The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chedta.songpum2, 2022-04-20 23:52:09

powerpoint-09

powerpoint-09

ทบทวนบทเรียน

ไมโครมเิ ตอร์ปากวัดในแบบคาลิเปอร์เป็นเครื่องมือวัด
ละเอียดที่มีความละเอียดสูงใช้ในงานอุตสาหกรรมและงานซ่อม
บารุงเครือ่ งยนต์เนือ่ งจากใหค้ ่าความละเอยี ดสูงและมคี วามแม่นยา
มากกวา่ เวอรเ์ นยี ร์คาลิเปอร์ ส่วนในงานวัดละเอียดช่างยนต์ ได้
นามาใช้เพ่ือตรวจสอบขนาดของชิ้นงานและขนาดรูในชิ้นส่วน
ต่างๆ ของเครอ่ื งยนต์ เพอ่ื เปรยี บเทียบกบั คา่ มาตรฐานในค่มู อื ซ่อม
สาหรบั เปน็ ข้อมลู วนิ ิจฉัยในการตรวจซ่อมบารุงชิ้นส่วนต่างๆ โดย
ปกติท่วั ไปในงานช่างยนต์จะใช้ตรวจวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ของรใู นชนิ้ งาน เช่นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางรูในก้านสูบและรูใน
ช้นิ งานตา่ งๆ

1

ประแจวดั แรงบดิ
(Torque
Wrench)

ประแจวัดแรงบดิ

3

ประแจวัดแรงบดิ

แนวคดิ

ประแจวัดแรงบดิ เป็นเครื่องมือพิเศษท่ีใช้เฉพาะอย่างใช้สาหรับวัด
ค่าแรงบิดท่ีขันนตั หรือโบลต์ในงานช่างยนต์ใช้ประแจวัดแรงบิดเพ่ือขันโบลต์
ให้ได้ค่าแรงบิดเทา่ กันทกุ ตวั เชน่ โบลต์ยึดฝาสูบ โบลต์ยึดประกับแบริงก้าน
สูบ โบลต์ยึดประกับแบริงเพลาขอ้ เหวี่ยง เป็นต้น หน่วยของค่าแรงบิด แบ่ง
ออกเป็นหนว่ ย ฟุต-ปอนด์ (ft,Ib) กิโลกรัม,เซนติเมตร (kgf,cm) และ นิวตัน
,เมตร (N,m) ขนาดของประแจวัดแรงบิดแบบมหี ลายขนาด เช่น 50,100,150
ฟุต,ปอนด์ (ft,Ib) และท่นี ยิ มใช้งานกนั มากมีอยู่ 2 แบบ คอื ประแจวัดแรงบิด
แบบเข็มชี้ (Deflecting beam) และประแจวัดแรงบิดแบบปรับค่าได้
(Micrometer adjustable)

4

ประแจวดั แรงบดิ

สาระการเรยี นรู้

1. ประแจวดั แรงบดิ
2. ขอ้ ปฏิบตั ิการใชง้ านประแจวัดแรงบดิ
3. การอา่ นคา่ ประแจวดั แรงบดิ

5

ประแจวัดแรงบิด

สมรรถนะประจาหน่วย

แสดงการใช้ประแจวดั แรงบดิ ในการขนั โบลต์ใหแ้ รงบดิ เท่าไร

6

ประแจวดั แรงบดิ

ผลการเรียนร้ทู ค่ี าดหวัง

1. บอกชนิดประแจวัดแรงบดิ ไดถ้ กู ต้อง
2. อธบิ ายข้อปฏบิ ตั ิวธิ ีใช้งานประแจวดั แรงบดิ ได้ถกู ต้อง
3. อา่ นค่าประแจวัดแรงบิดได้ถูกต้อง
4. แปลงหนว่ ยประแจวัดแรงบดิ ไดถ้ กู ต้อง
5. ใช้ประแจวดั แรงบิดไดถ้ กู ต้อง
6. ปฏบิ ตั ิงานด้วยความประณตี รอบคอบ และปลอดภัย

7

ประแจวัดแรงบดิ

ประแจวดั แรงบดิ เปน็ เคร่ืองมอื พเิ ศษที่ใช้เฉพาะอย่างใช้

สาหรับวัดแรงบิดที่ขันนัตหรือโบลต์วัตถุประสงค์ของการใช้
ประแจวัดแรงบิดก็เ พ่ือให้ได้ค่าแรงบิดขัน โบ ลต์เ ท่ากัน ทุกตัว
เชน่ โบลต์ฝาสบู โบลต์ประกับแบรงิ ก้านสบู โบลต์ประกับแบริง
เพลาข้อเหวยี่ ง เป็นต้น ประแจวัดแรงบิดท่ีนิยมใช้งานมีอยู่ 2
แบบ ดังนี้

8

1. ประแจวดั แรงบิดแบบเขม็ ชี้ (Deflecting beam) แบบนี้จะมีแขน
เขม็ ชจี้ ากหวั ประแจต่อมายงั แผ่นสเกลบอกค่าแรงบิดกากบั ไว้

9

วิธใี ชป้ ระแจวดั แรงบิดแบบเขม็ ชี้

10

2. ประแจวดั แรงบิดแบบชนิ ดปรบั ค่าได้ (Micrometer adjustable)
ประแจแบบนี้ท่ีด้านท้ายของด้ามประแจจะมีตวั ล็อกและปรับ
หมุนได้เพื่อปรบั คา่ แรงบิด เม่ือขนั ไดค่าแรงบิดตามที่ปรบั ตัง้ ไว้
จะมเี สียงดงั “คลิก” เพือ่ บอกว่าได้คา่ แรงบิดตามท่ีปรบั ค่าไว้

11

ข้อปฏบิ ัตกิ ารใช้งานประแจวดั แรงบิด

1. ประแจแรงบิดใชก้ บั ประแจกระบอก
2. ต้องทราบพิกดั ในการขนั ก่อน จากนัน้ จึงเลือกขนาดของประแจวดั

แรงบิดให้เหมาะสม

ข้อควรระวงั : ต้องตรวจหน่ วยวดั ให้ถูกต้อง
เช่น lb•ft , kg•m หรอื N•m เป็ นต้น

12

3. ใชป้ ระแจธรรมดาขนั โบลตห์ รอื นัตให้แน่นพอประมาณก่อน จากนนั้ ใช้
ประแจวดั แรงบิดขนั โบลตห์ รือนตั ในขนั้ ตอนสุดทา้ ย หา้ มใช้ประแจวดั
แรงบิดขนั ในช่วงเร่ิมต้นเพราะจะทาใหป้ ระแจชารดุ ได้

4. ควรเลือกใชข้ นาดประแจกระบอกให้พอดีกับขนาดหัวโบลต์หรือนัต
ขณะใช้ประแจวัดแรงบิดให้ใช้มือซ้ายกดบริเวณหวั ประแจไว้เพื่อ
ป้องกนั ประแจกระบอกหลุดออกจากหวั โบลต์หรือนัตจากนัน้ ดึงด้าม
จบั ของประแจวดั แรงบิดเขา้ หาตวั ในขณะเดยี วกนั แขนจะต้องตงั้ ฉาก
กบั แนวของประแจดว้ ย

13

5. ใชป้ ระแจเม่ือทราบค่าพิกดั แรงบิดทีต่ ้องการขนั ให้แบ่งค่าแรงบิด
ท่ตี ้องการขนั ออกเป็ น 3 ครงั้ โดยครงั้ แรกให้ขนั ด้วยค่าแรงบิด 1/3
ของแรงบิดทงั้ หมด ครงั้ ท่ี 2 ขนั ดว้ ยค่าแรงบิด 2/3 และครงั้ ท่ี 3 ขนั
เท่ากบั คา่ แรงบิดทงั้ หมด จากนนั้ ขนั ครงั้ ท่ี 4 ด้วยค่าแรงบิดเท่ากบั
ครงั้ ท่ี 3 เพอื่ ตรวจสอบวา่ โบลต์ทุกตวั มคี า่ แรงบิดเทา่ กนั หรอื ไม่

14

5. พกั เบรก 5 นาที
14:22 น.

15

ตวั อยา่ ง เชน่ ค่ามาตรฐานการขนั โบลตย์ ดึ ฝาสบู
เทา่ กบั 90 ft•lb ดงั นัน้ ให้แบ่งค่าแรงบิดในการขนั ออกเป็น
3 ครงั้ ดงั น้ี ครงั้ ที่ 1 = 30 ft•lb, ครงั้ ที่ 2 = 60 ft•lb, ครงั้ ท่ี 3 =
90 ft•lb ส่วนครงั้ ที่ 4 ให้ใชค้ า่ แรงบิดเท่ากบั ครงั้ ท่ี 3 เพ่อื
เป็นการตรวจสอบคา่ แรงบิดของโบลตท์ ุกตวั อกี ครงั้ หน่ึง
คา่ เปรียบเทยี บแรงบิด 1 กิโลกรมั •เมตร (kg•m) มีคา่
เทา่ กบั 7.2330 ฟุต•ปอนด์ (ft•lb)1 กิโลกรมั •เมตร (kg•m) มี
ค่าเทา่ กบั 9.81 นิวตนั •เมตร (N•m) ถา้ ตอ้ งการแปลงหน่วย
กิโลกรมั •เมตรเป็นกิโลกรมั •เซนติเมตร (kgf•cm) ให้คูณ
ด้วย 100 และถ้าตอ้ งการแปลงหน่วยกิโลกรมั -เมตร เป็น
ฟุต•ปอนด์ ใหค้ ูณดว้ ย 7.2330

16

การอ่านค่าประแจวดั แรงบดิ

17

การอ่านค่าประแจวดั แรงบดิ

18

การอ่านค่าประแจวดั แรงบดิ

19

การอ่านค่าประแจวดั แรงบดิ

20

6.3.1 ข้อมลู บริการฝาสบู ครอื่ งยนต(์ Mitsubishi 4G13&4G15)
1.บรกิ ารฝาสบู เครอื่ งยนต์

ลาดับการคลายสกรูฝา ูสบ การถอดสกรูฝา ูสบ
ตรวจความเรียบ ิผวห ้นาฝา ูสบ

ข้อมลู ทางเทคนคิ (Specification) ความเรยี บผิวหนา้ – มม. (น้ิว)

รายการ ความสงู ขนาดมาตรฐาน ขนาดจากดั
ฝาสูบ 106.9-107.1
(4.209-4.217) 0.05 (0.002) 0.20 (0.008)
ผวิ สมั ผสั ท่อร่วมไอดี/
ไอเสีย - 0.05 (0.002) 0.30 (0.007)





การอ่านค่าประแจวัดแรงบิด

การอ่านค่าประแจวดั แรงบิดหน่วยนิวตันเมตร (N•m)
1. สเกลของประแจวดั แรงบิด มกี ารแบ่งขดี ค่าแรงขนั ของสเกลหลกั

และสเกลรอง ดงั นี้

24

- จากรูป เป็ นประแจวดั แรงบิดแบบชนิ ด
ปรับค่าได้ขนาด 10–100 นิ วตัน•เมตร

(N•m) ค่าแรงขันบนสเกลหลกั มีค่าต่าสุด
10 นิ วตนั •เมตร และค่าสูงสุด 100 นิ วตนั •

เมตร 1 ช่องของสเกลหลกั มีค่าเท่ากบั 5
นิ วตัน•เมตร (1 รอบสเกลรอง) ทุก ๆ 2

ช่อง จะมีขดี ยาวพร้อมตวั เลขกากบั ไว้

25

- การแบ่งขีดค่าแรงขนั สเกลรอง จากรูป

บนสเกลรองแบง่ ชอ่ งออกเป็ น 10 ชอ่ งและ
ทุกช่องจะมีตวั เลขกากบั ไว้ คือ 0, 0.5, 1.0
ถึง 4.5 เมื่อหมุนครบ 1 รอบจะทาให้
คา่ แรงขนั เพิ่มขึ้นจากเดิม 5 นิ วตัน•เมตร

(เลขศนู ย์ “0” ของสเกลรอง ตรงจุดแสดง

ตาแหน่ งสเกลรองพอดี) ถ้าหมุนค่าแรง

ขนั สเกลรองไปเพียง 1 ช่อง จะทาให้
คา่ แรงขนั เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเท่ากบั
0.5 นิวตนั •เมตร

26

2. การปรบั คา่ แรงขนั ของประแจวดั แรงบิด มีขนั้ ตอนการปรบั ดงั นี้

1. ตรวจสอบคา่ แรงขนั ตามที่มาตรฐานกาหนด
2. ดงึ ป่ มุ ลอ็ กออกเพอ่ื ปลดลอ็ ก

27

3. ตรวจสอบหมุนด้ามปรบั ค่าแรงขนั ให้ได้ค่าตามกาหนด ถ้า
ต้องการเพิ่มคา่ แรงขนั ให้หมุนดา้ มปรบั ตามเขม็ นาฬิกา หรือถ้าต้องการลด
คา่ แรงขนั กใ็ ห้หมุนด้ามปรบั ในทิศทางทวนเขม็ นาฬิกา
4. กดป่ มุ ลอ็ กเพือ่ ไม่ให้คา่ แรงขนั เปลีย่ นแปลงในขณะทที่ าการขนั โบลต์

5. ขนั โบลต์ตามต้องการ
6. หลงั การใช้งานประแจวดั แรงบิดต้องปรบั ค่าแรงขนั ให้
กลบั อย่ตู าแหน่งคา่ ต่าสุด

28

3. การอ่านค่าประแจวดั แรงบิด

ประแจวดั แรงบิดมหี น่วยที่นิยมใชง้ านกนั อยู่ คือหน่วย
ฟุต-ปอนด์ (ft•lb), นิวตนั -เมตร (N•m),กิโลกรัม-เมตร
(kg•m) และกิโลกรมั -เซนติเมตร (kgf•cm) ในตัวอยา่ ง
การอา่ นคา่ แรงขนั น้ีจะใช้ประแจวัดแรงบิดขนาด 10–
100 ในหน่วยนิวตนั •เมตร (N•m) ซ่ึงสามารถขันโบลต์
ด้วยค่าแรงบิดต่าสุด 10 N•m และค่าสูงสุด 100 N•m
การอ่านค่าประแจวดั แรงบิดดงั ในตวั อยา่ งต่อไปน้ี

29

ตวั อย่าง

อ่านคา่ แรงขนั บนสเกลหลกั เลข 10 พน้ เส้น
แสดงตาแหน่งอ่านคา่ สเกลหลกั ไปแลว้ แต่ยงั
ไม่ถึงคา่ 15 นิวตนั -เมตร ดงั นนั้ จงึ อ่านค่าแรง
ขนั บนสเกลหลกั ไดเ้ ท่ากบั 10 นิวตนั -เมตร

30

อ่านค่าแรงขนั สเกลรอง สงั เกตตวั เลขบนค่าแรง
ขนั สเกลรองตรงกบั จดุ แสดงตาแหน่งอ่านค่าบน
สเกลรอง จากรปู ที่ 10.6 เลข 2 ตรงพอดี ดงั นนั้ จงึ
ค่าแรงขนั บนสเกลรองเท่ากบั 2 N•m

นาค่าแรงขนั บนสเกลหลกั และค่าแรงขนั บนสเกลรองมารวมกนั
คา่ ท่ีปรบั ตงั้ อ่านคา่ ได้ = คา่ แรงขนั บนสเกลหลกั + ค่าแรงขนั
บนสเกลรอง

= 10 + 2
= 12 N•m

31

32

33

ใบงานท่ี 10.1

ชอ่ื งาน : งานขนั โบลตฝ์ าสบู ดว้ ยประแจวัดแรงบดิ

1. ใหน้ ักเรยี นอธิบายขน้ั ตอนการถอดฝาสบู ,ตรวจเช็ค และประกอบฝาสูบ พร้อมใช้
ประแจวดั แรงบิด ใหค้ รบข้นั ตอน

16 14 8 6 2 4 10 12 18

17 11 93 15 7 13 15

ค่าแรงขันมาตรฐาน ทก่ี าหนดให้ 60 นาที ส่ง 16:12 น. 34
50 N.m

35

Thank You

36


Click to View FlipBook Version