The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือชุมชน แก้ไข 5 ธันวาคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaykay021997, 2021-12-05 22:59:42

หนังสือชุมชน แก้ไข 5 ธันวาคม

หนังสือชุมชน แก้ไข 5 ธันวาคม

เกาะเต่า " ด
ินแดนเกาะแห่งรักษ์ "

เเผนที่ตำบลเกาะเต่า

เกาะเต่า.......

เกาะเต่า เป็นเกาะในอ่าวไทย อยู่ในตำบลเกาะเต่า อำเภอเกาะพงัน
จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกาะมีรูปร่างโค้งเว้าเหมือนกับเมล็ดถั่ว เกาะตั้งอยู่ทางทิศ
ตะวันตกเฉียงเหนื อของเกาะพงัน ห่างประมาณ 45 กิโลเมตร มีเนื้ อที่ประมาณ 21
ตารางกิโลเมตร และมีผู้ที่อาศัยอยู่บนเกาะเต่าประมาณ 12,000 คน โดยมี
แรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทำงานที่เกาะเต่ากว่า 5,000 คนที่ขึ้นทะเบียนกับ
กระทรวงแรงงาน ซึ่งถือว่าเป็นเกือบสองเท่าของคนไทยในทะเบียนราษฎร กว่า
2,189 คน ที่เหลือเป็นประชากรแฝง

นอกจากนี้ บริเวณใกล้เคียงมีเกาะนางยวนซึ่งเป็นเกาะเล็ก ๆ ทางทิศ
ตะวันตะวันเฉียงเหนื อ มีสันทรายเชื่อมต่อกับเกาะเต่าในลักษณะเหมือนทะเล
แหวก และเป็นแหล่งดำน้ำชมปะการังน้ำตื้นยอดนิ ยม

ลักษณะภูมิประเทศ

พื้นที่เทศบาลตำบลเกาะเต่ามีเนื้ อที่ประมาณ
11,704 ไร่ หรือ 18.73 ตร.กม. รวมเกาะนางยวน เป็น
21.03 ตร.ม. 1.2 ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะ
ภูมิประเทศของเกาะเต่านั้ น พบว่าร้อยละ 70 ของพื้นที่
บน เกาะเต่าเป็นภูเขาซึ่งมีจุดสูงสุด 374 เมตร จาก
ระดับน้ำทะเลปานกลางโดยแนวของภูเขาวางตัวใน
แนวทิศ เหนื อ – ใต้ของตัวเกาะ นอกจากนี้ ทางด้าน
ทิศตะวันออกของเกาะมีลักษณะเป็นหน้ าผาชัน ส่วน
ทางด้านทิศ ตะวันตกเป็นพื้นที่ลาดชันน้ อย และเป็น
พื้นที่ราบซึ่งเป็นที่ตั้งของหมู่บ้านละชุมชน

ลักษณะภูมิอากาศ

เกาะเต่ามีสภาพอากาศแบบร้อนชื่นและ
มีแสงแดดตลอดทั้งปีเนื่ องจากอยู่ใกล้
เส้ นศูนย์สูตร




ช่วงเวลาในการเดินทางมาเกาะเต่า

อยู่ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน
ซึ่งตรงกับฤดูร้อนในไทยแต่อากาศจะดีในช่วง
เดือนกรกฎาคมถึงกันยายน

ตุลาคมถึงธันวาคมด้วยฤดูฝนและหน้ า
มรสุมบนเกาะเต่า สามารถเจอฝนตกได้ตลอด
โดยจะมีในช่วงสั้ นๆในเวลากลางคืน

ทรัพยากรธรรมชาติ

เกาะเต่า เป็นเกาะกลางทะเลที่สำคัญ ของอ่าวไทย ตั้งอยู่ในเขต
จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีลักษณะเป็นเกาะหินแกรนิ ต และดินที่เกิด จากหิน
แกรนิ ตผุพัง สภาพแวดล้อมบนเกาะ ประกอบด้วยพรรณพืชเฉพาะถิ่นที่มี
การแยก ตัวจากแผ่นดินใหญ่เป็นระยะเวลานาน พืชประกอบด้วยพรรณไม้
ที่มีความสามารถใน การเจริญเติบโตในพื้นที่ลาดชัน โดยจะยึดเกาะ บนพื้น
ดินที่มีสภาพเป็นก้อนหินขนาดใหญ่ผสม กับดินที่เกิดจากหินแกรนิ ตผุพัง
และมีความ สามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสภาพลมแรง และไอน้ำเค็มได้
เป็นอย่างดี พรรณไม้เหล่านี้ ยัง มีความสำคัญต่อการยึดโยงหน้ าดินบนเกาะ
ไม่ ให้เกิดการชะล้างไหลลงสู่แนวปะการังอีกด้วย เกาะเต่า เป็นพื้นที่ที่มี
สภาพทาง นิ เวศวิทยาที่หลากหลาย เนื่ องจากเป็นเกาะ ที่มีภูมิประเทศเป็น
เขาสูงชัน เป็นแนวปะทะ ลมฝน และเก็บกักน้ำฝน ที่ไหลรวมจากต้นน้ำ ลำ
คลองเล็กๆ มากมาย ค่อยๆ ไหลลงสู่ทะเล

การคมนาคม

เกาะเต่าสามารถเดินทางไปด้วยเรือเท่านั้ นเรือโดยสารมีให้บริการออก
จากฝั่ งของจังหวัดชุมพรและสุราษฎร์ธานี รวมทั้งจากเกาะใกล้เคียงอย่าง
เกาะสมุยและเกาะพะงัน ที่เกาะเต่าไม่มีสนามบิน สถารถโดยสาร

มีทางเลือกในการเดินทาง อาทิเช่น

1. นั่ งเครื่องบินไปเกาะสมุย ชุมพร หรือสุราษฎร์ธานี และนั้ งรถโดยสารต่อ
เพื่อไปยังท่าเรือ
2. ซื้อตั๋วเชื่อมต่อรถโดยสารและเรือ กรุงเทพ-ชุมพร-เกาะเต่า ที่จุดบริการขาย
แพคเกจทัวร์ทั่วประเทศ
3. เรือ
เรือเฟอร์รี่ไปยังเกาะเต่า
เรือกลางคืนออกเดินทางจากชุมพรไปเกาะเต่า
เรือกลางคืนออกเดินทางจากเมืองสุราษฎร์ธานี ไปเกาะเต่า
เรือข้ามฟากจากเกาะสมุยไปเกาะเต่า

ระบบเศรษฐกิจ

ปัจจุบันประชากรในเขตเทศบาลตำบลเกาะเต่า มีอาชีพหลักที่สำคัญ
คือ การประกอบธุรกิจการ ท่องเที่ยว หรือธุรกิจเกี่ยวเนี่ องกับการท่อง
เที่ยวเช่น ธุรกิจบังกะโลที่พัก ธุรกิจโรงเรียนสอนดำน้ำ ธุรกิจเรือทัวร์ รอบ
เกาะ ฯลฯ รองลงมาคือ การค้าขาย ทำสวนมะพร้าว ตามลำดับ ประชากรมี
ฐานะทางเศรษฐกิจค่อนข้างดี มีระดับรายได้เฉลี่ยครัวเรือน 240,000
บาท/ปี

แนวปะการัง

เกาะเต่าเป็นเกาะเดียวในอ่าวไทยที่ล้อมรอบด้วยสิ่ งมีชีวิตใต้ทะเล
จำนวนมาก นั่ นคือแนวปะการังนี่ เป็นสิ่ งที่แตกต่างไปจากเกาะอื่นๆ ใน
พื้นที่แถวนี้ และทำให้ที่นี่ เป็นสถานที่ยอดนิ ยมสำหรับนั กเดินทางจากทั่ว
โลกโครงการอนุรักษ์บนเกาะเต่ายังคงดำเนิ นต่อไปทั้งบนบกและใน
สภาพแวดล้อมทางทะเลเนื่ องจากประชากรท้องถิ่นทำงานร่วมกันเพื่อ
ปกป้องที่อยู่อาศั ยตามธรรมชาติที่สร้างรายได้หลักให้กับชุมชน

ประวัติตำบลเกาะเต่า

สมัยเกาะเต่าเป็นคุกการเมือง

ช่วงปี พ.ศ. 2486 – 2487 เกาะเต่าถูกใช้เป็นที่คุมขังนั กโทษ
การเมืองคดี ‘กบฏบวรเดช’ ซึ่งถูกย้ายมาจากคุกบนเกาะตะรุเตา คุกตั้งอยู่ที่
อ่าวแม่หาด มีอาณาเขตประมาณ 35 ไร่ โดยมีนั กโทษการเมือง 54 คน
นั กโทษทั่วไปอีก 50 คน และผู้คุม 15 คน ตามคำบอกเล่าของนั กโทษที่เคย
ถูกคุมขัง เกาะเต่าคือเกาะนรกที่ล้อมรอบด้วยฉลาม ต้องต่อสู้เพื่อความอยู่
รอด ชีวิตเต็มไปด้วยความอดอยากแร้นแค้นและโรคภัยไข้เจ็บโดยเฉพาะไข้
จับสั่ น
นั กโทษคนนึ งได้กล่าวไว้ว่า :

“ความสุขเดียวของแต่ละวัน คือ การได้เฝ้าดูพระอาทิตย์ตกลงสู่
ทะเล มันช่างสวยงามจับใจ ทะเลเปลี่ยนเป็นสีม่วงชมพูตัดกับท้องฟ้าสี
คราม” ในปี พ.ศ. 2487 นั กโทษได้รับพระราชทานอภัยโทษและได้ถูกส่งตัว
กลับบ้าน ปล่อยให้เกาะเต่ากลับมารกร้าง ไร้ผู้คนอยู่อาศัยอีกครั้ง

สมัยผู้บุกเบิกรุ่นแรก

ในปี พ.ศ. 2490 พี่น้ องฝาแฝด ตาโอและตาเอื้อม ผู้บุกเบิกรุ่นแรกได้
แล่นเรือใบมาจากเกาะสมุย เรือใบที่ใช้เป็นแบบโบราณ มีสองเสา ใบเรือทำ
จากใบมะพร้าวและผ้า พวกเขานำข้าวสารบรรทุกมากับเรือ เมื่อมาถึงเกาะ
เต่าได้เริ่มถางที่และหาเศษซากของคุกมาสร้างกระท่อมสำหรับพักอาศัย
ชั่วคราว ต่อมาพวกเขาได้พาครอบครัวมาตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนื อของหาด
ทรายรี หกปีหลังจากนั้ นผู้คนซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนเกาะพะงันเริ่มย้ายเข้ามา
ตั้งถิ่นฐานและเริ่มชีวิตใหม่ที่เกาะเต่าแห่งนี้ ชีวิตความเป็นอยู่บนเกาะเต่ายุค
นั้ นเป็นไปอย่างเรียบง่าย พอเพียง ชาวบ้านทำมาหากินด้วยการหาปลา ทำ
สวนมะพร้าว ปลูกข้าว และทำสวนผลไม้ สมัยนั้ นเกาะเต่ามีเต่าทะเลอาศัย
อยู่เป็นจำนวนมาก ในฤดูวางไข่ของแต่ละปีบนชายหาดจะเต็มไปด้วยลูกเต่า
ที่เพิ่งเกิดใหม่

สมัยนั กท่องเที่ยวยุคแรก

ในปี พ.ศ. 2520 นั กท่องเที่ยวชาวต่างชาติกลุ่มแรกได้เดินทางมา
เกาะเต่าเพื่อดำน้ำสำรวจธรรมชาติใต้น้ำที่อุดมสมบรู ณและไม่เคยมีใคร
ค้นพบมาก่อน พวกเขาเดินทางมากับเรือประมงและเรือบรรทุกมะพร้าว
ในปี พ.ศ. 2527 ที่พักแห่งแรกของเกาะเต่าได้ถูกสร้างขึ้นที่อ่าวเทียน
ออก มีชื่อว่า ‘นิ ยมบังกะโล’ ราคาห้องคืนละ 30 บาท ตั้งแต่นั้ นมาเกาะ
เต่าเริ่มเปลี่ยนจากการทำประมงและเพาะปลูกมาเป็นการท่องเที่ยวซึ่งได้
รับความนิ ยมอย่างรวดเร็ว เกาะเต่ามีสิ่ งอำนวยความสะดวกและกิจกรรม
การท่องเที่ยวมากมายเพื่อรองรับนั กท่องเที่ยวที่เข้ามาประมาณ 350,000
คนต่อปีเฉพาะการนั่ งเรือจากจุดอื่นๆเข้าไปเท่านั้ น และยังมีจุดชมวิวมุม
สูงที่ได้รับความนิ ยมจากนั กท่องเที่ยวคือ จุดชมวิวจอห์น-สุวรรณ

โครงสร้างของชุมชน

ด้านการเมือง/การปกครอง
เขตการปกครอง การปกครองของตำบลเกาะเต่า แบ่งออกเป็น 3
หมู่บ้าน
หมู่ที่ 1 บ้านหาดทรายรี ชื่อผู้ใหญ่บ้าน นายวรพันธ์ ตู้วิเชียร
หมู่ที่ 2 บ้านแม่หาด ชื่อกำนั น นายกอบชัย เสาวลักษณ์
หมู่ที่ 3 บ้านโฉลกบ้านเก่า ชื่อผู้ใหญ่บ้าน นายโกศล พงศ์ผดุงเกียรติ
การเลือกตั้งเทศบาลตำบลเกาะเต่า มีจำนวนสมาชิกสภาเทศบาลตำบล
เกาะเต่า ทั้งสิ้ น 12 คน (ซึ่งได้มาจากการเลือกตั้ง) ผู้บริหาร เทศบาล
ตำบลเกาะเต่า จำนวน 5 คน ประกอบด้วยนายกเทศมนตรี 1 คน
รองนายกเทศมนตรี 2 คน เลขานุการนายกเทศมนตรี 1 คน และที่
ปรึกษานายกเทศมนตรี 1 คน

สถานที่ท่องเที่ยว

หินสลักพระปรมาภิไธยย่อและพระบรมรูปรัชกาลที่ 5 ณ แหลม
จ.ป.ร. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

เป็นกลุ่มหินรูปทรงแปลกตาที่ตั้งอยู่ที่หาดทรายรีเป็นสถานที่
ประวัติศาสตร์ที่ครั้งหนึ่ ง รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จประภาสเกาะเต่าจึงมีการจารึก
พระปรมาภิไธย จปร. ที่โขนหิน ปรากฎให้เห็นอยู่จนทุกวันนี้่

วัดเกาะเต่า

วัดเกาะเต่าตั้งอยู่บนถนนสายหลักของเกาะเต่า ห่างจากตัวเมืองแม่
หาดไปทางเหนื อ 300 เมตร ชื่อที่เรียกอย่างเป็นทางการ คือ วัดเกาะเจริญ
สันติธรรม เป็นศูนย์รวมของชาวบ้านเพื่อมาทำบุญ ฟังเทศน์ และประกอบ
พิธีกรรมทางศาสนา นอกจากนี้ วัดยังถูกใช้สำหรับเป็นที่ประชุมหรือจัด
สั มมนาอีกด้วย

ศาลแม่ยายแมะและพ่อตาโต๊ะ

ชาวบ้านเกาะเต่าบูชาและสักการะ ‘หินยายแมะ’ และ ‘หินตาโต๊ะ’ ซึ่ง
อยู่ที่หัวแหลมทิศตะวันออกของอ่าวโฉลกบ้านเก่า โดยเชื่อว่ามีวิญญาณของ
แม่ยายแมะและพ่อตาโต๊ะสถิตอยู่ ทั้งสองช่วยปกป้องพวกเขาจากภัยอันตราย
ตามธรรมชาติ และความโชคร้ายโดยเฉพาะเมื่อต้องเดินทางโดยเรือ
ศาลแม่ยายแมะและพ่อตาโต๊ะตั้งอยู่ระหว่างทางไปหาดฟรีด้อมบีชเป็นสถานที่
ที่ชาวเกาะเต่ามาสั กการะบูชาหินศั กดิ์สิ ทธิ์ทั้งสอง

จุดชมวิวจอห์น สุวรรณ


จุดชมวิวจอห์น สุวรรณ หรือที่เรียกว่า John Suwan Viewpoint

นั่ นเอง ซึ่งนั บว่าเป็นจุดชมวิวที่สวยที่สุดแห่งหนึ่ งของเกาะเต่า ซึ่งข้างบน
จะเห็นทัศนี ยภาพ 180 องศา และเห็นความสวยงามของทั้ง 2 อ่าว คือ อ่าว
โฉลกบ้านเก่า และ อ่าวฉลาม

หาดทรายรี

หาดทรายเป็นชายหาดยอดนิ ยมและคึกคักที่สุดของเกาะเต่า ที่นี่ เป็น


แหล่งรวมที่พัก โรงเรียนสอนดำน้ำ ร้านอาหาร ร้านกาแฟ บาร์ สถาน

บันเทิง ร้านค้าต่างๆมากมาย หาดทรายรีนั้ นเหมาะแก่การนั่ งเล่นพักผ่อน
อาบแดด หรือจะสนุกกับเกมส์ชายหาด เช่น วอลเล่ย์บอลชายหาด จานร่อน
หรือฟุตบอลชายหาดนอกจากนี้ หาดทรายรียังมีแนวปะการังอยู่ใกล้ๆซึ่ง
เหมาะแก่การดำน้ำตื้น เพียงว่ายออกจากฝั่ งไปประมาณ 30 เมตร หาดทราย
ที่กว้างและน้ำทะเลที่ตื้นของหาดทรายรียังเหมาะสำหรับครอบครัวและเด็กๆ
ยามเย็นนั กท่องเที่ยวมักมาชื่นชมกับพระอาทิตย์ตกที่สวยงามพร้อมจิบ
เครื่องดื่มเย็นๆ

อ่าวแม่หาด

อ่าวแม่หาดยังเป็นแหล่งช้อปปิ้ งของที่ระลึก เสื้อผ้าสำหรับใส่
ชายทะเล เกมส์สำหรับเล่นตามชายหาด และเครื่องประดับแฮนด์เมด ร้าน
ขายอุปกรณ์ดำน้ำก็ตั้งอยู่ที่นี่ เช่นกัน คุณสามารถเลือกซื้อหน้ ากากดำน้ำ
หรือตีนกบราคาประหยัดสำหรับดำน้ำตื้น ไปจนถึงอุปกรณ์ดำน้ำสกูบารุ่น
ใหม่ล่าสุด นอกจากนี้ ที่อ่าวแม่หาดยังมีร้านขายของชำตั้งอยู่มากมายหลาย
ร้าน ที่นี่ คุณสามารถเลือกซื้อผักผลไม้หรือวัตถุดิบสำหรับปรุงอาหารได้

ทางใต้สุดของอ่าวแม่หาดมี ซากเรือจม อยู่ไม่ไกลจากฝั่ ง เป็นเรือสำหรับ
ขนมะพร้าวซึ่งล่มเมื่อ พ.ศ. 2505 ทำให้ตรงนี้ เป็นจุดดำน้ำตื้นที่น่ าสนใจ
ที่สุดของอ่าวแม่หาด ที่นี่ เป็นที่อาศัยของปลามากมาย และคุณอาจจะได้พบ
กับปลากล้วย (fusiliers) ฝูงใหญ่ หรืออาจจะเป็นปลาประเบนจุดฟ้า ปลา
สร้อยนกเขา ที่ซ่อนตัวอยู่ในซากเรือ

หาดโฉลกบ้านเก่า

หาดโฉลกบ้านเก่าตั้งอยู่ทางทิศใต้ของ เกาะเต่า เป็นหาดทรายขาว
เนี ยน ยาวประมาณ 500 เมตร ล้อมรอบด้วยโขดหินสวยงาม มีร้านดำน้ำ
ห้องพัก ร้านอาหาร บริษัททัวร์ และบาร์ อยู่บนถนนเส้นหลักซึ่งอยู่คู่
ขนานกับหาดพื้นที่ของ หาดโฉลกบ้านเก่า มีลักษณะเป็นที่หลบมุมจาก
ลมและคลื่นตลอดทั้งปี เป็นหาดน้ำตื้น มีความชันเล็กน้ อย แล้วค่อยๆ ลึก
ลงไป เหมาะสำหรับครอบครัวและเด็ก ๆ

จุดชมวิวมุมสูงของ หาดโฉลกบ้านเก่า ตั้งอยู่บริเวณ Paradise zone
ของเกาะเต่ารีสอร์ท ซึ่งเป็นจุดชมวิวพระอาทิตย์ตกยามเย็นที่สวยมาก
ทิวทัศน์ ด้านล่างเป็นภูเขาโอบล้อมทะเล

เกาะนางยวน

สมัยสงครามโลกครั้งที่2 เกาะหางเต่า เป็นเกาะบริวารของเกาะ
เต่า เป็นเกาะที่รกร้าง ไม่มีผู้คนอาศัยอยู่ ชาวบ้านบนเกาะเต่าจึงใช้เป็น
ป่าช้า ฝังศพ และเผาศพในสมัยนั้ น ซึ่งอยู่ห่างจากเกาะเต่า 480 เมตร และ
มีเรื่องเล่าว่า มีชาวญวนอพยพจากสงคราม และเรือสินค้าบรรทุกมะพร้าว
เข้าในเกาะหางเต่า ประมาณ ปี พ.ศ. 2480-2490 (จากคำบอกเล่าของ ตา
กาโย บุญชัย)และมีการเสียชีวิตของญวน เป็นจำนวนมาก จึงเรียก เพี้ยน
จากชื่อ ญวน เป็น เกาะนางยวน

กาะเต่าเป็นจุดหมายสำหรับนั กดำน้ำลึกและเป็นที่นิ ยมในการดำ
น้ำตื้น มีสถานที่สวยๆ ให้ชื่นชมชีวิตใต้ท้องทะเลหลายสายพันธุ์

1.จุดดำน้ำตื้นเกาะนางยวน – สวนญี่ปุ่น
2. จุดดำน้ำตื้นเกาะนางยวน
3. จุดน้ำตื้นที่อ่าวลึก
4. จุดดำน้ำตื้นที่อ่าวฉลาม
5. จุดดำน้ำตื้นที่อ่าวหินวง
6. จุดดำน้ำตื้นที่อ่าวโตนด
7. จุดดำน้ำตื้นที่อ่าวไลท์เฮาส์
แและอื่นๆ

ผลิตภัณฑ์

ผลิตภัณฑ์ตำบลเกาะเต่า : น้ำสกัดใบย่านาง




เริ่มในเดือนกันยายน 2561 ได้ใช้น้ำสกัดย่านางช่วยในการรักษาการเจ็บ
ป่วย และรู้สึกชอบ อยากจะทำน้ำสกัดย่านาง อีกทั้งพื้นที่เกาะเต่ามีต้น
ย่านางเป็นจำนวนมาก จึงได้มีการรวมกลุ่มกันจัดทำอย่างจริงจัง
ในปี 2562

ผลิตภัณฑ์ตำบลเกาะเต่า : ปลาอินทรีย์เค็ม (อาหารทะเล
แปรรูป by สะใภ้ชาวเล)


แรกเริ่มเดิมทีต้นตระกูลเป็นชาวประมงอยู่แล้วในพื้นที่เกาะเต่า และ

ส่วนตัวของคุณเพิ่มพลเป็นผู้ที่ชื่นชอบในการตกปลามาก แต่เมื่อเกิด
สถานการณ์ Covid-19 ทำให้ธุรกิจการท่องเที่ยวบนเกาะเต่าเสียหาย
ไม่มีนั กท่องเที่ยว ขาดรายได้เป็นจำนวนมาก จึงทำให้เกิดความคิดที่จะ

พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปรรูป โดยเริ่มทำกันในช่วงเดือน
เมษายน 2563 เป็นต้นมา และได้รับการขึ้นเป็นสินค้า Otop ในเดือน

มกราคม 2564

ประเภทกิจกรรมที่จะเข้าไปดำเนิ นการในพื้นที่ (ระบุร้อยละ
ของกิจกรรม)

1. การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP/
อาชีพอื่นๆ) คิดเป็นร้อยละ 20 ของกิจกรรมทั้งหมด
2. การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่อง
เที่ยว) คิดเป็นร้อยละ 50 ของ กิจกรรมทั้งหมด
3. การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยี
ด้านต่างๆ) คิดเป็นร้อยละ 15 ของกิจกรรมทั้งหมด
4. การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม (Circular Economyการเพิ่มรายได้
หมุนเวียนให้แก่ ชุมชน) ให้แก่ชุมชนคิดเป็นร้อยละ 15 ของกิจกรรม
ทั้งหมด

การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยก

ระดับการท่องเที่ยว)


โครงการ “ส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและส่งเสริมเส้นทางการ

ท่องเที่ยวผ่านกิจกรรมแบบใหม่ พื้นที่ในบริเวณตำบลเกาะเต่านั้ นมี

แหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย หนึ่ งใน นั้ น คือ การเดินป่า ซึ่งเป็นส่วน

หนึ่ งของของตำบลเกาะเต่า ความพิเศษของสถานที่ท่องเที่ยวแห่งนี้ คือมี

ความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ ทำให้สามารถ เดินทางโดยทางเรือได้มี

ประเภทของพันธุ์ไม้สำคัญได้แก่ ยาง ยูง ตะเคียน กระท้อน ขนุนปาน จิก

เขา นาค บุตร พิกุลป่า หว้า เหรียง หลาวชะโอน เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นที่

อยู่อาศัยของสัตว์ป่า หลายชนิ ด เช่น หมูป่า ลิง ค่าง พญากระรอก กระแต

อีเห็น ชะมด นกเงือก และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมพันธ์เต่าทะเล โดยมี

เจ้าหน้ าที่ให้ความรู้ และจัดกิจกรรมเก็บขยะชายหาด ศึกษาเรียนรู้แหล่ง

“ส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพื่อยกระดับการท่องเที่ยว ในตำบล

เกาะเต่า เนื่ องจากความพิเศษและสวยงามของธรรมชาติสามารถนำมา

เป็นแหล่งดึงดูดนั กท่องเที่ยวเข้ามา เที่ยวเกาะพะงันเพิ่มมากยิ่งขึ้นใน

อนาคต

โครงการที่ทีมวิศวกรสังคม ได้เข้ามายกระดับ
เศรษฐกิจให้กับชุมชน ได้แก่

1.ทักษด้านการสร้างเส้ นทางท่องเที่ยวแบบบูรณาการและ
นั นทนาการรูปแบบใหม่

2.ทักษการคำนวณต้นทุนราคาของเส้ นทางท่องเที่ยวแบบบูรรา
การและนั นทนาการรูปแบบใหม่

3. ทักษะการเป็นผู้ประกอบการรายย่อยของเส้นทางท่องเที่ยว
แบบบูรณาการและนั นทนาการ รูปแบบใหม่

4. ทักษะด้านการประชาสัมพันธ์ของเส้นทางท่องเที่ยวแบบบูรณาการ
และนั นทนาการรูปแบบใหม่

5. ทักษะการสร้างความประทับใจกับนั กท่องเที่ยวที่ใช้เส้นทาง
ท่องเที่ยวแบบบูรณาการและนั นทนาการรูปแบบใหม่


Click to View FlipBook Version