พระราชดารเิ ดมิ ก็
เปล่ียนไป ดว้ ยทรงเหน็ วา่ ไมน่ า่ ท่ีขนุ หลวงหาวดั จะทรงมีความคดิ ใหญ่โต สรา้ งท่ีประทบั ช่วั คราวหรือ
ท่ีม่นั ในการตอ่ สใู้ หด้ สู วยงามเชน่ นี้ ดงั นนั้ จงึ ทรงสนั นษิ ฐานวา่ พระตาหนกั นีค้ งจะสรา้ งขนึ้ ตงั้ แตร่ ชั
สมยั สมเดจ็ พระเจา้ บรมโกศ เพ่ือเป็นท่ีประทบั แรมเน่ืองจากมีพระราชนิยมเสดจ็ ประพาสเมืองแถบนี้
อยเู่ นือง ๆ เชน่ เดียวกบั ท่ีพระเจา้ ปราสาททองทรงสรา้ งท่ีประทบั ไวท้ ่ีบางปะอิน ขณะท่ีกรมขุนพร
พนิ ติ ผนวชอยทู่ ่ีวดั ราชประดษิ ฐสถิตมหาสีมาราม ไดท้ รงนาขา้ ราชบรพิ ารกบั พระภิกษุท่ีจงรกั ภกั ดี
ตอ่ พระองค์ ออกจากพระนครศรีอยธุ ยามา จาพรรษาท่ี วดั โพธิ์ทอง และประทบั อย่ทู ่ีพระตาหนกั คา
หยาดนีเ้ พ่ือไปสมทบกบั ชาวบา้ นบางระจนั ปัจจบุ นั กรมศลิ ปากรไดบ้ รู ณะ และขนึ้ ทะเบียนพระ
ตาหนกั คาหยาดเป็นโบราณสถานไวแ้ ลว้
 วงั ปลาวดั ขอ่ ย อยบู่ รเิ วณแม่นา้ นอ้ ยหนา้ วดั ขอ่ ย หมทู่ ่ี 1 ตาบลโพธิ์รงั นก อยหู่ า่ งจากจงั หวดั อา่ งทอง
ประมาณ 12 กม. ตามเสน้ ทางจงั หวดั อา่ งทอง-วเิ ศษชยั ชาญ ก็จะพบปา้ ยวงั ปลาวดั ขอ่ ย แลว้ เลีย้ ว
ขวาลดั เสน้ ทางคลองสง่ นา้ ชลประทานไปอีกประมาณ 7 กม. ปลาท่ีวดั ขอ่ ยนีม้ ีปรมิ าณชกุ ชมุ มา
ตงั้ แตส่ มยั พระครูสกุ ิจวชิ าญ (หลวงพอ่ เข็ม) เป็นเจา้ อาวาสซ่งึ เป็นเวลากว่า 50 ปีแลว้ ตอ่ มาเม่ือปี
พ.ศ. 2528 พระครูสรกิจจาทร เจา้ อาวาสองคป์ ัจจบุ นั ไดป้ รบั ปรุงสถานท่ี และประกาศ เป็นเขตรกั ษา
พนั ธสุ์ ตั วน์ า้ รว่ มกบั สานกั งานประมงอาเภอโพธิ์ทองและเจา้ หนา้ ท่ีตารวจในการดแู ลรกั ษามิใหป้ ลา
ถกู รบกวน ปัจจบุ นั มีปลานานาพนั ธุ์ เชน่ ปลาสวาย ปลาตะเพียนปลาเทโพปลาแรดปลาบกึ ฯลฯ
อาศยั อยรู่ วมกนั ไมต่ ่ากว่า 50,000 ตวั ทางวดั ไดจ้ ดั จาหนา่ ยอาหารปลาใหน้ กั ทอ่ งเท่ียวได้
เพลิดเพลินกบั การใหอ้ าหารปลาและจดั สวนสตั วข์ นาดเล็ก ตลอดจนรา้ นจาหนา่ ยเคร่ืองด่มื ไว้
บรกิ ารอีกดว้ ย นอกจากนีย้ งั มีส่งิ ท่ีนา่ สนใจภายในวดั ข่อยมี มณฑป พระวิหารเจดีย์ พระอโุ บสถกฏุ ิ
หอสวดมนตต์ ศ์ าลาการเปรียญแบบทรงไทยโบราณซง่ึ ทามาจากไมส้ กั เป็นเสาเหล่ียม 8
เหล่ียม ตะเกียง จากกรุงวอชิงตนั เป็นตะเกียงโบราณ นาฬิกาโบราณ จากปารีส และตพู้ ระไตรปิฎก
ทาดว้ ยไมส้ กั จากประเทศจีนซ่งึ มีในสมยั รชั กาลท่ี 5 เรอื ซง่ึ เป็นพาหนะท่ีใชใ้ นการเดนิ ทางมีแทบทกุ
ชนิด ไดแ้ ก่ เรือบด เรือแจว เรือสาปั้น และเรือประทนุ เปลกลอ่ มลกู ในสมยั โบราณ มรดกชาวนาซ่งึ
ไดร้ วบรวมเคร่ืองมือ เคร่อื งใช้ รวมทงั้ อปุ กรณใ์ นการทานา ไดแ้ ก่ เกวียน ลอ้ คนั ไถ อปุ กรณเ์ คร่ีองมือ
การจบั สตั วน์ า้ ไซดกั ปลา และศนู ยผ์ ลิตขา้ วซอ้ มมือท่ีชาวบา้ นทาการจดั ตงั้ เป็นสหกรณข์ ึน้ เพ่ือทา
การจาหนา่ ยใหแ้ กป่ ระชาชน
 ศนู ยเ์ จียระไนพลอย อยใู่ นบริเวณเดยี วกบั แหลง่ ผลิตเคร่อื งจกั สานท่ีบางเจา้ ฉ่า มีศนู ยร์ วมการ
เจียระไนพลอยของหม่บู า้ นและมีพลอยรูปแบบตา่ ง ๆ ท่ีสวยงามเป็นจานวนมาก

 ศนู ยผ์ ลิตเคร่ืองใชป้ ระดบั มกุ อยทู่ ่ีวดั มว่ งคนั ตาบลรามะสกั มีการผลิตเคร่อื งใชป้ ระดบั มกุ ฝีมือ
ประณีต นอกจากนนั้ มีการทาหตั ถกรรมในครวั เรือนอีกหลายแหง่ เชน่ กนั ชดุ โต๊ะเคร่อื งแปง้ แจกนั ท่ี
เข่ียบหุ ร่ี

อาเภอวิเศษชัยชาญ

 วดั เขียน เป็นวดั เก่าแก่วดั หน่งึ อยทู่ ่ีหมู่ 8 ตาบลศาลเจา้ โรงทอง หา่ งจากอาเภอเมือง 12 กม. ภายใน
พระอโุ บสถมีภาพเขียนฝาผนงั ท่ีงดงาม สนั นษิ ฐานวา่ เป็นฝีมือชา่ งสกลุ เมืองวิเศษชยั ชาญสมยั
อยธุ ยาตอนปลาย ลกั ษณะภาพคลา้ ยกบั ภาพเขียนท่ีพระอโุ บสถวดั เกาะ และวดั ใหญ่สวุ รรณาราม
จงั หวดั เพชรบรุ ี ซง่ึ อยใู่ นยคุ เดยี วกนั

 วดั มว่ ง ตงั้ อยหู่ มทู่ ่ี 6 ตาบลหวั ตะพาน ระยะทางจากจงั หวดั ถึงวดั มว่ ง ประมาณ 8 กม. ใชเ้ สน้ ทาง
สายอา่ งทอง-สพุ รรณบรุ ี วดั จะอยทู่ างซา้ ยมือ มีพระอโุ บสถลอ้ มรอบดว้ ยกลีบบวั ท่ีใหญ่ท่ีสดุ ในโลก
ภายในมีรูปปั้นเกจิอาจารยช์ ่ือดงั ท่วั ประเทศ มีแดนเทพเจา้ ไทย แดนนรก แดนสวรรค์ และแดนเทพ
เจา้ จีน ซง่ึ มีรูปปั้นเจา้ แมก่ วนอมิ ขนาดใหญ่ มีรูปปั้นแสดงเหตกุ ารณใ์ นประวตั ิศาสตรเ์ ก่ียวกบั
สงครามไทย-พมา่ ท่ีเมืองวเิ ศษชยั ชาญ( และยงั มีพระทีใหญ่และสงู ทีสดุ ในโลกหนา้ ตกั ขา้ ง 1 ไร่ 9
วา ) และสามารถซือ้ ผลิตภณั ฑข์ องดเี มืองอา่ งทองไดด้ ว้ ย

 อนสุ าวรียน์ ายดอกนายทองแกว้ ประดษิ ฐานอยทู่ ่ีหนา้ โรงเรียนวเิ ศษชยั ชาญ หมทู่ ่ี 2 ตาบลไผจ่ าศลี
ระหวา่ งกม.ท่ี 26-27 ตามเสน้ ทางสายศรปี ระจนั ต-์ วิเศษชยั ชาญ เป็นอนสุ รณส์ ถานท่ีชาววิเศษชยั
ชาญ และชาวอา่ งทองรว่ มกนั สรา้ ง เพ่ือราลกึ ถึงคณุ งามความดขี องวีรบรุ ุษแหง่ บา้ นโพธิ์ทะเล ทงั้
สองทา่ นท่ีไดส้ ละชีวิต เป็นชาตพิ ลีในการสรู้ บกบั พมา่ ท่ีคา่ ยบางระจนั อยา่ งกลา้ หาญ เม่ือปี พ.ศ.
2309 สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชสยามมกฎุ ราชกมุ าร เสดจ็ พระราชดาเนินทรงเปิดอนสุ าวรยี ์ เม่ือ
วนั ท่ี 25 มีนาคม พ.ศ. 2520

 ตลาดวิเศษเป็นตลากเก่าประมาณ200ปีมีของขายมากมายมาเท่ียวอา่ งทองมาไดค้ รบั
 วดั สีรอ้ ยเป็นวดั ทีตดิ กบั แมน่ า้ นอ้ ยเป็นวดั เกา่ กวา่ 300ปีมีอนสุ าวรียข์ นุ รองชาววดั ส่ีรอ้ ยรว่ มสรา้ ง เพ่ือ

ราลกึ ถึงคณุ งามความดขี องวีรบรุ ุษแหง่ บา้ นส่ีรอ้ ยทีนาคน400คนตอ่ ตีกบั พมา่ อยา่ งกลา้ หาญ

อาเภอแสวงหา

 บา้ นคเู มือง อยใู่ นทอ้ งท่ีตาบลบา้ นไผ่ หา่ งจากท่ีวา่ การอาเภอแสวงหา ประมาณ 4 กม. และหา่ งจาก
คา่ ยบางระจนั ประมาณ 3 กม.เศ ท่ีบา้ นคเู มืองนีน้ กั โบราณคดไี ดส้ ารวจพบซากเมืองโบราณท่ี
สนั นษิ ฐานว่าเป็นชมุ ชนสมยั ทวาราวดี มีรอ่ งรอยเหลือเพียงคเู มืองขนาดกวา้ งกบั เนินดนิ ขดุ พบเพียง
เศษภาชนะเคร่ืองปั้นดนิ เผา กระดกู สตั ว์ ลกู ปัดและหนิ บดยา

 สวนนกธรรมชาติ อยใู่ นบรเิ วณหมทู่ ่ี 2 บา้ นรวิ้ หวา้ ตาบลบา้ นพราน ระยะทางหา่ งจากจงั หวดั
อา่ งทอง 24 กม. ใชเ้ สน้ ทางสายโพธิ์ทอง-แสวงหา 18 กม. แลว้ แยกเขา้ ท่ีบา้ นตาบลหนองแมไ่ ก่ ถงึ
โรงเรียนหนองแมไ่ ก่ แลว้ เดนิ ทางไปตามถนนลกู รงั อีก 6 กม. ก็จะถงึ บรเิ วณวดั รวิ้ หวา้ ซ่งึ มีนกทอ้ งนา
ปากห่าง นกกระสานกกานา้ นกกระเตน็ นกอีเสือ ฯลฯ บางชนดิ ก็ใกลจ้ ะสญู พนั ธแุ์ ละหาชมไดย้ าก
ในทอ้ งถ่ินอ่ืน

 วดั บา้ นพราน ตงั้ อยทู่ ่ีตาบลศรีพราน เป็นวดั เกา่ แกส่ รา้ งในครงั้ ใดไมป่ รากฏแตไ่ ดถ้ กู ทิง้ รา้ งไปจน
ตน้ ไมป้ กคลมุ หนาทบึ ตอ่ มาพวกนายพรานไดม้ าตงั้ หมบู่ า้ นขนึ้ ในบรเิ วณดงั กลา่ ว จึงชว่ ยกนั บรู ณะ
ขนึ้ มาใหม่ มีประวตั เิ ลา่ ตอ่ กนั มาวา่ พระพทุ ธรูปศลิ าแลงในพระวิหารนนั้ พอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทิตยเ์ ป็น
ผสู้ รา้ งท่ีเมืองสโุ ขทยั แลว้ ถอดเป็นชิน้ มาประกอบเป็นองคท์ ่ีวดั บา้ นพราน เพ่ือใหเ้ ป็นพระประธาน
แตผ่ สู้ รา้ งวดั ตอ้ งการสรา้ งพระประธานขนึ้ เอง จงึ ไดน้ าไปประดษิ ฐานไวใ้ นพระวหิ ารพระพทุ ธรูป
องคน์ ี้ ชาวบา้ นเรยี กวา่ "หลวงพอ่ ไกรทอง" เช่ือกนั ว่ามีความศกั ดสิ์ ทิ ธิ์สามารถคมุ้ ภยั แก่ผไู้ ป
สกั การบชู า

 แหลง่ ดนู ก เปิดประเด็น คอื เด๋ยี วนีม้ ีนกมากมายกวา่ เม่ือ 50 ปีท่ีแลว้ ซง่ึ ไมใ่ ชน่ กพืน้ ท่ี(สอบถามจากผู้
เฒา่ ผแู้ ก)่ สญั นิฐานวา่ นา่ จะมาจากการขบั ไลจ่ ากสวุ รรณภมู ิ นกเหลา่ นีอ้ าศยั ตามเสน้ ทางจาก
สพุ รรณบรุ เี ขา้ อาเภอแสวงหา

อาเภอสามมก้

อาเภอสามโกอ้ ยหู่ า่ งจากจงั หวดั อา่ งทองประมาณ 25 กม. แมเ้ ป็นอาเภอเลก็ ๆ ซ่งึ เดิมเป็นตาบลหนง่ึ ขนึ้ กบั

อาเภอวเิ ศษชยั ชาญ ไดย้ กฐานะเป็นก่ิงอาเภอและเป็นอาเภอ เม่ือ พ.ศ. 2508 ความสาคญั ใน

ประวตั ศิ าสตรไ์ ดป้ รากฏในพงศาวดารวา่ เป็นเสน้ ทางท่ีพมา่ เดนิ ทพั จากดา่ นเจดียส์ ามองคผ์ า่ นเขา้ มาตงั้

คา่ ยพกั แรมกอ่ นเขา้ ตีกรุงศรีอยธุ ยา และเป็นท่ีซ่งึ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชและพระเอกาทศรถ เคยเสดจ็

นาทพั หลวงผา่ นบา้ นสามโกแ้ หง่ นีเ้ พ่ือทรงทาสงครามยทุ ธหตั ถี ท่ีตาบลตระพงั ตรุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จนทรง

ไดร้ บั ชยั ชนะดว้ ยเชน่ กนั ปัจจบุ นั สามโกเ้ ป็นอาเภอท่ีนา่ สนใจมากอาเภอหนง่ึ ในแงป่ ระเพณี และศลิ ปะ

พืน้ บา้ น กลา่ วคือ สามโกไ้ ดม้ ีพืน้ ท่ีการเกษตรบางสว่ นท่ีเปล่ียนจากพืน้ ท่ีทานาเป็นพืน้ ท่ีทาการเกษตรดา้ น

อ่ืน เชน่ การทานาบวั การทาสวนมะพรา้ วพนั ธดุ์ ี และการทาไรน่ าสวนผสม ซง่ึ เกษตรกรรูจ้ กั พฒั นาอาชีพ

ดว้ ยการนาเทคโนโลยีสมยั ใหม่ มาปรบั ปรุงผลผลิตทางการเกษตรใหม้ ีทงั้ คณุ ภาพ และปรมิ าณสามารถทา

รายไดอ้ ยา่ งนา่ พอใจ นอกจากนีส้ ามโกย้ งั ไดเ้ ป็นถ่ินแดนของเพลงพืน้ เมืองท่ีมีพอ่ เพลง และแมเ่ พลงท่ีมี

บทบาทในการฟื้นฟกู ารละเลน่ และอนรุ กั ษเ์ พลงพืน้ บา้ นอีกดว้ ย

รายชื่อวัดในจงั หวดั อ่างทอง

พระอารามหลวงในจังหวัดอ่างทอง

พระอารามหลวงมหานิกาย

วดั ไชโยวรวิหาร (พระอารามหลวงชนั้ โท ชนิดวรวหิ าร) ตาบล

ไชโย อาเภอไชโย

วดั ป่าโมกวรวิหาร (พระอารามหลวงชนั้ โท ชนิดวรวหิ าร) ตาบลป่า

โมก อาเภอป่าโมก

วดั อา่ งทองวรวหิ าร (พระอารามหลวงชนั้ ตรี ชนิดวรวหิ าร) ตาบลบาง

แกว้ อาเภอเมืองอา่ งทอง

วัดราษฏรใ์ นจงั หวัดอ่างทอง

วัดราษฏร์ในอาเภอไชมย

วัดราษฏร์มหหานิกาย

วดั ไทรยน์ โิ คธาราม ตาบลจรเขร้ อ้ ง
วดั มะขาม ตาบลจรเขร้ อ้ ง
วดั ศรมี ณฑป ตาบลจรเขร้ อ้ ง
วดั ชยั สทิ ธาราม ตาบลชยั ฤทธิ์
วดั นางเล่ว ตาบลชยั ฤทธิ์
วดั บางศาลา ตาบลชยั ฤทธิ์
วดั ไชยภมู ิ ตาบลไชยภมู ิ
วดั โบสถอ์ มั พวา ตาบลไชยภมู ิ
วดั มหานาม ตาบลไชยภมู ิ
วดั สระเกษ ตาบลไชยภมู ิ
วดั ทองครุ ตาบลไชยภมู ิ

วดั ละมดุ สทุ ธิยาราม ตาบลไชโย
วดั สกณุ าราม ตาบลไชโย
วดั บา้ นป่า ตาบลตรณี รงค์
วดั เจา้ บญุ เกิด ตาบลเทวราช
วดั ตะเคียน ตาบลเทวราช
วดั เทวราช ตาบลเทวราช
วดั เยือ้ งคงคาราม ตาบลเทวราช
วดั ดอนกระต่าย ตาบลราชสถิตย์
วดั ปราสาท ตาบลราชสถิตย์
วดั วงษภ์ าศนาราม ตาบลราชสถิตย์
วดั กาแพง ตาบลหลกั ฟา้
วดั ปทมุ คงคา (ประทมุ คงคาราม) ตาบลหลกั ฟา้

วัดราษฏรธ์ รรมยุตกิ นิกาย

วดั ศขุ เกษมธรรมิการาม ตาบลเทวราช
วดั เฉลมิ กาญจนาภเิ ษก ตาบลราชสถิตย์

วัดราษฏร์ในอาเภอป่ ามมก

วัดราษฏร์มหหานิกาย

วดั กญุ ชรชาติการาม ตาบลนรสงิ ห์
วดั นรสงิ ห์ ตาบลนรสิงห์
วดั ปราสาท ตาบลนรสิงห์
วดั ลาดเคา้ ตาบลนรสิงห์
วดั แจง้ ตาบลบางปลากด
วดั พานชิ ตาบลบางปลากด
วดั พนิ จิ ธรรมสาร ตาบลบางปลากด
วดั วหิ ารแดง ตาบลบางปลากด
วดั แสนสขุ ตาบลบางปลากด
วดั ทา่ สทุ ธาวาส ตาบลบางเสด็จ

วดั สระแกว้ ตาบลบางเสดจ็
วดั โบสถว์ รดติ ถ์ ตาบลป่าโมก
วดั สว่างอารมณ์ ตาบลป่าโมก
วดั อมั พวนั ตาบลป่าโมก
วดั ถนนสธุ าราม ตาบลโผงเผง
วดั พจิ ารณโ์ สภณ ตาบลโผงเผง
วดั ศรมี หาโพธิ ตาบลโรงชา้ ง
วดั เกตุ ตาบลสายทอง
วดั โบสถส์ ายทอง ตาบลสายทอง
วดั พายทอง ตาบลสายทอง
วดั เอกราช ตาบลเอกราช

วัดราษฏร์ในอาเภอมพธ์ิทอง
วัดราษฏร์มหหานิกาย

วดั คาหยาด ตาบลคาหยาด
วดั นอก ตาบลคาหยาด
วดั โพธิ์ทอง ตาบลคาหยาด
วดั โคกพทุ รา ตาบลโคกพทุ รา
วดั จนั ทราราม ตาบลโคกพทุ รา
วดั บา้ นก่มุ ตาบลโคกพทุ รา
วดั จนั ทร์ ตาบลทางพระ
วดั ทางพระ ตาบลทางพระ
วดั กลาง (กลางพฒุ นิมติ ) ตาบลบ่อแร่
วดั ท่าโขลงกิตติยาราม ตาบลบ่อแร่
วดั บา้ นสรา้ ง ตาบลบางเจา้ ฉ่า
วดั โพธิ์ราษฎร์ ตาบลบางเจา้ ฉ่า
วดั ยางทอง ตาบลบางเจา้ ฉ่า
วดั เกาะ ตาบลบางพลบั

วดั ทา่ อฐิ ตาบลบางพลบั
วดั โบสถร์ าษฎรศ์ รทั ธา ตาบลบางระกา
วดั สามประชมุ ตาบลบางระกา
วดั ข่อย ตาบลโพธิ์รงั นก
วดั บญุ เกิด ตาบลโพธิ์รงั นก
วดั งวิ้ ราย ตาบลยางซา้ ย
วดั ยางซา้ ย ตาบลยางซา้ ย
วดั ศรกี ญุ ชร ตาบลยางซา้ ย
วดั โพธิ์เอน ตาบลรามะลกั
วดั ม่วงคนั ตาบลรามะลกั
วดั ล่นั ทม ตาบลรามะลกั
วดั โพธิ์เกรยี บ ตาบลสามง่าม
วดั สวา่ งอารมณ์ ตาบลสามงา่ ม
วดั บา้ นกลาง ตาบลหนองแมไ่ ก่
วดั เขาแกว้ ตาบลองครกั ษ์
วดั จฬุ ามนุ ี ตาบลองครกั ษ์
วดั ทองหลาง (ทองกลาง) ตาบลองครกั ษ์
วดั ทา่ สามคั คี ตาบลองครกั ษ์
วดั ยางมณี ตาบลองครกั ษ์
วดั สวุ รรณราชหงษ์ ตาบลองครกั ษ์
วดั ขวิด ตาบลอ่างแกว้
วดั ขนุ อินทประมลู ตาบลอนิ ทประมลู
วดั ทา่ ตลาด ตาบลอนิ ทประมลู
วดั นา้ อาบ ตาบลอนิ ทประมลู
วดั บญุ ศิรวิ ิทยาราม ตาบลอินทประมลู
วดั ป่ามนุ ี ตาบลอินทประมลู
วดั ไตรรตั นาราม ตาบลทางพระ

วดั สนธิธรรมกิ าราม ตาบลหนองแม่ไก่
วดั ศีลขนั ธาราม ตาบลอ่างแกว้

วัดราษฏร์ในอาเภอเมอื งอ่างทอง
วัดราษฏร์มหหานิกาย

วดั โคศภุ ราช ตาบลคลองววั
วดั จาปาหล่อ ตาบลจาปาหล่อ
วดั โพธิ์ทลู ตาบลจาปาหลอ่
วดั เสาธงทอง ตาบลจาปาหล่อ
วดั แจง้ ตาบลตลาดกรวด
วดั ตาลเจด็ ช่อ ตาบลตลาดกรวด
วดั สวุ รรณเสวรยิ าราม ตาบลตลาดกรวด
วดั ชยั มงคล ตาบลตลาดหลวง
วดั ตน้ สน ตาบลตลาดหลวง
วดั โล่หส์ ทุ ธาวาส ตาบลตลาดหลวง
วดั สนามชยั ตาบลตลาดหลวง
วดั กระท่มุ ราย ตาบลบา้ นรี
วดั รุง้ ตาบลบา้ นรี
วดั ไชยสงคราม ตาบลบา้ นแห
วดั โพธิ์วงษ์ (โพธิวงศ)์ ตาบลบา้ นแห
วดั ชา้ ง ตาบลบา้ นอิฐ
วดั บา้ นอฐิ ตาบลบา้ นอิฐ
วดั ไพรวลั ย์ ตาบลบา้ นอฐิ
วดั มธรุ สตยิ าราม ตาบลบา้ นอฐิ
วดั สธุ าดล ตาบลบา้ นอฐิ
วดั อรญั ญิกาวาส ตาบลบา้ นอิฐ
วดั ไทรย์ ตาบลป่างวิ้
วดั แม่นาง ตาบลป่างวิ้

วดั คลองหว้ ยโพธิ์ ตาบลป่างิว้
วดั ดอนกระดี ตาบลป่ างิว้
วดั ทอ้ งคงุ้ ตาบลโพสะ
วดั โพสะโสภณ ตาบลโพสะ
วดั ราชปักษี ตาบลโพสะ
วดั มหาดไทย ตาบลมหาดไทย
วดั ลนิ้ ทอง ตาบลมหาดไทย
วดั โบสถ์ ตาบลย่านซ่อื
วดั จนั ทรน์ ริ มติ ร ตาบลศาลาแดง
วดั ทา้ ยยา่ น ตาบลศาลาแดง
วดั ไผล่ อ้ ม ตาบลศาลาแดง
วดั กลาง ตาบลหวั ไผ่
วดั จนั ทรงั ษี ตาบลหวั ไผ่
วดั เชงิ หวาย ตาบลหวั ไผ่
วดั ดาวดงึ ษ์ ตาบลหวั ไผ่

วดั ราษฏรธ์ รรมยุตกิ นิกาย

วดั ปลดสตั ว์ ตาบลบา้ นแห

วัดราษฏร์ในอาเภอวเิ ศษชัยชาญ
วัดราษฏร์มหหานิกาย

วดั นางชา ตาบลคลองขนาก
วดั โพธิ์ศรี ตาบลคลองขนาก
วดั โพธิ์เอน ตาบลคลองขนาก
วดั ตลาดใหม่ ตาบลตลาดใหม่
วดั โพธิธรรมโชตยิ าราม ตาบลท่าชา้ ง
วดั ลาดเป็ด ตาบลท่าชา้ ง
วดั สนาม ตาบลท่าชา้ ง
วดั บางจกั ตาบลบางจกั

วดั ขมุ ทอง ตาบลไผ่จาศีล
วดั ฝาง ตาบลไผจ่ าศีล
วดั ราชสกณุ า ตาบลไผ่จาศีล
วดั วิเศษไชยชาญ (วิเศษชยั ชาญ) ตาบลไผ่จาศลี
วดั วนั อทุ ศิ ตาบลไผ่ดาพฒั นา
วดั ตน้ ทอง ตาบลไผ่วง
วดั ไผว่ ง ตาบลไผ่วง
วดั ชา้ ง ตาบลมว่ งเตีย้
วดั ยางมณี ตาบลม่วงเตีย้
วดั ศาลาดิน ตาบลม่วงเตยี้
วดั ใหม่ ตาบลม่วงเตีย้
วดั นอ้ ย ตาบลย่ีลน้
วดั อบทม ตาบลย่ีลน้
วดั ไผห่ มขู วดิ ศรทั ธาธรรม ตาบลย่ีลน้
วดั กาแพง ตาบลศาลเจา้ โรงทอง
วดั เขียน ตาบลศาลเจา้ โรงทอง
วดั ตมู ตาบลศาลเจา้ โรงทอง
วดั นางในธมั มกิ าราม ตาบลศาลเจา้ โรงทอง
วดั มะนาวหวาน ตาบลศาลเจา้ โรงทอง
วดั ไร่ ตาบลศาลเจา้ โรงทอง
วดั สาโรง ตาบลศาลเจา้ โรงทอง
วดั สิงห์ ตาบลศาลเจา้ โรงทอง
วดั หลวงสนุ ทราราม ตาบลศาลเจา้ โรงทอง
วดั ออ้ ย ตาบลศาลเจา้ โรงทอง
วดั สทิ ธาราม ตาบลสาวรอ้ งไห้
วดั อินทราวาส ตาบลสาวรอ้ งไห้
วดั ทา่ ชา้ ง ตาบลส่ีรอ้ ย

วดั ทานบ ตาบลส่ีรอ้ ย
วดั ไทรยืด ตาบลส่ีรอ้ ย
วดั นา้ พสุ ทิ ธาราม ตาบลส่ีรอ้ ย
วดั ส่ีรอ้ ย ตาบลส่ีรอ้ ย
วดั หินงอก ตาบลส่ีรอ้ ย
วดั คลองพลู ตาบลหลกั แกว้
วดั คลองสาโรง ตาบลหลกั แกว้
วดั ลานชา้ ง ตาบลหลกั แกว้
วดั หลกั แกว้ ตาบลหลกั แกว้
วดั ใหมท่ างขา้ ม ตาบลหลกั แกว้
วดั กาแพงมณี ตาบลหว้ ยคนั แหลน
วดั ทางเรอื ตาบลหว้ ยคนั แหลน
วดั หว้ ยคนั แหลม ตาบลหว้ ยคนั แหลน
วดั หว้ ยโรง ตาบลหว้ ยคนั แหลน
วดั กลาง ตาบลหวั ตะพาน
วดั แปดแกว้ ตาบลหวั ตะพาน
วดั ม่วง ตาบลหวั ตะพาน
วดั หวั ตะพาน ตาบลหวั ตะพาน

วัดราษฏร์ในอาเภอสามมก้
วัดราษฏร์มหหานิกาย

วดั ท่าชมุ นมุ ตาบลโพธิ์ม่วงพนั ธ์
วดั โบสถ์ ตาบลโพธิ์มว่ งพนั ธ์
วดั มงคลธรรมนิมิตต์ ตาบลมงคลธรรมนมิ ติ
วดั หวั ท่งุ ตาบลมงคลธรรมนมิ ิต
วดั ไผแ่ หลมธรรมาราม ตาบลราษฎรพฒั นา
วดั หนองกรา่ ง ตาบลราษฎรพฒั นา
วดั เกษทอง ตาบลสามโก้

วดั สามโก้ ตาบลสามโก้
วดั วงษส์ วุ รรณ ตาบลอบทม
วดั สามขาว ตาบลอบทม
วดั ศรสี ขุ เกษม ตาบลราษฎรพฒั นา

วัดราษฏร์ในอาเภอแสวงหา
วัดราษฏร์มหหานิกาย

วดั รตั นาราม ตาบลจาลอง
วดั หวั สะแกตก ตาบลจาลอง
วดั หวั สะแกออก ตาบลจาลอง
วดั พฒั นา ตาบลบา้ นพราน
วดั รวิ้ หวา้ ตาบลบา้ นพราน
วดั จนั ทรม์ ณี ตาบลวงั นา้ เย็น
วดั รางฉนวน ตาบลวงั นา้ เย็น
วดั วงั นา้ เยน็ ตาบลวงั นา้ เยน็
วดั หนองยาง ตาบลวงั นา้ เย็น
วดั หม่ืนเกลา ตาบลวงั นา้ เยน็
วดั แกว้ กระจา่ ง ตาบลศรบี วั ทอง
วดั เรไร ตาบลศรบี วั ทอง
วดั สีบวั ทอง ตาบลศรบี วั ทอง
วดั บา้ นแก ตาบลศรพี ราน
วดั บา้ นพราน ตาบลศรพี ราน
วดั ทองเล่ือน ตาบลแสวงหา
วดั บา้ นเพชร ตาบลแสวงหา
วดั พวงทอง ตาบลแสวงหา
วดั แสวงหา ตาบลแสวงหา
วดั เขาบวช ตาบลหว้ ยไผ่
วดั ยาง ตาบลหว้ ยไผ่

บรรณานุกรม
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B
1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8
%B1%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%
B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0
%B8%87


Click to View FlipBook Version