The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารการท่องเที่ยวชุมชนท้องถิ่นไทยยยยยยยยยยยยยยย-1- (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by worralak2001, 2021-04-21 01:07:19

วารสารการท่องเที่ยวชุมชนท้องถิ่นไทยยยยยยยยยยยยยยย-1- (1)

วารสารการท่องเที่ยวชุมชนท้องถิ่นไทยยยยยยยยยยยยยยย-1- (1)

การท่องเท่ยี วชมุ ชน
ท้องถน่ิ ไทย

(LOCAL COMMUNITY TOURISM)

ISSN 0032-7890
ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม-มถิ นุ ายน 2564)

วารสารการท่องเทย่ี วชุมชนท้องถ่นิ ไทย

วตั ถุประสงค์

1. เป็นตวั เลือกในการท่องเท่ียวแก่นกั ท่องเที่ยว

2. สร้างและกระจายรายไดใ้ หแ้ ก่คนในชุมชน

3. เพอ่ื เป็นการโปรโมทแหล่งท่องเท่ียวตา่ ง ๆ ภายในชุมชน

บรรณาธิการท่ปี รึกษา

นางสาวอรียา หมาดโหยด คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั

บรรณาธิการอานวยการ

นางสาวเบญจวรรณ แซ่ลิ่ม คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั

บรรณาธิการบริหาร

นางสาวอรยา เผา่ บริบูรณ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั

นางสาววรลกั ษณ์ ศรีธรรมยศ คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

นางสาวพชิ ญณ์ ฐั ขาเพชร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั

กองบรรณาธิการ

นายอาซาน โปติละ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั

นายอิมรอน เลาะปนสา คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั

นายไหมไทย ใจตะวนั คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั

นางสาวอรุณวดีรุ่งเรือง ไทยไชโย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั

นายสมชาย หมายปอง คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั

ผู้ทรงคุณวฒุ พิ จิ ารณาบทความ (Peer Review)

นางสาวสมรศรี มณีเรืองแสง มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา

นางสาวฟ้าใส แซ่อ่อง มหาวิทยาลยั เชียงใหม่

นายพงศธร ขจรไกล มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ

นางสาวรุ่ง มุ่งหวงั มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ

กาหนดตพี มิ พ์ ปี ละ 2 ฉบบั ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-มิถุนายน ฉบบั ท่ี 2 สิงหาคม-ธนั วาคม

ฝ่ ายประสานงาน นางสาวอิยะวดี มอมเมใจ และ นายพณา ไกลป่ า

ผู้จัดทา คณะศิลปะศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชมงคลศรีวชิ ยั เลขท่ี 1 ถนนราชดาเนินนอก อาเภอเมือง
จงั หวดั สงขลา 90000 โทรศพั ท์ 095-5555555 โทรสาร 092-222222

จัดพมิ พ์โดย โรงพิมพค์ ุณวอ 39 ต.คลองหอยโขง่ อ.คลองหอยโขง่ จ.สงขลา 90230

บทความน้ีไดร้ ับการตรวจความถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการโดยผทู้ รงคุณาวฒุ ิอน่ึงทศั นะและ
ขอ้ คิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฎในวารสารเป็นความคิดเห็นของผเู้ ขียนและไม่ถือเป็นทศั นะและความ
รับผดิ ชอบขอบคณะบรรณาธิการ

บทบรรณาธิการ

วารสารการท่องเที่ยวชุมชนทอ้ งถิ่นไทยเขา้ สู่ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 1(มกราคม-มิถุนายน2564)ไดอ้ ย่างดีเป็ น
วารสารท่ีมีความรู้และขอ้ มูลต่าง ๆ มากมาย สาหรับวารสารเล่มน้ีน้นั มีเน้ือหาเกี่ยวขอ้ ขอ้ งกบั การท่องเที่ยวซ่ึงจะ
เขา้ เน้ือหาเกี่ยวการท่องเที่ยวชุมชนทอ้ งถ่ินของไทย และมีความนาเสนอบทความใหม่ ๆ ท่ีมีท้งั ความรู้และ
แนวคิดจากคนรุ่นใหม่ ซ่ึงดา้ นในเล่มวารสารจะประกอบไปดว้ ยบทความวิชาการท้งั หมด 8 เรื่อง ไดแ้ ก่ ชุมชน
ทอ้ งถิ่น การพฒั นาการท่องเท่ียวชุมชน แหล่งท่องเท่ียวชุมชน การบริหารและการจดั การการท่องเท่ียวชุมชน
ประโยชน์ที่ชุมชนจะไดจ้ ากการท่องเท่ียวชุมชน หลกั การและการส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน กลยุทธ์
สาคญั ในการพฒั นาการท่องเที่ยวชุมชนอยา่ งยง่ั ยนื

ดิฉันและคณะผูจ้ ัดทาขอขอบคุณทุกท่านท่ีให้ความสนใจและติดตามในวารสารการท่องเที่ยวชุมชนทอ้ งถิ่น
ขอขอบคุณผูท้ ี่เขียนบทความในวารสารที่ให้ความรู้แก่ผูอ้ ่านวารสารทุกท่าน ขอขอบพระคุณกองบรรณาธิการ
และผูท้ รงคุณาวุฒิทุกท่านท่ีไดใ้ ห้ความกรุณาตรวจสอบควบคุมคุณภาพเน้ือหาเพ่ือที่จะให้วารสาเบ่มน้ีออกมา
สมบูรณ์ มีมาตรฐานตามหลกั วิชาการ หวงั วา่ จะไดร้ ับการสนบั สนุนจากทุกฝ่ าย เฉกเช่นท่ีเป็นมา

อรียา หมาดโหยด และนางสาวพิชญณ์ ฐั ขาเพชร

บรรณาธิการที่ปรึกษา และผชู้ ่วยบรรณาธิการ

สารบัญ 1
บทความวชิ าการ 7
11
1. ชุมชนทอ้ งถิ่น 14
เบญจวรรณ แซ่ล่ิม 18
2. กาเนิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 21
อรียา หมาดโหยด 29
3. การพฒั นาท่องเที่ยวชุมชน 32
ธวชั ชยั พฒุ ทวี
4. กลยทุ ธ์ที่สาคญั ในการพฒั นาการท่องเที่ยวเชิงชุมชนอยา่ งยงั่ ยนื
อาซาน โปติละ
5. หลกั การและการส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน
พิชญณ์ ฐั ขาเพชร
6. การบริหารและการจดั การการท่องเที่ยว
วรลกั ษณ์ ศรีธรรมยศ
7. ประโยชนท์ ี่ชุมชนจะไดร้ ับบจากการท่องเท่ียวชุมชน
อารยา เผา่ บริบูรณ์
8. แหล่งท่องเท่ียวชุมชน
นายอิมรอน เลาะปนสา



ชุมชนท้องถ่นิ

เบญจวรรณ แซ่ล่ิม

บทนา

ในปัจจุบนั การท่องเที่ยวในประเทศไทยมีการท่องเที่ยวท่ีมีความหลากหลายที่เเตกต่างกนั
ไปรวมถึงมีกิจกรรมและวตั ถุประสงคใ์ นการท่องเที่ยวที่เเตกต่างเเต่มีการท่องเท่ียวรูปแบบหน่ึงท่ี
ไดร้ ับความนิยมในปัจจุบนั คือการท่องเที่ยวชุมชนทอ้ งถิ่น อีกท้งั ชุมชนยงั มีความสมั พนั ธ์เชื่อมโยง
แลใกลช้ ิดกบั คาวา่ ทอ้ งถ่ินอีกดว้ ย เหตุน้ีจึง ขอนาเสนอแนวคิดเกี่ยวกบั ทอ้ งถ่ินเพม่ิ เติม เพราะการ
อธิบายความหมายคาวา่ ทอ้ งถิ่นจะทาใหเ้ ห็น ภาพของชุมชนมีความชดั เจนและเป็นรูปธรรมมากข้ึน
ดงั น้นั เพอ่ื ตอ้ งการที่จะแสดงใหเ้ ห็นวา่ ชุมชนกบั ทอ้ งถ่ินน้นั มีลกั ษณะความสมั พนั ธ์ท่ีใกลเ้ คียงกนั
จนบางคร้ังอาจจะทาใหเ้ ราเกิดความสับสนไดค้ วามหมายของชุมชนทอ้ งถิ่น

ชุมชนท้องถิ่น หมายถึง การรวมกนั ของกลุ่มคนที่มีความสมั พนั ธ์ต่อเนื่องกนั ท้งั
ความสมั พนั ธใ์ น เชิงพ้นื ที่และความสมั พนั ธ์ทางสงั คม เป็นหน่วยพ้นื ฐานของการพ่ึงพาและการ
จดั การตนเอง มีการเกี่ยวขอ้ งกบั การมีส่วนร่วมขบวนการขบั เคล่ือนทางสงั คม และหน่วยจิตวทิ ยา
วฒั นธรรมอนั เป็นคุณค่าท่ีบ่งบอกถึงความเป็นตวั ตน(Indentity) ของชุมชนโดยเก่ียวขอ้ งกบั
อุดมการณ์ สิทธิและอานาจในการจดั การ

ความหมายภูมปิ ัญญาท้องถนิ่

ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน หรือภูมิปัญญาชาวบา้ นหมายถึง ทุกส่ิงทุกอยา่ งที่ชาวบา้ นคิดข้ึนไดเ้ อง
และนามาใชใ้ นการดารงชีวิตประจาวนั ใชแ้ กป้ ัญหา เป็นเทคนิควิธีเป็นองคค์ วามรู้ของชาวบา้ นที่คิด
เอง ทาเอง โดยอาศยั ศกั ยภาพท่ีมีอยแู่ กป้ ัญหาการดาเนินชีวิตในทอ้ งถ่ินไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ซ่ึงไดส้ ง่ั
สม สืบทอดและเช่ือมโยงมาอยา่ งต่อเน่ืองต้งั แต่อดีตถึงปัจจุบนั

1

ความสาคญั ของชุมชนท้องถิ่น
ชุมชนทอ้ งถ่ินมีความสาคญั 5 ประการ ดงั น้ี
1. ชุมชนทอ้ งถิ่น มีหนา้ ท่ีหรือภารกิจบางอยา่ งที่จาเป็นต่อการดารงอยขู่ องระบบสงั คมท่ี
ใหญ่กวา่
2. ชุมชนทอ้ งถิ่น เป็นเครื่องมือท่ีสะทอ้ นความคิดเห็นของประชาชนในระบบสงั คมไดเ้ ป็น
อยา่ งดี
3. ชุมชนทอ้ งถิ่น เป็นตวั รวมผลประโยชนแ์ ละความตอ้ งการของคนในสงั คมและง่ายต่อการ
จดั การขอ้ เรียกร้องต่าง ๆ
4. ชุมชนทอ้ งถิ่น เป็นหน่วยพ้นื ฐานของสงั คม ในการบรรเทาความเดือดร้อนใหแ้ ก่
ประชาชน
5. ชุมชนทอ้ งถิ่น เปรียบเสมือนสถาบนั หน่ึงในการฝึกการมีส่วนร่วมหรือส่งเสริมการมีส่วน
ร่วมทางการเมืองใหแ้ ก่ประชาชน

ความสาคญั ของชุมชนทอ้ งถิ่นท้งั 5 ประการขา้ งตน้ ทาใหเ้ ราเห็นไดว้ า่ ชุมชนทอ้ งถิ่นมี
ความจาเป็นต่อระบบสงั คมในข้นั พ้นื ฐานท่ีสุดและมีผลต่อการดารงอยขู่ องระบบสงั คม การมีส่วน
ร่วมทางการเมืองใหแ้ ก่ประชาชนดว้ ย

การพฒั นาชุมชนท้องถิน่
ส่ิงสาคญั ของการพฒั นาชุมชนทอ้ งถิ่นที่จะสามารถทางานกบั ประชาชนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและ
ทาใหง้ านมีประสิทธิภาพ อนั ประกอบดว้ ยแนวคิดพ้นื ฐาน ในการพฒั นาชุมชนในระดบั การปฏิบตั ิ
มีดงั น้ี
1. การมีส่วนร่วมของประชาชน (People Participation) เป็นหวั ใจของงานพฒั นาชุมชน
2. การช่วยเหลือตนเอง คือ ตอ้ งพฒั นาใหป้ ระชาชนในทอ้ งถ่ินพ่งึ ตนเองไดม้ ากข้ึน
3. ความคิดริเร่ิมของประชาชน ประชาชนตอ้ งยดึ หลกั การที่วา่ ความคิดริเริ่มตอ้ งมาจาก
ประชาชนในชุมชนทอ้ งถ่ิน

2

4. ความตอ้ งการของชุมชน การพฒั นาชุมชนทอ้ งถ่ินตอ้ งใหป้ ระชาชน องคก์ รตดั สินใจบน
พ้ืนฐานความตอ้ งการของทอ้ งถ่ินเอง

5. การศึกษาภาคชีวิต การพฒั นาชุมชนทอ้ งถ่ินถือเป็นกระบวนการใหก้ ารศึกษาภาคชีวิตแก่
ประชาชน เพือ่ นาไปสู่การพฒั นาคน พฒั นาทอ้ งถ่ิน

ทรัพยากรธรรมชาตใิ นท้องถิ่น
ทรัพยากรธรรมชาติ แบ่งตามลกั ษณะท่ีนามาใชไ้ ด้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใชแ้ ลว้ ไม่หมดสิ้น มีดงั น้ี
1.1) ประเภทที่คงอยตู่ ามสภาพเดิมไม่มีการเปล่ียนแปลงใด ๆ
1.2) ประเภทที่มีการเปล่ียนแปลงได้ เน่ืองจากถูกใชใ้ นทางท่ีผิด
2. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใชแ้ ลว้ หมดสิ้นไป มีดงั น้ี
2.1) ประเภทท่ีใชแ้ ลว้ หมดไป แต่สามารถรักษาใหค้ งสภาพเดิมไวไ้ ด้
2.2) ประเภทท่ีไม่อาจทาใหม้ ีใหม่ได้
2.3) ประเภทท่ีไม่อาจรักษาไวไ้ ด้ เมื่อใชแ้ ลว้ หมดไป แต่ยงั สามารถนามายบุ ให้ กลบั เป็น
วตั ถุเช่นเดิม แลว้ นากลบั มาประดิษฐข์ ้ึนใหม่
2.4) ประเภทที่ใชแ้ ลว้ หมดสิ้นไปนากลบั มาใชอ้ ีกไม่ได้
ชุมชนท้องถนิ่ กบั การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ในปัจจุบนั การจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มของชุมชน ไดเ้ ขา้ มามีบทบาท
เพม่ิ มากข้ึน เนื่องจากความตอ้ งการในการใชป้ ระโยชนด์ า้ นทรัพยากรของคนมีมากข้ึน แต่
ทรัพยากรของแต่ละชุมชนลว้ นมีอยอู่ ยา่ งจากดั จึงทาใหเ้ กิดการแยง่ ชิงทรัพยากร ซ่ึงปัญหาเหล่าน้ี
เกิดจากการขาดการจดั การที่ดีของชุมชน รวมถึงชุมชนยงั ขาดความรู้ในการดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ดงั น้นั จึงตอ้ งมีการจดั การโดยอาศยั การมีส่วนร่วมของ
หน่วยงานภาครัฐ รวมถึงประชาชนในชุมชนไดเ้ ขา้ มาดูแลจดั การทรัพยากรร่วมกนั เพอื่ ให้
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มไดม้ ีใชอ้ ยา่ งยงั่ ยนื และเกิดประโยชนส์ ูงสุด

3

การเกษตรในท้องถ่นิ
การเกษตรในทอ้ งถิ่นประเทศไทยจะมีการเปลี่ยนแปลงจากภาคเกษตรกรรมไปสู่
ภาคอุตสาหกรรมมากข้ึนใน 30 ปี ท่ีผา่ นมา แต่พ้ืนฐานของประเทศยงั เป็นประเทศเกษตรกรรม ใน
ปัจจุบนั พลเมืองกวา่ 60% ยงั มีอาชีพเกี่ยวเน่ืองกบั การเกษตร ท้งั น้ีเนื่องจากความเหมาะสมของพ้ืนท่ี
ประกอบกบั ความสามารถพเิ ศษดา้ นเกษตร-กรรมของคนไทย และแมว้ า่ รายไดจ้ ากการส่งออก
ระดบั ตน้ ๆ ของประเทศจะไม่ใช่สินคา้ เกษตรอีกต่อไป แต่สินคา้ อุตสาหกรรมที่ส่งออกจานวนมาก
กเ็ ป็นอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางเกษตร ดงั น้นั จึงทาใหเ้ กิดการพฒั นาระบบการผลิตมาเป็น
ลาดบั คือระบบปลูก
1 พชื (cropping system)
2 ระบบฟาร์ม (farming system)
3 ระบบเกษตร (agricultural system)
เเนวทางการพฒั นาเศรษฐกจิ ของชุมชน
เศรษฐกิจชุมชน คือ การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ท้งั ดา้ นเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม บริการท้งั ในดา้ นการผลิต การบริโภคและการกระจายผลผลิต โดยใหค้ นในชุมชนมี
ส่วนร่วมในการแกป้ ัญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของชุมชน คือ ใหม้ ีส่วนร่วมคิด ร่วมคิด ร่วมทา ร่วม
รับประโยชน์ บนรากฐานของความสามารถท่ีมีอยู่ จากการใช้ “ทุนของชุมชน”
สมาชิกในชุมชนจะเป็นผตู้ ดั สินวา่ พวกเราจะผลิตอะไรไดบ้ า้ งตามศกั ยภาพและทุน
ประเภทต่างๆ ท่ีมีอยเู่ ราจะผลิตกนั อยา่ งไร โดยท่ีชุมชนสามารถ คิดเอง ทาเอง ไดเ้ อง
การพฒั นาเศรษฐกิจชุมชนควรมีเป้าหมายสาคญั ดงั น้ี
1. การพฒั นาขีดความสามารถของคน ครอบครัว และชุมชน
2. การพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม

4

บทบาทชุมชนท้องถน่ิ กบั การขับเคลื่อนสู่โมเดลประเทศไทย 4.0
บทบาทชุมชนทอ้ งถิ่น หมายถึง การปฏิบตั ิตามสิทธิหนา้ ท่ีอนั เน่ืองมาจากสถานภาพของ
บุคคล เนื่องจากบุคคลมีหลายสถานภาพในคนเดียวกนั บทบาทชุมชนทอ้ งถ่ินกบั การขบั เคล่ือน
โมเดลประเทศไทย ๔.๐ ซ่ึงเป็นส่ิงจาเป็นอยา่ งยงิ่ ท่ีทางองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (อปท.) ไม่วา่
จะเป็น อบจ. อบต. และเทศบาล มีหนา้ ที่กากบั ดูแลและพฒั นาชุมชนทอ้ งถิ่นของตนเองซ่ึงถือวา่ เป็น
องคก์ รท่ีใกลช้ ิดที่สุดของการพฒั นาชุมชนทอ้ งถ่ิน อปท.ตอ้ งรับและสนองนโยบายโมเดล “ประเทศ
ไทย ๔.๐” อยา่ งแน่นอน แต่จะทาอยา่ งไรที่จะนาพาพ่นี อ้ งฐานรากหญา้ ที่ยากจน ลืมตาอา้ ปากได้ ท้งั
อปท.และชุมชนเองตอ้ งประสานความร่วมมือกนั โดยทางานแบบบูรณาการทุกภาคีเครือข่าย
ภารกจิ หน้าท่ีของชุมชนท้องถนิ่
สาหรับภารกิจหนา้ ที่ของชุมชนทอ้ งถ่ินน้นั พจิ ารณาเห็นวา่ ภารกิจหนา้ ที่ของชุมชนทอ้ งถ่ิน
ที่สาคญั ๆ ในหลายประการ ซ่ึง ไดแ้ บ่งภารกิจหนา้ ท่ีของชุมชนทอ้ งถิ่น ออกเป็น 3 ดา้ น ไดแ้ ก่
1. ภารกิจหนา้ ที่ทางสังคม
2.ภารกิจหนา้ ที่ตามที่กฎหมาย
3.กาหนดและภารกิจหนา้ ท่ีเชิงระบบ
ชุมชมทอ้ งถ่ินคือบริเวณพ้นื ท่ีใดพ้ืนท่ีหน่ึงท่ีมีรูปแบบของการจดั ระเบียบทางการปกครอง
ซ่ึง คนในทอ้ งถิ่นน้นั ๆ จะมีความสมั พนั ธ์กนั และมีการจดั ระเบียบและโครงสร้างทางสงั คมของการ
อยู่ ร่วมกนั ในทอ้ งถ่ิน บางคร้ังมกั จะมีความหมายรวมความถึงชุมชนดว้ ย ลกั ษณะของทอ้ งถิ่นจะมี
ฐานะ เป็นองคก์ รหรือหน่วยทางสงั คมที่มีองคป์ ระกอบเกี่ยวเน่ืองและสมั พนั ธก์ นั

5

บรรณานุกรม

โกวทิ ย์ พวงงาม. (2553) “ ความสาคญั ของชุมชนท้องถนิ่ ” สืบคน้ เม่ือ 22 มกราคม 2564 ,
จาก http://www.epub.rbru.ac.th/pdf-uploads/thesis-158-file05-2016-10-19-12-45-00.pdf

ชนญั ชิดา สิมาฉายา. “ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถนิ่ ” สืบคน้ เมื่อ 22 กุมภาพนั ธ์ 2564,
จาก https://sites.google.com/site/kikkok1501/bth-thi-1-chiwit-laea-sing-waedlxm/--
thraphyakrthrrmchati-ni-thxng-thin

พมิ พพ์ ร หมึกแดง. (2555 กมุ ภาพนั ธ์) “ ชุมชนท้องถิน่ กบั การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่ิงแวดล้อม” สืบคน้ เมื่อ 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, จากhttps://www.gotoknow.org/posts/480059

วงศส์ ถิตย์ วสิ ุภี. (2560, สิงหาคม) ” บทบาทชุมชนท้องถน่ิ กบั การขบั เคล่ือนสู่โมเดล ประเทศ
ไทย 4.0 ” สืบคน้ เมื่อ 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, จาก
https://www.sites.google.com/a/life.ac.th/main/bthkhwam-

มหาวทิ ยาลยั ราไพพรรณี. “ภารกจิ หน้าทขี่ องชุมชนท้องถ่นิ ” สืบคน้ เมื่อ 22 กุมภาพนั ธ์
2564, จาก http://www.epub.rbru.ac.th/pdf-uploads/thesis-158-file05-2016-10-19-12-45-00.pdf

สมชาย ศรีวริ ัตน.์ (2556 กนั ยายน) “ ความหมายของชุมชนทอ้ งถ่ิน ” สืบคน้ เม่ือ 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, จาก
https://www.gotoknow.org/posts/549133?fbclid=IwAR2d00sH-

_____________ (2556 กนั ยายน) “ การพฒั นาชุมชนท้องถิ่น ” สืบคน้ เม่ือ 22 กุมภาพนั ธ์
2564, จาก https://www.gotoknow.org/posts/549133?fbclid=IwAR2d00sH-

สถาบนั วจิ ยั วลยั รุกชเวช มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม “ความหมายภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ” สืบคน้
เมื่อ 22 มกราคม 2564 , จากhttp://walai.msu.ac.th/walai/local%20wisdom.php

สุพิลาลยั ใชป้ ระทุม, สุนิภา จน่ั แกว้ และสิริภากร เสียงหาญ.” เเนวทางการพฒั นาเศรษฐกจิ ของชุมชน ” สืบคน้
เมื่อ 22 กุมภาพนั ธ์ 2564, จาก https://sites.google.com/site/prawatisastrm1/3-2-naewthang-kar-
phathna-sersthkic-khxng-chumchn

อรุณี จนั ทรสนิท. “ การเกษตรในท้องถ่ิน” สืบคน้ เม่ือ 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, จาก
http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~vsuntare/docum/agricul.htm

6

กาเนิดการท่องเทยี่ วโดยชุมชน

อรียา หมาดโหยด

บทนา

การท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็ นการท่องเที่ยวที่มีเอกลกั ษณ์คานึงถึงความยงั่ ยืนของส่ิงแวดลอ้ ม สังคม
และวฒั นธรรม โดยเป็ นการท่องเท่ียวที่คนในชุมชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั การท่องเที่ยว ซ่ึงเป็ นการ
ท่องเที่ยวที่ไม่เพียงแต่ตอบสนองความตอ้ งการของนกั ท่องเท่ียวเท่าน้นั แต่ยงั เนน้ ถึงการสร้างศกั ยภาพของคน
ในชุมชนน้นั ๆดว้ ย โดยองคป์ ระกอบของการท่องเที่ยวชุมชนมีดว้ ยกนั 4 ดา้ น คือ ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและ
วฒั นธรรม ดา้ นองคก์ รชุมชน ดา้ นการจดั การ และดา้ นการเรียนรู้

หลกั การของการท่องเท่ียวโดยชุมชนน้นั มีดว้ ยกนั 10 ประการ คือ ชุมชนเป็นเจา้ ของ ชาวบา้ นเขา้
มามีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางและตดั สินใจ ส่งเสริมความภาคภูมิใจในตนเอง ยกระดบั คุณภาพชีวิต มี
ความยง่ั ยนื ทางดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ชุมชนยงั คงเอกลกั ษณ์และวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ระหวา่ งคน
ต่างวฒั นธรรม เขา้ ใจและเคารพในวฒั นธรรมท่ีแตกต่างและศกั ด์ิศรีความเป็ นมนุษย์ เกิดผลตอบแทนท่ีเป็ น
ธรรมแก่คนทอ้ งถิ่น และมีการกระจายรายไดส้ ู่สาธารณประโยชนข์ องชุมชน

นิยาม การท่องเท่ียวโดยชุมชน คือการท่องเที่ยวท่ีชุมชนเป็ นผูก้ าหนดกระบวนการทิศทาง และ
รูปแบบการท่องเที่ยวของตนเอง ชาวบา้ นทุกคนเป็ นเจา้ ของทรัพยากรท่องเที่ยวน้นั ๆ และมีส่วนไดส้ ่วนเสียที่
เกิดจากการท่องเที่ยว ซ่ึงการท่องเท่ียวท่ีจดั โดยชุมชนน้ันมีจุดขายที่หลากหลาย ท้งั ธรรมชาติ ประวตั ิศาสตร์
วฒั นธรรมประเพณี วิถีชีวิต การอนุรักษ์ รวมท้งั มีการพฒั นารูปแบบเพ่ือสร้างความยงั่ ยืนสู่คนรุ่นลูกหลานและ
เกิดประโยชน์ต่อทอ้ งถ่ินอยา่ งแทจ้ ริง โดยในช่วงพ.ศ. 2535 -2540 การท่องเท่ียวเชิงนิเวศ (Ecotourism) ไดเ้ ขา้
มาเจริญเติบโตในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวไทย ซ่ึงการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism :
CBT) ก็ไดเ้ ริ่มก่อตวั ข้ึนไปพร้อมกบั การท่องเที่ยวเชิงนิเวศดว้ ย หลงั วิกฤตเศรษฐกิจพ.ศ.2540 รัฐบาลไทยไดใ้ ช้
การท่องเท่ียวเป็ นตัวกระตุ้นเศรษฐกิจ มีการประกาศปี ส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย (Amazing Thailand) มี
โครงการหน่ึงตาบลหน่ึงผลิตภณั ฑ์ พ.ศ. 2547 มีการให้มาตรฐานโฮมสเตย์ กลุ่มชุมชนท่ีทาการท่องเที่ยวโดย
ชุมชนสามารถเรียกช่ือได้ ดงั น้ี การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเท่ียวโดยชุมชน และ
การท่องเท่ียวแบบโฮมสเตยท์ ิศทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนในประเทศไทย จากรายงานการสารวจเทรนดก์ าร
ท่องเที่ยวในประเทศไทย ปี 2562 โดย Airbnb พบวา่ ร้อยละ 84 ตอ้ งการท่องเท่ียวแบบใชช้ ีวติ เหมือนคนทอ้ งถ่ิน
และใชจ้ ่ายไปกบั ร้านอาหารในชุมชนมากท่ีสุดกวา่ 1.7 พนั ลา้ นบาท และจากขอ้ มูลของ Expedia ท่ีทาการเจาะลึก

7

ขอ้ มูล การท่องเที่ยวในปี 2561 พบวา่ นกั ท่องเที่ยวชาวไทยนิยมเลือกจุดหมาย ปลายทางการท่องเท่ียวเป็นแหล่ง
ชุมชนทอ้ งถ่ินที่อยู่ในเมืองรอง เช่น สกลนคร นครพนม น่าน เป็ นตน้ และมีอตั ราการท่องเท่ียวลกั ษณะน้ี เพ่ิม
สูงข้ึนกว่าร้อยละ 50 สะทอ้ นให้เห็นว่า ในปัจจุบนั การท่องเที่ยวตามรอยวิถีชีวิตด้งั เดิมของชุมชนต่างๆ ไดร้ ับ
ความนิยมจากนักท่องเที่ยวเพิ่มมากข้ึนอย่างต่อเนื่องปรัชญาแห่งการท่องเที่ยวโดยชุมชน 7 ประการ ดงั น้ี
ศกั ยภาพของ CBT อย่บู นพ้ืนฐานนิเวศวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน การท่องเท่ียวโดยชุมชนมีเป้าหมายเพื่อการอนุรักษ์
และใชอ้ ยา่ งรู้คุณคา่ คนในชุมชนเป็นผกู้ าหนดทิศทาง อนาคต ของตนเอง

CBT ตอ้ งมีการบริหาร-จดั การในรูปแบบที่เหมาะสมกบั บริบทและสถานการณ์ CBT มีการกระจาย
รายไดท้ ้งั ทางตรงและทางออ้ ม CBT สร้างการแลกเปล่ียนเรียนรู้ และCBT เป็นเคร่ืองมือในการพฒั นา

CBT น้นั เป็นเคร่ืองมือสร้างความเขม้ แขง็ ขององคก์ รชาวบา้ นในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและ
วฒั นธรรม โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนใหช้ ุมชนไดม้ ีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางการพฒั นา
และไดร้ ับประโยชน์จากการท่องเท่ียว คุณสมบตั ิที่สาคญั ของการท่องเท่ียวชุมชน ประกอบไปดว้ ย 5 ประการ
ไดแ้ ก่ ตอ้ งเป็นการท่องเท่ียวที่มีผลกาไรตอบแทนมายงั ครอบครัวของสมาชิกในชุมชม ตอ้ งเป็นการท่องเที่ยวที่
ชุมชนไดร้ ับประโยชน์โดยรวมอยา่ งแทจ้ ริง ตอ้ งเป็นการท่องเท่ียวท่ีไม่ก่อให้เกิดความตึงเครียดดา้ นสังคมและ
วฒั นธรรมในชุมชน ตอ้ งเป็ นการท่องเที่ยวที่สร้างจิตสานึกในการเคารพและรักษาส่ิงแวดลอ้ มสังคมตลอดจน
วฒั นธรรมในชุมชนให้เกิดข้ึนกับนักท่องเที่ยว และตอ้ งเป็ นการท่องเที่ยวที่ก่อให้เกิดความเขา้ ใจอนั ดีงาม
ระหวา่ งประเทศในทุกระดบั

ประโยชน์ท่ีชุมชนไดร้ ับจากการท่องเท่ียวโดยชุมชน คือ มีส่วนสนับสนุนเศรษฐกิจชุมชนและ
คุณภาพชีวิตคนทอ้ งถิ่น มีส่วนสนับสนุนการพฒั นาคน มีส่วนสนับสนุนการฟ้ื นฟูวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน มีส่วน
สนับสนุนการจดั การทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชนนอกจากน้ีการพฒั นาชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวก็ยงั มีความ
เส่ียงในการพฒั นาชุมชน เนื่องจากทาให้วิถีชุมชนด้งั เดิมถูกกลืนหายไป จากการท่ีชุมชนไดร้ ับความนิยมเพ่ิม
มากข้ึนถือเป็ นปัจจยั ดึงดูดนายทุนและคนนอกชุมชนเขา้ มาลงทุนในพ้ืนท่ีเพ่ิมมากข้ึน ซ่ึงทาให้คนในชุมชน
ด้ังเดิมไหลออกไปจากชุมชนรวมถึงวิถีชุมชนท่ีถูกกลืนหายไปตามนายทุนหรือผูท้ ่ีเข้ามาใหม่ ส่งผลให้
สิ่งแวดลอ้ มถูกทาลายจากนกั ท่องเท่ียวหลงั่ ไหลเขา้ มา จนเกินขีดความสามารถในการรับนกั ท่องเท่ียวแมว้ า่ จะมี
ระบบการจดั การท่ีดีแต่ยงั ถือเป็ นการจดั การในข้นั เบ้ืองตน้ ทาให้ตอ้ งเผชิญกบั ปัญหา ส่ิงแวดลอ้ มท้งั ขยะ และ
มลพิษ ดงั เช่น ซาปา ประเทศเวียดนาม และ เชียงคาน จงั หวดั เลยและยงั ส่งผลใหช้ ุมชนขาดความเป็นกลุ่มกอ้ น

8

ทาให้ไม่ตระหนกั ในอตั ลกั ษณ์ของตนเอง เช่น เชียงคาน จงั หวดั เลย ชุมชนบางส่วนสูญเสียความเป็นอตั ลกั ษณ์
เน่ืองจากถูกครอบงา จากวฒั นธรรมคนเมืองทาใหม้ ีวถิ ีชีวิต เปลี่ยนไปจากเดิม

9

บรรณานุกรม

วศศิชา หมดมลทิล.(2562,ตุลาคม). “ทิศทางการท่องเท่ียวโดยชุมชนในประเทศไทย : ท่องเทยี่ วโดยชุมชนวถิ ีสู่
ความยง่ั ยืน”.ม.ป.ป.1-2

สถาบนั การท่องเท่ียวโดยชุมชน (CBT-I).(2554,มิถุนายน) “รู้จักการท่องเที่ยวโดยชุมชน (CBT) :องค์ประกอบ
ของการจัดการท่องเท่ียวโดยชุมชน” สืบคน้ เม่ือ 23 มกราคม 2564.จาก https ://cbtyouth.wordpress.com

องคก์ ารบริหารการพฒั นาพ้ืนท่ีพเิ ศษเพอื่ การท่องเท่ียวอยา่ งยงั่ ยนื (องคก์ ารมหาชน).ม.ป.ป. “การท่องเท่ียว
หรืออตุ สาหกรรมท่องเท่ียวเป็ นเรื่องใกล้ตวั กว่าทคี่ ดิ ” สืบคน้ เม่ือ 23 มกราคม 2564.จากhttps
://www.tatreviewmagazine.com

วรพงศ์ ผกู ภู.่ (2561,ธนั วาคม). “ปรัชญาแห่งการท่องเท่ยี วโดยชุมชน : ปรัชญาแห่งการท่องเทยี่ วโดยชุมชน 7
ประการ” สืบคน้ เมื่อ 23 มกราคม 2564 จาก https://www.randdcreation.com

สานกั พฒั นาแหล่งท่องเที่ยว สานกั พฒั นาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา.(2550). “การท่อง
เท่ียว : เคร่ืองมือในการพฒั นาชุมชน”.กรุงเทพฯ : ศรีเมืองการพิมพ์ .17-18

ปาริฉตั ร ศรีหะรัญ และพรพมิ ล ขาเพชร.(2561,กนั ยายน-ธนั วาคม) “การท่องเท่ยี วโดยชุมชน
(Community Based Tourism)”.การท่องเที่ยวโดยชุมชน:ทางเลือกใหม่สู่ความยง่ั ยนื .12(3).122

วศศิชา หมดมลทิล.(2562,ตุลาคม). “ ความเสี่ยงในการพฒั นาชุมชน : การท่องเที่ยวโดยชุมชนวถิ ีสู่ความ
ยงั่ ยืน”.ม.ป.ป.1

10

การพฒั นาการท่องเทีย่ วชุมชน

ธวชั ชยั พุฒทวี

สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้างข้ึน สิ่งท่ีเป็ นรูปธรรมและ
นามธรรม ส่ิงที่เห็นไดด้ ว้ ยตาและไม่สามารถเห็นไดด้ ว้ ยตา สิ่งท่ีเป็ นประโยชน์และไม่เป็ นประโยชน์ (เกษม,
2540) จากคาจากดั ความดงั กล่าว สามารถสรุปไดว้ ่า สิ่งแวดลอ้ ม คือ ส่ิงต่างๆ ที่อยู่รอบๆ ตวั เรา แต่ คาว่า “ตวั
เรา” ในที่น้ีไม่ไดห้ มายถึงตวั มนุษยเ์ ราเท่าน้นั โดยความเป็นจริงแลว้ ตวั เราน้นั เป็นอะไรก็ไดท้ ่ีตอ้ งการศึกษา/รู้
เช่น ตวั เราอาจจะเป็ นดิน ถา้ กล่าวถึงส่ิงแวดลอ้ มดิน หรืออาจจะเป็ นน้า ถา้ กล่าวถึงสิ่งแวดลอ้ มน้า เป็ นตน้
นอกจากน้ีอาจมีขอ้ สงสัยว่า ส่ิงที่อยรู่ อบตวั เรามีรัศมีจากดั มากนอ้ ยเพียงใด ซ่ึงสามารถอธิบายไดว้ า่ ส่ิงต่างที่อยู่
รอบๆ ตวั เรา ไม่ไดม้ ีขอบเขตจากดั มนั อาจอยใู่ กลห้ รือไกลตวั เรากไ็ ด้ จะมีบทบาทหรือมีส่วนไดส้ ่วนเสียต่อตวั
เราอยา่ งไรน้นั มนั ก็ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะ และพฤติกรรมของส่ิงน้นั ๆ เช่น โศกนาฏกรรมตึกเวิร์ดเทรด ซ่ึงตวั มนั อยู่
ถึงสหรัฐอเมริกา แต่มีผลถึงประเทศไทยได้ในเร่ืองของเศรษกิจ เป็ นต้นโดยการท่องเท่ียวชุมชนมีการ
เปลี่ยนแปลงของวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินที่เกิดจากความเจริญ ในทุกดา้ น ส่งผลต่อการดาเนินชีวิตของคนในชุมชน
บางขนุน จงั หวดั นนทบุรี เปล่ียนไปจากความเป็นอยู่ ูแบบชนบทด้งั เดิมท่ีเรียบง่าย กลายเป็นสงั คมเมือง มากข้ึน
ซ่ึงวตั ถุประสงคข์ องการวิจยั เพ่ือศึกษาการดาเนินชีวิตของคนในชุมชน บางขนุน ภายใตก้ ารเปล่ียนแปลงของ
วฒั นธรรมทอ้ งถิ่น และศึกษาปัจจยั ที่ ส่งผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลง โดยใชว้ ิธีสังเกต สัมภาษณ์ มีส่วนร่วม
ใน ชุมชน ผลการวิจยั พบวา่ 1) การดาเนินชีวติ ของคนในชุมชนบางขนุน ภายใต้ การเปล่ียนแปลงของวฒั นธรรม
ทอ้ งถ่ินที่เกิดข้ึน มี 2 ลกั ษณะคือลกั ษณะท่ี 1 มีการดาเนินชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแต่ละ
ครอบครัวมีการ ใชจ้ ่ายอยา่ งประหยดั ดาเนินชีวิตอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีเหตุผลช่วยเหลือเก้ือกลู กนั มีภูมิคุม้ กนั ในการ
ดูแลรักษาสุขภาพ และลกั ษณะท่ี 2 มีการดาเนินชีวิต 3 แบบ คือแบบด้งั เดิม แบบผสมผสาน และแบบใหม่ 2)
ปัจจยั ท่ีส่งผลกระทบต่อการ เปล่ียนแปลงคือการไหลเขา้ มาของคนต่างถ่ิน การสร้างหมู่บา้ นจดั สรรที่เพิ่ม มาก
ข้ึน ความเจริญทางดา้ นสาธารณูปโภค การคมนาคมและความเจริญทาง เทคโนโลยีโดยมีการวางแผนทาง
ยทุ ธศาสตร์ ๑) ยทุ ธศาสตร์การเสริมสร้างและพฒั นาศกั ยภาพทุนมนุษย์ ๒) ยทุ ธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรม
ลดความเหลื่อมล าในสังคม ๓) ยทุ ธศาสตร์การสร้างความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจและแข่งขนั ได้ อยา่ งยง่ั ยืน ๔)
ยทุ ธศาสตร์การเติบโตท่ีเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือการพฒั นา อยา่ งยง่ั ยืน ๕) ยทุ ธศาสตร์การเสริมสร้างความ
มนั่ คงแห่งชาติเพ่ือการพฒั นา ประเทศสู่ความมงั่ คง่ั และยง่ั ยืน ๖) ยทุ ธศาสตร์การบริหารจดั การในภาครัฐ การ
ป้องกนั การทุจริต ประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย ๗) ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาโครงสร้างพื นฐาน
และระบบโลจิสติกส์ ๘) ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และ นวตั กรรม ๙) ยทุ ธศาสตร์การ

11

พฒั นาภาค เมือง และพื นท่ีเศรษฐกิจ ๑๐) ยทุ ธศาสตร์ความร่วมมือระหวา่ งประเทศเพื่อการพฒั นาและมีหลกั การ
พฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื คือ การมีส่วนร่วมของชุมชนความร่วมมือของกลุ่มต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง การสร้างโอกาสการจา้ ง
งานท่ีมีคุณภาพ การกระจายผลประโยชน์จากการท่องเที่ยว การใชท้ รัพยากรอย่างมีคุณค่าและเกิดประโยชน์
สูงสุด การวางแผนระยะยาว ความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรมและสิ่งแวดลอ้ ม ความสอดคลอ้ ง
ระหว่างแผนการท่องเท่ียวและแผนการพฒั นาดา้ นต่างๆ ความร่วมมือระหว่างแผนการท่องเที่ยวและแผนการ
พฒั นาดา้ นต่างๆ การประสานความร่วมมือระหวา่ งการท่องเที่ยวและผปู้ ระกอบการ การประเมินผลกระทบต่อ
การท่องเท่ียว การสร้างหลกั เกณฑเ์ พ่ือประเมินผลกระทบ การเนน้ ผลประโยชน์ชุมชน คุณค่าส่ิงแวดลอ้ มทาง
ธรรมชาติและวฒั นธรรม การพฒั นาการศึกษาแก่บุคลากร การเสริมสร้างลกั ษณะเด่นของชุมชน การคานึงถึงขีด
ความสามารถการรองรับของทรัพยากร การดารงรักษามรดกทางธรรมชาติและวฒั นธรรม การทาการตลาดการ
ท่องเท่ียวอยา่ งยงั่ ยนื

วธิ ีการจัดการท่องเทีย่ วอย่างยง่ั ยืน

1. อนุรักษแ์ ละใชท้ รัพยากรอยา่ งพอดี

2. ลดการบริโภคท่ีไม่จาเป็น

3. รักษาและส่งเสริมความหลากหลายของธรรมชาติ สงั คมและวฒั นธรรม

4. ประสานการพฒั นาการท่องเท่ียวเขา้ กบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ

5. เป็นการท่องเท่ียวเพื่อรองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของทอ้ งถิ่น

6. การมีส่วนร่วมอยา่ งเตม็ ที่ของทอ้ งถ่ิน

7. การปรึกษาหารืออยเู่ สมอของทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวขอ้ ง

8. การฝึกอบรมบุคลากร เพอ่ื ยกระดบั การบริการการท่องเที่ยว

9. มีการตลาดที่มีประสิทธิภาพ ดา้ นขอ้ มูลข่าวสารเพื่อยกระดบั ความพงึ พอใจ

10. มีการวจิ ยั และติดตามตรวจสอบประเมินผลอยา่ งต่อเน่ือง

“การท่องเที่ยวเชิงนิเวศเป็นส่วนหน่ึงของการท่องเท่ียวอยา่ งยงั่ ยนื ”

“การท่องเที่ยวทุกรูปแบบตอ้ งเป็นการท่องเท่ียวอยา่ งยงั่ ยนื ”

12

บรรณานุกรม
การจดั การส่ิงแวดลอ้ มชุมชน.(2018). “ฐานข้อมูลการจดั การส่ิงแวดล้อมชุมชน” สืบคน้ เม่ือ 11

มีนาคม 2564 จากwww.cem-onep.com All Rights Reserved.
floridagreens.org.(2018). “การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและธรรมชาติ” สืบคน้ เม่ิอ 11 มีนาคม 2564

จากhttps://www.floridagreens.org
กรมพฒั นาชุมชน.(2560).“แผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาชุมชน” สืบคน้ เม่ือ 11 มีนาคม 2564 จาก

https://plan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/97/2017/05/yut60-64.pdf

13

กลยทุ ธ์ทสี่ าคญั ในการพฒั นาการท่องเที่ยวเชิงชุมชนอย่างยงั่ ยืน

อาซาน โปติละ

การท่องเที่ยวชุมชนอยา่ งยงั่ ยนื
องคป์ ระกอบท่ีสาคญั ต่อการจดั การการทอ่ งเท่ียวชุมชนอยา่ งยงั่ ยนื
1. ศกั ยภาพทางการท่องเท่ียว พบวา่ ศกั ยภาพทางการท่องเที่ยวของกลุม่ การท่องเที่ยวชุมชน บา้ นโคก
ไครโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั สูง ท้งั ทางดา้ นทรัพยากรทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ความหลากหลายของ
กิจกรรมการทอ่ งเท่ียว มีการใหบ้ ริการนกั ท่องเท่ียวโดยค านึงถึงศกั ยภาพในการรองรับของนกั ท่องเท่ียว มีการ
ใหค้ วามรู้แก่นกั ท่องเท่ียวโดยมคั คุเทศกท์ อ้ งถิ่น
2. กระบวนความคิดแบบยง่ั ยนื (sustainable mindset) ส่ิงท่ีสาคญั ที่สุดประการหน่ึงในการ
จดั การการท่องเที่ยวอยา่ งยง่ั ยนื คือ กระบวนความคิดแบบยงั่ ยนื ซ่ึงเป็นจุดเร่ิมตน้ ในกระบวนการ
จดั การ ท่องเท่ียวอยา่ งยงั่ ยนื
3. เครือข่ายการท่องเที่ยว (tourism network) กลุ่มการท่องเที่ยวบา้ นโคกไครมีการ
ดาเนินการเพ่อื สร้างความไดเ้ ปรียบทางการแข่งขนั จากการรวมเป็นเครือขา่ ยการท่องเที่ยวชุมชนใน
จงั หวดั พงั งา
โดยการใหบ้ ริการนกั ท่องเที่ยวตามศกั ยภาพการรองรับและการจดั การของกลุม่ สอดคลอ้ งกบั บริบท
ของชุมชน
ทอ้ งถิ่นในแตล่ ะพ้นื ท่ี
4. ผนู้ าชุมชน ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการศึกษาในงานน้ีกบั ผลการศึกษาท่ีผา่ นมาจาก
ชุมชนอื่น เช่น การถอดบทเรียนท่องเท่ียวชุมชนท่ีมีช่ือเสียงในระดบั ประเทศของ บา้ นแม่กาปอง
จงั หวดั เชียงใหม่
โครงการท่ีส่งเสริมและพฒั นาการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ประสบความสาเร็จและน่าสนใจ
1. การพฒั นาแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตพ้นื ท่ีพเิ ศษ
โดยองคก์ ารบริหารการพฒั นาพ้ืนท่ีพิเศษเพ่อื การท่องเที่ยวอยา่ งยง่ั ยนื (องคก์ ารมหาชน)
2. โครงการชุมชนท่องเท่ียว OTOP นวตั วิถี โดยกรมการพฒั นาชุมชน
โครงการ OTOP นวตั วิถีดาเนินการโดยกรมการพฒั นาชุมชน หรือ พช. เป็นโครงการสนบั สนุนใหม้ ี
การนาสินคา้ OTOP ของชุมชนเขา้ มารวมกบั การท่องเที่ยว เพ่อื ใหช้ ุมชนมีรายไดเ้ พมิ่ ข้ึนจากการ
จาหน่าย

14

สินคา้ OTOP ของชุมชน
3. โครงการประชาสมั พนั ธแ์ หลง่ ท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย หรือ ททท. อยใู่ นสงั กดั กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ทาหนา้ ที่
ส่งเสริมการท่องเท่ียวของประเทศ และผลกั ดนั ใหเ้ ป็นแหล่งท่องเท่ียวยอดนิยมอยา่ งยง่ั ยนื
ปรัชญาการท่องเท่ียว "จาริก" ตามแนวพทุ ธ
1.การท่องเที่ยวตอ้ งมุ่งไปสู่ความรู้และการจดั การความรู้ ในความหมายน้ีพระพทุ ธศาสนามุ่งเป้าไปที่
การจดั การความรู้ดงั ชื่อ “พุทธะ” ท่ีแปลวา่ รู้ ตื่น เบิกบาน ดงั น้นั การแสวงหาความรู้เป็นเจตจานงของ
พระพทุ ธศาสนาในการจดั การศึกษา
2.การท่องเที่ยวตอ้ งมุ่งไปสู่หลกั การที่ถูกตอ้ ง พทุ ธพจน์ที่วา่ "ธรรมและวนิ ยั จะเป็นศาสดาแทนเรา"
ยอ่ มยนื ยนั แนวคิดในเร่ืองการแสดงบทบาทของการจดั การท่องเที่ยวที่จะตอ้ งเขา้ ไปส่งเสริมหลกั การที่ถูกตอ้ ง
หมายถึงหลกั การท่ีถูกตอ้ ง และแนวคิดท่ีถูกตอ้ งอยา่ งสาคญั เพ่ือประโยชนข์ องการอยรู่ ่วมกนั ระหวา่ งความจริง
3.การท่องเที่ยวตอ้ งมุ่งไปสู่ประโยชน์ต่อส่วนรวม แนวคิด หรือพทุ ธพจน์ที่วา่ "ภิกษทุ ้งั หลาย พวกเธอ
จงจาริกไปเพอื่ ประโยชน์แก่มหาชนหมู่มาก เพ่อื ความสุขแก่ชนเป็นอนั มาก เพอื่ อนุเคราะห์สตั วโ์ ลก เพอ่ื
ประโยชน์เก้ือกลู
4. การท่องเที่ยวตอ้ งมุ่งไปสู่คุณภาพชีวติ ที่มน่ั คงยง่ั ยนื "นตั ถิ สนั ติ ปะรัง สุขงั " พทุ ธพจนน์ ้ียนื ยนั วา่
หลกั คิดทางพระพทุ ธศาสนาใหค้ วามสาคญั กบั คุณภาพชีวิต หรือความถูกตอ้ งของคุณภาพชีวติ ดงั น้นั เมื่อจะเขา้
ไปจดั การการท่องเท่ียว สิ่งที่ตอ้ งสร้างหรือสนบั สนุน
ความยงั่ ยนื คืออะไร

สฤณี: ความหมายของความยงั่ ยนื มีการนิยามไวเ้ ม่ือนานมาแลว้ คือการกระทาอะไรกแ็ ลว้ แต่ท่ีทาให้
ลูกหลานเราไม่เดือดร้อน ลูกหลานเราในอนาคตสามารถใชช้ ีวติ ดว้ ยคุณภาพชีวิตที่ไม่ดอ้ ยกวา่ เรา น่ีคือ
ความหมายของความยงั่ ยนื คือการมองไปท่ีคนรุ่นหลงั

ภทั ราพร: ความยง่ั ยนื ในมุมหน่ึงจะหนกั ไปทางสิ่งแวดลอ้ ม แต่ถา้ เรามองเรื่องของธุรกิจ
นอกเหนือจากมุมมองดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม กต็ อ้ งมองเร่ืองผลลพั ธท์ างสงั คมที่เกิดข้ึนจากการทาธุรกิจ ท้งั เร่ือง
แรงงาน เร่ืองความเท่าเทียม สิ่งเหลา่ น้ีจะถกู ขมวดเขา้ เป็นส่วนหน่ึงของความยงั่ ยนื

นิยามการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์
หมายถึง : การท่องเท่ียวที่เปิ ดโอกาสใหน้ กั ท่องเที่ยวไดม้ ีโอกาสในการพฒั นาศกั ยภาพเชิงสร้างสรรค์
ผา่ นกิจกรรมการมี

15

ส่วนร่วม และจากประสบการณ์ท่ีไดเ้ รียนรู้ ซ่ึงเป็นลกั ษณะเฉพาะของจุดหมายปลายทางของวนั หยดุ
ของนกั ท่องเที่ยว นอกจากน้ีการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรคย์ งั หมายถึงการท่องเที่ยวที่สมั พนั ธก์ บั ประวตั ิศาสตร์
ศิลปวฒั นธรรม วถิ ีชุมชนและเอกลกั ษณ์ของสถานท่ี โดยนกั ท่องเท่ียวไดเ้ รียนรู้เพอื่ สร้างประสบการณ์ตรง
ร่วมกบั เจา้ ของวฒั นธรรมและมีโอกาสไดใ้ ชช้ ีวิตร่วมกนั กบั เจา้ ของสถานที่

นกั ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรคม์ ีคุณลกั ษณะแบบไหน
นกั ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรคจ์ ะมีความเตม็ ใจท่ีกา้ วออกมาจากวถิ ีแห่งการท่องเท่ียวเชิงวฒั นธรรมแบบ
ด้งั เดิม พร้อมท่ีจะเรียนรู้วฒั นธรรมและประสบการณ์ใหม่ ๆ และเป็นนกั ท่องเที่ยวที่ชอบคน้ หาทางเลือกใหม่
ยนิ ดีที่จะไปเยอื นแหลง่ ท่องเท่ียวใหม่ นอกจากน้ียงั มองหาประสบการณ์จริงในวนั หยดุ พกั ผอ่ นที่สร้าง
สมั พนั ธภาพ การมีส่วนร่วมการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงจากภายใน ตอ้ งการเขา้ ร่วมกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์
เพอ่ื การพฒั นาทกั ษะของตนเอง

16

บรรณานุกรม

โมไนย พจน์.(2556). ‘’ปรัชญาการท่องเท่ยี ว "จาริก" ตามแนวพุทธ’’สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2564 จาก
https://www.gotoknow.org/posts/579842

รพพี ฒั น์ องิ คสิทธ์ิ.(2558). ‘’ความยง่ั ยืนคืออะไร’’สืบค้นเมื่อ 25 มนี าคม 2564 จาก
http://www.salforest.com/blog/sustainability-interview

พมิ พ์ลภสั พงศกรรังศิลป.(2557,กนั ยายน). ‘’องค์ประกอบที่สาคญั ต่อการจดั การการท่องเทย่ี วชุมชนอย่าง
ยงั่ ยืน’’.การจดั การการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยง่ั ยืน.3(659) จาก

file:///C:/Users/L340Gaming/Downloads/27460-Article%20Text-60624-1-10-20141226.pdf
ศศิชา หมดมลทิล.(2562,ตุลาคม). ‘’โครงการทส่ี ่งเสริมและพฒั นาการท่องเทยี่ วโดยชุมชนท่ีประสบ
ความสาเร็จและน่าสนใจ’’.ท่องเทยี่ วโดยชุมชน วถิ ีสู่ความยง่ั ยืน.1(4) จาก
https://www.gsbresearch.or.th/wp- content/uploads/2019/10/GR_report_travel_detail.pdf

กระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า.(2560,กรกฏาคม). ‘’นิยามการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์’’.แหล่งท่องเทยี่ วเชิง
สร้างสรรค์.1(14) จาก

https://www.dot.go.th/storage/3_01_2562/JiIBmnsOzmzCAgf0M9h83hZ1RoJkUmlPFJA8lTMG.pdf
กระทรวงการท่องเทยี่ วและกฬี า.(2560,กรกฏาคม). ‘’นักท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์’’.แหล่งท่องเท่ียวเชิง

สร้างสรรค์.1(13) จาก
https://www.dot.go.th/storage/3_01_2562/JiIBmnsOzmzCAgf0M9h83hZ1RoJkUmlPFJA8lTMG.pdf

17

หลกั การและการส่งเสริมการท่องเท่ยี วโดยชุมชน

พชิ ญณ์ ัฐ ขาเพชร

การท่องเท่ียวโดยชุมชนเป็นการท่องเที่ยวท่ีสมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมบริหารจดั การการท่องเท่ียว
เพ่ือประโยชน์ต่อชุมชน โดยกิจกรรมการท่องเท่ียวมุ่งสร้างปฏิสมั พนั ธ์ และความผกู พนั ระหวา่ งเจา้ บา้ นกบั ผมู้ า
เยือนผ่านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมท่องเท่ียวซ่ึงนาไปสู่การเรียนรู้ เขา้ ใจอยา่ งลึกซ้ึงถึงรากเหงา้ ของชุมชนเนน้
ความยงั่ ยืน และเป็ นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม สร้างความสมดุลระหว่างทรัพยากรการท่องเท่ียว สังคม วฒั นธรรม
และวิถีชีวิตของสมาชิกในชุมชน รวมถึงสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดีให้กบั สมาชิกในชุมชน และก่อใหเ้ กิดการเรียนรู้
ประสบการณ์ท่ีมีคุณค่ากบั ผูม้ าเยือน การจดั การการท่องเท่ียวโดยชุมชน ประกอบดว้ ย การวางแผน การจดั
องค์การ การนา การประสานงาน และการควบคุม โดยทุก ๆ กระบวนการเน้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกใน
ชุมชน ร่วมวางแผน ร่วมตดั สินใจ ร่วมพฒั นา ร่วมลงมือปฏิบตั ิ ร่วมแบ่งปันผลประโยชน์ และมีส่วนร่วม
ประเมินผล (ณฏั ฐพชั ร มณีโรจน์. (2560, ธนั วาคม). “การจดั การการท่องเที่ยวโดยชุมชน”.วิชาการการท่องเที่ยว
ไทยนานาชาติ. 2(13) ) โดยการจดั การท่องเที่ยวชุมชน จะไดท้ ้งั ประสบการณ์การเรียนรู้และความสนุกสนาน
และไดป้ ระโยชนร์ ู้แก่นกั ท่องเที่ยวท่ีมาเยอื น

หลกั การของการท่องเท่ียวโดยชุมชน (สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั นครพนม กรมการพฒั นาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย.(2560). “หลกั การท่องเที่ยวโดยชุมชน”)

1. ชุมชนเป็นเจา้ ของ
2. ชาวบา้ นเขา้ มามีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางและตดั สินใจ
3. ส่งเสริมความภาคภูมิใจในตนเอง
4. ยกระดบั คุณภาพชีวติ
5. มีความยง่ั ยนื ทางดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม
6. คงเอกลกั ษณ์และวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน
7. ก่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ระหวา่ งคนต่างวฒั นธรรม
8. เคารพในวฒั นธรรมท่ีแตกต่างและศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์
9. เกิดผลตอบแทนท่ีเป็นธรรมแก่คนทอ้ งถิ่น
10. มีการกระจายรายไดส้ ู่สาธารณประโยชน์ของชุมชน
การท่ีจะให้ชุมชนดาเนินการท่องเท่ียวตามหลกั การดงั กล่าวขา้ งตน้ จาเป็ นตอ้ งเตรียมความพร้อมและ
สร้างความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ชุมชนโดยการจดั การท่องเท่ียว สร้างความเขา้ ใจในความแตกต่างของการท่องเท่ียวโดย

18

ชุมชนกับการท่องเที่ยวทว่ั ไป โดยชุมชนจะตอ้ งร่วมมือกนั คิดคน้ กิจกรรมที่แสดงถึงเอกลกั ษณ์ในชุมชนที่
แตกต่างไปจากชุมชนอื่นๆเพื่อดึงดูดใหน้ กั ท่องเท่ียวเขา้ มาเที่ยว ซ่ึงเป็ นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ระหว่าง
คนต่างถิ่น ต่างวฒั นธรรม ส่งเสริมเอกลกั ณ์ของชุมชนในเร่ืองวฒั นธรรมความเป็นอยขู่ องคนในชุมชน อาหาร
เฉพาะทอ้ งถ่ินในชุมชน ซ่ึงเป็นการส่งเสริมความภาคภูมิใจของคนในชุมชนและเป็นการกระจายรายไดส้ ู่ชุมชน
ช่วยยกระดบั คุณภาพชีวิตของคนในชุมชน

หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ควรใหค้ วามสาคญั กบั การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน ช่วยผลกั ดนั
ให้เป็ นการท่องเท่ียวท่ีใครๆก็รู้จกั และไดร้ ับความนิยมอยา่ งต่อเน่ือง โดยการส่งเสริมการท่องเที่ยว (พชั รี หนู
สังขแ์ ละวรวุธ แกว้ ศรีดวง. (2563).การจดั การการท่องเที่ยวโดยชุมบา้ นเกาะโหลน ตาบลราไวย์ อาเภอเมือง
ภูเก็ต จงั หวดั ภูเก็ต. สงขลา : มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั .) ไดก้ ล่าวถึงแนวทางในการส่งเสริมการ
ท่องเท่ียวไว้ 3 ดา้ น ดงั น้ี 1.ดา้ นการประชามสัมพนั ธ์การท่องเที่ยว เป็นเคร่ืองมือท่ีมีบทบาทต่อการส่งเสริมการ
ท่องเท่ียวเป็ นอย่างมาก กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างภาพลกั ษณ์ท่ีดีสร้างชื่อเสียงของแหล่งท่องเที่ยวผ่านช่อง
ทางการส่ือสารไปยงั ประชาชนหรือผรู้ ับบริการใหเ้ ป็ นที่รู้จกั ในวงกวา้ ง และมุ่งหวงั ใหเ้ กิดความเช่ือถือไวว้ างใจ
จนนาไปสู่การตดั สินใจเดินทางมาท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว 2.ดา้ นการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม การแกป้ ัญหา
สิ่งแวดลอ้ มจริงๆ น้นั มิใช่การหยดุ ขยายตวั ทางเศรษฐกิจการปฏิเสธเทคโนโลยี แต่ความสาคญั อย่ทู ี่การเปล่ียน
ทศั นคติของตนเพื่อใหส้ ามารถเปล่ียนพฤติกรรมไปในทิศทางส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม รู้จกั นาทรัพยากรที่มี
อยมู่ าใชอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ใหเ้ กิดคุณคา่ และเกิดประโยชนส์ ูงสุด และใชใ้ หเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งยาวนานใหม้ าก
ที่สุด 3.การรักษาความปลอดภยั ความปลิดภยั ในชีวิตและทรัพยส์ ินของนกั ท่องเท่ียวเป็นส่วนที่ผเู้ กี่ยวขอ้ งตอ้ ง
ดาเนินการในส่วนของตน เช่น สถานที่พกั ตอ้ งมีระบบเตือนภยั มีพนักงานรักษาความปลอดภยั ของสถานท่ี
ท่องเท่ียว ตอ้ งมีระบบอานวยความปลอดภยั มีเจา้ หนา้ ที่ท่ีมีความรู้ความเขา้ ใจท่ีสามารถปฏิบตั ิหนา้ ท่ีไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ นอกจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนควรส่งเสริมการท่องเท่ียวแลว้ นกั ท่องเที่ยวทุกคนสามารถ
ส่งเสริมการท่องเที่ยวไดเ้ ช่นกนั โดยการไปเที่ยวสถานที่น้นั แลว้ เช็คอิน ถ่ายรูปลงช่องท่างสื่อออนไลน์ ทาให้
กระตุ้น ดึงดูดให้คนที่เห็นอยากไปเที่ยวไปตาม นี่ก็เป็ นอีกหน่ึงวิธีท่ีประชนชาจะได้ร่วมกันส่งเสริมการ
ท่องเท่ียวในประเทศไทยให้เป็ นท่ีรู้จักเพ่ิมมากข้ึน ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนให้เป็ นการท่องเท่ียวที่มี
เอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ของชุมชนน้ันๆ เพ่ือเป็ นการอนุรักษ์วฒั นธรรมทอ้ งถิ่นของชุมชนให้คงอยู่และเป็ นการ
ส่งเสริมใหค้ นไทยเท่ียวไทย

19

บรรณานุกรม

สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวดั นครพนม กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย.(2560).
“หลกั การท่องเทีย่ วโดยชุมชน” สืบคน้ เม่ือ 10 มีนาคม 2564 จาก https://nakhonphanom.cdd.go.th

ณฏั ฐพชั ร มณีโรจน.์ (2560, ธนั วาคม). “การจดั การการท่องเทย่ี วโดยชุมชน” .
วชิ าการการท่องเท่ียวไทยนานาชาติ. 2(13)

พชั รี หนูสงั ขแ์ ละวรวธุ แกว้ ศรีดวง. (2563). การจดั การการท่องเทยี่ วโดยชุมบ้านเกาะโหลน ตาบลราไวย์
อาเภอเมืองภูเกต็ จงั หวดั ภูเกต็ . สงขลา : มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั .

20

การบริหารและการจดั การการท่องเทย่ี ว

วรลกั ษณ์ ศรีธรรมยศ

บทนา
ปัจจุบนั น้ีมีการท่องเท่ียวอยา่ งแพร่หลาย ท้งั การท่องเท่ียวภายในประเทศ ต่างประเทศ ซ่ึงในยคุ สมยั น้ีมี

การท่องเท่ียวในประเทศท่ีคนส่วนใหญ่หนั มาท่องเท่ียวในชุมชนทอ้ งถ่ินมากข้ึนจากท้งั เหตกุ ารณ์ในปัจจุบนั ทา
ใหช้ ุมชนทอ้ งถิ่นหนั มาทาเก่ียวกบั ท่องเท่ียวเพื่อหารายไดเ้ ขา้ ชุมชนของตวั เองและสามารถทาเงินใหใ้ นแต่บะ
ครัวเรือนได้ ซ่ึงในการทาการท่องเท่ียวน้นั จะตอ้ มีการศึกษาการจดั การและการบริหารการท่องเที่ยวชุมชน
ทอ้ งถ่ินเพ่อื ท่ีจะทาใหอ้ งคก์ รหรือการทางานเป็นไปอยา่ งราบร่ืน และมีการทางานเป็นหลกั การมากข้ึน เพ่อื ให้
องคก์ รและการทางานออกมามีประสิทธิภาพ
1.ความหมายของชุมชน

ชุมชนหมายถึง สถานที่ท่ีมีกลุ่มคนอาศยั อยใู่ นพ้ืนที่แห่งหน่ึงและมีความศรัทธา ความเช่ือ เช้ือชาติ การ
ทางาน การรู้สึกนึกคิด การอยดู่ ว้ ยการเก้ือกลู กนั มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกนั ทาใหช้ ุมชนเขม้ แขง็ และยง่ั ยนื
2.ความหมายของการจดั การ

การจดั การ หมายถึง การใหก้ ลุม่ บุคคลในองคก์ รเขา้ มาทางานร่วมกนั เพ่อื บรรลุวตั ถุประสงคร์ ่วมกนั
ขององคก์ ร ซ่ึงประกอบดว้ ยการวางแผน การจดั การองคก์ ร การสรรบุคลากร การนาหรือสง่ั การ และการควบคุม
องคก์ รหรือความพยายามที่จะบรรลุวตั ถุประสงคร์ ่วมกนั
3.การท่องเที่ยวชุมชนยง่ั ยืน

การท่องเท่ียวโดยชุมชนจึงหมายถึง การท่องเท่ียวท่ีมี เอกลกั ษณ์คานึงถึงความยงั่ ยนื ของส่ิงแวดลอ้ ม
สงั คม และวฒั นธรรม โดยเป็นการท่องเท่ียวที่คนในชุมชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั การท่องเที่ยว ซ่ึงเป็นการ
ท่องเท่ียวที่ไมเ่ พยี งแต่ตอบสนองความตอ้ งการของนกั ท่องเท่ียว เท่าน้นั แต่ยงั เนน้ ถึงการสร้างศกั ยภาพของคน
ในชุมชนน้นั ๆ ดว้ ย เพื่อให้ กิจกรรมการท่องเที่ยวเป็นอาชีพเสริมท่ีเขา้ มาสนบั สนุนอาชีพหลกั หรือ วถิ ีชีวติ
ด้งั เดิมของชุมชนโดยท่ีไมเ่ ป็นการท าลายวถิ ีชีวิตเดิมหรือทรัพยากร ของชุมชนที่มีอยเู่ ดิม
4. แนวทางการบริหารการจัดการการท่องเทย่ี ว

-แนวทางการบริหารจดั การการท่องเท่ียวแห่งชาติ
-การบริหารจดั การในส่วนของภาครัฐ
-การบริหารจดั การในการนาแผนไปปฏิบตั ิใหไ้ ดต้ ามนโยบายในทุกภาคส่วน
-การบริหารจดั การติดตามและวเิ คราะห์การปฏิบตั ิงานในทกุ ภาคส่วน

21

-การบริหารจดั การเครือข่ายท้งั ส่วนของภาครัฐและส่วนของภาคเอกชนใหท้ างานร่วมกนั แบบบูรณการ
5.การจัดการท่องเทีย่ วอย่างยง่ั ยืน

การจดั การการท่องเท่ียวอยา่ งยงั่ ยนื มีความขจาเป็นในการรักษาความสมดุลของทพั ยากรการท่องเท่ียว
ซ่ึงมีความสาคญั และมีความวมั พนั ธโ์ ดยตรงกบั ประชาชนในพ้นื ท่ี และสงั คม การจดั การทรัพยากรการท่องเที่ยว
อยา่ งยง่ั ยนื จึงหมายถึงการกาหนดแนวทางการใชป้ ระโยชน์และการพฒั นาทรัพยากรการท่องเที่ยวรวมท้งั ปัจจยั
แวดลอ้ มที่เกี่ยวขอ้ งกบั การทอ่ งเท่ียวเพื่อตอบสนอง ความจาเป็นทางเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม และและ
สุนทรียภาพแก่สมาชิกของสงั คมไทยในปัจจุบนั และอนาคต
6. การยกระดบั การจัดการวฒั นธรรมท้องถน่ิ เพื่อรองรับการท่องเท่ยี วเชิงประสบการณ์

การจดั ทาแนวทางการยกระดบั การจดั การวฒั นะรรมเพ่ือรองรับนกั ท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ทอ้ งถิ่น
การวิเคราะห์ร่วมกบั แนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ งสามารถไดน้ วทางการยกระดบั การจดั การวฒั นธรรม 15 ข้นั ตอน
โดยใหค้ วามสาคญั การเตรียมพร้อมของชุมชนว่งึ เป็นเจา้ ของวฒั นธรรมและเป็นผมู้ ีบทบาทหลกั ในการจดั การ
วฒั นธรรมเพอื่ รองรับการท่องเท่ียว เพือ่ ใหจ้ ดั การการท่องเที่ยวสามารถสร้างผลกระทบเชิงบวก และมีส่วนสร้าง
ความเขม้ แขง็ ของชุมชน
7.การพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรด้านการท่องเทีย่ วชุมชน

7.1 การบริหารจดั การเงินทนุ และรายไดจ้ ากการท่องเที่ยว คือการวางแผนรักษาและสร้างรายไดข้ อง
ชุมชนความยง่ั ยนื ของการกระจายรายไดข้ องชุมชน และการสร้างเงินออมและแหล่งเงินทุนหมนุ เวยี นในชุมชน

7.2 การเพิม่ คุณคา่ ดา้ นทรัพยากรมนุษย์ คือทรัพยากรมนุษยต์ ่อการพฒั นาและการบริหารจดั การกรท่อว
เท่ีนสวโดยชุมชน และการพฒั นาทรัพยากรมนุษยใ์ นการท่อวเท่ียวโดยชุมชน ผา่ นเคร่ืองมือการคิดเชิงออกแบบ

7.3 แนวโนม้ ความตอ้ งการ “คุณค่าและประสบการณ์”การท่องเท่ียว เก่ียวกบั แนวโนม้ ความตอ้ งการของ
นกั ท่องเท่ียวโดยชุมชนกบั การสร้างประสบการณ์ท่ีมีคุณคา่ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ

7.4 เร่ืองเลา่ ...เลา่ เร่ือง สาคญั ไฉน เป็นเน้ือหาเกี่ยวกบั แนวทางการบริหาร
7.5 การสร้างคุณคา่ และมูลคา่ การท่องเที่ยวโดยชุมชนผา่ นสินคา้ ท่ีระลึก องคป์ ระกอบของแหล่ง
ท่องเที่ยวท่ีประสบความสาเร็จ สเน่ห์สุนทรียแ์ ห่งชุมชน ระลึกถึงกนั ...ความผกู พนั เหนือกาลเวลาสื่อแทน ส่ือ
สร้างสุข จากผใู้ หถ้ ึงผรู้ ับ
7.6 การเพ่ิมคณุ คา่ ผา่ นเทคโนโลยี คือกระแสที่เปล่ียนไปของโลกและการท่องเที่ยวแนวโนม้ พฤติกรรม
นกั ท่องเที่ยวในยคุ ดิจิทลั การเสพสื่อ ผา่ นอินเทอร์เน็ต การเพ่มิ คุณค่า ของการท่องเที่ยวโดยชุมชนผา่ น
เทคโนโลยี

22

7.7 การเพิม่ คณุ ค่าและความสุขใหช้ ุมชนท่ีทาการท่องเท่ียว คือการเพ่มิ คุณค่าใหช้ ุมชนที่ทาการ
ท่องเที่ยว ควรทาอยา่ งไรเม่ือชุมชนมีคุณคา่ ส่ิงที่ตามมาคือ ความสุข และความสุขใหก้ บั ชุมชนท่ีทาการท่องเที่ยว
8.แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั การบริหารจดั การองค์การ

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ(2539:148-149)ไดใ้ หค้ วามหมายของ“การจดั องคก์ าร”หมายถึง
กระบวนการท่ีกาหนด กฎ ระเบียบ แบบแผน โครงสร้างท่ีมีระบบที่เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน ผบู้ ริหารตอ้ ง
จดั กาลงั คนและทรัพยากรใหเ้ หมาะสม เพื่อการใชท้ รัพยากรที่มีอยอู่ ยา่ งจากดั ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดลกั ษณะ
ของการจดั องคก์ าร แบ่งออกเป็น2แบบคอื การจดั องคก์ ารแบบกวา้ ง และการจดั องคก์ ารแบบ
แคบ โดยแบ่งรูปแบบโครงสร้างองคก์ ารออกเป็น2 ลกั ษณะใหญ่ๆ ดงั น้ี
1.โครงสร้างแนวดิ่ง(The vertical organization)
2.โครงสร้างแนวนอน(Horizontalorganization)
9.ภาพรวมและตัวอย่างองค์ประกอบการจัดการบริหารจัดการแหล่งท่องเทีย่ วแบบมสี ่วนร่วม
องค์ประกอบการบริหารจดั การ

9.1 คณะบริหาร ไดแ้ ก่
- แหล่งทอ่ งเที่ยว การบริหารจดั การแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ อาจดาเนินการโดยหน่วยงานที่เป็นเจา้ ของ
หรือ ผดู้ ูแลแหล่งท่องเท่ียว อาทิ สานกั บริหารพ้นื ท่ี อนุรักษ์ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ชุมชน หรือหน่วยงาน
อื่นเป็นเจา้ ภาพหลกั ในการจดั ต้งั คณะบริหารแหลง่ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (DMO) โดย มีสานกั งานการท่องเที่ยว
และกีฬาจงั หวดั เป็น ผปู้ ระสานงานกบั หน่วยงานราชการในพ้นื ที่ ภาคเอกชน ท่ีเก่ียวขอ้ ง ภาคประชาสงั คม และ
หน่วยงานราชการในส่วนกลาง
-การบริหารจดั การแหล่งท่องเท่ียวทาง ประวตั ิศาสตร์อาจดาเนินการโดยสานกั ศิลปากร องคก์ รปกครอง
ส่วนทอ้ งถ่ิน หรือหน่วยงานอ่ืน ซ่ึงเป็นเจา้ ของแหลง่ ท่องเท่ียว เป็นเจา้ ภาพหลกั ในการบริหารจดั การหรือจดั ต้งั
คณะบริหาร แหลง่ ท่องเท่ียวทางประวตั ิศาสตร์
-การบริหารจดั การแหลง่ ท่องเที่ยวทางวฒั นธรรม อาจดาเนินการ โดยมีองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน หรือ ผนู้ า
ชุมชนในพ้นื ท่ีเป็นเจา้ ภาพหลกั ใน การจดั ต้งั คณะบริหารแหลง่ ท่องเท่ียวทางวฒั นธรรม
9.2 แผนกบริหารจดั การแหลง่ ท่องเที่ยว ไดแ้ ก่
-การบริหารจดั การแหลง่ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ควรคานึงถึงการอนุรักษแ์ ละการใชป้ ระโยชน์ ส่ิงดึงดูดใจของแหลง่
ท่องเท่ียว เช่น ความอดุ ม สมบูรณ์ของสภาพธรรมชาติ

23

-การบริหารจดั การแหล่งท่องเท่ียวทาง ประวตั ิศาสตร์ ควรคานึงถึงการอนุรักษแ์ ละ การใชป้ ระโยชนส์ ่ิงดึงดูดใจ
ของแหล่งท่องเที่ยว เช่น โบราณสถาน ศาสนสถาน
-การบริหารจดั การแหล่งท่องเท่ียวทางวฒั นธรรม ควรคานึงถึงการอนุรักษแ์ ละการใชป้ ระโยชน์ ส่ิงดึงดูดใจ ของ
แหล่งท่องเที่ยว เช่น วถิ ีชีวิต ความเช่ือ การแต่งกาย

9.3 วสิ ยั ทศั นด์ า้ นการท่องเที่ยวไดแ้ ก่ “แหล่งเรียนรู้เชิงนิเวศดา้ น... ท่ีดีท่ีสุดใน ประเทศไทย”หรือ“แหล่ง
เรียนรู้ประวตั ิศาสตร์ดา้ น... ท่ีดีท่ีสุดใน ประเทศไทย” หรือ“แหล่งเรียนรู้วฒั นธรรม... ท่ีดีที่สุดใน ประเทศไทย”
เป็ นตน้

9.4แผนงานดา้ นการท่องเท่ียว
-แผนการบริหารจดั การพ้นื ที่อยา่ งเป็นระบบ ท้งั พ้ืนท่ีอนุรักษแ์ ละพ้นื ที่บริการท่องเที่ยว
-แผนดูแลรักษาหรือมาตรการป้องกนั ผลกระทบ ต่อพ้นื ที่ประวตั ิศาสตร์หรือโบราณคดี
-แผนจดั กิจกรรมเพ่อื การเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์ โบราณคดี และศิลปวฒั นธรรมโบราณ

9.5แผนการเงินดา้ นการท่องเท่ียว
9.5.1 แผนการหารายไดข้ องแหลง่ ท่องเท่ียวควรครอบคลุม
- เงินงบประมาณ -
- เงินนอกงบประมาณ
- เงินสนบั สนุนจากหน่วยงานอ่ืน
9.5.2 แผนการใชจ้ ่ายของแหล่งท่องเที่ยวควรครอบคลุม
-คา่ ใชจ้ ่ายดา้ นบุคลากรในดา้ นเงินเดือน ค่าจา้ ง และสวสั ดิการ
-ค่าใชจ้ ่ายดา้ นการดาเนินงาน ไดแ้ ก่คา่ สาธารณูปโภค ค่าวสั ดุ ครุภณั ฑ์ เป็นตน้
-ค่าใชจ้ ่ายดา้ นการลงทุนและการพฒั นาแหล่งท่องเท่ียว เช่น การปรับปรุงภูมิทศั น์ ศูนยบ์ ริการนกั ท่องเที่ยว
อาคารเอนกประสงค์ หอ้ งสุขา หอ้ งอาบนา บา้ นพกั ถนนและเสน้ ทางเดินเทา้ ภายในแหลง่ ท่องเท่ียว เป็นตน้
-คา่ ใชจ้ ่ายในการดูแลบารุงรักษาแหล่งท่องเท่ียวและสิ่งอานวยความสะดวก
- ค่าใชจ้ ่ายอื่น ๆ
9.5.3 แผนการส่งเสริมใหช้ ุมชนมีรายไดจ้ ากการท่องเท่ียว
การจา้ งแรงงานทอ้ งถิ่น
ส่งเสริมผลิตภณั ฑท์ อ้ งถิ่น

24

สนบั สนุนผปู้ ระกอบการทอ้ งถิ่น
9.6 แผนกบุคลากรดา้ นการท่องเที่ยว

- แผนพฒั นาโครงสร้าง อตั รากาลงั และการบริหารทรัพยากรบุคคลของแหลง่ ท่องเท่ียว
-แผนพฒั นาประสิทธิภาพของบุคลากรดา้ นการอนุรักษธ์ รรมชาติ
-แผนพฒั นาสมรรถนะของบุคลากรดา้ นการใหบ้ ริการแก่นกั ท่องเท่ียว
-แผนพฒั นาทกั ษะของบุคลากรดา้ นการสร้างและถ่ายทอดองคค์ วามรู้
-แผนการสร้างและพฒั นาคุณภาพของมคั คุเทศกห์ รือผนู้ าชมสาหรับนกั ท่องเท่ียว

9.7การบริหารจดั การดา้ นส่ิงดึงดูดใจ การบริหารจดั การสิ่งดึงดูดใจ ไดแ้ ก่ คุณค่าของแหลง่ ท่องเที่ยวเป็น
คุณลกั ษณะสาคญั ของแหล่งท่องเท่ียวแต่ละประเภท ซ่ึงทาให้ แหล่งท่องเที่ยวน้นั มีความโดดเด่นแตกต่างจาก
แหลง่ ท่องเที่ยวอื่น ๆ โดยอาจพจิ ารณาจากหลายปัจจยั ท้งั ในดา้ นกายภาพของแหลง่ ทอ่ งเที่ยว ระบบนิเวศ พืช
สตั ว์ ธรณีสณั ฐาน ประวตั ิศาสตร์ โบราณคดี ศิลปะ สถาปัตยกรรม วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม ระดบั ของเทคโนโลยที ี่
นามาใชใ้ นแหล่งท่องเที่ยว เป็นตน้

9.8 การบริหารจดั การดา้ นสิ่งอานวยความสะดวก หมายถึง การจดั หาส่ิงอานวยความสะดวกและการบริการ
ต่าง ๆ ที่ไดม้ าตรฐานใหแ้ ก่นกั ท่องเท่ียวใหแ้ หลง่ ท่องเที่ยว เป็นปัจจยั สาคญั ในการพฒั นาคุณภาพ ของแหลง่
ท่องเที่ยวและเป็นสิ่งดึงดูดใจนกั ท่องเท่ียว

9.9 การบริหารจดั การดา้ รการเขา้ ถึงแหล่งท่องเท่ียว หมายถึง การบริหารจดั การดา้ นการเขา้ ถึงแหล่งท่องเที่ยว
ไดแ้ ก่ วธิ ีการเดินทางเขา้ สู่ แหลง่ ท่องเที่ยว ครอบคลุมถึงเรื่องเส้นทางคมนาคม ระยะทาง ระยะเวลา และ
ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทาง
9.10 การบริหารจดั การดา้ นการรักษาความปลอดภยั หมายถึง การบริหารจดั การดา้ นการรักษาความปลอดภยั
ไดแ้ ก่ มาตรการดา้ นความปลอดภยั หรือระบบเตือนภยั ท่ีตอ้ งมีการปฏิบตั ิอยา่ งเป็นรูปธรรม เพือ่ ป้องกนั อนั ตราย
ท่ีอาจ จะเกิดข้ึนต่อชีวติ จิตใจ สุขภาพอนามยั หรือทรัพยส์ ินของนกั ท่องเท่ียว
9.11 การบริหารจดั การดา้ นการตลาด หมายถึง การทาใหก้ ลุม่ เป้าหมายรู้จกั และตดั สินใจเดินทางเขา้ มา
ท่องเที่ยวในแหล่งท่องเท่ียว โดยอาจใชก้ ลยทุ ธต์ ่าง ๆ เช่น การเป็นผนู้ าดา้ นราคากลยทุ ธ์ สร้างความแตกต่าง การ
สร้างเอกลกั ษณ์ใหก้ บั แหล่งท่องเที่ยว
9.12 การบริหารจดั การดา้ นรักท่องเท่ียวหมายถึง การบริหารจดั การใหน้ กั ท่องเท่ียวที่เป็นบุคคลท้งั ชาวไทย
และชาวต่างประเทศใหม้ ีพฤติกรรมการท่องเที่ยวท่ีพงึ ประสงค์ และมีจานวนท่ีเหมาะสมกบั ขีดความสามารถใน
การรองรับของแหล่งท่องเท่ียวน้นั ๆ

25

10. แนวคดิ การบริหารจดั การทรัพยากรการท่องเที่ยว
การจดั การทรัพยากรการท่องเท่ียวแบบยง่ั ยนื ประกอบดว้ ยหลกั การที่ส าคญั ดงั น้ี(มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิ
ราช, 2545: 19-22) (1) อนุรักษแ์ ละใชท้ รัพยากร อยา่ งพอดี (Using resource sustainable) หมายถึง ประกอบการ
ธุรกิจท่องเท่ียวและผรู้ ับผดิ ชอบการ พฒั นาการท่องเท่ียว ตอ้ งมีวธิ ีการจดั การใชท้ รัพยากรท่ีมี อยเู่ ดิม ท้งั มรดก
ทางธรรมชาติและมรดกทางวฒั นธรรมที่ มีอยดู่ ้งั เดิมอยา่ งเพียงพอหรือใชอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และ ใชอ้ ยา่ ง
ประหยดั ใหค้ มุ้ ค่า โดยคานึงถึงตน้ ทุนอนั เป็นคุณคา่ คุณภาพของธรรมชาติ วฒั นธรรม และภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน
สรุป การบริหารและการจดั การเป็นปัจจยั ท่ีสาคญั ท่ีจะทาหก้ ารทางานดา้ นการท่องเท่ียวเกิดผลสาเร็จ

26

บรรณานุกรม
ชาญโชติ ชมพนู ุท(2558) “แนวทางการบริหารการจัดการการท่องเท่ียว”สืบคน้

เมื่อ19กมุ ภาพนั ธ์2564 จาก https://www.gotoknow.org/posts/595309
ทิพยส์ ุดา พุฒจร และฐิติมา เวชวงศ.์ (2563,พฤศจิกายน) “ การยกระดับการจัดการวฒั นธรรม

ท้องถนิ่ เพื่อรองรับการท่องเทย่ี วเชิงประสบการณ์”.วารสารมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.40(6),57-73
ธาดา รัชกิจ.(2562,กมุ ภาพนั ธ์) “hrnote.asia:การจดั การคืออะไร”สืบคน้ เม่ือ 4กมุ ภาพนั ธ์2564,จาก

https ://th.hrnote.asia/orgdevelopment/th-190215whatismanagement/
ปารีชาติ วลยั เสถียร(ม.ป.ป.) “นิยามความหมาย ทฤษฎี และแนวคดิ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั การมสี ่วนร่วม

ของภาคประชาชน”สืบคน้ เมื่อ 19กมุ ภาพนั ธ์2564 จาก
http://dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/5386/6/6.%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97
%E0%B8%B5%E0%B9%88%202.pdf
ภาพรวมและตวั อย่างองค์ประกอบการจัดการบริหารจดั การแหล่งท่องเทยี่ วแบบมสี ่วนร่วม.(ม.ป.ป)

สืบคน้ เมื่อ14เมษายน2564 จากhttps
://www.dot.go.th/storage/ebooks/January2019/K7C2CS4aRuWAZKhZI3GP.pdf

ภุชงค์ แยม้ พริบพรี.(2559กรกฎาคม-ธนั วาคม) “ปัจจัยท่ีมีผลต่อการจัดการทรัพยากรการท่องเท่ยี ว
อาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบุรี กรณศี ึกษา: เทศบาลเมืองชะอา ”.วารสารการวิจยั การบริหารการ
พฒั นา .6(2),38

ภุชงค์ แยม้ พริบพรี.(2559กรกฎาคม-ธนั วาคม) “ปัจจัยท่มี ผี ลต่อการจัดการทรัพยากรการท่องเทยี่ ว
อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบุรี กรณศี ึกษา: เทศบาลเมืองชะอา ”.วารสารการวจิ ยั การบริหารการ

พฒั นา .6(2),39
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา(ม.ป.ป.). “การจดั การท่องเทยี่ วอย่างยั่งยืน”(.ม.ป.ท).หนา้ 116
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา.คู่มือการพฒั นาศักยภาพบุคคลากรด้านการท่องเทยี่ วชุมชน.

ปาร์ต้ี บมู ม จากดั

27

วศศิชา หมดมลทิล(ม.ป.ป.) “ท่องเทยี่ วโดยชุมชน วถิ ีสู่ความยงั่ ยืน”สืบคน้ เม่ือ19กมุ ภาพนั ธ์2564
จากhttps://www.gsbresearch.or.th/wp-content/uploads/2019/10/GR_report_travel_detail.pdf

28

ประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับบจากการท่องเทย่ี วชุมชน

อารยา เผา่ บริบูรณ์

บทนา
การท่องเท่ียวหรืออุตสาหกรรมท่องเท่ียวเป็นเรื่องใกลต้ วั กวา่ ที่คิดเน่ืองจากมีบทบาทมากข้ึนในสงั คม

โลกและยง่ิ มากข้ึนในชุมชนทอ้ งถ่ินเม่ืออตุ สาหกรรมท่องเท่ียวไดข้ ยายอาณาเขตของกิจกรรมทางเศรษฐกิจเขา้
ใกลว้ ถิ ีชีวติ ของชุมชนมากข้นึ ในขณะที่แนวโนม้ การท่องเที่ยวของประเทศไทยมีการเติบโตในทิศทางบวก
นกั ท่องเท่ียวส่วนหน่ึงใหค้ วามสนใจกบั การเดินทางไปสมั ผสั ความจริงแทด้ ้งั เดิมของพ้นื ที่ต่าง ๆ ในไทยเพิ่ม
มากข้ึน การท่องเที่ยวไม่ไดก้ ระจุกตวั อยใู่ นเมืองใหญ่ หากมีการกระจายตวั สู่ชุมชน ส่งผลใหท้ อ้ งถ่ินหลายแห่ง
ต้งั รับการมาถึงของนกั ท่องเที่ยวนาการท่องเที่ยวมาเป็นเคร่ืองมือในการพฒั นาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิต
ขณะเดียวกนั ภาครัฐกใ็ หค้ วามสาคญั กบั การท่องเที่ยวโดยชุมชนเพม่ิ มากข้ึนจากการประกาศใหท้ ่องเท่ียววิถีไทย
เป็นวาระแห่งชาติ มีการจดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์การท่องเท่ียวโดยชุมชน เพ่อื ใหก้ ารพฒั นาการท่องเที่ยวโดย
ชุมชนไปในทิศทางที่ยงั่ ยนื อุตสาหกรรมท่องเที่ยวจึงถือเป็นอตุ สาหกรรมแห่งความหวงั ที่สร้างรายไดใ้ หก้ บั
ประเทศไทยมากเป็นอนั ดบั ตน้ ๆ และมีความสาคญั โดยตรงต่อการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ อนั ส่งผลให้
ความเป็นอยขู่ องประชาชนในประเทศดีข้ึน การเจริญเติบโตของอตุ สาหกรรมท่องเที่ยวแมว้ า่ จะก่อใหเ้ กิด
ประโยชนท์ างเศรษฐกิจ มีการจา้ งงานเพ่ิมข้นึ มีการลงทุนและสร้างรายไดเ้ ขา้ ประเทศ แต่กส็ ่งผลกระทบต่อ
สภาพแวดลอ้ ม วิถีชีวติ ของสถานท่ีน้นั ๆ หากไม่มีการจดั การท่ีดีพอ
ดงั น้นั เพื่อใหเ้ กิดความสมดุลระหวา่ งการอนุรักษแ์ ละการพฒั นาจึงไดเ้ กิดแนวความคิดในการพฒั นาการ
ท่องเที่ยวอยา่ งยงั่ ยนื เกิดเป็นการท่องเท่ียวทางเลือกที่หลากหลาย หน่ึงในน้นั คือ ‘การท่องเที่ยวโดยชุมชน’
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism) เป็นการท่องเท่ียวทางเลือกที่บริหารจดั การโดยชุมชน
เพือ่ ใหป้ ระโยชนจ์ ากการท่องเท่ียวตกอยกู่ บั คนในชุมชน โดยหลกั การของการท่องเที่ยวโดยชุมชนน้นั มีดว้ ยกนั
10 ขอ้ คือ
1. ชุมชนเป็นเจา้ ของ
2. ชาวบา้ นเขา้ มามีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางและตดั สินใจ
3. ส่งเสริมความภาคภูมิใจในตนเอง
4. ยกระดบั คณุ ภาพชีวิต
5. มีความยงั่ ยนื ทางดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม
6. ชุมชนยงั คงเอกลกั ษณ์และวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน

29

7. ก่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ระหวา่ งคนต่างวฒั นธรรม
8. เขา้ ใจและเคารพในวฒั นธรรมที่แตกต่างและศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์
9. เกิดผลตอบแทนท่ีเป็นธรรมแก่คนทอ้ งถิ่น
10. มีการกระจายรายไดส้ ู่สาธารณประโยชน์ของชุมชน

การท่องเที่ยวโดยชุมชนจึงถือเป็นรูปธรรมท่ีชดั เจนในการบริหารจดั การทรัพยากรของชุมชน โดย
ชุมชน และเพอ่ื ชุมชนโดยแท้ ท้งั ยงั เป็นสะพานเช่ือมระหวา่ งชุมชนกบั นกั ท่องเท่ียวในการแลกเปล่ียนเรียนรู้วิถี
ชีวิตเขา้ ใจความต่างทางวฒั นธรรม สร้างความภาคภูมิใจของคนในทอ้ งถิ่น ก่อใหเ้ กิดความสุขอยา่ งยงั่ ยนื ในท่ีสุด

ผลประโยชน์ดา้ นเศรษฐกิจ
การท่องเท่ียวโดยชุมชนไมม่ ุ่งหมายใหก้ ารท่องเที่ยวเป็นเศรษฐกิจหลกั ของชุมชน เพราะอาจจะทาใหเ้ กิดการ
เปลี่ยนแปลงวถิ ีชีวติ และชุมชนจะไม่สามารถอยไู่ ดห้ ากภาวะท่องเที่ยวในชุมชนซบเซาลง แต่ประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจของการท่องเที่ยวโดยชุมชนคืออาชีพเสริมท่ีเกิดจากการจดั สรรทรัพยากรในพ้นื ที่ใหเ้ กิดมูลค่าและ
ประโยชนส์ ูงสุด นามาซ่ึงความเป็นอยทู่ ี่ดี

ผลประโยชนด์ า้ นสังคมวฒั นธรรม
ผลประโยชน์ท่ีเห็นชดั สุดและเกิดข้ึนต้งั แต่เร่ิมตน้ จากการร่วมมือกนั ของคนในชุมชน การสารวจชุมชน
วฒั นธรรม ประเพณี อตั ลกั ษณ์ที่เป็นมรดกทางสงั คมของแต่ละชุมชนซ่ึงไม่เพียงเป็นเสน่ห์ของการทาการ
ท่องเท่ียวโดยชุมชน แต่ยงั เป็นการคน้ พบคุณคา่ ท่ีก่อใหเ้ กิดความภาคภูมิใจ ความมีส่วนร่วม และความเป็นหน่ึง
เดียวกนั ของชุมชน

ผลประโยชนด์ า้ นส่ิงแวดลอ้ ม
การคืนส่ิงแวดลอ้ มสู่ชุมชนผา่ นเงื่อนไขของการท่องเท่ียวท่ีใชค้ วามสมบูรณ์ของส่ิงแวดลอ้ มเป็นส่ิงนาเสนอใน
รูปแบบของการท่องเท่ียวขณะเดียวกนั ยงั สามารถป้องกนั การเขา้ มาของนายทุนที่อาจสร้างเงินสร้างรายไดจ้ าก
การท่องเที่ยวใหก้ บั ชุมชนแต่ส่ิงท่ีถูกทาลายคือส่ิงแวดลอ้ มจากการเขา้ มาโดยไม่คานึงถึงชุมชนดงั น้นั การทาการ
ท่องเที่ยวโดยชุมชนจึงเป็นท้งั การรักษาส่ิงแวดลอ้ มท่ีอาจเปล่ียนแปลงไป และปกป้องส่ิงแวดลอ้ มในชุมชน
ไม่ใหถ้ ูกรุกรานจากคนภายนอก นบั เป็นจุดเร่ิมตน้ ของการฟ้ื นฟูระบบนิเวศขนาดใหญ่ท่ีใหป้ ระโยชน์ยงั่ ยนื ไปสู่
รุ่นหลงั ซ่ึงตอ้ งอาศยั ความเสียสละและการพดู คุย เพ่อื ใหช้ ุมชนเห็นพอ้ งตอ้ งกนั วา่ การคืนท่ีดินทากินใหเ้ ป็น
พ้ืนท่ีป่ าจะเกิดประโยชน์มหาศาลเพราะเมื่อระบบนิเวศสมดุล ชาวบา้ นจะสามารถประกอบอาชีพ ทามาหากินได้
ง่ายข้ึน

30

บรรณานุกรม
กรมส่งเสริมวฒั นธรรม. (2563, มีนาคม). ท่องเทีย่ วชุมชนบนเส้นทางความรู้. สืบคน้ เมื่อ 23

มกราคม 2564 จาก https://site.google.com/site/
ชฎาพร สงนนอก. (2559, กมุ ภาพนั ธ)์ . การท่องเทีย่ วชุมชนโดย CBT. สืบคน้ เม่ือ 29 มกราคม 2564

จาก https://site.google.com/site/
ศศิชา หมดมลทิล. (2562 ตุลาคม). การท่องเทย่ี วชุมชนสู่วถิ กี ารท่องเท่ียวเเบบยงั่ ยืน. สืบคน้ เมื่อ 17

เมษายน 2564, จาก https://www.gsbresearch.or.th/
วรี ะพล ทองมา. (2560). การจัดการท่องเท่ียวชุมชน, วชิ าการท่องเท่ียวนานาชาติ. 13(2) :1-22
ธนพล จนั ทร์เรืองฤทธ์ิ. (2561). การจดั การการท่องเท่ียวโดยชุมชนเพ่ือการท่องเทีย่ วอย่างยง่ั ยืน.

กรุงเทพ. 7(3) : 337-362

31

แหล่งท่องเท่ียวชุมชน

อิมรอน เลาะปนสา

ความหมายของการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism) คือ การท่องเที่ยวท่ี
คานึงถึงความยงั่ ยนื ของสิ่งแวดลอ้ ม สงั คม และวฒั นธรรมของชุมชนกาหนดทิศทางโดยชุมชนจดั การโดยชุมชน
เพ่อื ชุมชนและชุมชนมีบทบาทเป็นเจา้ ของในการจดั การ ดูแล เพื่อให้ เกิดการเรียนรู้แก่ผมู้ าเยอื น ผใู้ หญส่ มยั ก่อน
ยอ้ นหลงั ไปเพียง 50-60 ปี มกั จะส่ังสอนลูกหลานว่า “อย่าเท่ียวเตร่ให้มากนักจะเสียผูเ้ สียคน” ท้งั น้ี เพราะ
ภาพลกั ษณ์ของคาวา่ “ท่องเที่ยว” ในสมยั ท่ีการคมนาคมถนนหนทางยงั ไม่สะดวก จะเป็นการเท่ียวเสเพลบ่อน
เบ้ียในละแวกบา้ น ผูใ้ หญ่ก็ออกเดินทางรอนแรมไปกบั กองเกวียนในหน้าแลง้ เพื่อไปไหวพ้ ระพุทธบาท ไป
ทาบุญยงั วดั วาอารามท่ีอยหู่ ่างไกลจากถิ่นท่ีอยขู่ องตน หรือลอ่ งเรือไปทอดผา้ ป่ า ทอดกฐิน ยงั วดั ริมน้าในจงั หวดั
ไกลๆ เพียงแต่เขาไม่พูดกนั วา่ ไปเท่ียวพระบาทหรือไปเที่ยววดั เพราะฟังดูขดั กบั ความรู้สึกของพุทธศาสนิกชน
ท่ีถือว่าวดั เป็ นสถานท่ีศกั ด์ิสิทธ์ิไม่ควรนับเป็ นที่เท่ียวดงั น้ันการท่องเท่ียวจึงเป็ นการเดินทางท่ีเกิดข้ึน ตาม
เง่ือนไข 3 ประการ คื 1. เป็นการเดินทางจากที่อยอู่ าศยั ปกติไปยงั ที่อ่ืนเป็นการชว่ั คราว 2. เป็นการเดินทางดว้ ย
ความสมคั รใจ 3. เป็นการเดินทางดว้ ยวตั ถุประสงคใ์ ดก็ตาม ท่ีมิใช่เพื่อประกอบอาชีพหรือหารายได้ นอกจากน้ี
แหล่งท่องเท่ียวในประเทศไทยก็จะมีหลายภาคที่เราสามารถไปศึกษาหรือไปสัมผสั วิธีชีวิตของชุมชนต่างๆ ไม่
ว่าจะเป็ นแหล่งท่องเท่ียวชุมชนทางภาคเหนือ เช่น ชุมชนบา้ นจะบูสี ม.5 ต.แม่สลองนอก อ.แม่ฟ้าหลวง จ.
เชียงราย ชุมชนบา้ นจะบูสีเป็นชนเผา่ ลาหู่แดง ชุมชนอุดมดว้ ยความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และ
ชุมชนยงั คงรักษาประเพณีวฒั นธรรมด้งั เดิมไว้ ชาวจะบูสีมีชีวิตที่เรียบง่าย มีการจดั การทรัพยากรธรรมชาติโดย
ชุมชน เป็ นแหล่งศึกษา-เรียนรู้ดูงานให้กับชุมชนอื่นๆ พร้อมกันน้ันก็ยงั เป็ นกรณีตัวอย่างของการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชน โดยชุมชนร่วมกบั หน่วยงานภาครัฐและเอกชนเขา้ ร่วมโครงการป่ าชุมชน ซ่ึง
อนุมตั ิโดยอธิบดีกรมป่ าไม้ ใชก้ ารท่องเท่ียวเป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ประเด็นเร่ืองคนอยกู่ บั ป่ า และเผยแพร่
วิถีชีวิตชนเผา่ ให้คนภายนอกรับรู้และมีทศั นคติที่ถูกตอ้ งและยอมรับวา่ กลุ่มชาติพนั ธุ์ก็เป็นส่วนหน่ึงของความ
เป็นพลเมืองไทย ในอีกดา้ นหน่ึงการท่องเที่ยวก็เป็นเคร่ืองมือในการพฒั นาคนในชุมชน หรือ ไม่วา่ จะเป็นแหล่ง
ท่องเท่ียวชุมชนทางภาคกลาง เช่น ชุมชนบางน้าผ้งึ ต.บางน้าผ้งึ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ตาบลบางน้าผ้งึ
ต้งั อยใู่ นอาเภอพระประแดง เป็นพ้ืนท่ีราบลุ่มน้าท่วมถึงริมแม่น้าเจา้ พระยาทาใหบ้ ริเวณน้ีไดร้ ับอิทธิพลจากน้า
ทะเลช่วงเวลาท่ีน้าทะเลหนุน ในเวลาท่ีน้าผา่ นเขา้ มาในบริเวณลาคลองต่างๆ เขา้ สู่พ้ืนที่ท่ีชาวบา้ นใชท้ าสวนเป็น
ส่วนใหญ่ ดินบริเวณตาบลบางน้าผ้งึ มีความอุดมสมบูรณ์ไปดว้ ยแร่ธาตุและสารอาหารของพชื นานาชนิด อาชีพ
ด้งั เดิมของชาวตาบลบางน้าผ้ึงคืออาชีพทาสวนผลไม้ น้าหวานจากเกสรดอกไมน้ านาชนิดไดด้ ึงดูดให้ผ้ึงมา

32

อาศยั อยโู่ ดยทว่ั ไปในพ้ืนท่ี ชาวบา้ นไดน้ าน้าผ้ึงมาตกั บาตรจนเป็นวิถีชีวิต กลายเป็นประเพณีวฒั นธรรมที่สืบ
ทอดกนั มาจากรุ่นสู่รุ่น จึงไดข้ นานนามพ้ืนท่ีน้ีว่า “บางน้าผ้ึง” หรือไม่ว่าจะเป็ นแหล่งท่องเที่ยวชุมชนทาง
ภาคใต้ เช่น บา้ นลาขนุน ม.8 ต.นาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง หมู่บา้ นต้งั อยู่ในที่ราบเชิงเขาติดกบั เทือกเขา
บรรทดั ดา้ นตะวนั ออกเป็นตน้ น้า น้าตก ป่ าดิบอ่ืน สายน้าลาคลอง “บา้ นลาขนุน” เป็นช่ือเรียกตามสายน้าที่ไหล
ผ่านหมู่บา้ นมาจากเทือกเขาบรรทดั ผ่ากลางหมู่บา้ น ช่ือว่า คลองลาขนุนหรือลาหนุน เพราะบริเวณตน้ น้ามีตน้
ขนุนตน้ ใหญ่ บริเวณอ่างหรือวงั ท่ีชาวบา้ นลงเล่นน้าอาบน้า นอกจากน้ียงั มีการอบรมเพื่อหารายใดเ้ ขา้ สู่ชนมชน
เช่น แนวคิดการพฒั นาชุมชนการวางแผนร่วมกนั และการพฒั นาศกั ยภาพของประชาชนใหส้ ามารถเขา้ มามีส่วน
ร่วมไดโ้ ดยมีหลกั การดงั น้ีคือ (1.) หลกั จิตสานึกและความรับผิดชอบ คือ หลกั การที่สาคญั ที่องคก์ ารท้งั ภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เปิ ดโอกาสใหม้ ีการตรวจสอบ ซ่ึงจะสะทอ้ นถึงความรับผดิ ชอบต่อสาธารณะ
และต่อผูม้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งหรือผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย (Stakeholders) เป็ นการแสดงถึงความรับผิดชอบ จาเป็ นตอ้ ง
ปฏิบตั ิโดยยดึ หลกั นิติธรรมและความโปร่งใ (2.) หลกั ความคุม้ ค่า คือ การคานึงถึงประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม
ในการบริหารจดั การและการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากดั ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและยงั่ ยืน รวมท้งั มีการ
ป้องกนั รักษาสิ่งแวดลอ้ มและมีความสามารถในการแข่งขนั กบั ภายนอ (3.) เป้าหมายและวธิ ีการของการวางแผน
แบบมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมอาจเป็นท้งั เป้าหมายและวธิ ีการ ซ่ึงกระบวนการมีส่วนร่วมแบบวิธีการ ตอ้ งอาศยั
การรวมกลุ่มท่ีเขม้ แขง็ ทาให้คนส่วนใหญ่จะมีความรู้สึกความเป็ นเจา้ ของ เกิดความรับผิดชอบร่วมกนั และการ
เกิดผลประโยชน์ของกลุ่มเนื่องจากความเขม้ แข็งของกลุ่มเป็ นเป้าหมายท่ีไดร้ ับ และนอกจากน้ียงั มีสินคา้ O-
TOP ของแต่ละจงั หวดั อยา่ งเช่น

1. กาแฟเขาทะลุ จงั หวดั ชุมพร
2. ผา้ หมอ้ หอ้ ม จงั หวดั แพร่
3.ผลิตภณั ฑก์ ระจูด จงั หวดั พทั ลุง
4.กลว้ ยตาก Organic จงั หวดั พิษณุโลก
5.ผา้ ขิดไหม จงั หวดั หนองบวั ลาภู
6.เครื่องเบญจรงค์ จงั หวดั มหาสารคาม
7.กนุ เชียง บา้ นไผ่ จงั หวดั ขอนแก่น
8.หมูหยอง จงั หวดั ชลบุรี
9.ขา้ วตงั หนา้ หมูหยอง จงั หวดั อยธุ ยา
10.เครื่องด่ืมสมุนไพร จงั หวดั นครราชสีมา เป็นตน้

33

บรรณานุกรม
รินลนี ศรีเพญ็ .(2554.กนั ยายน).“ แหล่งท่องเท่ียวชุมชน ” สืบคน้ เมื่อ 18 มีนาคม 2564 จาก

https://thaicommunitybasedtourismnetwork.wordpress.com
ศูนยป์ ระสานงานเครือข่ายการท่องเท่ียวโดยชุมชน.(2555). “แหล่งท่องเทยี่ วภาคอสี าน” สืบคน้ เม่ือ

19 เมษา 2564 จาก
https://thaicommunitybasedtourismnetwork.wordpress.com/cbtcommunity/esancommunity/
บริษทั มติชน กดั .(2564.เมษายน).“การสร้างรายใดจ้ ากแหล่งท่องเท่ียวชุมชน:การสร้างรายไดใ้ หก้ บั
ชุมชน” สืบคน้ เมื่อ 20 มีนาคม 2564 จาก https://www.matichon.co.th/publicize/news
ศูนยป์ ระสานงานเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน.(2555). “แหล่งท่องเท่ียวภาคใต”้ สืบคน้

เม่ือ 22 มกราคม 2564 จาก
https://thaicommunitybasedtourismnetwork.wordpress.com/cbtcommunity/southerncomm
unity/
ศูนยป์ ระสานงานเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน.(2555). “แหล่งท่องเท่ียวภาคกลาง” สืบคน้ เมื่อ
27 สิงหาคม 2564 จาก
https://thaicommunitybasedtourismnetwork.wordpress.com/cbtcommunity/centralcommunity/
สุดถนอม ตนั เจริญ.(2560.มิถนุ ายน). “การจดั การการท่องเท่ียวโดยชุมชนเพื่อการพฒั นาการ
ท่องเที่ยวอยา่ งยง่ั ยนื ”

สืบคน้ เม่ือ 13 มีนาคม 2562 จาก http://identity.bsru.ac.th/

34


Click to View FlipBook Version