วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 1
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 2 ค าน า เอกสารฉบับนี้จัดขึ้นเพื่อใช้เป็นแบบเสนอนวัตกรรมหรือผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ( Best Practice ) โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นที่ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา๙๗(บ้านบางบอน) ส านักงานเขพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ซึ่งผลงานที่น าเสนอ ครั้งนี้ได้แก่การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้ า เป็น กิจกรรมที่ได้ด าเนินการมาอย่างต่อเนื่องและเป็นกิจกรรมที่ประสบผลส าเร็จไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนการสอนปฐมวัย ผู้จัดท าหวังเป็นอย่ายิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ส าหรับคณะกรรมการที่จะท า การประเมินครั้งนี้เป็นอย่างดี และขอบคุณโรงเรียนเครือข่าย ชุมชน ผู้ปกครอง คณะครู และนักเรียนโรงเรียน ไทยรัฐวิทยา๙๗(บ้านบางบอน)ทุกคนที่มีส่วนร่วมในการด าเนินกิจกรรมและกาจัดท ารายงานเล่มนี้จนเสร็จ สมบูรณ์ นางสาวสาวิตตรี เพชรทองเรือง ครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๗ (บ้านบางบอน) ก
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 3 สารบัญ เรื่อง หน้า ค้าน้า ก สารบัญ ข ความส้าคัญของผลงานนวัตกรรม หรือวิธีปฏิบัติที่น้าเสนอ 1 จุดประสงค์และเป้าหมายของการด้าเนินงาน 4 กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการด้าเนินงาน 5 ผลการด้าเนินการ ผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ที่ได้รับ 7 ปัจจัยความส้าเร็จ 9 บทเรียนที่ได้รับ 10 การเผยแพร่และการได้รับการยอมรับ 10 การขยายผล ต่อยอดหรือประยุกต์ใช้ผลงาน นวัตกรรมหรือวิธีการปฏิบัติ 11 ภาคผนวก 12 ข
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 4 การเสนอหัวข้อผลงานวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นที่ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ชื่อผลงาน การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์สีน้ า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) ชื่อผู้เสนอผลงาน นางสาวสาวิตตรี เพชรทองเรือง ต าแหน่งครูผู้ช่วย โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๗(บ้านบางบอน) ประเภทผลงาน กลุ่มเป้าหมายปกติ ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ระดับปฐมวัย(ส าหรับครูผู้สอน) 1. ความส าคัญของผลงานนวัตกรรม หรือวิธีปฏิบัติที่น าเสนอ ปฐมวัยคือช่วงเวลาตั้งแต่เด็กยังอยู่ในครรภ์จนถึงอายุ 6 ปี ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ส้าคัญอย่างมากต่อพัฒนาการ และอนาคตของเด็ก เด็กต้องได้รับความรักและการดูแลเอาใจใส่ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย และกระตุ้นให้เกิด การเรียนรู้ จึงจะสามารถพัฒนาทักษะที่จ้าเป็นต่อการคว้าโอกาสในชีวิต สามารถล้มแล้วลุกขึ้นได้ และเจริญเติบโต อย่างเข้มแข็ง คุณภาพของประสบการณ์ในช่วงขวบปีแรก ๆ คือปัจจัยที่สร้างความแตกต่างได้อย่างมีนัยส้าคัญต่อ พัฒนาการของสมอง การเรียนรู้ สุขภาพ และพฤติกรรมของเด็ก เด็กจ้านวนมากในประเทศไทยไม่ได้รับการดูแล และการกระตุ้นการเรียนรู้ที่เหมาะสม พ่อแม่ผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของเด็กอย่างจริงจัง และเอาใจใส่เท่าที่ควร และจ้านวนมากใช้วิธีการลงโทษด้วยความรุนแรง (ยูนิเซฟไทยแลนด์.2021) ในศตวรรษที่ 21 เป็นช่วงเวลาที่โลกมีความเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ความก้าวหน้าของ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม เป็นปัจจัยส้าคัญที่ส่งผลให้โลกแห่งการเรียนรู้เปลี่ยนแปลงไป การศึกษาใน ศตวรรษที่ 21 เป็นการศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความสามารถและเปิดโอกาสให้ผู้เรียน มีโอกาสพัฒนาศักยภาพของ ตนตามความสนใจ โดยไม่มีข้อจ้ากัดด้านเวลาและสถานที่ การพัฒนาในช่วงปฐมวัยเป็นช่วงแรกของการเริ่มต้นการ เรียนรู้ การเล่นจึงเป็นวิธีการเรียนรู้ของเด็ก ท้าให้เด็กได้พาตัวเองไปรู้จักโลกที่แท้จริง และการเล่นยังเป็นการ กระตุ้นท้าให้เด็กได้ท้าในสิ่งที่ตนเองพอใจ การเล่นในสิ่งที่เด็กพอใจมีความสนุกสนาน เป็นการสนองความ กระตือรือร้นความใฝ่รู้ของเด็กโดยไม่ต้องมีใครสอน จะส่งผลต่อการเรียนรู้ในเชิงบวกของเด็กให้ดีขึ้นในทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เพื่อเป็นการเตรียมประสบการณ์ให้เด็กได้เติบโตเป็นพลเมืองที่ คุณภาพ และมีทักษะในการด้าเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เดินหน้าพัฒนาการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ส้าหรับเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็ก ทุกคนมีพัฒนาการที่ดีเหมาะสมกับวัย ทั้งทางร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีทักษะพื้นฐานในการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สอดคล้องกับหลักการพัฒนาศักยภาพของแต่ละบุคคล สร้างให้เด็กมีคุณลักษณะมี อุปนิสัยใฝ่ดี มีคุณธรรม มีวินัย ใฝ่รู้ มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถซึมซับสุนทรียะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย 1
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 5 ได้ ตามบทบัญญัติที่ก้าหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็ก ปฐมวัย พ.ศ. 2562 ได้ลงนามในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายและแนวปฏิบัติในการจัดการศึกษา และการเรียนรู้ส้าหรับเด็กปฐมวัย เพื่อให้สถานศึกษาและครู มีแนวปฏิบัติพื้นฐานน้าไปใช้วางแนวทางในการ ขับเคลื่อนการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ส้าหรับเด็กปฐมวัยอย่างเหมาะสมและสอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษาการพัฒนาคุณภาพเด็กในช่วงปฐมวัย โดยให้ยึดหลักการส้าคัญ คือ การ พัฒนาเด็กแบบองค์รวม (Holistic Development) ให้เด็กมีพัฒนา 4 ด้าน ประกอบด้วย ร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่างสมวัย รวมทั้งพัฒนาด้านตัวตน (Self Development) พัฒนาทักษะสมอง (Executive Function: EF) ให้มากขึ้น เพื่อให้เด็กรู้สึกมีคุณค่า มีความเชื่อมั่น และภูมิใจในตนเอง และเป็นเด็กที่คิดเป็น มีเหตุ มีผล และรู้จักก้ากับตนเอง พหุปัญญา (Multiple Intelligences) หมายถึง ปัญญาที่มีอยู่หลากหลายด้านของมนุษย์ เป็นการอธิบาย ความสามารถของสมองมนุษย์แต่ละคนว่า สามารถแสดงศักยภาพด้านใดออกมาบ้าง ซึ่งก็หมายถึง ความสามารถ ของมนุษย์ที่จะค้นหาปัญหา และหาทางแก้ไขปัญหา รวมไปถึงความสามารถในการคิดค้นสิ่งใหม่ๆ เพื่อตอบสนอง หรือรับใช้สังคมของตน ศาสตราจารย์โฮวาร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) นักจิตวิทยา มหาวิทยาลัยฮา วาร์ด กล่าวว่าความสามารถที่หลากหลาย โดยคิดเป็น “ ทฤษฎีพหุปัญญา ” (Theory of Multiple Intelligences) ด้วยแนวคิดที่ว่าสติปัญญาของมนุษย์มีหลายด้านที่มีความส้าคัญเท่าเทียมกัน ขึ้นอยู่กับว่าใครจะ โดดเด่นในด้านไหนบ้าง แล้วแต่ละด้านผสมผสานกัน แสดงออกมาเป็นความสามารถในเรื่องใด เป็นลักษณะเฉพาะ ตัวของแต่ละคนไปเริ่มต้นตั้งแต่วัยแรกคลอดและส้าคัญมากในวัยก่อนเข้าโรงเรียน เด็ก วัยอนุบาล ต้องหมั่น เสริมสร้างทักษะรอบด้าน เพื่อเพิ่มความฉลาดในการเรียนรู้ให้กับลูกน้อย ความฉลาดรอบด้านจะมีมากขึ้น ระเภท ของพหุปัญญาตามการจ้าแนกของ Gardner ความสามารถทางปัญญาของมนุษย์ตามทฤษฎีพหุปัญญา แบ่ง ออกเป็น 8 ด้าน ได้แก่ความสามารถด้านภาษา (Linguistic Intelligence) ความสามารถด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ (Logical – Mathmatical Intelligence) ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ (Visual – Spatial Intelligence) ความสามารถด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว (Bodily – Kinesthetic Intelligence) ความสามารถด้านดนตรี (Musical Intelligence) ความสามารถด้านมนุษย์สัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence) ความสามารถด้านความเข้าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence) ความสามารถด้านธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intelligence) (อารี สัณหฉวี และอุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์. 15 สิงหาคม 2548.) กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ส้าหรับเด็กปฐมวัย คือ กิจกรรมการวาดภาพระบายสี การเล่นกับสีชนิดต่าง ๆ การฉีก ตัด ปะ และงานประดิษฐ์ ฯลฯ ตามที่กล่าวมานี้ล้วนแต่เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการแสดงออกทางความคิด ที่ เด็กได้ส้ารวจและจัดท้ากับวัตถุโดยตรง เด็กสามารถออกแบบ ตกแต่ง กับชิ้นงานได้อย่างอิสระ โดยแบ่งเป็น ประเภทกิจกรรมต่าง ๆ การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ส้าหรับเด็กปฐมวัย เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้ แสดงออกทางความคิดโดยผ่านบรรยากาศการจัดกิจกรรมที่เด็ก ๆ มีความสุขและสนุกสนาน มีอิสระในการเลือก 2
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 6 ท้ากิจกรรมด้วยตัวเอง การเลือกจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับเด็กนอกจากจะช่วยสร้างจินตนาการ พัฒนาความคิด แล้ว ยังช่วยให้คุณครูและผู้ปกครองสามารถรับรู้ความรู้สึกและสภาวะอารมณ์ของเด็กแต่ละคน (ครูน้้า.21 พฤษภาคม 2562.) ศิลปะ คือ สิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น เพื่อแสดงออกซึ่งอารมณ์ ความรู้สึก สติปัญญา ความคิด หรือความ งาม คุณค่าของงานศิลปะนั้น “ไทเลอร์” นักพัฒนาหลักสูตรที่มีชื่อเสียง ได้เขียนเรื่องความส้าคัญของการศึกษา วิชาศิลปะไว้ในหนังสือชื่อ “Basic Principle of Curriculum and Instruction” ว่า ศิลปะมีความส้าคัญ 5 ประการ คือศิลปะช่วยขยายขอบเขตของการรับรู้ของผู้เรียนทางด้านการใช้ประสาทสัมผัส โดยศิลปะช่วยให้คนเรา มองเห็นสิ่งต่าง ๆได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ศิลปะสามารถท้าให้ความคิดและความรู้สึกกระจ่าง แจ่มชัดออกมา ศิลปะช่วย ท้าให้คนมีความเป็นคนสมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น ศิลปะช่วยพัฒนาความสนใจ และค่านิยมต่าง ๆของเด็ก และ เยาวชน ศิลปะเป็นส่วนช่วยพัฒนาความสามารถทางเทคนิคได้ กระบวนการจ้าท้าให้เกิดทักษะในการระบายสี การวาดภาพ คน ต่าง ๆ จะเห็นได้ชัดว่า ศิลปะ เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวมนุษย์ เป็นสิ่งที่ให้คุณค่ามหาศาลที่มีผลทั้งด้านร่างกายและ จิตใจ และโดยทั่วไปนั้น เด็ก ๆวัย 18 เดือนถึง 6 ขวบจะเริ่มมีพัฒนาการ ชอบขีด ๆ เขียน ๆซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของ การวาดรูป ความสนใจ และการสร้างสรรค์งานศิลปะ ในวัยนี้จะเป็นช่วงที่เด็กให้ความสนใจด้านการวาดรูป และ การระบายสีเป็นอย่างมาก จึงเป็นวัยที่เหมาะสม ที่คุณพ่อ คุณแม่จะปูพื้นฐานเพื่อให้ลูกมีความคิดสร้างสรรค์ผ่าน งานศิลปะ เพื่อกระตุ้นให้ลูกมีพัฒนาการที่ดี ทั้งด้านความคิด จินตนาการ การสังเกต การจดจ้า ผ่านงานศิลปะ สร้างสรรค์ในรูปแบบต่าง ๆ ที่หลากหลาย ศิลปะส้าหรับเด็กเล็กกับสีน้้า เน้นไปที่กระบวนการระบายสีน้้าบนกระดาษเปียก เพราะสีน้้ามีธรรมชาติที่ เคลื่อนไหว ประสานกลมกลืน แปรเปลี่ยนสว่างหรือมืดได้ คล้ายความรู้สึกและอารมณ์ต่างๆด้านในของชีวิต ท้าให้ สามารถตอบสนองได้ดีต่อธรรมชาติที่นุ่มนวล ไม่หยุดนิ่ง และการเติบโตอย่างต่อเนื่องของเด็กมากที่สุด โดยมุ่งเน้น ไปที่การระบายที่เรียกว่า ไม่มีรูปทรง (Non-figure Exercise ) หากท้าอย่างสม่้าเสมอจะท้าให้เด็กเล็กกลับมาที่ ฐานของการลงมือท้า และรูปทรง (Figure) จะค่อยๆมาเองโดยธรรมชาติกระบวนการระบายสีน้้าในลักษณะนี้ไม่ มุ่งเน้นที่ผลงาน ไม่ได้มุ่งเน้นที่รูปศิลปะ ดังนั้น จึงไม่จ้าเป็นต้องตัดสินความสวยงาม หรือรูปทรงที่สะท้อนออกมา เพราะลูกมีจินตนาการที่กว้างไกลกว่าผู้ใหญ่อย่างเรามาก แต่มุ่งเน้นที่ลูกได้ลงมือท้า ท่าทางการนั่ง การจับพู่กันที่ ถูกต้อง สามารถน้าไปสู่การพัฒนาและเตรียมพร้อมร่างกายเข้าสู่วัยเรียนเขียนอ่านได้ รวมถึงไม่คาดหวังว่าลูกจะ สามารถจดจ้าการล้างพู่กันก่อนจุ่มสีใหม่ได้ในช่วงแรก เพราะลูกเองก็ก้าลังอยู่ในกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนา ศิลปะสีน้้า เป็นศิลปะที่จะท้าให้เด็กมีความรู้สึกมั่นใจมากขึ้น ไม่ลังเลสงสัยตัวเองกับทักษะด้านศิลปะผ่าน กระบวนการระบายสีน้้าบนกระดาษเปียกเมื่อนั่งท้าเคียงข้างกับลูก เพราะไม่เน้นที่รูปทรง แต่เน้นไปที่ ประสบการณ์ที่ได้รับจากศิลปะและสี ควรน้าลูกท้าอย่างสม่้าเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง เด็กจะได้รับความ สงบและความร่าเริงที่เกินขึ้นด้านในของเขา 3
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 7 จากการสังเกตและประเมินผลพัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 มาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเด็กชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๗(บ้านบางบอน) ซึ่งสิ่งที่พบคือ เด็กไม่มั่นใจ ไม่กล้าพูด ไม่กล้าแสดงออก ส่งผลให้การเรียนรู้ ด้านต่างๆไม่มีการพัฒนา พัฒนาได้ช้าไม่เหมาะสมตามวัย ครูวิ เคราะ หาข้อมูล รวบรวมข้อมูล ศึกษาหาวิธีการแก้ไข พบว่าเด็กนักเรียนชื่นชอบการท้าศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า ท้าให้ เด็กเกิดการเรียนรู้ที่ดีขึ้น ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่ดีขึ้นด้วย ครูจึงจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า แบบบูรณาการเพื่อ พัฒนาความสามารถที่รอบด้าน หรือที่เรียกว่าความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย จึงเป็นที่มาของการ พัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า 2. จุดประสงค์และเป้าหมายของการด าเนินงาน จุดประสงค์ของการด าเนินงาน 1.เพื่อพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๗(บ้าน บางบอน) ให้สูงขึ้น ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า 2.เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า เป้าหมายของการด าเนินงาน เชิงปริมาณ เด็กนักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๗ (บ้านบางบอน) ได้รับการพัฒนา ความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า มีความสามารถทางพหุ ปัญญาทุกด้านเพิ่มสูงขึ้น คิดเป็นร้อยละ 80 ขึ้นไป เชิงคุณภาพ เด็กนักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๗ (บ้านบางบอน) ได้รับการพัฒนา ความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า มีความสามารถทางพหุ ปัญญาทุกด้านเพิ่มสูงขึ้น เด็กนักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๗ (บ้านบางบอน) มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้า สื่อสาร กล้าแสดงออกและสนใจเรียนรู้มากขึ้น 4
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 8 3.กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการด าเนินงาน ขั้นตอนการด าเนินงาน ตามวงจรคุณภาพโมเดลPTR.DO Modelบนพื้นฐานของ วงจรพื้นฐานPDCA ขั้นตอนการด าเนินตามวงจรคุณภาพโมเดล PTR.DO Model 1. Plannd(วางแผน) ก้าหนดและเลือกแนวทางการจัดการเรียนรู้ให้ไปในทิศทางเดียวกัน มุ่งเน้นการ พัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาติ สนองความต้องการที่แตกต่างให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 1.1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาการจัดการเรียนการสอน 1.2 ประชุมปรึกษาหารือกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 1.3 ศึกษา ออกแบบวิธีการสอนที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของเด็ก เกี่ยวกับ ความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัยและกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า 5
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 9 1.4 จัดท้ารูปแบบวิธีการสอนและวิธีการด้าเนินการที่จะน้าไปจัดการเรียนการสอน 1.5 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า 2.Tested(ทดลอง) จัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญตามแนวทางActive leaning โดยใช้ กระบวนการPLC ที่ตอบสนองความต้องการของหลักสูตรสถานศึกษา ชุมชน ผู้เรียนและครู 2.1 ด้าเนิดการทดลองใช้กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ด้วยสีน้้า แบบบูรณาการ สัปดาห์ละ 3 วัน เป็นเวลา 1 เดือน ตามที่ก้าหนดไว้ สัปดาห์ที่ 1 วันที่ 1 ศิลปะการกลิ้งสี วันที่ 2 ศิลปะการเป่าสี วันที่ 3 ศิลปะการหยดสี สัปดาห์ที่ 2 วันที่ 1 ศิลปะเป่าสี วันที่ 2 ศิลปะพับสี วันที่ 3 ศิลปะการจุดสี สัปดาห์ที่ 3 วันที่ 1 ศิลปะวาดภาพด้วยสีน้้า วันที่ 2 ศิลปะการจุดสีภาพเป็ด วันที่ 3 ศิลปะการพิมพ์ภาพจากผัก สัปดาห์ที่ 4 วันที่ 1 ศิลปะการพับสี วันที่ 2 ศิลปะการพิมพ์ภาพด้วยมือ วันที่ 3 ศิลปะการวาดภาพด้วยสีน้้า 6
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 10 3.Resolution(แก้ปัญหาร่วมกัน) สรุปและวิเคราะห์หาข้อผิดพลาดจากผู้เรียนและ กระบวนการจักการ เรียนรู้ รวมถึงครู เพื่อในสะท้อนคิด วัดและประเมินผลตามสภาพจริงให้บรรลุเป้าหมายตามหนังสูตรแกนกลาง ก้าหนด 3.1 สังเกตพฤติกรรมเด็ก ประเมินความสามารถทางพหุปัญญา 3.2 น้าผลการประเมิน มาวิเคราะห์ หารือกับครูในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา๙๗(บ้านบางบอน) 4. Develop(พัฒนา) มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนทั้งสี่ด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา รวมถึงส่งเสริม ทักษะการอ่านออก เขียนได้ เพื่อยกระดับผู้เรียนให้มีคุณภาพตามแนวทางการศึกษาในศตวรรษที่21 ที่ปรากฎใน หลักสูตรตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ 4.1 สรุปผลการจัดกิจกรรม 4.2 พัฒนากิจกรรมให้ตรงกับการพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญา 4.3 ส่งเสริมกิจกรรม ให้ตรงกับความตรงการที่แตกต่างของเด็กนักเรียนให้มากที่สุด 5. Opportunity(สร้างโอกาสทางการศึกษา) ส่งเสริมให้ผู้ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ลงมือ ปฏิบัติตามสภาพจริง ก้าวทันเทคโนโลยี คิด บูรณาการเชิงสร้างสรรค์พัฒนานวัตกรรม สนองความต้องการของสังคมในอนาคต 5.1 เปิดโอกาส ให้นักเรียนได้เสนอกิจกรรมที่อยากจะเรียนรู้ และด้าเนิดการร่วมกัน 4.ผลการด าเนินการ ผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ที่ได้รับ ผลที่เกิดขึ้นตรงตามจุดประสงค์ ครอบคลุมและเป็นไปตามจุดประสงค์ทุกจุดประสงค์ โดยมีหลักฐานและ ข้อมูลประกอบ ดังนี้ เด็กนักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๗ (บ้านบางบอน) ที่ได้รับการพัฒนาความสามารถทาง พหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า มีความสามารถทางพหุปัญญาที่ดีขึ้น กล้าพูด กล้า สื่อสาร มีความสามารถด้านการเปรียบเทียบ การวัด การตวง มีมิติสัมพันธ์กับเพื่อนมากขึ้น ร่างกายแข็งแรง พร้อม เรียนรู้มากขึ้น จากการบันทึกผลพัฒนาการครั้งที่ 1และครั้งที่ 2 มีผลดีขึ้นดังนี้ 7
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 11 ตารางแสดงการเปรียบเทียบคะแนน ก่อน – หลัง การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยสีน้้า เลขที่ ความสามารถทางพหุปัญญา ปฐมวัย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ด้านภาษา ด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว ด้านดนตรี ด้านมนุษย์สัมพันธ์ ด้านความเข้าใจตนเอง ด้านธรรมชาติวิทยา ด้านภาษา ด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว ด้านดนตรี ด้านมนุษย์สัมพันธ์ ด้านความเข้าใจตนเอง ด้านธรรมชาติวิทยา 1 1 1 2 3 2 2 2 2 2 2 3 3 3 3 3 3 2 2 2 2 3 2 2 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 1 1 2 3 2 2 1 2 3 3 3 3 3 3 3 3 4 2 2 2 3 2 2 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 5 1 1 2 3 2 2 2 2 3 2 3 3 3 3 3 3 6 1 1 2 3 1 2 2 2 3 3 3 3 2 3 3 3 7 2 2 2 3 2 2 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 8 1 1 1 3 1 2 1 2 3 3 3 3 3 3 3 3 9 2 2 2 3 2 2 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 10 1 1 2 3 1 1 1 2 2 2 3 3 2 2 3 3 11 2 1 2 3 2 2 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 รวม 16 15 21 33 19 21 19 22 31 30 33 33 31 32 33 33 ร้อยละ 48.48 45.45 63.63 100 57.57 63.63 57.57 66.66 93.93 90.90 100 100 93.93 96.96 100 100 ผลการพัฒนาเด็กนักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๗ (บ้านบางบอน) ได้รับการพัฒนา ความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า มีความสามารถทางพหุปัญญาทุก ด้านเพิ่มสูงขึ้น เด็กพูดคุยสื่อสารกับครู กับเพื่อนมากขึ้น สนใจการเรียนมากขึ้น สนใจมีความอยากเรียนมากขึ้น ประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับเด็กนักเรียน 1.เด็กพูดคุยสื่อสารกับเพื่อน และครูมาขึ้น 2.เด็กรู้จักตัวเลข การวัด การตวงการเปรียบเทียบมากน้อย ได้ดีขึ้น 3.เด็กมีการแบ่งปัน เข้าหากันมากขึ้น รู้จักเพื่อนมากขึ้นมาก 4.เด็กมีร่ายกายและกล้ามเนื้อมัดเล็กที่แข็งแรงขึ้น 8
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 12 5.เด็กมีอารมณ์ร่วมในกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะมากขึ้น 6.เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน ครูและผู้ปกครองมากขึ้น 7.เด็กมีความเข้าใจในความต้องการของตนเอง 8.เด็กสนใจเรียนรู้ธรรมชาติรอบตัวมากขึ้น 9.เด็กมีความรู้ ความสามารถที่ชัดเจนขึ้น ประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับครูผู้สอน 1.มีเทคนิคในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านต่างๆส้าหรับเด็กปฐมวัยมากขึ้น 2.มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู เด็กและผู้ปกครองมากขึ้น 3.มีการพัฒนาตนเองในการท้างาน 4.มีความใจในตัวเด็กนักเรียนมากขึ้น 5 ปัจจัยความส าเร็จ ความส้าเร็จที่ปฏิบัติงานที่เป็นผลมาจากการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของทุก ฝ่ายในโรงเรียนโดยมีการพัฒนาผลงานอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนดังนี้ ด้านผู้บริหาร 1.ก้าหนดนโยบาย แนวทางปฏิบัติ แนวการจัดประสบการณ์ 2.สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3.พัฒนางานอย่างเป็นระบบ นิเทศ ก้ากับติดตามให้ก้าลังใจ ในการด้าเนินงานทุกวัน ด้านครู 1.คณะครู ร่วมกันพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เรียนรู้สิ่งใหม่ๆที่หลากหลาย 2.คณะครูให้การช่วยเหลือ แนะน้านิเทศ ก้ากับติดตามให้ก้าลังอย่างสม่้าเสมอ 3.การจัดการเรียนการสอนมีความแปลกใหม่ สร้างความเร้าใจให้เด็กอยากเรียนรู้ 9
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 13 4.การให้ความร่วมมือและสนับสนุนสื่อการเรียนรู้ให้กับเด็กทุกรูปแบบ ด้านนักเรียน 1.เด็กให้ความสนใจ กระตือรือร้นในการท้ากิจกรรม 2.เด็กมีความตั้งใจท้ากิจกรรม และจดจ้าขั้นตอนได้ดี 3.เด็กมีวินัยในการจัดเก็บอุปกรณ์ รักษาความสะอาดหลังท้ากิจกรรม 6.บทเรียนที่ได้รับ ข้อสรุป จากการพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า พบว่า 1.กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า ควรจัดให้บ่อยขึ้น อย่างต่อเนื่อง 2.การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย สามารถจัดกิจกรรมอื่นมาบูรณาการได้ 3.ความสามารถทางพหุปัญญาเป็นสิ่งที่ส้าคัญรอบด้านกับเด็กปฐมวัย ควรพัฒนาอย่างต่อเนื่องแบบยั่งยืน เด็กจะได้รับการพัฒนาที่ส่งผลในอนาคต 4.ควรระวังระหว่างท้ากิจกรรม ควรวัสดุอุปกรณ์ได้รับความเสียหาย 5.ควรเลือกใช้สีจากธรรมชาติให้มากกว่าสีอะคริลิค 7.การเผยแพร่และการได้รับการยอมรับ การเผยแพร่ 1.เผยแพร่หน้าเว็บไซต์โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๗ (บ้านบางบอน) 2.เผยแพร่หน้าไลน์กลุ่มผู้ปกครองชั้นอนุบาล โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๗ (บ้านบางบอน) 3.เผยแพร่ให้กับครูปฐมวัยโรงเรียนใกล้เคียงและเพื่อนร่วมวิชาชีพที่สนใจเข้าศึกษาดูงาน การได้รับการยอมรับ ครูที่ได้รับการเผยแพร่ มีการตอบรับในทิศทางที่ดี มีการตอบรับกลับและการชื่นชม ส่งก้าลังใจและน้าไป ประยุกต์ใช้กับเด็กของตน 10
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 14 8.การขยายผล ต่อยอดหรือประยุกต์ใช้ผลงาน นวัตกรรมหรือวิธีการปฏิบัติ 1.ครูปฐมวัยมีการเรียนรู้ร่วมกัน พัฒนากิจกรรมร่วมกัน น้าปัญหามาปรึกษา แก้ไขร่วมกันอย่างสม่้าเสมอ 2.มีการน้าผลงานวิธีการจัดกิจกรรมใหม่ๆที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น 3.ครูน้ามาประยุกต์ใช้กับกิจกรรมอื่นๆในการเรียนการสอนอนุบาล 4.เด็กได้น้าความสามารถที่พัฒนาขึ้นมาใช้ในชีวิตประจ้าวัน ได้ดีขึ้น 5.เด็กมีการปรับตัวให้เข้ากับสังคมในปัจจุบันได้ดี 11
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 15 ภาคผนวก การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้ า (การกลิ้งสี) 12
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 16 การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้ า (การกลิ้งสี) 13
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 17 การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้ า (การเป่าสี) 14
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 18 การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้ า (การเป่าสี) 15
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 19 การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้ า (การจุดสี) 16
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 20 การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้ า (การจุดสี) 17
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 21 การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้ า (การพับสี) 18
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 22 การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้ า (การพับสี) 19
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 23 การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้ า (การพิมพ์ภาพ) 20
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 24 การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้ า (การพิมพ์ภาพ) 21
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 25 การเผยแพร่ 22
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 2623
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สีน้้า นักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97(บ้านบางบอน) 27