The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพิพ์ดีดไทยเบื้องต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krookan8639, 2021-03-23 08:27:33

แผนพิพ์ดีดไทยเบื้องต้น

แผนพิพ์ดีดไทยเบื้องต้น

แผนการจัดการเรียนรู้

รหัสวชิ า 20200-1004 วิชา พมิ พ์ไทยเบื้องต้น

หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศักราช 2563
ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม

โดย
นางสาวกานต์พชิ ชา ผายป้องนา

ครู (พนักงานราชการ)
แผนกวิชาธุรกจิ ค้าปลีก
ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2563

20200-1004 พิมพไ์ ทยเบ้ืองต้น 0-4-2
(Basic Thai Typing)

จุดประสงค์รายวชิ า เพ่ือให้

1. มคี วามร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกบั การพมิ พไ์ ทย
2. มีทกั ษะในการพมิ พไ์ ทยแบบสมั ผสั
3. มีทักษะในการบารงุ รักษาเคร่ือง
4. มีกิจนสิ ยั ทีด่ ใี นการพิมพ์

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความร้เู กย่ี วกับหลักการพมิ พไ์ ทยแบบสมั ผสั
2. พิมพส์ ัมผสั แปน้ พิมพ์ตา่ ง ๆ ตามหลักการ
3. คานวณคาสทุ ธิตามหลักเกณฑ์
4. พมิ พห์ นงั สอื ภายนอกและหนงั สือภายในตามหลักการ
5. ดแู ลรักษาเครอื่ งพมิ พ์

คาอธบิ ายรายวิชา

ปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั หลักการพิมพ์ไทยแบบสัมผสั การพมิ พ์แปน้ อกั ษร แปน้ ตัวเลข สญั ลกั ษณ์ เครอ่ื งหมาย
การพมิ พป์ ระโยค การคานวณคาสุทธิ การพมิ พ์หนงั สือภายนอก หนังสอื ภายในและ การบารงุ รกั ษา
เครอื่ งพิมพด์ ดี หรอื เครื่องคอมพิวเตอร์

โครงการจดั การเรยี นรู้

สปั ดาห์ ช่ือหนว่ ยการเรยี น/หัวข้อ กิจกรรมการ จานวน
ท่ี /คาบท่ี สอน ชว่ั โมง
อธบิ าย
1-3 ความรเู้ บอื้ งต้นเกยี่ วกับเครอื่ งพิมพ์ดดี ไทย 12
อธบิ าย/สาธิต
4-5 แปน้ เหยา้ หลกั ฟ ห ก ด ่ า ส ว อธบิ าย/สาธติ 8
6-8 แป้นอกั ษรลา่ ง ต่าง ๆ 12

9 การทบทวนแปน้ อกั ษร การคานวณคาสทุ ธิ อธิบาย/สาธติ 4

10 ทดสอบกลางภาค -3

11-14 การเรียนรอู้ ักษรบนตัวตา่ ง ๆ อธิบาย/สาธิต 16

15 การเรยี นรอู้ ักษรตัวเลขและสญั ลกั ษณ์ อธบิ าย/สาธิต 3

16-17 การพมิ พส์ มั ผสั เพอื่ เพม่ิ ทกั ษะและความเรว็ อธบิ าย/สาธติ 3

18 ทดสอบปลายภาค -3

รวม 54

แผนการเรียนรู้

รหัสวชิ า 20200-1004 หน่วยท่ี 1

วชิ า พิมพด์ ีดไทยเบื้องต้น สอนคร้ังที่ 1-3

แผนกวิชา การบญั ช/ี คา้ ปลกี ปวช.1 สาขางาน การบญั ชี/คา้ ปลีก

ช่ือหน่วย ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั เครือ่ งพมิ พด์ ดี ไทย

สาระการเรียนรู้

1. ความรู้และประวตั ิของเครื่องพมิ พ์ดีด
2. กิจนิสยั ท่ีดีและสิ่งท่ีตอ้ งปฏิบตั ิเมื่อใชห้ อ้ งพิมพด์ ีด
3. สิ่งที่ควรปฏิบตั ิเม่ือใชห้ ้องพิมพด์ ีด
4. สิ่งที่ไมค่ วรปฏิบตั ิเมื่อใชห้ อ้ งพิมพด์ ีด
5. การพบั ผา้ คลุมเคร่ืองพิมพด์ ีด
6. คาแนะนาสาหรับผเู้ รียน
7. ส่วนต่าง ๆ ของเครื่องพิมพด์ ีด
8. การเตรียมตวั สาหรับพิมพด์ ีด
9. หลกั ในการพิมพด์ ีด

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. บอกประวตั ิและวิวฒั นาการของเครื่องพิมพด์ ีดไทยได้
2. มีกิจนิสยั ที่ดีในการพิมพด์ ีด
3. พบั ผา้ คลมุ เครื่องพิมพด์ ีดไดถ้ กู ตอ้ ง
4. สามารถปฏิบตั ิในหอ้ งพิมพด์ ีดได้
5. บอกส่วนตา่ ง ๆ ของเครื่องพิมพด์ ีดไทยได้
6.พิมพด์ ีด หรือเคาะ อ่านแบบฝึก และใชส้ ่วนต่าง ๆ ของเคร่ืองพิมพด์ ีดไทยได้

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. อธิบายพร้อมสาธิต
2. ให้นกั เรียนไดซ้ กั ถาม
3. แบ่งกลุ่มมอบหมายงานใหป้ ฏิบตั ิ โดยกาหนดหวั ขอ้ เร่ืองให้รับผิดชอบ
4. นกั เรียนปฏิบตั ิดว้ ยตนเองใหเ้ กิดทกั ษะและความชานาญ
5. ถาม – ตอบ สรุปผลร่วมกนั ระหวา่ งครูกบั นกั เรียน

สื่อการเรียนรู้

1. เคร่ืองพิมพด์ ีดไทยพร้อมโตะ๊ สาธิต
2. เคร่ืองพิมพด์ ีดไทยสาหรับผเู้ รียนพร้อมโตะ๊ เกา้ อ้ี
3. แบบฝึกพิมพด์ ีดไทย
4. กระดาษฝึกพิมพ์ และกระดาษรองพิมพ์
5. แผนภูมิแป้นอกั ษรเครื่องพิมพด์ ีดไทย

การวดั และประเมนิ ผล

ก่อนเรียน
ทาแบบทดสอบประเมินผลก่อนเรียน
ขณะเรียน
1. การตอบคาถามของนกั เรียน
2. สงั เกตความสนใจ และความสามารถเป็นรายบุคคล
หลังเรียน
1. ทาแบบทดสอบประเมินผลหลงั เรียน
2. บนั ทึกขอ้ มูลพฤติกรรมการเรียน และการปฏบิ ตั ิงานของนกั เรียน
3. ตรวจผลงานให้คะแนนรายบุคคล

ความรู้เร่ืองเครื่องพิมพด์ ีด

เคร่ืองพิมพด์ ีด เป็นเครื่องจกั รเลก็ ๆ ท่ีสามารถพิมพต์ วั อกั ษรไทย และเครื่องหมายตามที่เราคิด
และเขียนออกมาเป็นตวั หนงั สือได้ เราสามารถทาสาเนาไดห้ ลายฉบบั จากเครื่องพิมพด์ ีด เราสามารถทา
เอกสารท่ีเป็ นประโยชน์แก่สานกั งานเอกชนและรัฐบาล ใบความรู้และใบงานในหนังสือน้ีก็จดั ทา
ตน้ ฉบบั จากเครื่องพิมพด์ ีด ก่อนท่ีจะส่งพิมพแ์ ท่นพิมพใ์ หญ่ เครื่องพิมพด์ ีดประกอบดว้ ยแป้นอกั ษร
จานวนมาก มถี ึง 48 (โดยเฉพาะเครื่องพมิ พด์ ีดรุ่นใหม่) ที่จะใชต้ ีพิมพต์ วั อกั ษรทีละตวั ลงบนผา้ หมึกพิมพ์
กดแบบของตวั อกั ษรลงบนกระดาษ ขณะท่ีเคาะหรือดีดอกั ษร
ลงบนแป้นแต่ละตวั ก็เลือ่ นแป้นทีละ 1 คร้ัง โดยอตั โนมตั ิจนหมดบรรทดั แต่ละบรรทดั แต่ละหนา้ พนกั งาน
พิมพด์ ีดก็จะปัดแคร่และพมิ พบ์ รรทดั ต่อไปจนหมดขอ้ ความ การท่ีพนกั งานพิมพด์ ีดจะพิมพไ์ ดร้ วดเร็ว
ถูกตอ้ งจะตอ้ งไดร้ ับการฝึกหดั การใชเ้ คร่ือง ใชน้ ้ิวอยา่ งถูกวิธี ฝึกเพมิ่ ทกั ษะใหถ้ ูกวิธีข้นั ตอน จนกระทง่ั
พิมพโ์ ดยอตั โนมตั ิตามแบบโดยไม่ตอ้ งมองท่ีแป้นอกั ษร เราเรียกวา่ พิมพแ์ บบสมั ผสั 10 น้ิว นกั เรียนทุกคน
จะเป็นพนกั งานพมิ พด์ ีดท่ีดีไดเ้ มอื่ ทาการฝึกตามท่ีครูผสู้ อนไดแ้ นะนาการเรียนพิมพด์ ีดไทย 1 คาบ ตาม
จานวนคาบที่ไดก้ าหนดไวแ้ ลว้ ทุกคนจะสาม

ประวตั ขิ องเคร่ืองพมิ พด์ ีด
เคร่ืองพิมพ์ดีด เคร่ืองแรกเป็ นแบบภาษาองั กฤษ ไดจ้ ดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อ พ.ศ. 2237 (17
มกราคม ค.ศ. 17144) ที่ประเทศองั กฤษโดยวศิ วกรชาวองั กฤษชื่อ เฮนร่ี มิล (Henry Mill) โดยใชช้ ื่อว่า
Writing Machine สามารถเขียนหนงั สือไดส้ ะดวกรวดเร็วและเป็นระเบียบเรียบร้อย แต่มีเพียงเครื่องเดียว
และไม่ทราบสาเหตุว่าทาไมไม่สร้างข้ึนเป็ นเคร่ืองท่ีสอง จากแนวความคิดของ เฮนร่ี มิล (Henry Mill)
ทาใหช้ าวอเมริกนั ช่ือ วลิ เลียม ออสติน (William Austin Burt) ไดป้ ระดิษฐเ์ ครื่องเขียนหนงั สือโดยใชช้ ่ือวา่
Typographer มีลกั ษณะเป็ นรูปสี่เหล่ียมทาดว้ ยไมท้ ้งั สิ้น
วิธีพิมพต์ ้องหมุนแป้นคลา้ ยหนา้ ปัดนาฬิกาตวั อกั ษรท่ีตอ้ งการจะพมิ พเ์ มื่อพบแลว้ กดลงไปบนกระดาษ
เป็นท่ีน่าเสียดายยง่ิ ท่ีสานกั งานสิทธิบตั รท่ีกรุงวอชิงตนั ถกู ไฟไหมแ้ ละไดเ้ ผาเคร่ือง ๆ น้ีดว้ ย เม่ือ พ.ศ. 2379
ในปี พ.ศ. 2376 ชาวฝร่ังเศสช่ือ Progin ไดป้ ระดิษฐเ์ คร่ืองเขียนหนงั สือสาหรับคนตาบอด
เรียกวา่ Ktypographic เครื่องน้ีประกอบดว้ ยท่ีรวมของแป้นอกั ษร เมอ่ื เคาะลงไปบนแป้นตวั อกั ษรจะดดี กา้ น
อกั ษรตีไปท่ีจุดศูนยก์ ลางของเครื่องอนั เป็นตน้ แบบของเคร่ืองพิมพด์ ีดในยคุ ปัจจุบนั หลงั จากน้นั กม็ นี กั
ประดิษฐค์ ิดคน้ สร้างเคร่ืองพมิ พด์ ดี ใหด้ ียง่ิ ข้ึน และไดน้ าไปจดทะเบียนที่สานกั งานสิทธิบตั รใน
สหรัฐอเมริกามากมายแต่ประชาชนยงั ไมน่ ิยมเพราะยงั แกป้ ัญหาไมไ่ ดท้ ่ีตอ้ งใชแ้ รงกดมาก และชา้ กว่าการ
เขียนดว้ ยมอื มาก

ในระหว่าง พ.ศ. 2360-2430 ไดม้ ีนกั ประดิษฐ์ชาวอเมริกนั ชื่อ Chistopher Latham shie ได้
ประดิษฐเ์ คร่ืองพิมพด์ ีดใชช้ ่ือว่า Type-Writer แต่กย็ งั ไมม่ ใี ครสนใจมากนกั แมว้ า่ เขาไดต้ ้งั โรงงานผลติ
เครื่องพมิ พด์ ดี มาแลว้ ต่อมาจึงไดข้ ายลขิ สิทธ์ิใหแ้ ก่บริษทั E.Remington & Son ในปี พ.ศ. 2416 กไ็ ดม้ ี
เคร่ืองพมิ พด์ ีดแบบมาตรฐานสู่ตลาด ในปี พ.ศ.2447 Edwerd B. Her and Lews C.Mayers ก็ไดส้ ร้างเคร่ือง
พมิ พด์ ีดยหี่ อ้ Royal และเป็นอีกแบบหน่ึงที่แกป้ ัญหาเร่ืองการใชก้ าลงั นอ้ ยในการกดแป้นอกั ษรและ
สามารถพิมพไ์ ดเ้ ร็วกว่าเดิม ในสหรัฐอเมริกามีเคร่ืองพิมพท์ ่ีประสบความสาเร็จในการจาหน่ายเพียง 4-5
ยห่ี ้อ คือ รอยลั เรมงิ ตนั ไอบีเอม็ สมิธโคโรนา อนั เดอร์วดู

ในยโุ รปกม็ นี กั ประดิษฐค์ ิดทาพิมพด์ ดี ออกจาหน่ายหลายยหี่ อ้ เช่น ในเยอรมนี โอลิมเปี ย แอด
เลอร์ ออนติมา ในอติ าลีมโี อลวิ ติ ้ี ในฮอลแลนดม์ ี เฮอร์เนส

ในขณะที่อเมริกากาลงั ประดิษฐเ์ ครื่องพิมพด์ ีดภาษาองั กฤษ เอดวิน แมคฟาแลนด์ เลขานุการ
ส่วนพระองคข์ องสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงธรรมการ ไดเ้ ดนิ ทางกลบั ไปพกั ผอ่ น
ที่สหรัฐอเมริกา มีแนวความคิดที่จะดดั แปลงมาเป็ นเครื่องพิมพด์ ีดภาษาไทย เนื่องจากภาษาไทยมีสระ
และวรรณยกุ ตม์ ากกว่าภาษาองั กฤษ จึงตอ้ งใชเ้ ครื่องพิมพด์ ีดยห่ี อ้ น้ี และช่วยกนั แกต้ วั อกั ษรไทยและคิดคน้
วางตวั อกั ษร สระ วรรณยกุ ตม์ ากกวา่ ภาษาองั กฤษ จึงตอ้ งใชเ้ คร่ืองพมิ พด์ ีดยหี่ อ้ น้ี และช่วยกนั แกต้ วั
อกั ษรไทยและคิดคน้ วางตวั อกั ษร สระ วรรณยกุ ต์ ท้งั หลายลงในเคร่ืองพิมพภ์ าษาไทย และมีความ
จาเป็นตอ้ งตดั ตวั อกั ษรบางคาออกสองตวั แต่การพิมพก์ ย็ งั ใชแ้ บบสมั ผสั ไม่ได้ ตอ้ งใชน้ ้ิวจิ้มทีละตวั จาก
การประดิษฐ์เคร่ืองพิมพด์ ีดของเมลฟารม
ไดอ้ านวยความสะดวกและประโยชน์ให้แก่ราชการไทยอย่างมากมายแต่เมื่อ เอดวิน แมคฟาร์ม
แลนด์ ไดน้ าเครื่องพิมพด์ ีดภาษาไทยกลบั มาเมืองไทย สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพไดท้ รงยา้ ยไป
ดารงตาแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ตาแหน่งเลขาส่วนพระองคข์ อง เอดวิน แมคฟาร์มแลน จึงได้
กลบั ไปศึกษาวิชาเภสชั กรรม ท่ีสหรัฐอเมริกา แต่ยงั ไม่สาเร็จถงึ แก่กรรมใน พ.ศ. 2438 ในขณะที่ป่ วยได้
มอบกรรมสิทธ์ิเคร่ืองพมิ พด์ ีดภาษาไทยใหห้ มอยอร์ช บี แมค ฟาร์มแลนด์ (พระอาจวทิ ยาคม) นอ้ งชายให้
เป็นผหู้ าวิธีแกไ้ ขปรับปรุง และเผยแพร่เคร่ืองพิมพด์ ีดภาษาไทยใหอ้ ยา่ งกวา้ งขวางต่อไป

หลงั จากที่ เอด็ วิน แมคฟาร์มแลนดถ์ ึงแก่กรรม พระอาจวทิ ยาคมไดร้ ับกรรมสิทธ์ิยห่ี อ้ สมิธพรีเมยี ร์
ไปต้งั แสดงท่ีสานกั งานทาฟัน ท่ีตาบลปากคลองตลาด ซ่ึงเป็นร้านทาฟันแห่งแรกของประเทศไทย หลงั จาก
ที่ท่านไดล้ าออกจากราชการแลว้ มปี ระชาชนและขา้ ราชการไปทาฟันท่ีสานกั งานแห่งน้ีมาก และทกุ คน
ไดร้ ับคาแนะนาใหร้ ู้จกั เคร่ืองพมิ พด์ ีดภาษาไทย ใหท้ ดลองใชเ้ คร่ืองพมิ พ์ ทุกคนต่างก็พอใจเพราะตวั อกั ษรที่
เกิดจากเครื่องพิมพด์ ีดเป็นระเบียบ เรียบร้อย อ่านง่าย และรวดเร็วกว่าการเขียนธรรมดามาก ไดร้ ับ
ความนิยมอย่างรวดเร็ว จึงไดเ้ ปิ ดจาหน่ายเครื่องพมิ พด์ ีดภาษาไทย และเครื่องพมิ พด์ ีดภาษาไทยสมธิ
พรีเมียร์รุ่นแรกมาถึงประเทศไทย พ.ศ. 2480 และไดร้ ับความนิยมจนตอ้ งขยายกิจการไปเปิ ดร้านใหม่ที่
ตรงหวั มุมถนนวงั หลงั บูรพาใหช้ ื่อวา่ สมิธพรีเมียร์ ในปี พ.ศ. 2441 และใน 2-3 ปี ต่อมา ไดข้ ายเครื่อง
พมิ พด์ ีดภาษาไทยไดห้ ลายพนั เคร่ือง ต่อมาโรงงานผลิตเครื่องพิมพด์ ีดได้เลิกกิจการและไปรวมกิจการ
กบั บริษทั เรมิงตนั เครื่องพมิ พด์ ีดยห่ี อ้ พรีเมียร์เป็นเครื่องพิมพด์ ีแคร่ตาย ไมส่ ามารถพมิ พส์ ัมผสั 10 น้ิว

ได้ บริษทั เรมิงตนั ไดส้ ่งั ใหเ้ ลิกผลิต และไดผ้ ลิตแบบยกแคร่ หรือยกกระจาดเขา้ มาจาหน่ายแทน แต่
ผใู้ ชย้ งั ติดแบบเดิมอยู่จึงไม่ไดร้ ับความนิยมใช้ พ.ศ. 2464 พระอาจวิทยาคมและภรรยา ไดก้ ลบั ไป
พกั ผ่อนท่ีสหรัฐอเมริกา ได้ไปใหค้ วามรู้เรื่องภาษาไทย และไดช้ ่วยออกความคิดเห็นจนบริษทั เรมงิ ตนั
สามารถผลิตเคร่ืองพมิ พด์ ีดชนิดกระเป๋ าห้ิว รูปร่างเลก็ กระทดั และสามารถพมิ พส์ มั ผสั 10 น้ิวได้ จึงทาให้
ผใู้ ชน้ ิยมเพราะพิมพไ์ ดไ้ ม่ยาก เคร่ืองพิมพด์ ีดแบบดงั กล่าวมจี าหน่ายในประเทศไทยเมอ่ื พ.ศ. 2463

เครื่องพมิ พด์ ีดภาษาไทยในขณะน้นั ยงั มีขอ้ บกพร่องอยบู่ า้ งตามสมควร เพราะการพิมพข์ ดั กบั การ
เขียน เช่น ตวั ฝ จะตอ้ งพมิ พ์ ผ แลว้ ต่อหาง คาวา่ “กิน” ตอ้ งพิมพส์ ระก่อน แลว้ จึงพมิ พ์ ก
และ น ในปี พ.ศ. 2467 พระอาจวิทยาคม จึงไดร้ ่วมปรึกษาคน้ ควา้ กบั พนกั งานของบริษทั 2 คน
คือ นายสวสั ด์ิ มากประยูร และนายสุวรรณ ประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมณี โดยนายสวสั ด์ิ มากประยรู
เป็ นวิศวกรออกแบบประดิษฐต์ วั อกั ษร นายสุวรรณ ประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมมณี ทาหนา้ ท่ีฝ่ ายวิชาการ
ออกแบบวางแป้นอกั ษรโดยนาคาที่ใชบ้ ่อยรวม 167-456 คา จากหนงั สือ 38 เลม่ ใชเ้ วลา 7 ปี ก็วางแป้น
อกั ษรใหม่สาเร็จและเห็นว่าเหมาะสมท่ีสุด ในปี พ.ศ. 2475 สามารถพิมพไ์ ดถ้ นดั ท่ีสุด และรวดเร็วที่สุด
ใหช้ ่ือวา่ “เกษมณี” และใชม้ าจนถงึ ปัจจุบนั น้ี

เคร่ืองพมิ พด์ ีด แบบที่เราเรียกว่าแบบเกษมณี ไดม้ ผี วู้ จิ ยั วา่ มขี อ้ บกพร่องและคิดวางแป้นอกั ษรใหม่
ใชช้ ่ือวา่ แบบปัตตะโชติ เสนอต่อสภาวิจยั แห่งชาติ สภาวจิ ยั แห่งชาติไดต้ รวจสอบแลว้ ยอมรับว่าหากนา
เคร่ืองพิมพด์ ีดแบบปัตตะโชติ นาไปใชจ้ ะทาใหพ้ ิมพ์ไดเ้ ร็วกว่าเดิม ประมาณ 25.8% ในระหว่าง
พ.ศ. 2508-2516 ทาใหว้ งการใชเ้ ครื่องพิมพด์ ีดสบั สน คณะรัฐมนตรีลงมติใหห้ น่วยราชการที่ไดร้ ับ
งบประมาณค่าเครื่องพมิ พด์ ีดจดั ซ้ือเคร่ืองพมิ พด์ ีดภาษาไทยแบบปัตตะโชติ ทาให้หน่วยราชการ รัฐวสิ าหกิจ
บริษทั หา้ งร้าน ตอ้ งส่งพนักงานพิมพด์ ีดเขา้ ไปรับการฝึกอบรม การใชเ้ คร่ืองพิมพ์ดีดแบบปัตตะโชติ
แต่เน่ืองดว้ ยการเปลี่ยนแปลงดงั กลา่ ว จะตอ้ งใชเ้ วลาเป็นเคร่ืองพิสูจน์ ท้งั ไม่อาจลา้ งความเชื่อเดิมของผใู้ ช้
ในระยะเวลาน้นั ได้ และประกอบกบั มกี ารเปลย่ี นแปลงทางการเมืองเกิดข้ึน หลงั วนั ท่ี 16 ตุลาคม 2516
ทาใหน้ โยบายถูกยกเลิก โดยมติคณะรัฐมรจรี (นว.ที่ 38 พ.ศ. 2516) ต้งั แต่นน่ั เป็นตน้ มาการจดั ซ้ือ
เคร่ืองพิมพด์ ีดให้เป็ นไปตามความต้องการของแต่ละหน่วยงาน โดยปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามระเบียบ
สานกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2521 และแกไ้ ขใหม่ ฉบับที่ พ.ศ. 2523 ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ.
2525 ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2527 และฉบบั ท่ี 5 พ.ศ. 2528 และฉบบั ที่ 6 พ.ศ. 2528

เครื่องพิมพด์ ีดสามารถดดั แปลงเป็นภาษาต่าง ๆ ไดม้ ากกวา่ 100 ภาษา มบี างภาษาแคร่จะเลอ่ื น
จากทางดา้ นขวาไปดา้ นซา้ ย เช่น ภาษาอาหรับ ฮิบรู วิวฒั นาการในการสร้างเคร่ืองพิมพด์ ีดไดเ้ ดิน
กา้ วหน้าไปเรื่อย ๆ ไมห่ ยดุ ยง้ั สามารถพิมพไ์ ดเ้ ร็วกว่าธรรมดาเพราะสามารถเกบ็ ขอ้ มลู ต่าง ๆ ไดใ้ นเคร่ือง
เช่นเดียวกบั คอมพวิ เตอร์สามารถพิมพข์ อ้ ความเดียวกนั แบบฟอร์มเหมือนกนั ปรับใหอ้ กั ษรท่ีพิมพ์
ออกมาทางดา้ นหน้า ดา้ นหลงั ตรงกนั เป็นบรรทดั ใชเ้ วลานอ้ ยลง ลบไดใ้ นตวั ตวั เครื่องเองอตั โนมตั ิ มบี าง
เครื่อง บางยห่ี อ้ สามารถตอบคาถามต่าง ๆ ท่ีเขา้ ไปในเครื่อง ตอบออกมาเป็นตวั อกั ษรโดยรวดเร็ว แต่ราคา
ค่อนขา้ งแพงจึงยงั ตอ้ งใชก้ นั ในกิจการท่ีเป็ นองค์การระหว่างประเทศและบริษทั ใหญ่ ๆ ของชาว
ต่างประเทศ เครื่องพมิ พด์ ดี ที่มจี าหน่ายในทอ้ งตลาดขณะน้ีเป็นแบบยกแคร่ มบี างแบบท่ีเป็นแบบกระเป๋ า

หิ้ว แบบต้งั โตะ๊ แบบท่ีใชไ้ ฟฟ้า บริษทั หา้ งร้านที่มีกิจการกวา้ งขวาง มบี ริการลกู คา้ มากมายนิยมใชเ้ คร่ือง
พิมพด์ ีดชนิด 2 ภาษา เป็นเคร่ืองพิมพด์ ีด ที่มีท้งั ภาษาไทย และภาษาองั กฤษในเคร่ืองเดียวกนั

ขนาดของตวั พมิ พ์ดดี โดยทวั่ ไปขนาดตวั พิมพด์ ีดที่ใชก้ นั อยมู่ ี 3 ขนาด
1. ตวั อกั ษรขนาดใหญ่ เรียกว่า ไปกา้ (Piga) ในเน้ือท่ี 1 น้ิว จะพิมพต์ วั อกั ษรได้ 10 เคาะ
หรือ 10 ดีด
2. ตวั อกั ษรขนาดเลก็ เรียกว่า อีลิท (Elite) ในเน้ือท่ี 1 น้ิว จะพมิ พต์ วั อกั ษรได้ 12 เคาะ
หรือ 12 ดีด
3. ตวั อกั ษร IBM เป็นตวั อกั ษรขนาดเลก็ จะเป็นของเคร่ืองพิมพด์ ีดไฟฟ้า IBM (International
Business machines)

แบบของเครื่องพมิ พ์ดีด
การวางแป้นอกั ษรเป็ นสัญลกั ษณ์ของเคร่ืองพิมพด์ ีด โดยเฉพาะเคร่ืองพมิ พด์ ีด

ภาษาไทย มกี ารพฒั นาการวางแป้นอกั ษรข้ึนในระหวา่ งปี พ.ศ. 2510-2516 ทาใหก้ ารวางแป้นแตกต่างไป
จากเดิมท่ีพระอาจวิทยาคม และนายสุวรรณ ประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมมณี วางไวเ้ ป็นแบบปัตตะโชติ ซ่ึงวาง
แป้นเหยา้ ไปจาก ฟ ห ก ด ่่ า ส ว ไปเป็น ท ง ก า น เ ไ เรียกช่ือแบบตามช่ือผู้
ประดิษฐ์
ประเภทของเครื่องพมิ พ์ดีด เครื่องพิมพด์ ีดท่ีใชก้ นั ในประเทศไทย ในปัจจุบนั แบ่งได้ 2 ชนิดคือ

1. เคร่ืองพิมพด์ ีดที่แป้นเป็นภาษาไทยลว้ น
2. เครื่องพมิ พด์ ีดท่ีแป้นอกั ษรไทย และอกั ษรภาษาองั กฤษในเคร่ืองเดียวกนั
ก. เครื่องพมิ พ์ดดี ทแี่ ป้นอกั ษรไทยล้วน ส่วนใหญ่แบบยกแคร่และยงั แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 แบบ คือ

1. แบบธรรมดา (Manual Typewriter) มที ้งั แบบต้งั โต๊ะ (Table) แบบกระเป๋ าห้ิว
(portable) ใชม้ อื พมิ พย์ กแคร่

2. แบบไฟฟ้า (Electric typewriter) ส่วนใหญ่เป็นแบบยกแคร่
ข. เคร่ืองพมิ พ์ดดี ท่ีแป้นเป็ นอกั ษรไทยและอกั ษรภาษาองั กฤษอย่ใู นเคร่ืองเดียวกนั มี 2 แบบ
เป็ นแบบเฟื องหมุน (Ribbon Cartridge) และแบบกอลฟ์ บอล (Golf Ball) พิมพด์ ีดชนิด 2 แป้นอกั ษร
ในเคร่ืองเดียวกนั น้ีไดม้ กี ารพฒั นาไปโดยไมห่ ยดุ ย้งั จนกระทง่ั ปัจจุบนั (พ.ศ. 2530) เครื่องพมิ พด์ ีดรุ่นล่าสุด
(Officeline) การพมิ พต์ ่าง ๆ ควบคุมโดยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกสท์ าใหเ้ กิดความคลอ่ งตวั ในการใชไ้ มว่ า่ จะเป็น
การเปลย่ี นแบบตวั อกั ษรที่มีมากกว่า 30 แบบ ท้งั ไทยและองั กฤษ ก็กระทาไดส้ ะดวก เพราะมีขนาดช่องไฟ
4 แบบ ไดแ้ ก่ 10, 12, 15 และช่องไฟมาตรฐาน (Proportional) การปรับระยะบรรทดั กท็ าไดง้ ่าย ถา้
ตอ้ งการพิมพส์ าเนาหลาย ๆ แผน่ กส็ ามารถลดป่ ุมพิเศษ เพ่อื เพิ่มน้าหนกั ตวั พมิ พใ์ หก้ ดลงบนกระดาษไดถ้ ึง 3
ระดบั ทาใหส้ าเนาฉบบั สุดทา้ ยคมชดั เช่นเดียวกบั แผน่ แรก

เทคนคิ การใช้เครื่องพมิ พ์ดดี

1. โตะ๊ ทางานใหส้ ะอาด ไมว่ างสิ่งของที่ไมจ่ าเป็นบนโต๊ะ
2. กระดาษพิมพ์ และกระดาษรองพมิ พ์
3. นงั่ ตวั ตรงเทา้ วางราบกบั พ้ืน
4. ใส่กระดาษเขา้ เคร่ืองพมิ พ์ ฟังคาสงั่ จากครูผสู้ อน

ส่ิงทค่ี วรปฏิบตั เิ ม่ือใช้ห้องพมิ พ์ดดี

ก่อนการพมิ พ์

1. ตรงต่อเวลา นงั่ ประจาที่ทกี่ าหนด
2. เตรียมกระดาษพมิ พแ์ ละอปุ กรณ์อืน่ ๆ ใหพ้ ร้อม
3. ตรวจความเรียบร้อยของโต๊ะ เกา้ อ้ี และเครื่องพิมพ์
4. เปิ ดผา้ คลุมเคร่ืองพิมพแ์ ละพบั เก็บใหเ้ รียบร้อย
5. ใส่กระดาษพร้อมแผน่ รองพมิ พ์
6.ปฏบิ ตั ิตามคาสง่ั จากครูผสู้ อน
หลงั การพมิ พ์
1. ถอดกระดาษออกจากเคร่ืองพิมพ์
2. เลอ่ื นแคร่ไวท้ ่ีก่ึงกลางของเครื่อง
3. คลมุ เคร่ืองพิมพด์ ว้ ยผา้ คลมุ ใหเ้ รียบร้อย
4. เลือ่ นเกา้ อ้เี ขา้ ใตโ้ ตะ๊ ดูแลใหเ้ ป็นระเบียบเรียบร้อย
5. เก็บกระดาษท้ิงในตะกร้า ดูแลความสะอาดทว่ั ไป

ส่ิงท่ีควรปฏบิ ตั เิ มื่อใช้ห้องพมิ พ์ดดี

1. หา้ มเปล่ียนที่นง่ั ก่อนไดร้ ับอนุญาต

2. หา้ มโยกยา้ ย/แกไ้ ขเครื่องพมิ พโ์ ดยพลการ
3. หา้ มเขา้ หอ้ งเรียนก่อนไดร้ ับอนุญาต
4. หา้ มนาอาหารเขา้ ไปรับประทานในหอ้ งพิมพด์ ีด

การพบั ผ้าคลมุ เครื่องพมิ พ์ดดี

วธิ ีพบั ปฏิบตั ิตามข้นั ตอนต่อไปน้ี
1. นง่ั ประจาโตะ๊ พมิ พด์ ีด สารวจท่านง่ั ใหถ้ กู ตอ้ งตามท่านง่ั พมิ พด์ ีด
2. ใชข้ อ้ มอื ท้งั สองขา้ งจบั มมุ ซา้ ยและขวายกข้นึ ใหพ้ น้ เคร่ืองพิมพด์ ีด
3. กลบั ดา้ นในของผา้ คลุมเคร่ืองพิมพไ์ วบ้ นเคร่ืองพมิ พ์ ใหม้ มุ ท่ีจบั ท้งั 2 ขา้ ง
อยดู่ า้ นใน
4. จดั มมุ ท้งั 2 ขา้ ง พบั เขา้ หากนั แลว้ พบั ส่วนท่ีเหลือเป็นรูปสี่เหลย่ี ม
5. กะพบั เป็น 3 ส่วนเท่า ๆ กนั โดยพบั ส่วนที่ 1 ทบั ส่วนที่ 2 และ 3 ทบั ส่วนที่ 1 (ดงั
รูป)
6. ใชม้ ือรีดใหเ้ รียบ วางในที่ที่ไม่เกะกะในการพิมพด์ ีด หรือถา้ โต๊ะมีลนิ้ ชกั ควรเก็บไว้
ในลิ้นชกั จะเหมาะสมที่สุด
7. ฝึกพบั ผา้ คลมุ เคร่ืองภายในเวลาท่ีกาหนดหลาย ๆ คร้ัง

การบารุงรักษาเคร่ืองพมิ พ์ดีด

1. ตรวจเช็คสภาพเครื่องพิมพด์ ีดก่อนลงมอื พมิ พท์ ุกคร้ังว่าอยใู่ นสภาพดีหรือไม่
2. ผา้ คลมุ เคร่ืองตอ้ งพบั ใหเ้ รียบร้อย และอยา่ วางกีดขวางจนดูไม่เรียบร้อย
3. ทาความสะอาดเคร่ืองพิมพด์ ีดเสมอโดยใชแ้ ปรงปัดเศษฝ่นุ ละอองภายในเคร่ือง และ

ตามซอกต่าง ๆ ของเครื่องพิมพ์
4. ใชผ้ า้ บางอ่อนเช็ดถภู ายนอกและตวั เคร่ืองพิมพด์ ดี ในบางโอกาส เพอ่ื ใหเ้ คร่ืองพิมพด์ ีด

อยใู่ นสภาพใหมอ่ ยเู่ สมอ
5. อยา่ เปิ ดฝาครอบเคร่ืองพมิ พด์ ีดวางกบั พ้นื และหมุนผา้ หมกึ เลน่
6. เม่อื เครื่องขดั ขอ้ งตอ้ งรีบแจง้ ใหค้ ุณครูผสู้ อนทราบ เพื่อแจง้ ใหช้ ่างทาการซ่อมให้

อยใู่ นสภาพท่ีใชง้ านไดต้ ลอดเวลา
7. อยา่ เคล่อื นยา้ ยเครื่องพมิ พด์ ีดก่อนไดร้ ับอนุญาต
8. คลุมผา้ คลุมเครื่องทุกเคร่ืองเม่ือเลิกใชเ้ ครื่องพิมพแ์ ลว้ เพ่ือป้องกนั ฝ่ นุ ละออง
9. หมน่ั หยอดน้ามนั เคร่ืองในส่วนที่เป็นกลไกสาคญั

คาแนะนาสาหรับผ้เู รียน
ฝึกนิสยั การทางานใหเ้ ป็นคนตรงต่อเวลา ปฏบิ ตั ิตามคาแนะนาของครูผสู้ อน การฝึกปฏบิ ตั ิ
และพยามเรียนดว้ ยความเอาใจใส่
ก่อนทางานในช้นั เรียน ควรจดั โตะ๊ เรียนใหเ้ รียบร้อย พบั ผา้ คลมุ เคร่ือง วางแบบพมิ พท์ างดา้ นขวามอื
นง่ั ตวั ตรง เทา้ วางราบกบั พ้ืน ลาตวั ห่างจากเคร่ืองประมาณ 1 คืบ แขนแยกจากลาตวั เลก็ นอ้ ย วางมือใหพ้ อดี
ไมเ่ กร็งแขนจนรู้สึกหนกั ขอ้ มือหา้ มวางไวท้ ี่ขอบเคร่ืองพมิ พ์ นิ้วมือวางบนแป้นเหยา้ งอนิ้วเลก็ นอ้ ย ตามองที่
แบบพิมพ์ ฟังคาสงั่ จากครูผสู้ อน
หลงั การพมิ พท์ ุกคร้ังเลือ่ นแคร่พิมพใ์ หอ้ ยกู่ ่ึงกลาง ปรับกา้ นคลายกระดาษ และคานทบั ลง คลุม
เครื่องใหเ้ รียบร้อย เล่ือนเกา้ อ้ีเขา้ ใตโ้ ตะ๊ ใหเ้ รียบร้อย ก่อนออกจากหอ้ ง เศษกระดาษนาไปท้ิงลงในตะกร้า
ความเรียบร้อยในการจดั หอ้ งเรียน จะนาไปสู่การทางานที่เป็นระเบียบ
อยา่ เร่งพิมพเ์ พ่ือหวงั ผลในการพมิ พเ์ ร็วอยา่ งเดียว จะไม่ไดผ้ ลดีเพราะขาดความแมน่ ยา ผเู้รียนตอ้ ง
ตระหนกั เสมอว่า การพิมพแ์ มน่ ยาดีกว่าพมิ พเ์ ร็วแต่ผดิ มาก

ส่วนต่าง ๆ ของเครื่องพมิ พด์ ดี ไทย

ชื่อส่วนต่าง ๆ ของเคร่ืองพมิ พ์ดดี
1. ดา้ มปัดแคร่ข้ึนบรรทดั ใหม่ (line space)
2. หลอดผา้ หมกึ พิมพ์ (Ribbon) ซา้ ย – ขวา (ขา้ งใน)
3. คนั โยกลอ็ คแคร่ และถอดแคร่ (Carriage locking levers) ซา้ ย – ขวา

(ในฝาครอบ)
4. ป่ ุมกดปรับบรรทดั (Variable interliner)
5. ป่ ุมบิดลูกยางใหญ่ ซา้ ย – ขวา (Platen knobs)
6. ป่ ุมปล่อยแคร่ ซา้ ย – ขวา (Carnage release)
7. คนั โยกฟรีบรรทดั (Platen releasse)
8. แคร่เครื่องพิมพ์ (Carriage)
9. คนั โยกระยะบรรทดั ต้งั ระยะบรรทดั (Line space regulator)
10. เหลก็ ก้นั หนา้ กระดาษซา้ ยมอื (Left – hand margin stop)
11. แผงนากระดาษ (Paper guide)
12. สเกลหลงั กระดาษ (Margin scale)
13. สเกลหนา้ กระดาษและลูกยางทบั กระดาษ หรือคานทบั กระดาษ (Paper bail with bail rolls)
14. ป่ ุมกดเหลก็ รองหลงั กระดาษ (Release for paper support)
15. แผงบงั คบั กา๊ ร์ดมรี ูดินสอปากกาซา้ ย – ขวา (Line finders)
16. เหลก็ รองกระดาษวดั กระดาษ (end of sheet indicator)
17. ลกู ยางใหญ่ (Platen)
18. เหลก็ บงั คบั กา๊ ร์ด (Card holder)
19. เหลก็ ก้นั หลกั กระดาษขวามือ (Right – hand)
20. แผงรองลบ (Erasing table)
21. คนั โยกปล่อยกระดาษใหห้ ลวม หรือกา้ นคลายกระดาษ หรือป่ ุมคลายกระดาษ (Paper release)
22. คนั บงั คบั หนกั เบา (ในฝาครอบ) (Touch control)
23. ฝาครอบถอดได้ (Top cover)
24. แป้นต้งั ระยะ ปลดระยะปัดแคร่และคานยอ่ หนา้ (Tabulator)
25. แป้นถอยหลงั (Back space)
26. แป้นอกั ษรบน หรือยกแคร่ (Shift key)
27. คานเวน้ วรรค (Correcting space bar)
28. แถวแป้นอกั ษร (Standard keyboard)
29. แป้นลนั่ พิมพอ์ กั ษรบน (Shift look)
30. แป้นขอตวั ปลอ่ ยลอ็ คก้นั หนา้ ก้นั หลงั กระดาษ (Margin release)
31. ป่ ุมบงั คบั ผา้ หมึก (Ribbon adjuster)

ส่วนของเคร่ืองพมิ พ์ดดี ทีส่ าคญั

เพ่อื สะดวกในการใชส้ ่วนต่าง ๆ ของเคร่ืองพิมพด์ ดี อยา่ งถูกวิธี ผเู้ รียนควรจะไดศ้ กึ ษาและจดจา
ส่วนของเครื่องพมิ พด์ ดี ท่ีสาคญั ๆ และใชอ้ ยเู่ ป็นประจาก่อนก่อนคือ

1. แผงนากระดาษใหอ้ ยทู่ ี่ 0 แผงน้ีเคลอื่ นที่ไปมาได้ ใชป้ ระโยชน์สาหรับช่วยนา
กระดาษส่งเขา้ เคร่ืองพิมพด์ ีด เพ่อื ใหข้ อบซา้ ยเท่ากนั ฉะน้นั ขอบซา้ ยของกระดาษจะตอ้ งแนบกบั แผงน้ี
เสมอ ซ่ึงถา้ หากไม่มีแผงน้ีในเครื่องพมิ พด์ ีดก็จะทาใหผ้ พู้ มิ พเ์ สียเวลาในการจดั กระดาษ

2. คานทบั กระดาษ ใชส้ าหรับทบั กระดาษใหเ้ รียบและใหแ้ นบกบั ลูกยางใหญ่
และยงั แบ่งลูกยางที่วางทบั กระดาษใหอ้ ยหู่ ่างกนั ประมาณหน่ึงในสามของกระดาษ ดงั น้นั ก่อนใส่กระดาษ
เขา้ เคร่ืองพิมพด์ ีด ผพู้ มิ พค์ วรยกคานทบั กระดาษข้ึนก่อน

3. ดา้ มปัดแคร่ (Line Spacer) เป็นดา้ มท่ีใชป้ ัดสาหรับข้ึนบรรทดั ใหม่ การปัดใหใ้ ชม้ ือซา้ ย
ปัดแคร่โดยวางน้ิวท้งั 4 (ช้ี กลาง นาง กอ้ ย) ใหช้ ิดกนั ส่วนหวั แม่มือใหพ้ บั งอลงขา้ งล่างและใชข้ อ้ มอื
เหวี่ยงใหแ้ รงพอสมควร มือไม่ตอ้ งตามแคร่ไปจนสุด ทุกคร้ังที่ปัดแคร่ข้ึนบรรทดั ใหม่ มือขวาจะตอ้ งอยทู่ ี่
แป้นเหยา้

4. ป่ ุมบิดลูกยางใหญ่ซา้ ย – ขวา มีไวเ้ พื่อป้อนกระดาษเขา้ เคร่ือง และปรับกระดาษข้ึนลง
โดยใชม้ ือบิดท่ีตวั ลูกบดิ ใชไ้ ดท้ ้งั มือซา้ ยและมอื ขวา

5. ป่ ุมก้นั หนา้ กระดาษซา้ ยมอื และขวามือ ใชส้ าหรับต้งั ก้นั ระยะหนา้ หลงั
เพอ่ื ใหท้ ราบว่าจุดเร่ิมตน้ อยตู่ รงไหน สิ้นสุดบรรทดั ไหน เม่อื ตอ้ งการก้นั ระยะหนา้ และก้นั ระยะหลงั ใหก้ ด
ป่ ุมก้นั ระยะลงพร้อมกบั เลอ่ื นป่ ุมไปยงั จุดที่ตอ้ งการ

6. กา้ นคลายกระดาษ ใชเ้ ม่ือถอดกระดาษออกจากเครื่อง และปรับกระดาษใหเ้ ขา้ ที่
ตอ้ งการจะเวน้ วรรค วิธีเคาะคานใชน้ ิ้วหวั แมม่ ือซา้ ยหรือขวาเคาะทุกคร้ัง ไมค่ วรใชน้ ิ้วอื่น

7. คานเวน้ วรรค เป็นคานยาวอย่ใู ตแ้ ป้นอกั ษรล่างสุด ใชส้ าหรับเคาะเม่ือตอ้ งการจะเวน้ วรรค
วธิ ีเคาะคานใชน้ ้ิวหวั แมม่ อื ซา้ ยหรือขวาเคาะทุกคร้ัง ไมค่ วรใชน้ ิ้วอื่น

8. ระยะบรรทดั มตี วั เลขบอกระยะบรรทดั ซ่ึงสามารถ มองเห็นได้ ใชส้ าหรับต้งั ความห่างระหวา่ ง
บรรทดั โดยปกติพิมพด์ ีดภาษาไทยจะใชร้ ะยะบรรทดั 2

การเรียนรูว้ ธิ ีใชส้ ่วนต่าง ๆ ของเครื่องพมิ พด์ ีดน้ี จะช่วยใหน้ กั เรียนฝึกปฏิบตั ิการพมิ พไ์ ดง้ ่ายข้ึน
ถา้ ยงั สงสยั วิธีใชส้ ่วนต่าง ๆ ตอ้ งถามครูผูส้ อนใหเ้ ขา้ ใจอย่างถูกตอ้ งจริง

ตวั อย่างระยะบรรทดั

การเตรียมตวั สาหรบั พมิ พ์

ใหน้ ง่ั ตวั ตรง ใหล้ าตวั ห่างจากเครื่องพิมพป์ ระมาณ 1 คืบ เทา้ วางราบกบั พน้ื เทา้ ขา้ งหน่ึงเย้อื งมาขา้ งหนา้
เลก็ นอ้ ย จดั เกา้ อ้ีนง่ั ใหส้ มั พนั ธก์ บั โต๊ะวางเครื่องพมิ พ์ วางหนงั สือทางดา้ นขวามือ เหหวั หนงั สือออกไป
เลก็ นอ้ ย หนุนหวั หนงั สือใหอ้ า่ นง่ายข้นึ

การน่งั ท่ถี กู วธิ ีจะทาใหพ้ ิมพไ์ ด้
ถนดั รวดเรว็ แม่นยา พมิ พไ์ ดน้ าน
ไมเ่ หนด็ เหน่อื ยเท่าท่คี วร ถา้ น่งั ผิดวธิ ี
จะทาใหพ้ มิ พผ์ ิดบอ่ ย ปวดเม่อื ยหวั ไหล่
และหลงั เสยี สขุ ภาพ

2. การเคาะแป้นให้ถูกวธิ ี
เคาะงอน้ิวใหถ้ กู ลกั ษณะ เคาะแป้นใหน้ ้าหนกั สม่าเสมอและเร็ว อยา่ กดแป้นอกั ษร ใหส้ งั เกตถา้

พมิ พแ์ ลว้ อกั ษรเป็น 2 รอยซอ้ นกนั แสดงวา่ นกั เรียนกดไม่ไดเ้ คาะ
การเคาะคานเวน้ วรรค ใหใ้ ชห้ วั แม่มอื ขวา เท่าน้นั

การเคล่อื นไหวของมือตามภาพ ก.
ถูกตอ้ งตามวิธีพิมพด์ ีดมากท่ีสุด
การเคล่ือนไหวของแป้นอักษร
นา้ หนกั พอสมควร ยอ่ มจะเกิดความเร็ว

3. การปัดแคร่
เมื่อนักเรียนพิมพจ์ วนจะหมดบรรทดั จะไดย้ นิ เสียงกริ่งดงั เป็ นสญั ญาณให้กลบั แคร่ใหม่ ให้

ใชม้ อื ซา้ ยโดยน้ิวท้งั 4 ชิดกนั (น้ิวช้ี กลาง นาง กอ้ ย) หวั แมม่ ือพบั งอลงขา้ งลา่ ง ปัดที่มอื ปัดแคร่ ให้
น้ิวช้ีสมั ผสั กบั มือปัดแคร่ ปัดโดยการใชข้ อ้ มือเหวยี่ งใหพ้ อสมควร มือไมต่ อ้ งตามแคร่ไปจนสุด ส่วนมือ
ขวา ยงั อยทู่ ่ีแป้นเหยา้

4. ต้งั แผงนากระดาษให้อย่ทู ่ี “0”
ต้งั แผงนากระดาษใหอ้ ยทู่ ่ี “0” ของสเกลวดั ระยะกระดาษ (PAPER GUIDE) แผงนากระดาษ

มีลกั ษณะเป็นแผน่ เหลก็ บาง ๆ อยทู่ างซา้ ยของแผงรับกระดาษ เคลอ่ื นท่ีไปมาได้ ใชป้ ระโยชน์สาหรับนา
กระดาษเขา้ เคร่ืองพมิ พ์ เพ่อื ใหข้ อบและช่องวา่ งดา้ นซา้ ยมอื ของกระดาษเท่ากนั ถา้ ขาดแผงนากระดาษน้ีจะ
ทาใหเ้ สียเวลาในการจดั กระดาษเพอ่ื จดั ใหช้ ่องวา่ งดา้ นซา้ ยเท่ากนั ทุกคร้ังที่มกี ารเปลี่ยกระดาษ

หากแผงนากระดาษชารุดหรือคด จะทาใหใ้ ส่กระดาษไม่ตรอง ฉะน้นั ก่อนลงมือพมิ พท์ ุก
คร้ัง จะตอ้ งจดั แผงนากระดาษใหช้ ิดกบั “0” เสมอไป

5. การใส่กระดาษเข้าแท่นพมิ พ์
เพ่อื ความคลอ่ งตวั และไมใ่ หก้ ระดาษพมิ พย์ บั หรืองอ เวลาท่ีใส่กระดาษใหป้ ฏิบตั ิดงั น้ี
ดงั รางทบั กระดาษข้ึน จบั กระดาษตรงกลางแผน่ ดว้ ยมือซา้ ยเพียงเบา ๆ ใหห้ วั แม่

มืออยดู่ า้ นหนา้ อีก 4 นิ้ว อยดู่ า้ นหลงั สอดกระดาษลงหลงั ลูกยางให้ขอบชิดแผงนากระดาษ (ซ่ึงจดั อยู่
ตรง “0”) บิดลกู ยางดว้ ยมอื ขวา ใชน้ ิ้วเพียง 3 นิ้วคือ หวั แมม่ ือ นิ้วช้ี และน้ิวกลางเท่าน้นั บิดอยา่ งเร็ว
และแรงเพยี งคร้ังเดียวแลว้ ปรับรางทบั กระดาษใหก้ ระชบั

6. จดั ลกู ยาง – รางทับกระดาษ
เมอ่ื ใส่กระดาษแลว้ ใหจ้ ดั ลกู ยางแบ่งกระดาษออกเป็น 3 ส่วน เท่า ๆ กนั เพื่อ

มิใหก้ ระดาษยบั หรือโป่ ง และแนบกบั ลกู ยางใหญ่

หากกระดาษไมต่ รงตามแนวดิ่งใหป้ รับใหม่ โดยยกรางทบั กระดาษข้นึ แลว้ คลายลกู ยางทางขวามอื จดั
กระดาษใหเ้ ท่ากนั แลว้ ทบั ไวอ้ ยา่ งเดิม

เทคนิคเบื้องต้นการเตรียมตวั ก่อนพมิ พ์

1. ต้งั แผงนากระดาษท่ีหมายเลข 0 เพ่ือประโยชน์ในการคานวณจานวนพิมพต์ ิดบน
กระดาษพิมพ์

2. ต้งั ระยะบรรทดั ที่หมายเลข 2 เน่ืองจากเป็นระยะบรรทดั ที่นิยมใชใ้ นการจบั เวลา และเป็นระยะ
กลาง

3 ต้งั ระยะก้นั หนา้ ที่หมายเลข 15 ก้นั หลงั ที่หมายเลข 90 หรือครูผสู้ อนจะสง่ั

4 ยกคานกระดาษข้ึนออกจากลกู ยางใหญ่เพ่ือเตรียมการใส่กระดาษ ใส่กระดาษให้ชิดขอบ
แผงนากระดาษดว้ ยการจบั กระดาษมือซา้ ย สอดกระดาษลงดา้ นหลงั ลูกยางใหญ่จบั ป่ ุมลูกบิด
ยางใหญ่ ทางดา้ นขวามือ และบิดลกู ยางใหญ่ข้ึน

5. เมื่อใส่กระดาษเรียบร้อยแลว้ ให้ตรวจสอบดูว่าริมกระดาษขอบบนและขอบล่างตรงกนั
หรือไม่ ใหย้ กกา้ นคลายลกู ยางใหญ่เพ่อื คลายกระดาษ แลว้ จดั กระดาษใหต้ รงพร้อมท้งั ผลกั กา้ น
คลายลกู ยางใหญ่เขา้ ที่เดิม

6. การปัดแคร่ ใหใ้ ชน้ ้ิวท้งั 4 ของมอื ซา้ ย ผลกั ดา้ มปัดแคร่ใหส้ ุด
7. การเคาะแป้นตวั อกั ษร ใหง้ อนิ้วเลก็ นอ้ ยในการเคาะ

แผนการเรียนรู้

รหสั วิชา 20200-1004 หน่วยท่ี 2

วิชา พิมพด์ ดี ไทยเบือ้ งต้น สอนคร้งั ที่ 4-5

แผนกวชิ า การบญั ชี/ค้าปลีก ปวช.1 สาขางาน การบญั ช/ี ค้าปลกี

ชือ่ หน่วย แปน้ เหย้าหลกั ฟ ห ก ด ่ า ส ว

สาระการเรียนรู้

1. แป้นเหยา้ หลกั ฟ ห ก ด ่ า ส ว
2. หลกั การฝึกพิมพส์ มั ผสั อกั ษรแป้นเหยา้ หลกั
3. ฝึกพิมพอ์ กั ษรแป้นเหยา้ หลกั
4. ฝึกพิมพป์ ระสมอกั ษรแป้นเหยา้ หลกั

จดุ ประสงค์

1. นงั่ พิมพ์ และวางน้ิวบนแป้นเหยา้ หลกั ไดถ้ ูกตอ้ ง

2. พิมพแ์ ป้นเหยา้ หลกั ฟ ห ก ด ่่ า ส ว ไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การพิมพส์ มั ผสั

3. พิมพป์ ระสมคาอกั ษรแป้นเหยา้ หลกั และเวน้ วรรคไดถ้ กู ตอ้ ง

กจิ กรรมการเรียนการสอน

1. ครูอธิบายใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามดงั น้ี
1.1 การสาธิต
1.2 การอธิบายเพิ่มเติม
1.3 การฝึกปฏิบตั ิ เพื่อใหเ้ ป็นไปตามจุดประสงค์ เชน่
- เคาะกา้ วนิ้ว สอนเทคนิคในการกา้ วนิ้ว เคาะแป้นอกั ษรใหม่
(วิธีเคาะแป้นอกั ษร เพ่ือให้นกั เรียนไดพ้ ิมพส์ มั ผสั )
- ใหพ้ ิมพต์ ามคาบอก (ปิ ดแบบเรียน) สอนการบงั คบั แป้นอกั ษร
ใหเ้ กิดความชานาญ
- ให้ทบทวนความจา เพ่ือเป็นการทบทวนและพิมพ์ แมใ้ นวนั แรกการฝึกจะ
หมดชวั่ โมงก่อนก็เป็นวิธีท่ีดี

- ใหฝ้ ึกหดั พิมพต์ ามแบบเรียน การฝึกน้ีเป็นเวลาสาหรับครูผสู้ อน เดินไป
รอบ ๆ ห้อง และช่วยแกไ้ ขนกั เรียนที่ไมป่ ฏิบตั ิตามเทคนิค หรือวิธีท่ีดีใน
การฝึกหดั เป็นรายบุคคล

เวลา เนื้อหา และวธิ ีการต่าง ๆ สาหรับครูผู้สอน
1. พบั ผา้ คลมุ ใหเ้ รียบร้อย เก็บไวใ้ นลิ้นชกั โต๊ะ
2. ทา่ นงั่ ประจาเคร่ืองพิมพ์ (ครูผสู้ อนสาธิต)
2.1 ทา่ นง่ั ในลกั ษณะเตรียมพร้อม

2.2 เทา้ ท้งั สองขา้ งวางราบกบั พ้ืน เทา้ ซา้ ยหรือขวาเย้อื งไปขา้ งหนา้ เลก็ นอ้ ย

2.3 สะโพกชิดพนกั หลงั เกา้ อ้ี
2.4 เอนตวั เย้อื งจากสะโพกไปขา้ งหนา้ นอ้ ย ๆ
2.5 ควรให้ส่วนบนของเขา่ อยหู่ ่างจากขอบเคร่ืองพิมพป์ ระมาณ 6–8 นิ้ว
2.6 ขอ้ ศอกแยกจากลาตวั พอประมาณ
2.7 นงั่ ห่างจากเคร่ืองพิมพด์ ีดประมาณ 1 คืบ
2.8 วางน้ิวโคง้ บนแป้นเหยา้ งอปลายน้ิวเลก็ นอ้ ย
2.9 หวั แม่มือซา้ ย – ขวาอยเู่ หนือคานเคาะวรรค
3. หนงั สือ หรือแบบพิมพว์ างไวท้ างดา้ นขวาของเครื่องเฉียง
ประมาณ 45 องศา อยใู่ นระดบั สายตาใหอ้ ่านง่าย
4. แนะนาส่วนตา่ ง ๆ (ครูผสู้ อนแนะนาแตล่ ะส่วนใหด้ ู)
4.1 คานทบั กระดาษ
4.2 ใชก้ ระดาษ 2 แผน่ คือ กระดาษพิมพง์ านและกระดาษ

รองพิมพ์
10. วางกระดาษใหช้ ิดแผงนา (เลข 0)
4.4 มือขวาจบั ลกู บิด ใชน้ ้ิวหวั แม่มือ น้ิวช้ี และน้ิวกลางซา้ ย

น้ิวช้ีอยตู่ รงกบั คานทบั กระดาษ บิดลกู บิดขวาโดยเร็วเพียง

คร้ังเดียว
4.5 ปรับคานทบั กระดาษลง เพ่อื ใหก้ ระดาษกระชบั กบั ลูกยาง เม่อื จะ

ไมเ่ กิดเสียงดงั

4.6 เพื่อชว่ ยใหน้ กั เรียนที่ทาไม่ถกู ครูผสู้ อนปฏิบตั จิ ริงอีกคร้ัง
ใหน้ กั เรียนลองปฏบิ ตั ิใหม่

5. ป่ มุ ก้นั ระยะซ้าย - ขวา ในชวั่ โมงแรกของการเรียนรู้ยงั ไมค่ วร
แนะนาให้นกั เรียนใช้ ควรตรวจเชค็ เคร่ืองพิมพ์ การปรับระยะ
บรรทดั ป่ มุ ปรับผา้ หมึกพิมพใ์ ห้อยใู่ นตาแหน่งท่ีถูกตอ้ ง และ
ปรับแผงนากระดาษอยทู่ ่ีเลข 0 ใหเ้ รียบร้อย

6. การปัดแคร่ (ครูผสู้ อนสาธิต)
6.1 ใชม้ ือซา้ ย น้ิวมือท้งั 4 นิ้วเรียงชิดกนั ฝ่ ามือค่าลง น้ิวหวั
พบั เขา้ ใตฝ้ ่ ามือ ใชด้ า้ นขา้ งนิ้วช้ีซา้ ยแตะที่ดา้ มปัดแคร่
ปัดโดยเร็วให้สุดบรรทดั
6.2 สะบดั ขอ้ มือ อยา่ ปัดแคร่โดยเอามือตามแคร่ไปดว้ ย
6.3 ฝึกปัดแคร่ จนกว่านกั เรียนจะสามารถทาไดจ้ นคล่อง
6.4 ครูผสู้ อนควรเดินดูเพอ่ื แนะนาใหน้ กั เรียนที่ไมส่ ามารถ
ปัดแคร่ได้ จนปฏิบตั ิไดถ้ ูกวิธี

7. แป้นอกั ษร (ครูผสู้ อนสาธิต)
7.1 การเคาะแป้น เคาะดว้ ยน้าหนกั ท่ีสม่าเสมอไมใ่ ช่เคาะดว้ ย
การกด อยา่ ให้น้ิวกดแป้นอกั ษรไปจนสุด จะทาใหช้ า้ เมื่อ
เคาะแลว้ รีบปล่อยนิ้วลง
7.2 ครูผสู้ อนสง่ั ให้นกั เรียนเคาะ ฟ ห ก ด และ า ส ว และ
ขานนาจนนกั เรียนทาถูกวิธี
7.3 “จงฝึกปฏิบตั ิพิมพต์ ามแบบเรียน จนกวา่ นกั เรียนจะ
สามารถพิมพไ์ ดค้ ลอ่ งและไมผ่ ดิ ตามองที่แบบเรียน
พิมพจ์ นหมดบรรทดั ”
8. ดูแลรักษาเครื่องพิมพด์ ีดเม่ือหมดชว่ั โมงเรียน
8.1 “ถอดกระดาษออก” (ดึงกา้ นคลายกระดาษข้ึน)
8.2 เล่ือนแคร่ใหอ้ ยตู่ รงกลางเครื่อง
9. คลุมเคร่ืองพิมพ์ ดว้ ยผา้ คลมุ ให้เรียบร้อย
9.1 ภาพทา่ นงั่ พิมพด์ ีดที่ถูกตอ้ ง ติดบอร์ดในห้องเรียน

9.2 ขอ้ ความ “ระเบียบการใชห้ อ้ งพิมพด์ ีด” ติดบอร์ดใน
หอ้ งเรียน

สื่อการเรียนรู้

1. เคร่ืองพิมพด์ ีดไทยพร้อมโต๊ะสาธิต
2. เครื่องพิมพด์ ีดไทยสาหรบั นกั เรียนพร้อมโตะ๊ เกา้ อ้ี
3. แบบฝึกพิมพด์ ีดไทย
4. กระดาษฝึกพิมพ์ และกระดาษรองพิมพ์
5. แผนภูมิแป้นอกั ษรเคร่ืองพิมพด์ ีดไทย
6. เคร่ืองเสียงพร้อมลาโพง

การวดั และประเมนิ ผล

1. สงั เกตพฤติกรรม และการปฏิบตั ิงานเป็นรายบุคคล
2. การตอบคาถามของนกั เรียน
3. ตรวจงานใหค้ ะแนนงานรายบคุ คล
4. ทดสอบประเมินผลหลงั เรียนดา้ นทฤษฎีและปฏิบตั ิ
หมายเหตุ ครูตอ้ งแจง้ นกั เรียนให้มีความซื่อสตั ยส์ ุจริต โดยไมล่ อกคาตอบจากเพื่อน

หรือเปิ ดดคู าตอบ ก่อนที่จะตอบคาถาม

หลกั การฝึ กพมิ พ์สัมผสั อักษรแป้นเหย้า ฟ ห ก ด า ส ว

1. วางน้ิวลงบนแป้นเหยา้ s]yd
2. เคาะคานเวน้ วรรคดว้ ยหวั แมม่ ือซา้ ยหรือขวา
3. เร่ิมเคาะแป้นเหยา้ หลกั อยา่ งถกู วิธี ปฏิบตั ิให้ถกู ตอ้ ง

แป้น ฟ = น้ิวกอ้ ยมือซา้ ย
แป้น ห = น้ิวนางมือซ้าย
แป้น ก = น้ิวกลางมือซ้าย
แป้น ด = นิ้วช้ีมือซา้ ย
แป้น = น้ิวช้ีมือขวา
แป้น า = นิ้วกลางมือขวา
แป้น ส = น้ิวนางมือขวา
แป้น ว = น้ิวกอ้ ยมือขวา

แผนการเรยี นรู้

รหัสวิชา 20200-1004 หน่วยที่ 3

วชิ า พิมพด์ ีดไทยเบือ้ งตน้ สอนครั้งท่ี 6-8

แผนกวิชา การบญั ช/ี คา้ ปลีก ปวช.1 สาขางาน การบญั ช/ี คา้ ปลกี

ช่ือหนว่ ย แปน้ อกั ษรลา่ ง ตา่ ง ๆ

สาระการเรียนรู้

1. พิมพท์ บทวน
2. หลกั การกา้ วนิ้วจากแป้นเหยา้ หลกั ไปเคาะแป้นอกั ษรลา่ งต่าง ๆ
3. ฝึกพิมพอ์ กั ษรใหม่และกลุ่มคา
4. ฝึกพิมพป์ ระสมคาอกั ษรเป็นประโยค

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. พิมพท์ บทวนแป้นอกั ษรท่ีไดเ้ รียนมาแลว้
2. กา้ วนิ้วจากแป้นเหยา้ หลกั ไปเคาะแป้นอกั ษรล่าง ต่าง ๆ ถูกตอ้ ง
3. พิมพแ์ ป้นอกั ษรลา่ ง ตา่ ง ๆ รวดเร็วและแมน่ ยา
4. ฝึกประสมคาอกั ษร และเวน้ วรรคไดถ้ กู ตอ้ ง

กจิ กรรมการเรียนการสอน

1. ครูอธิบายพร้อมสาธิตการกา้ วนิ้วเคาะแป้นอกั ษร
2. ให้นกั เรียนซกั ถาม
3. ฝึกปัดแคร่ข้ึนบรรทดั ใหมไ่ ปพร้อม ๆ กนั มองดูแผนภมู ิ ใชน้ ้ิวสมั ผสั

แป้นอกั ษรที่ไดเ้ รียนมาแลว้ และพิมพต์ ามจงั หวะขานนาของครูผสู้ อน
โดยไม่มองแป้น

ส่ือการเรียนรู้

1. เครื่องพิมพด์ ีดไทยพร้อมโตะ๊ สาธิต
2. เครื่องพิมพด์ ีดไทยสาหรับนกั เรียนพร้อมโต๊ะเกา้ อ้ี
3. แบบฝึกพิมพด์ ีดไทย
4. กระดาษฝึกพิมพ์ และกระดาษรองพิมพ์
5. แผนภูมิแป้นอกั ษรเคร่ืองพิมพด์ ีดไทย
6. เครื่องเสียงพร้อมลาโพง

การวดั และประเมนิ ผล

1. การตอบคาถามของนกั เรียน
2. นกั เรียนปฏิบตั ิตามแบบฝึก
3. สงั เกต ความสนใจ การปฏิบตั ิงานรายบุคคล
4. ตรวจผลงานให้คะแนนรายบุคคล
5. ทดสอบประเมินผลหลงั เรียน

แผนการเรียนรู้

รหัสวชิ า 20200-1004 หน่วยที่ 4

วชิ า พมิ พด์ ีดไทยเบ้ืองตน้ สอนครง้ั ที่ 9

แผนกวิชา การบัญชี/คา้ ปลีก ปวช.1 สาขางาน การบญั ช/ี คา้ ปลกี

ชือ่ หนว่ ย การทบทวนแป้นอกั ษร การคานวณคาสุทธิ

สาระการเรียนรู้

1. พิมพท์ บทวน
2. พิมพค์ าจากขอ้ ความไดถ้ กู ตอ้ ง
3. การประเมินผลพิมพด์ ีด
4. การคานวณคาสุทธิ
5. การบารุงรกั ษาเครื่องพิมพด์ ีด

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. พิมพท์ บทวนแป้นอกั ษรทไ่ี ดเ้ รียนมาแลว้
2. นบั คาจากขอ้ ความที่พิมพไ์ ด้
3. นบั คาผดิ จากขอ้ ความท่ีพิมพไ์ ด้
4. สามารถคานวณคาสุทธิได้
5. บารุงรักษาเคร่ืองพิมพด์ ีดไดถ้ ูกวิธี

กจิ กรรมการเรียนการสอน

1. ครูอธิบายพร้อมสาธิตการกา้ วน้ิวไปเคาะแป้นอกั ษร
2. นกั เรียนซกั ถาม
3. นกั เรียนฝึกปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง
4. นกั เรียนเสนอความสาเร็จ ปัญหา และอปุ สรรคในการพิมพ์
5. สรุปผลระหว่างครูผสู้ อนกบั นกั เรียน เพื่อหาแนวทางแกป้ ัญหาให้ดีข้ึน

6. ส่งงาน และตรวจงานพิมพ์
7. บนั ทึกจานวนคาสุทธิท่ีพิมพไ์ ดใ้ นแผนภมู ิความกา้ วหนา้
8. เกบ็ งานพิมพเ์ ขา้ แฟ้มสะสมงาน

สื่อการเรียนรู้

1. เครื่องพิมพด์ ีดไทยพร้อมโต๊ะสาธิต
2. เครื่องพิมพด์ ีดไทยสาหรบั นกั เรียนพร้อมโต๊ะเกา้ อ้ี
3. แบบฝึกพิมพด์ ีดไทย
4. กระดาษฝึกพิมพ์ และกระดาษรองพิมพ์
5. แผนภูมิแป้นอกั ษรเครื่องพิมพด์ ีดไทย
6. เคร่ืองเสียงพร้อมลาโพง
7. นาฬิกาจบั เวลา

การวดั และประเมนิ ผล

1. การตอบคาถามของนกั เรียน
2. นกั เรียนปฏิบตั ิตามแบบฝึกพิมพ์
3. สงั เกต ความสนใจ การปฏิบตั ิงานรายบคุ คล
4. ผลสรุปจากแผนภมู ิการพิมพก์ า้ วหน้า
5. ทดสอบประเมินผลหลงั เรียน ดา้ นทฤษฎีทา้ ยหน่วยการเรียนรู้
6. เกณฑผ์ า่ น 80%

1. ฝึกพมิ พท์ บทวน

จงฝึกพิมพท์ บทวนสร้างทกั ษะการเคาะท่ีถกู ตอ้ ง ตามท่ีกาหนดในแบบฝึก 5 จบ

พระสนทนาเพ่ือสวดทาวดั
ทหารส่ือสารกนั เพ่อื ทาการกีดกนั ที่อืดอาด
ทิดกดกะทิดออดฟันกิ่งสนดาดีท่ีนาทา่ น้า

2. พมิ พ์จบั เวลา
พิมพจ์ บั เวลา 2 นาที

ฝึกปฏิบตั ิพิมพข์ อ้ ความจบั เวลาเพ่ือพฒั นาทกั ษะการพิมพท์ ่ีเร็วและแม่นยา
โดยจบั เวลาที่กาหนดให้ 2 นาที 5 คร้ัง

วนั พระที่วดั พนาไพรมีพรพระมาก
ไร่พนาพานมีสีสนั สดดีน่านอนพกั ท่ีวิวดี
นรระดีหนา้ ระรื่นว่ากนั วา่ วีวา่ หวน่ั ไหวท่ีไหนดี
อิสราทา่ ทีอืดอาดน่าฟาดหวั มว่ั วาดวาวที่ฟากหาดน่าดา่ นกั
นารีพาระพีพรทากะทิสีก่าสดน่ากินที่ร้านพรหนา้ หาด

3. การประเมนิ ผลพมิ พ์ดดี

การประเมินผลความเร็วในการพิมพด์ ีดคือ การใชเ้ ทคนิคการพิมพจ์ บั เวลา
วดั ความสามารถในการพิมพด์ ีดของนกั เรียนในแบบของอตั ราความเร็ว มีหน่วยวดั เป็น
“คา/นาที”

โดยปกติการพิมพจ์ บั เวลาเพื่อจุดประสงคด์ งั กลา่ ว ครูผสู้ อนจะใชเ้ วลาส้นั ๆ ก่อน
ประมาณ 1 หรือ 3 นาที แลว้ จึงเพ่ิมเวลาเป็น 5 นาที ตามลาดบั

ระยะแรกท่ีเริ่มฝึกพิมพ์ การคิดคาสุทธิอาจคิดแบบคารวมต่อนาที (Gross words
Minute) ใชอ้ กั ษรยอ่ วา่ GWAM และออกเสียงง่าย ๆ ว่า “จีแวม” โดยเอาจานวนดีด
ท่ีพิมพไ์ ดท้ ้งั หมดหารดว้ ย 4 (ไม่ลบคาผิด) จะไดผ้ ลลพั ธเ์ ป็นคารวม/นาที
(สุพฒั น์เสฏฐ พสุธาธรรม และ กนั ยารัตน์ วีระทรัพย์ : 183)

ตวั อย่าง พยายามอีกนิด
990 นะครบั
จานวนดีดที่พิมพ์ 990  4 = 247.5 คา
หารดว้ ย 4 ไมล่ บออก
ผดิ 3 แห่ง 247.5  5 = 49.5 คา/นาที
หารเวลา 5 นาที

4. การคานวณคาสุทธิ

4.1 การนับคาจากข้อความทพ่ี มิ พ์ดดี

การนบั คาจากขอ้ ความที่พิมพ์ สาหรับพิมพ์ดีดภาษาไทย นบั 4 ดีด เท่ากบั 1 คา
ในการนบั ขอ้ ความพิมพด์ ีด ให้นบั จานวนดีดก่อนเมื่อไดจ้ านวนดีด
(ทกุ คร้ังที่ดีดหรือเคาะเวน้ วรรค) ใหเ้ อา 4 ไปหาร ไดเ้ ท่าไหร่ นน่ั คือจานวนคา (Stroke) ท่ี
พิมพไ์ ด้ ตวั อยา่ งเชน่

พรมเดินทางดว้ ยรถ ไปพกั กบั เพ่ือนนอกบา้ น ใชเ้ วลาพิมพ์ 1 นาที นบั ได้ 38 ดีด

เอา 4 หาร จะไดจ้ านวนคา 348 = 9 คา/นาที

4.2 การนับคาผดิ จากข้อความท่ีพมิ พ์ผดิ หลกั ในการนับคาผดิ ให้ปฏบิ ัตดิ ังนี้
1. ดีดใดก็ตามที่ดีดผดิ ถือว่าผิด
2. พิมพซ์ ้าถือวา่ ผดิ
3. เคาะผิดถือวา่ ผดิ
4. พิมพเ์ บาเกินไปจนมองไม่เห็นถือว่าผิด
5. พิมพเ์ กินจากขอ้ ความถือวา่ ผิด
6. พิมพส์ ลบั ท่ีถอื ว่าผิด
7. พิมพร์ ะยะบรรทดั ผิดถอื วา่ ผิด
8. พิมพต์ วั ลอยสูงเกินบรรทดั หรือแนวกวา่ คร่ึงถือวา่ ผิด
9. คาใดที่ผิดเกิน 1 ดีด ในคาเดียวกนั ถือวา่ ผิด 1 แห่ง

4.3. การคดิ คาสุทธิ

วิธีการคิดคาสุทธิ
1. นบั จานวนดีดท่ีพิมพไ์ ดท้ ้งั หมด
2. เอาจานวนดีดที่ไดห้ ารดว้ ย 4 จะไดจ้ านวนคาท่ีพิมพไ์ ด้
3. นบั จานวนคาผดิ คูณดว้ ย 10
4. เอาจานวนคาที่ไดจ้ ากขอ้ สอง ลบดว้ ยจานวนคาท่ีผิดคูณดว้ ย 10 แลว้ ( ซ่ึงไดจ้ ากขอ้ 3)
5. เอาจานวนคาที่ไดจ้ ากขอ้ 4 หารดว้ ยเวลาท่ีพิมพเ์ ป็นนาที ตวั อยา่ งเช่น พิมพไ์ ด้
440 ดีด ในเวลา 3 นาที ผดิ 2 คา

วธิ ีคดิ

ข้นั ท่ี 1 440  4 = 110 คา
ข้นั ท่ี 2 2 x 10 = 20 คา
ข้นั ที่ 3 110 - 20 = 90 คา
ข้นั ที่ 4 90 ÷ 3 = 30 คา
จะไดค้ าสุทธิ 30 คาต่อ 1 นาที

ตวั อย่างการนับจานวนดีด นับคาผดิ และการคานวณคาสุทธิ

ตวั อย่าง การนบั จานวนดีด และคาผดิ

ป่ันสาวสาวราไพ าวนั สั หดั ด ไมหากาไร 33

พดะสีไพ พา สวากกวลวดั ด่านขุนท ด 28

พรมกินไก่ดานี ไฟกวดกันไวกะไกดา 29
80
จานวนคาผิด 14 รวมจานวนดีดท้งั หมด

การคานวณคาผดิ

1. จานวนดีดที่พิมพไ์ ดท้ ้งั หมด 00
2. เอาจานวนดีดท่ีไดห้ ารดว้ ย 4 จะไดจ้ านวนคาที่พิมพไ์ ด้ (040 = 00)
3. นบั คาที่ผดิ คณู ดว้ ย 10 (00 x 10 = 000)

4. เอาจานวนท่ีไดจ้ าก ขอ้ 2 - ขอ้ 3 (00 – 000 = -000) (- 000 - 00)
5. เอาจานวนคาที่ไดจ้ ากขอ้ 4 หารดว้ ยเวลาท่ีใชพ้ มิ พเ์ ป็นนาที 5

ดงั น้นั จะไดค้ าสุทธิ - 00 คาตอ่ นาที

4.4 การตอบคาสุทธิ มี 2 วธิ ี

1) การตอบเป็นจุดทศนิยม 2 ตาแหน่ง
2) ตอบเป็นคาเตม็ (ปัดเศษต้งั แต่ 5 ข้ึนไปเป็น 1)
การตอบคาสุทธิเป็นจุดทศนิยม 2 ตาแหน่ง นิยมใชก้ นั มากในการสอบ
เพื่อบรรจเุ ขา้ ทางาน เพราะมีความยตุ ิธรรมสาหรับผูเ้ ขา้ สอบ ส่วนการตอบคาสุทธิโดยการปัด
เศษข้ึน 1 นิยมใชก้ นั มากเพราะเหมาะสาหรับการเรียนการสอน ครูผสู้ อนควรจะให้นกั เรียน
ตอบคาสุทธิท้งั 2 วิธี และควรวดั ผลท้งั 2 แบบ
(สุพฒั นเ์ สฏฐ พสุธาธรรม และ กนั ยารัตน์ วีระทรัพย์ : 184)

ตวั อยา่ ง
ในการพิมพจ์ บั เวลา 5 นาที คร้ังหน่ึงนายพรม พิมพไ์ ด้ 950 ดีด พิมพผ์ ดิ 3

แห่ง นายพรม จะพิมพไ์ ดน้ าทีละเทา่ ใด

คาตอบ 1 จานวนดีดท่ีพิมพ์ 950
หารดว้ ย 4 950 ÷ 4 = 237.5 คา
ลบ คาผดิ 3 แห่ง 237.5 – (3 x 10) = 207.5 คา
หาร เวลา 5 นาที 207.5 ÷ 5 = 41.50 คา/นาที

คาตอบ 2 จานวนดีดท่ีพิมพ์ 950
หารดว้ ย 4 950 ÷ 4 = 237.5 คา(ปัดเศษข้ึน)

ลบ คาผดิ 3 แห่ง = 238
หาร เวลา 5 นาที 238 – (3 x 10) = 208 คา
208 ÷ 5 = (41.6) 42 คา/นาที

4.5 ฝึ กคานวณคาสุทธิ

นาผลงานพิมพข์ อ้ ความจบั เวลาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการพิมพเ์ ร็ว และแม่นยา

โดยพิมพจ์ บั เวลาขอ้ ความที่กาหนดให้ 2 นาที 5 คร้ัง

จานวนดีด

1. ทา่ ทีราไพกะพรระพที ี่ทาไฟที่วดั นอก 33

2. พี่ราไพรนอนกรนมากพอที่ร่ืนระพีอืดอดั พานหนา้ ดา 45

3. นินระดีหนีนรระกาที่ท่าน้านนทท์ ่ีมีมารมาก้นั หน้าหาดสีดี 50

4. พากนั วา่ อรระดีหนีกรรมเก่าที่หวน่ั ไหวหาพรเพ่ือสะเดาะกรรม 55

5. วาววดีทา่ ทอี ืดอาดน่าที่ทาเทกะททิ ่ีท่าเรือเพ 43

จงนาผลงานพิมพท์ ่ีไดม้ าคานวณคาสุทธิเพ่ือหาความกา้ วหนา้ ในการพิมพ์
แลว้ บนั ทึกคะแนนจากงานพิมพท์ ้งั 5 คร้ัง ลงแผนภูมิการวดั ความกา้ วหนา้

คานวณคาสุทธิจากผลงานพมิ พ์ คร้ังที่ 1 …………………
……… ÷ 4 = ………. คา
1. จานวนดีดที่พิมพท์ ้งั หมด = (….. x 10) = ………. คา
2. หารดว้ ย 4 ……….. = ………… คา/นาที
3. ลบคาผดิ
4. หารเวลา

คานวณคาสุทธิจากผลงานพมิ พ์ คร้ังท่ี 2 …………………
……… ÷ 4 = ………. คา
1. จานวนดีดที่พิมพท์ ้งั หมด = (….. x 10) = ………. คา
2. หารดว้ ย 4 ……….. = ………… คา/นาที
3. ลบคาผิด
4. หารเวลา

คานวณคาสุทธิจากผลงานพมิ พ์ คร้ังท่ี 3 …………………
……… ÷ 4 = ………. คา
1. จานวนดีดท่ีพิมพท์ ้งั หมด = (….. x 10) = ………. คา
2. หารดว้ ย 4 ……….. = ………… คา/นาที
3. ลบคาผดิ
4. หารเวลา

คานวณคาสุทธิจากผลงานพมิ พ์ คร้ังที่ 4 …………………
……… ÷ 4 = ………. คา
1. จานวนดีดที่พิมพท์ ้งั หมด = (….. x 10) = ………. คา
2. หารดว้ ย 4 ……….. = ………… คา/นาที
3. ลบคาผิด
4. หารเวลา

คานวณคาสุทธิจากผลงานพมิ พ์ คร้ังที่ 5 …………………
……… ÷ 4 = ………. คา
1. จานวนดีดท่ีพิมพท์ ้งั หมด = (….. x 10) = ………. คา
2. หารดว้ ย 4 ……….. = ………… คา/นาที
3. ลบคาผิด
4. หารเวลา

แผนการเรียนรู้

รหัสวชิ า 20200-1004 หน่วยที่ -

วชิ า พมิ พด์ ีดไทยเบอ้ื งตน้ สอนครั้งที่ 10

แผนกวิชา การบัญชี/คา้ ปลีก ปวช.1 สาขางาน การบญั ชี/คา้ ปลีก

ช่ือหนว่ ย ทดสอบกลางภาคเรยี น 1/2563

ทดสอบกลางภาคเรียน 1/2563

แผนการเรียนรู้

รหสั วชิ า 20200-1004 หนว่ ยที่ 5

วชิ า พิมพด์ ดี ไทยเบ้ืองตน้ สอนครั้งที่ 11-14

แผนกวชิ า การบัญช/ี คา้ ปลกี ปวช.1 สาขางาน การบญั ช/ี ค้าปลกี

ชือ่ หน่วย การเรียนรู้อกั ษรบนตัวตา่ ง ๆ

สาระการเรียนรู้

1. พิมพท์ บทวน
2. หลกั การกา้ วนิ้วจากแป้นเหยา้ หลกั ไปเคาะแป้นอกั ษรบนตวั ตา่ ง ๆ
3. ฝึกพิมพแ์ ป้นอกั ษรใหม่และกลุ่มคา
4. ฝึกพิมพป์ ระสมคาอกั ษรเป็นประโยค
5. ฝึกพิมพข์ อ้ ความจบั เวลา

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. พิมพท์ บทวนแป้นอกั ษรท่ไี ดเ้ รียนมา
2. กา้ วน้ิวจากแป้นเหยา้ หลกั ไปเคาะแป้นอกั ษรบนตวั ตา่ ง ๆ ถกู ตอ้ ง
3. พิมพแ์ ป้นอกั ษร บนตวั ต่าง ๆ รวดเร็วและแม่นยา
4. พิมพป์ ระสมคา พิมพข์ อ้ ความเป็นประโยค เวน้ วรรคไดถ้ ูกตอ้ ง รวดเร็ว
และแม่นยา

กจิ กรรมการเรียนการสอน

1. ครูอธิบายพร้อมสาธิตการกา้ วนิ้วไปเคาะแป้นอกั ษร
2. นกั เรียนซกั ถาม
3. ฝึกปัดแคร่ข้ึนบรรทดั ใหมไ่ ปพร้อม ๆ กนั
4. มองดูแผนภมู ิแลว้ สมั ผสั แป้นอกั ษรท่ีไดเ้ รียนมาแลว้ และพิมพ์ตามจงั หวะขานนา

ของครูผสู้ อน โดยไม่มองแป้นพิมพ์

สื่อการเรียนรู้

1. เครื่องพิมพด์ ีดไทยพร้อมโตะ๊ สาธิต
2. เครื่องพิมพด์ ีดไทยของนกั เรียนพร้อมโต๊ะเกา้ อ้ี
3. แบบฝึกพิมพด์ ีดไทย
4. กระดาษฝึกพิมพ์ และกระดาษรองพิมพ์
5. แผนภูมิแป้นอกั ษรเครื่องพิมพด์ ีดไทย
6. เครื่องเสียงพร้อมลาโพง
7. นาฬิกาจบั เวลา
8. แผนภูมิการพิมพก์ า้ วหนา้
9. แฟ้มสะสมงาน

การวดั และประเมนิ ผล
1. การตอบคาถามของนกั เรียน
2. นกั เรียนปฏิบตั ิตามแบบฝึก
3. สงั เกต ความสนใจ การปฏิบตั ิงานรายบุคคล
4. ทดสอบประเมินผลหลงั เรียน ภาคปฏิบตั ิ
5. ทาแบบทดสอบประเมินผลดา้ นทฤษฎีทา้ ยหน่วยการเรียนรู้
6. เกณฑผ์ า่ น 80%

แผนการเรยี นรู้

รหสั วชิ า 20200-1004 หนว่ ยท่ี 6

วชิ า พมิ พ์ดีดไทยเบ้อื งตน้ สอนครง้ั ที่ 15

แผนกวิชา การบัญชี/ค้าปลกี ปวช.1 สาขางาน การบัญชี/ค้าปลีก

ช่อื หนว่ ย การเรียนรู้อกั ษรตัวเลขและสญั ลักษณ์

สาระการเรียนรู้

1. พิมพท์ บทวน
2. หลกั การกา้ วนิ้วจากแป้นเหยา้ หลกั ไปเคาะแป้นเครื่องหมายและตวั เลข

% _ /-5 6 4 3
3. ฝึกพิมพแ์ ป้นอกั ษรใหม่และกลุ่มคา
4. ฝึกพิมพป์ ระสมคาอกั ษรเป็นประโยค

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. พิมพท์ บทวนแป้นอกั ษรทีไ่ ดเ้ รียน
2. กา้ วน้ิวจากแป้นเหยา้ หลกั ไปเคาะอกั ษร % _ / - 5 6 4 3 ถูกตอ้ ง
3. พิมพแ์ ป้นเคร่ืองหมายและตวั เลข % _ / - 5 6 4 3 รวดเร็วและแม่นยา
4. พิมพป์ ระสมคา พิมพข์ อ้ ความเป็นประโยค เวน้ วรรคไดถ้ กู ตอ้ ง

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. ครูอธิบายพร้อมสาธิตการกา้ วน้ิวไปเคาะแป้นอกั ษร
2. นกั เรียนซกั ถาม
3. ฝึกปัดแคร่ข้ึนบรรทดั ใหมไ่ ปพร้อม ๆ กนั
4. ให้มองดูแผนภมู ิแลว้ วางนิ้วสมั ผสั แป้นอกั ษรที่ไดเ้ รียนมาแลว้ และพิมพต์ าม

จงั หวะขานนาของครูผสู้ อน โดยไม่มองแป้นพิมพ์

สื่อการเรียนรู้

1. เครื่องพิมพด์ ีดไทยพร้อมโตะ๊ สาธิต
2. เคร่ืองพิมพด์ ีดไทยของนกั เรียนพร้อมโตะ๊ เกา้ อ้ี
3. แบบฝึกพิมพด์ ีดไทย
4. กระดาษฝึกพิมพ์ และกระดาษรองพิมพ์
5. แผนภูมิแป้นอกั ษรเครื่องพิมพด์ ีดไทย
6. นาฬิกาจบั เวลา
7. แผนภูมิการพิมพก์ า้ วหนา้

การวดั และประเมินผล

1. การตอบคาถามของนกั เรียน
2. นกั เรียนปฏิบตั ิตามแบบฝึก
3. สงั เกต ความสนใจ การปฏิบตั ิงานรายบุคคล
4. แบบทดสอบประเมินผล ภาคปฏิบตั ิ
5. คะแนนจากแบบทดสอบประเมินผลดา้ นทฤษฎีหน่วยการเรียนรู้

แผนการเรยี นรู้

รหสั วิชา 20200-1004 หน่วยท่ี 7

วชิ า พมิ พ์ดดี ไทยเบ้อื งตน้ สอนคร้ังที่ 16

แผนกวิชา การบญั ช/ี คา้ ปลีก ปวช.1 สาขางาน การบัญชี/คา้ ปลีก

ช่ือหนว่ ย การพมิ พส์ มั ผสั เพ่อื เพิม่ ทกั ษะและความเร็ว

สาระการเรียนรู้

1. พิมพท์ บทวน
2. หลกั การพิมพเ์ พอ่ื พฒั นาทกั ษะความเร็วและความแม่นยา
3. เทคนิคการพิมพเ์ ร็วและแมน่ ยา
4. ฝึกพิมพข์ อ้ ความจบั

- พิมพจ์ บั เวลา 1 นาที
- พิมพจ์ บั เวลา 3 นาที
- พิมพจ์ บั เวลา 5 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. พิมพท์ บทวนแป้นอกั ษรท่ีไดเ้ รียนมาแลว้
2. เร่งความเร็วในการพิมพส์ มั ผสั จบั เวลาไดค้ าสุทธิมากข้ึน
3. สามารถใชเ้ ทคนิคการพิมพเ์ ร่งความเร็วไดค้ าสุทธิ 25-30 คา/นาที

กจิ กรรมการเรียนการสอน

1. นกั เรียน ฝึกพิมพจ์ บั เวลา และคิดคาสุทธิ เฉลี่ยในกลมุ่
2. การพิมพจ์ บั เวลา 3 และ 5 นาที (รายบุคคล)
3. ครูและนกั เรียนร่วมกนั หาแนวทางการพฒั นาทกั ษะ ปัญหา และอุปสรรคในการ

พิมพ์
4. สรุปผลระหว่างครูผสู้ อนกบั นกั เรียน เพื่อหาแนวทางในการแกป้ ัญหา ให้ดีข้ึน
5. ส่งผลงานพิมพ์ และตรวจผลงานพิมพ์

6. บนั ทึกจานวนคาสุทธิท่ีพิมพไ์ ดใ้ นแผนภมู ิการพิมพก์ า้ วหนา้
7. เก็บผลงานพิมพเ์ ขา้ แฟ้มสะสมผลงาน

สื่อการเรียนรู้

1. เคร่ืองพิมพด์ ีดไทยพร้อมโต๊ะสาธิต
2. เคร่ืองพิมพด์ ีดไทยของนกั เรียนพร้อมโต๊ะเกา้ อ้ี
3. แบบฝึกพิมพด์ ีดไทย
4. กระดาษฝึกพิมพ์ และกระดาษรองพิมพ์
5. แผนภูมิแป้นอกั ษรเคร่ืองพิมพด์ ีดไทย
6. เคร่ืองเสียงพร้อมลาโพง
7. นาฬิกาจบั เวลา
8. แผนภูมิการพิมพก์ า้ วหนา้
9. แฟ้มสะสมงาน

การวดั และประเมนิ ผล

1. คะแนนการปฏิบตั ิงานของนกั เรียนรายบคุ คล
2. คะแนนจากผลสรุปแผนภูมิการพิมพก์ า้ วหนา้
3. คะแนนจากการทดสอบแบบประเมินผล ภาคปฏิบตั ิ
4. คะแนนจากการทดสอบแบบประเมินผล ดา้ นทฤษฎีทา้ ยหน่วยการเรียนรู้
5. เกณฑผ์ า่ น 80%

1. ฝึ กพมิ พ์ทบทวน

จงฝึกพิมพท์ บทวนสร้างทกั ษะการพิมพท์ ี่ถกู ตอ้ ง ตามท่ีกาหนดในแบบฝึก
2 จบ หรือตามที่ครูผสู้ อนกาหนด

จานวนดีด

ไมม่ ีวิธีป้องกนั มะเร็งได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ทกุ ๆ คนมี 52

ความเสี่ยงตอ่ มะเร็งกนั ท้งั น้นั เพราะสารก่อมะเร็งมอี ยทู่ วั่ ไปใน 112

อากาศ อาหาร น้า แมก้ ระทง่ั ผกั สด เกือบทกุ คน เมื่อตรวจตบั 168

จะพบไขมนั พอกตบั ซ่ึงส่งผลใหต้ ิดไวรัสตบั อกั เสบง่าย จนถึง 212

มะเร็งตบั 221

เราทุกคนรับประทานน้ามนั ทอดซ้าในอาหารกนั ท้งั น้นั 45

ซ่ึงมีสารอนุมูลอิสระท่ีกอ่ มะเร็ง ลาไส้ใหญ่อกั เสบ ภูมิแพ้ ทุก ๆ 107

คนเครียด มาก นอ้ ย แตกต่างกนั ซ่ึงส่งผลใหเ้ กิดมะเร็ง โรคภูมิแพ้ 169

ตวั เอง ความดนั สูง เส้นเลือดแตกในสมอง หวั ใจวาย เบาหวาน 222

สตรีวยั ทอง มีความเสี่ยงต่อโรคหวั ใจและโรคกระดกู พรุนสูง เกลือ 281

ความเคม็ ผงชูรสน้าอดั ลม ทาให้ไตเสีย 316

2. การพมิ พ์เพื่อพฒั นาทกั ษะความเร็วและความแม่นยา

การที่จะสร้างทกั ษะความเร็วและความแม่นยาใหไ้ ดผ้ ลดี และมีประสิทธิภาพ
ไดน้ ้นั นกั เรียนตอ้ งตระหนกั ในหลกั การตอ่ ไปน้ี

1. ขยนั หมนั่ ฝึกซ้อมการพิมพใ์ ห้มากที่สุดท้งั ในและนอกเวลา
2. การพิมพอ์ ยา่ งมีเป้าหมาย หรือจุดหมายจะเกิดแรงจงู ใจผลกั ดนั สู่
เป้าหมายไดเ้ ร็วข้ึน ซ่ึงจะไดผ้ ลดีกวา่ การพิมพต์ ามสบายหรือพิมพอ์ ยา่ งไร้จุดหมาย
3. การสร้างทกั ษะเพื่อพฒั นาความเร็วข้นั ตน้ ของการฝึกพิมพด์ ีดน้นั
ควรใชว้ ิธีฝึกทกั ษะในชว่ งระยะเวลาส้นั ๆ เชน่ เวลา 1 นาที 3 นาที เพราะทกั ษะจะ
เกิดในชว่ งส้นั ๆ คือ ประมาณ 1 และ 3 นาที เท่าน้นั ส่วนการจบั เวลามากกว่าน้นั
เชน่ 5 นาที เหมาะสาหรับใชใ้ นการทดสอบ ประเมินผล ท่ีมิใช่การฝึกเพ่ือสร้างทกั ษะ
4. การสร้างทกั ษะความเร็วและแม่นยา ควรฝึกไปพร้อม ๆ กนั บนพ้ืนฐานของ
ความถกู ตอ้ งดา้ นเทคนิค มิใช่เพื่อวตั ถปุ ระสงคเ์ พียงอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงแต่
เพียงอยา่ งเดยี ว
5. ฝึกพิมพจ์ บั เวลาตามข้นั ตอน การจบั เวลา 1 นาที บอ่ ย ๆ

แผนการเรยี นรู้

รหสั วชิ า 20200-1004 หน่วยท่ี -

วชิ า พมิ พ์ดีดไทยเบ้ืองตน้ สอนคร้ังที่ 17

แผนกวิชา การบัญชี/ค้าปลีก ปวช.1 สาขางาน การบัญชี/คา้ ปลกี

ช่ือหนว่ ย ทดสอบปลายภาคเรียนท่ี 1/2563

ทดสอบปลายภาคเรยี นที่ 1/2563


Click to View FlipBook Version