The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3นวัตกรรมเด็กพิเศษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by paengami2, 2022-06-11 04:27:51

นวัตกรรม

3นวัตกรรมเด็กพิเศษ



คำนำ

รายงาน นวตั กรรม/วธิ ีปฏิบตั ิท่ีเป็นเลศิ (Best Practice) ฉบบั น้ี จัดทาข้ึนเพอ่ื เป็นแนวทางการการ
จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนของโรงเรียนอนุบาลรัตนบุรี ในนามผูร้ ับผิดชอบกิจกรรมคลนิ ิกรักษาพัฒนาอ่าน
เขียนเด็กพิเศษ ขอขอบพระคุณ นายสุพิศ อาจเชื้อ ท่ีได้ให้ความอนุเคราะห์เป็นที่ปรึกษาการดาเนินกิจกรรม
จนสาเร็จลุลว่ ง ไปดว้ ยดซี ่ึงขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสน้ี

ขอบคุณคณะครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตลอดจนผู้ปกครองและชุมชมที่
อานวยความสะดวกในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนให้ประสบความสาเร็จมีประ สิทธิภาพด้วยดี
ตลอดมา หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับนี้ จะให้ความชัดเจนเป็นแนวทางในการพัฒนาการอ่านเขียนของ
โรงเรยี นอน่ื ๆ ต่อไป

นำงอจั ฉรำภรณ์ ศรโี ท
ครู คศ.2

สำรบญั ข

คานา _
สารบัญ -
ช่ือผลงาน

ตอนที่ 1 ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรม ข
ตอนท่ี 2 จดุ ประสงคข์ องการดาเนินงาน 1
ตอนท่ี 3 ขอบเขตของการดาเนนิ งาน 1
3
3.1 เป้าหมายของการดาเนินงาน 3
3.2 ขอบเขตของเนือ้ หา
3.3 ขอบเขตของระยะเวลา 4
ตอนที่ 4 ประโยชน์ท่ีจะไดร้ ับ 4
ตอนท่ี 5 กระบวนการผลิตผลงานหรือข้ันตอนการดาเนินงาน 6
ตอนท่ี 6 ผลการดาเนนิ การ/ผลสัมฤทธ์ิ 7
ตอนท่ี 7 ปัจจัยความสาเรจ็ 8
ตอนท่ี 8 บทเรยี นท่ีไดร้ ับ (Lesson Learned) 9
ตอนท่ี 9 การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรบั /รางวลั ทีไ่ ด้ 10
บรรณานกุ รม 11
ประวตั ผิ ู้จัดทา

นวตั กรรม/วธิ กี ำรปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นเลศิ (Best Practice) :
VIP Clinic modal

คลนิ กิ รกั ษำพัฒนำกำรอำ่ นเขียนเด็กพิเศษ
โรงเรยี นอนุบำลรตั นบุรี เครอื ขำ่ ยโรงเรียนรัตนบรุ ี 1 อำเภอรัตนบรุ ี จังหวัดสรุ ินทร์

สำนักงำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำสุรนิ ทร์ เขต 2

ข้อมูลทว่ั ไป

๑. ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปที ี 1-3
โรงเรียนอนุบำลรตั นบรุ ี อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสรุ ินทร์ เครอื ขำ่ ยโรงเรียนรัตนบุรี 1

๒. ชื่อครูผู้สอน นำงอจั ฉรำภรณ์ ศรโี ท
E-mail : [email protected] โทร: 095-6171869

๓. นวตั กรรม VIP Clinic modal (คลนิ กิ รักษำพัฒนำกำรอ่ำนเขยี นเด็กพิเศษ)

( นวัตกรรมกำรศึกษำส่คู วำมเปน็ เลศิ กำรศกึ ษำพเิ ศษ)

ตอนท่ี 1 ควำมสำคญั ของผลงำนหรอื นวตั กรรม

หลกั สตู รการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน การเขา้ ร่วมและปฏบิ ัตกิ จิ กรรมทีเ่ หมาะสมร่วมกบั ผอู้ ่นื อยา่ งมี

ความสขุ กับกิจกรรมท่เี ลอื กดว้ ยตนเองตามความถนัด และความสนใจอย่างแท้จรงิ การพัฒนาที่

สาคัญ ได้แก่ การพฒั นาองค์รวมของความเปน็ มนษุ ยใ์ ห้ครบทุกดา้ น ท้งั ร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์

และสังคม โดยอาจจดั เปน็ แนวทางหน่งึ ทจ่ี ะสนองนโยบายในการสร้างเยาวชนของชาติใหเ้ ป็นผ้มู ี

ศลี ธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินยั และมีคณุ ภาพเพื่อพัฒนาองค์รวมของความเป็นมนษุ ยท์ ส่ี มบูรณ์

ปลูกฝงั และสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพ่ือสังคม ซงึ่ สถานศกึ ษาจะตอ้ งดาเนนิ การอยา่ งมี

เปา้ หมาย มีรูปแบบและวิธีการทเี่ หมาะสมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น

ปัจจบุ ันการอา่ นเขียนเป็นทักษะทางภาษาทสี่ าคัญและจาเป็นมากในการดาเนินชวี ติ รวมท้ัง

ขอ้ มูลต่าง ๆ ในชีวติ ประจาวนั จะตอ้ งอาศัยการอา่ นจงึ จะสามารถเข้าใจและส่ือความหมายกันได้ถกู ตอ้ ง

ฉะนั้นคนเราจาเป็นต้องมีทักษะในการอา่ น เขยี น กลา่ วคอื ต้องอา่ นและเขยี นอย่างมปี ระสิทธิภาพ ผู้

มปี ระสิทธภิ าพในการอ่านสงู จงึ ได้รบั ทั้งความรู้ ประสบการณ์ และความบันเทิง เพ่ือนาไปใช้ใหเ้ ป็น

ประโยชน์ในชีวิต การอ่านเป็นทักษะท่ีต้องเน้นและต้องฝึกฝนผู้เรียนเป็นอยา่ งมากนอกจากจะทา

ใหเ้ กดิ ความรู้แลว้ ยังกอ่ ใหเ้ กิดความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ และสง่ เสรมิ ให้เกิดความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์

การอ่านจงึ เป็นหวั ใจของการศกึ ษาทกุ ระดบั และเป็นเครื่องมอื ในการแสวงหาความรตู้ ่าง ๆ

(กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.2551 : 1 - 9) สว่ นการเขียนเป็นเครอ่ื งมือถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสาคัญ

การเขยี นเป็นเคร่อื งมอื อย่างหนง่ึ ท่ีชว่ ยให้โลกเจริญกา้ วหน้า นอกจากน้ีการเขยี นยังมคี วามสัมพนั ธ์

อย่างใกลช้ ดิ กบั ทักษะการฟงั การพูดและการอ่านคนทฟ่ี งั มาก อ่านมาก และพูดดยี อ่ มเขียนได้ดี จึง

ควรมีการสง่ เสรมิ ทกั ษะการเขียนเพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาทักษะทางภาษาและเพอื่ รกั ษามรดกทาง

วฒั นธรรมสบื ไป การเขยี นซึ่งควบคูก่ ับการอ่านนน้ั ถือเปน็ เครอ่ื งมอื แสดงออกซงึ่ ความรู้ ความคดิ

ความรู้สกึ และจินตนาการของมนษุ ยท์ ั้งเรื่องในอดตี ปัจจุบันและอนาคต เป็นเคร่ืองมือสาคัญทาง

วัฒนธรรมท่ีถ่ายทอดมรดกทางสติปัญญาของมนุษย์อนั สะท้อนความเจริญหรืออารยธรรมของ

มนษุ ย์แตล่ ะยคุ สมยั ไดท้ างหนึ่ง เมอ่ื งานเขยี นนน้ั มีคุณค่าและสามารถสื่อได้อย่างกว้างขวางรวดเรว็ ก็จะ

ช่วยสร้างความรู้ ความคิดหรือความเพลิดเพลินตามเจตนาของผู้เขียนใหแ้ ก่ผู้อา่ นได้อยา่ งกวา้ งขวาง ผ้ทู ่ี

มีความสามารถในการเขียนและผลงานเปน็ ทย่ี อมรบั ในสงั คมกส็ ามารถยึดงานเขียนเป็นอาชีพได้ (สา

นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน. 2550 : 3 - 4) ดังน้ันการสอนอา่ นและการสอนเขียนจงึ มี

ความสาคญั มากในการจัดการเรยี นการสอนในระดบั ประถมศกึ ษา ครูผสู้ อนจะตอ้ งจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การ

อา่ นการเขียนอยา่ งหลากหลาย ความสาเรจ็ ของการสอนอา่ นสอนเขยี นมิใช่เพียงทาให้นกั เรียนสนใจการ

อา่ นการเขียนเพียงชั่วครู่ชั่วยามเท่านั้น แต่อยู่ทีก่ ารช่วยทาใหผ้ ู้เรียนสามารถพฒั นาทักษะเกิด

กระบวนการทางาน การคิด ใหม้ ีระบบ และเกิดความภูมิใจที่จะอ่านช้นิ งานของตนเอง การอ่านการ

เขยี นให้เกดิ ความคงทนในการเรียนรซู้ ึ่งผู้เรียนจะต้องนาความรู้เหล่านไ้ี ปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ตลอดชีวิต

ปัญหาการอา่ นไมอ่ อกและเขยี นไม่ไดข้ องเดก็ ไทยนบั วนั จะถึงระดับขัน้ ท่ีน่าเป็นหว่ ง

มากย่งิ ข้นึ ซงึ่ ต่างคนต่างคิด ต่างคนต่างมอง และวิเคราะห์กันไปต่างๆ นานาวา่ สาเหตขุ องปญั หานั้น

มี ตน้ ตอมาจากโนน่ นี่ น่ันมากมาย บ้างกบ็ อกมาจากตัวเดก็ เองทข่ี าดความสนใจใฝ่เรียนรู้ อาจจะ

เนอื่ งมาจากสอื่ และส่งิ แวดลอ้ มที่เปลี่ยนแปลงไป บ้างก็บอกปญั หานน้ั มาจากครูผู้สอนในระดบั

ประถมศกึ ษาท่สี อนไม่เปน็ ไม่มหี ลักการ ขาดเทคนิควิธกี ารสอนท่นี ่าสนใจ เน่ืองจากไมไ่ ด้จบตรง

วิชาเอก ภาษาไทย บา้ งก็บอกครูผู้สอนไม่สนใจงานสอน ปลอ่ ยปละละเลยเดก็ บ้างก็บอกโรงเรยี นไม่มี

ระบบ รองรบั ท่จี ะชว่ ยเหลอื นักเรยี นทีม่ ีปัญหาด้านการอา่ นออกเขียนได้โดยเฉพาะ บ้างก็บอกหนังสอื

เรียนและ สือ่ การเรียนรูภ้ าษาไทยทีย่ งั ไมด่ ีเท่าท่ีควร บา้ งกบ็ อกพอ่ แม่ผู้ปกครองไม่มีเวลาใสใ่ จดูแล

บุตรหลานให้ อ่านหนงั สอื หรอื ทางการบา้ น ซึ่งเหลา่ น้เี ป็นการมองต่างมุมและคิดตา่ งมิติตาม

ประสบการณ์ของแต่ละคน นั่นเอง แต่สิ่งทีเ่ ราไมอ่ าจปฏิเสธได้ น่นั คอื การอา่ นหนงั สือไม่ออกและ

เขียนไมไ่ ดข้ องนกั เรียนนน้ั ถอื เปน็ ปญั หาสาคญั ท่สี ะท้อนใหเ้ ห็นถงึ วิกฤติคุณภาพการศึกษาของ

ประเทศ ซ่งึ ปจั จุบันยงั มีนกั เรยี นที่มีปัญหา อา่ นไม่ออกและเขียนไม่ได้อย่อู กี เป็นจานวนมาก เช่อื ว่าทกุ

ทา่ นคงเห็นพ้องต้องกนั วา่ การอ่านออกเขียน ไดน้ ้นั ถือวา่ เป็นพน้ื ฐานและหวั ใจสาคัญในการเรยี นร้ใู น

ทกุ ๆ วชิ า ซงึ่ หากเดก็ คนใดอา่ นไมอ่ อกเขียนไมไ่ ด้ ยอ่ มเป็นอุปสรรคยิ่งต่อการพฒั นาตนเอง และสง่ ผล

ถึงการเรียนรู้ในวิชาอ่ืนๆ ใหม้ ีปญั หาตามไป ดว้ ย สง่ิ ท่ตี ้องคิดและลงมอื ทาอย่างเร่งด่วน นั่นคือ ทา

อยา่ งไรท่ีจะให้เด็กทกุ คนท่อี ย่ใู นระบบการศึกษา สามารถอ่านออกเขยี นได้ มคี วามเขา้ ใจในสงิ่ ทอ่ี ่าน

และเขยี น ซง่ึ เปน็ หวั ใจของการศกึ ษาในระดบั ขั้นพนื้ ฐาน

ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง กาหนดประเภทและหลกั เกณฑ์ของคน

พกิ ารทางการศึกษา พ.ศ.2552 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 3 และมาตรา 4 แห่ง
พระราชบญั ญัตกิ ารจดั การศึกษาสาหรบั คนพิการ พ.ศ. 2551 รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
จงึ ออกประกาศกาหนดประเภทและหลกั เกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา ไว้ 9 ประเภท (1) บุคคล

ท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ (2) บุคคลที่มคี วามบกพร่องทางการได้ยิน (3) บุคคลท่มี คี วาม
บกพร่องทางสติปัญญา (4) บุคคลทีม่ ีความบกพรอ่ งทางร่างกาย หรือการเคลือ่ นไหว หรอื สขุ ภาพ

(5) บุคคลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ (6) บุคคลท่มี คี วามบกพร่องทางการพูดและภาษา (7)
บคุ คลทีม่ ีความบกพร่องทางพฤตกิ รรม หรืออารมณ์ (8) บุคคลออทิสตกิ (9) บคุ คลพกิ ารซ้อน
โดยพิเศษเหล่าน้ี หากไดร้ บั การรกั ษาการเอาใจใส่ เด็กเหลา่ น้ีก็สามารถใช้ชีวิตไดป้ กติเหมอื นกับเด็ก
ท่วั ไป

เดก็ ทีม่ ีความบกพร่องด้านการเรียนรู้ หรือเดก็ LD จัดเป็นเดก็ หมายถงึ เด็กท่ีบกพร่อง
ทางการเรยี นรู้ เนือ่ งจากมคี วามผดิ ปกตขิ องระบบประสาทชนดิ ถาวร ทาให้สมองถูกจากัด
ความสามารถในการเรียนรู้ การทาความเข้าใจ หรอื การจดจา และอาจพบรว่ มกบั โรคทางจติ เวชอื่น
ๆ ได้ถึงร้อยละ 40-50 เชน่ โรคสมาธิสัน้ (ADHD) พอ่ แมอ่ าจสังเกตสัญญาณของความผดิ ปกตจิ าก
การที่เดก็ ไม่สามารถจดจ่ออยู่กบั สิ่งใดได้นาน มปี ัญหาในการพูด การอ่าน การเขียน การคานวณ
ส่งผลให้อาจมีทกั ษะในการเรียนร้ดู อ้ ยกว่าเดก็ ในวัยเดียวกัน ทัง้ นี้ ความเอาใจใส่ของคนใกล้ชดิ และ
การรกั ษาด้วยวธิ ที เ่ี หมาะสมต้งั แตเ่ นิน่ ๆ อาจช่วยใหผ้ ปู้ ว่ ยเด็ก LD พฒั นาทกั ษะทางดา้ นต่าง ๆ ได้
อย่างเตม็ ศักยภาพและใชช้ วี ติ รว่ มกับผอู้ ื่นในสงั คมไดเ้ หมอื นเดก็ ปกติ ซงึ่ เกดิ จากการทางานผิดปกติ
ของสมองทีค่ วบคุมความสามารถในด้านนัน้ ๆ เช่น ปัญหาการอ่านสะกดคา ปัญหาการเขยี น หรือ
ปญั หาดา้ นการคานวณ การเรียนรู้บกพร่องดา้ นการอา่ น คอื เด็กมีทกั ษะการอา่ นทน่ี ้อยกว่าเพอ่ื นวยั
เดียวกัน อา่ นสะกดคาไมค่ ล่อง อ่านช้า อา่ นผิด รวมถงึ ไม่สามารถสรปุ จับใจความจากเร่อื งที่อา่ นได้
การเรยี นรบู้ กพรอ่ งด้านการเขียน คอื เดก็ ทม่ี ีความยากลาบากในการเขยี น เขียนไมไ่ ด้ สะกดคาผิด
แบง่ แยกวรรคผดิ เขยี นแลว้ คนอน่ื อ่านไมร่ เู้ รอื่ ง รวมถงึ ความบกพรอ่ งของลายมือ ซ่ึงสาเหตุ เกดิ จาก
ปจั จัยร่วมกนั ระหวา่ งพนั ธกุ รรมและสิ่งแวดล้อมที่เป็นปจั จยั หนึง่ ที่มีส่วน ใหเ้ กดิ เชน่ การเรยี น
โทรศัพท์เป็นเวลานาน ทาใหเ้ กิดความบกพร่องในการทางานของสมองในตาแหน่งทจ่ี าเพาะกบั
ทกั ษะนั้นๆ และจะตอ้ งมีแนวทางการชว่ ยเหลือ หากสงสยั วา่ เดก็ มีปัญหาอา่ นหนังสือไม่คลอ่ ง เขยี น
ผดิ ไม่เข้าใจการคานวณ หรอื ในเดก็ ทม่ี ีปจั จยั เสย่ี ง เช่น คนในครอบครวั มีความบกพร่องในการอ่าน
หรอื เด็กท่มี ีประวัติพัฒนาการทางภาษาล่าช้า ควรพามาตรวจกับผเู้ ช่ยี วชาญเพอ่ื ให้ไดร้ ับการวนิ ิจฉัย
และแนวทางการดูแลรกั ษา

ด้วยโรงเรยี นอนบุ าลรัตนบุรี เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ และมนี กั เรียนจานวนกว่า 660 คนเปน็

โรงเรียนเรยี นรว่ ม ทมี่ เี ดก็ บกพร่องด้านการเรียนรอู้ ยู่เป็นจานวนไม่นอ้ ย และโรงเรียนยังเปน็ ตน้ แบบ
โรงเรียนรกั การอา่ น เพือ่ เปน็ การสนับสนนุ และเพอ่ื ต้องการพฒั นาการอ่านเขียนของนกั เรยี นให้ดีขน้ึ

โดยเฉพาะเด็กทม่ี ีความพกพรอ่ งด้านการเรยี นรู้ ควรที่จะได้รับการแกไ้ ขและเหมาะสม ซึ่งจะทาให้
เกดิ พัฒนาด้านทักษการอา่ นและเขียน ซึง่ เป็นทกั ษะพื้นฐานทจี่ ะทาให้นกั เรียนเหล่าน้ี สามารถใช้

ชวี ิตไดป้ กติ เหมอื นเดก็ ทกุ คน ทาใหเ้ กดิ นวตั กรรมทจี่ ะแกป้ ัญหา ใหก้ ารชว่ ยเหลือดา้ นการศึกษา

ฝึกฝนการอ่านและเขยี น โดยมกี ารชว่ ยเหลอื ระหวา่ งเพื่อนช่วยเพื่อนทาใหเ้ กดิ ความสมั พันธ์และ
สรา้ งสังคมอนั ดีในห้องเรียน ได้นาเอารูปแบบคลินิกที่เปน็ สถานรกั ษาพยาบาลรักษาผปู้ ่วยทีม่ ีปัญหา

ดา้ นการอ่านและเขียนโดยเฉพาะ คอื นวัตกรรม VIP Clinic คลนิ ิกรกั ษำพฒั นำอ่ำนเขยี นเด็ก

พเิ ศษ และไดส้ อดคล้องกบั ความตอ้ งการและความสนใจของนกั เรียนและเพ่อื เปน็ การพัฒนา

แกป้ ญั หาผู้เรยี น จากการจัดการเรยี นการสอน ซึง่ สว่ นใหญ่นักเรียนสว่ นใหญ่ ทกั ษะกระบวนการ

ทางานร่วมกัน และปัญหาการอา่ นไมค่ ล่องเขยี นไมค่ ล่อง เพื่อแกป้ ญั หานกั เรียนในชั้นเรยี น โดยให้
นกั เรียนไดป้ ฏบิ ัติและมสี ว่ นร่วมในการช่วยเหลือดูแลและแกป้ ญั หาร่วมกนั และยังเปน็ การพฒั นา

เด็กท้งั 2กลุม่ ท้ังนย้ี งั มเี ครื่องมือที่สามารถนามาแก้ปญั หาอ่านเขียนได้เหมาะสมกบั เดก็ ได้ศกึ ษา
ค้นควา้ ดว้ ย ตนเอง เด็กไดเ้ ปน็ ท่ยี อมรบั ของคนอืน่ ๆ ส่งผลใหเ้ ด็กรูส้ กึ ดีต่อตนเองและสร้างความ
มั่นใจ ความภาคภมู ิใจในตวั เอง ฝึกฝนการอ่านหนงั สอื ฝึกการสะกดทกุ วนั โดยเร่ิมจากพ้นื ฐานทเี่ ด็ก
ทาได้ ่ซ่ึงส่งผลต่ออนาคตอย่างมาก และหากเด็กไดร้ ับการเรยี นร้อู ยา่ งถกู วธิ ีก็เหมือนกับการรกั ษา
อยา่ งถกู วิธี จะทาใหท้ ักษะการเรียนของเด็กดีข้ึนไดม้ าก นามาส่คู วามภาคภมู ิใจในตัวเองและการ
ประสบความสาเรจ็ ในการใช้ชวี ิตได้

ตอนที่ 2 จุดประสงค์ของกำรดำเนินงำน
จดุ ประสงคแ์ ละเปำ้ หมำยของกำรดำเนินงำน มีดงั นี้
1. เพื่อพัฒนาทกั ษะการอ่านของเดก็ ทม่ี คี วามบกพร่องดา้ นการเรยี นรู้
2. เพือ่ พฒั นาทกั ษะการเขยี นของเด็กทม่ี ีความบกพร่องด้านการเรยี นรู้
3. เพอื่ ให้นกั เรยี นมีทกั ษะในการทางานรว่ มกนั ของเด็กปกติและเดก็ ท่ีมีความพิเศษ

ตอนที่ 3 ขอบเขตของกำรดำเนนิ งำน
3.1 เป้ำหมำยของกำรดำเนินงำน
1. นักเรยี นท่ีมคี วามบกพรอ่ งดา้ นการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 มที กั ษะการอ่านเขยี น
2. นักเรยี นทมี่ คี วามบกพร่องด้านการเรียนรู้ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 มที กั ษะการเขียน
3. นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 มที ักษะการทางานรว่ มกนั

3.2 ขอบเขตของเนอื้ หำ

เดก็ ที่ความบกพรอ่ งดา้ นการอ่านช้ันประถมศึกษาปีที 2 เรียนรู้
- การอ่านออกเสยี งพยัญชนะสระ -
- การอา่ นสะกดคา แม่ ก กา
- อา่ นอ่านสะกดคาสระลดรปู
- การอ่านสะกดที่มีตาวสะกดตรงตามมาตรา
- การอ่านสะกดคา ประกอบบญั ชีคาพืน้ ฐาน

เดก็ ท่ีความบกพร่องด้านการเขยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที 2 เรยี นรู้
- การเขยี นพยัญชนะสระ
- การเขียนคา แม่ ก กา
- การเขยี นคาทีเ่ ปน็ สระลดรูป
- การเขียนคาท่ีมตี าวสะกดตรงตามมาตรา

กิจกรรม เครือ่ งมอื ที่ ช้
ส1 เสริมการอ่าน -การอ่านพยัญชนะสระ
-การอา่ นสะกดคา แม่ ก กา
ส2 สร้างการเขียน -การอ่านหนงั สอื เรยี นมานีมานะ
-การอา่ นสะกดคาสระลดรปู
ส3 ส่งสอื่ ทาหนังสือทาเอง -การอา่ นสะกดท่ีมตี าวสะกดตรงตามมาตรา
-การอา่ นสะกดคา ประกอบบัญชคี าพ้ืนฐาน

-เรยี นร้กู ารเขียนพยัญชนะสระ
-การเขียนคา แม่ ก กา
-การเขียนคาทเ่ี ปน็ สระลดรูป
-การเขยี นคาทมี่ ีตาวสะกดตรงตามมาตรา
-การฝกึ เขยี นตามคาบอก
-การฝกึ เขียนคาจากบญั ชคี าพ้ืนฐาน

-การทาหนังสือทาเอง บรู ณาการการอ่าน
เขยี น

3.3 ขอบเขตของระยะเวลำ
การดาเนนิ กิจกรรมในแตล่ ะภาคเรียนการศกึ ษา

ตอนที่ 4 ประโยชน์ท่ีจะได้รับ
1. นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจในบทบาทและหนา้ ท่ีของตวั เองท่ไี ด้รบั มอบหมาย
2. นกั เรียนทกุ คนมสี ่วนร่วมทางาน นกั เรียนได้คิดได้แสดงออกอยา่ งอสิ ระ
3. นกั เรยี นช่วยเหลือเกอื้ กูลกนั และเกดิ ความสมั พนั ธ์อันดี เห็นคุณคา่ ของผู้อนื่ และตวั เอง
4. นกั เรยี นสามารถอา่ นคลอ่ งเขียนคลอ่ งข้ึน นกั เรยี นคิดเปน็ ทาเปน็ แก้ปัญหาเป็น
6. นักเรยี นมคี วามสุข สนกุ สนานในการทากิจกรรม และการทาสอ่ื หนงั สือทาเอง นักเรียน

เห็นคณุ ค่าและประโยชน์ของผลงานการจดั ทา
7. นกั เรียนรู้จักใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์
8. นักเรยี นไดแ้ สดงศักยภาพในด้านภาษา ดา้ นศิลปะ ทาให้เกิดคณุ ค่าคุณประโยชน์
11. นกั เรยี นไดจ้ ินตนาการด้วยตนเอง ได้ฝึกฝนอดทน มคี วามขยนั หมั่นเพยี ร
12. นกั เรยี นเกิดคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางต้องการ ในข้อ 3.มีวินัย

4. ใฝ่เรยี นรู้ 5.มงุ่ มน่ั ในการทางาน

ตอนที่ 5 กระบวนกำรผลิตผลงำนหรอื ข้นั ตอนกำรดำเนินงำน
กระบวนกำรผลติ ชิน้ งำนหรอื ขัน้ ตอนกำรดำเนินงำน
ในการดาเนินงานของนวัตกรรม คลินิกภาษาพัฒนาอา่ นเขยี นเดก็ พเิ ศษ: VIP clinic

VIP Clinic

แนวคิด นกำรออกแบบนวัตกรรม
ในการออกแบบนวัตกรรมใชห้ ลกั การบูรณาการการรักษา คลินิก มาเปน็ รูปแบบ
การบริหารชือ่ VIP Clinic มรี ายละเอียดดงั นี้

1. V: Virtuoso คือคือการสร้างเด็กที่มีความบกพร่องด้านการเรียนรู้ให้เป็นคนเก่ง เก่งในท่ีนี้
ไม่ได้หมายความว่าเก่งท่ีสุด แต่หากหมายความว่าพัฒนาข้ึนท้ังด้านการอ่านและการเขียน โดยมีเกณฑ์ที่
เหมาะสม โดยใช้กจิ กรรม 3 ส ในการชว่ ยคอื

ส1 เสริมกำรอ่ำน มีการจัดกิจกรรมเสริมการอ่านโดยจะเริ่มตั้งแต่พ้ืนฐานในการอ่าน พยัญชนะ
สระและการฝกึ สะกดคา โดยนักเรยี นแตล่ ะคนจะไดเ้ สรมิ การอา่ นในเครอื่ งมือทน่ี ักเรยี นยังต้องพัฒนา โดยจะ
มคี ณุ หมอภาษาฟังและควรใหค้ าแนะนาและเสริมกาลังใจ

ส2 สร้ำงกำรเขียน เม่ือนักเรียนท่ีมีความบกพร่องได้อ่านแล้ว จะสร้างการจัดกิจกรรมด้านเขียน
โดยเลือกใช้คาง่าย และให้ แผนภาพความคิด หรือ Mind Mapping เห็นถึงความเชื่อมโยงและการจัด
ระเบยี บของข้อมูล

ส3 ส่งสือ่ ทำหนังสือทำเอง เปน็ การบรู ณาการระหว่างการอ่านและการเขียนและเป็นการใช้ศิลปะ

ภาพวาด ทาใหน้ กั เรยี นมีกิจกรรมทห่ี ลากหลาย โดยการฝกึ ทาหนังสอื ทามอื นอกจากจะเพ่มิ การฝึกเขยี นอ่าน

ยงั ทาให้เกดิ ความภาคภูมใิ จในตนเองอีกดว้ ย

ซง่ึ มีความสอดคลอ้ งกับลักษณะอันพึงประสงค์ ดงั น้ี

คุณลกั ษณะ กิจกรรม เครือ่ งมือท่ี ช้

อันพึงประสงค์

ส1 เสริมการอา่ น -การอา่ นพยญั ชนะสระ

-การอา่ นสะกดคา แม่ ก กา

-การอา่ นหนงั สือเรยี นมานมี านะ

-การอา่ นสะกดคาสระลดรปู

-การอา่ นสะกดท่มี ีตาวสะกดตรงตามมาตรา

ฝ่เรียนรู้ -การอ่านสะกดคา ประกอบบัญชคี าพนื้ ฐาน

ส2 สร้างการเขยี น -เรยี นรกู้ ารเขยี นพยัญชนะสระ
-การเขียนคา แม่ ก กา

-การเขยี นคาที่เป็นสระลดรูป
-การเขยี นคาทมี่ ตี าวสะกดตรงตามมาตรา
-การฝึกเขียนตามคาบอก

-การฝึกเขียนคาจากบญั ชคี าพืน้ ฐาน

มงุ่ มน่ั นกำรทำงำน ส3 ส่งส่อื ทาหนงั สือทาเอง -การทาหนงั สือทาเอง บรู ณาการการอ่านเขยี น
-การทางาน บทบาท ความรบั ผิดชอบในคลนิ ิก

2. I : IEP = แผนกำรจดั กำรศกึ ษำเฉพำะบคุ คล ( Individualized Education Program :

IEP ) เป็นแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ที่เขยี นขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรสาหรับเดก็ ท่ีมีความ ต้องการ
พิเศษเป็นเฉพาะบุคคล เพื่อจัดการศึกษาให้สอดคล้องความต้องการพิเศษเป็นรายบุคคลและมีการการ
ตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียนและพัฒนาการ เพื่อได้รับพัฒนาเต็มตามศักยภาพ จึงต้องมีการจัด

กิจกรรมท่ีหลากหลาย โดยจัดให้มีการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ วิธีการเรียนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญและสนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดให้ผู้เรียนได้รับการ

พัฒนา โดยให้ความสาคัญกับกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการในการเรียนรู้แต่ละระดับช้ัน จัดให้มีการ
ประเมินผลการเรียนรู้ให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนได้
พัฒนาการท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจและสติปัญญา เน้นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrate

Teaching) ใชก้ ระบวนการคดิ วิเคราะห์ ให้ผูเ้ รียนได้เรียนรดู้ ด้วยกระบวนการเรียนรขู้ องตนเอง ใชว้ ธิ กี ารของ
การเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Approach) เรียนรู้แบบลงมือกระทา (Active Learning) ใช้การจัด

กิจกรรมกรรมที่พัฒนาท้ังด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการและการร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมชมรม
กจิ กรรมส่งเสริมวฒั นธรรมที่ดงี ามและสอดคลอ้ งกับวิสยั ทศั น์ เอกลักษณ์ รวมถึงอัตลักษณ์ของโรงเรียน

3. P : Process
PROCESS (กระบวนกำร) ในขั้นตอนการดาเนินงาน เราจาลองการทางานของคลินิก Clinic มา
ประยุกต์ใช้ในการรักษา โดยการรักษาเด็กท่ีมีความบกพร่องด้านภาษา มีเด็กปกติเป็นพยาบาลคอยดูแล มี
คณุ ครูเป็นหมอใหญ่ มีการวินจิ ฉัยทักษะการอา่ นเขยี นเบื้องตน้ ว่าควรจะเริม่ ให้ตามรูปแบบแกไ้ ขและเพิ่มเติม
การอ่านและเขียนในเรื่องใด โดยมีการทางานเป็นทีม มีหน้าท่ีรับผิดชอบ บทบาทของนักเรียนแต่ละคนท่ี
ชัดเจน เกิดการช่วยเหลือเก้ือกูลกัน และเกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักเรียน นักเรียนท่ีอ่อนพัฒนาข้ึน
นกั เรยี นเกง่ เก่งมากขน้ึ ซ่ึงการเป็นผู้ถ่ายทอดให้ผู้อ่นื จะกลายเป็นความทรงจาถาวรให้กับนกั เรียน มีการจัดทา
ประวัติให้เป็นระบบ เพ่อื ง่ายตอ่ การพัฒนาคร้ังต่อไป มีการให้งานเหมือนการจ่ายยาท่ีคลินกิ จึงเปรยี บเสมือน
คลีนิคภาษาที่รับรักษาเด็กที่มีความบกพร่องด้านการอ่านเขียน ส่งเสริมการเรียนรู้ของทีมงานเพื่อขับเคลื่อน
การจดั การศึกษาในชน้ั เรียนใหม้ คี ณุ ภาพ โดยมีบทบาทหน้าที่ดังน้ี

Docter = คณุ ครูในสายช้นั เปน็ ผูผ้ ลติ เคร่อื งมืออา่ นเขียนควบคมุ ดแู ลคลนิ ิกภาษา
Nurse = นักเรยี นเป็นผู้ช่วยครูในนการพยาบาลทางด้านภาษาให้กบั ผูร้ ับการรักษา
Patient = นกั เรียนที่มคี วามบกพร่องดา้ นการเรยี นรทู้ เี่ ข้ามาพัฒนาดา้ นการอ่านเขยี น

แนวคิด นกำรควบคมุ กำรปฏิบัตงิ ำน วงจรควบคมุ คณุ ภาพเดมม่ิง (Deming Cycle) วงจรเดมม่ิง
PDCA ใช้ในการทาให้งานเสร็จอย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้ประกอบด้วย P (Plan) เป็นการ
วางแผนงานจากวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายท่ไี ดก้ าหนดขนึ้ D (Do) เป็นการปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานทไ่ี ด้
เขียนไว้อย่างเป็นระบบและมคี วามต่อเนือ่ ง C (Check) เป็นการตรวจสอบผลการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน
ของแผนงานว่ามีปัญหาอะไรเกิดขึ้น จาเป็นต้องเปลีย่ นแปลงแก้ไขแผนงานในขั้นตอนใด A (Action) เป็นการ
ปรบั ปรงุ แก้ไขสว่ นที่มีปัญหาหรอื ถา้ ไม่มีปัญหาใดๆ ก็ยอมรับแนวทางการปฏิบัตติ ามแผนงานท่ีไดผ้ ลสาเรจ็ โดย
นามาใชใ้ นขั้นตอนกระบวนการ (Process) เพ่ือใช้ในการควบคุมและตรวจสอบกระบวนการดาเนินงาน

PDCA คือ วงจรการ
บริหารงานคุณภาพ ยอ่ มาจาก 4
คา ไดแ้ ก่ Plan (วางแผน), Do
(ปฏิบตั )ิ , Check (ตรวจสอบ)
และ Act (การดาเนินการให้
เหมาะสม) ซง่ึ วงจร PDCA
สามารถประยกุ ต์ใชไ้ ด้กบั ทุกๆ
เรอื่ ง นบั ตง้ั แต่กิจกรรมสว่ นตัว
เชน่ การปรุงอาหาร การเดนิ ทาง
ไปทางานในแต่ละวนั การ
ตงั้ เป้าหมายชีวิต และการ
ดาเนนิ งานในระดบั บริษทั ซ่งึ
รายละเอยี ดในแต่ละข้ันตอนมี
ดงั น้ี

1. P = Plan ( ขั้นตอนการวางแผน )
ขัน้ ตอนการวางแผน คือ การกาหนดบทบาท และหนา้ ทีใ่ นการปฏบิ ัตงิ าน การออกแบบและสรา้ ง
เครือ่ งมอื เพอ่ื ใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน การเตรยี มสถานที่ โดยสามารถเช่อื มโยงกบั นะโยบาล 3 สร้าง คือ สร้าง
โอกาสในการเรียนรู้ของนกั เรียน สรา้ งคุณภาพที่เดขน้ึ สหู่ ้องเรยี น และสร้างคุณธรรมการช่วยเหลือเก้ือกูลการ
เขา้ ใจหน้าทีแ่ ละบทบาท เป็นสังคมแห่งการชว่ ยเหลอื

2. D = Do ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ ( ข้นั ตอนการปฏบิ ัติ )
ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติ คือ การลงมอื ทาในหน้าท่ที ไ่ี ด้เลอื กหรือกาหนดไวใ้ นขัน้ ตอนการวางแผน ซง่ึ ใน

ข้นั ตอนนตี้ อ้ งมกี ารตรวจสอบระหว่างการปฏิบัตดิ ้วยวา่ ได้ดาเนินไปในทศิ ทางท่ตี ัง้ ใจหรอื ไม่ เพ่อื ทาการ
ปรบั ปรุงเปล่ยี นแปลงใหเ้ ปน็ ไปตามแผนการทไ่ี ด้วางไว้

3. C = Check ( ข้ันตอนการตรวจสอบ )
ขั้นตอนการตรวจสอบ คือ การประเมนิ ผู้ท่ีได้รับการรักษาทางดา้ นภาษา ว่าผลที่ไดร้ ับจากการ

ปรบั ปรงุ เปล่ยี นแปลง เพิ่มเติมแก้ไขในส่วนใด เพ่ือใหท้ ราบว่า ในขนั้ ตอนการปฏิบัตงิ านสามารถบรรลุ
เปา้ หมายหรือวตั ถุประสงค์ทไี่ ด้กาหนดไว้หรอื ไม่ โดยคุณครจู ะชว่ ยกากบั ดแู ล เพื่อให้ข้อมูลทไ่ี ด้จากการ
ตรวจสอบเป็นประโยชน์สาหรบั ข้ันตอนถดั ไป

4. A = Action ข้ันตอนการดาเนนิ งานให้เหมาะสม ( ขัน้ ตอนการดาเนินงานใหเ้ หมาะสม )
ขัน้ ตอนการดาเนินงานให้เหมาะสมจะพิจารณาผลท่ีไดจ้ ากการตรวจสอบ ดา้ นการพฒั นาของนกเรยี น
ท่ีไดร้ บั การดแู ล ซงึ่ มอี ยู่ 2 กรณี คือ ผลท่ีเกดิ ขน้ึ เป็นไปตามแผนที่วางไว้ หรือไม่เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ หาก
เป็นกรณีแรก ก็ใหน้ าแนวทางหรอื กระบวนการปฏิบัตนิ ัน้ มาจัดทาใหเ้ ปน็ มาตรฐาน พรอ้ มทงั้ หาวธิ กี ารทจ่ี ะ
ปรบั ปรงุ ให้ดยี งิ่ ข้ึนไปอีก ซึ่งอาจหมายถึงสามารถบรรลเุ ปา้ หมายไดเ้ ร็วกวา่ เดมิ หรอื เสยี ค่าใช้จ่ายน้อยกวา่ เดิม
หรอื ทาให้คุณภาพดยี ง่ิ ขน้ึ กไ็ ดแ้ ตถ่ า้ หากเป็นกรณีท่สี อง คือ ผลท่ไี ดไ้ มบ่ รรลุวัตถปุ ระสงค์ตามแผนที่วางไว้ ควร
นาข้อมูลทีร่ วบรวมไว้มาวิเคราะหแ์ ละพจิ ารณาว่าควรจะดาเนินการอย่างไร เชน่ มองหาทางเลอื กใหมท่ น่ี ่าจะ
เปน็ ไปได้ ใช้ความพยายามใหม้ ากข้นึ กวา่ เดมิ ขอความช่วยเหลือจากผ้รู ู้ หรอื เปลยี่ นเป้าหมายใหม่ เป็น

ตอนท่ี 6 ผลกำรดำเนนิ กำร/ผลสัมฤทธิ์

1. นกั เรยี นมีความใฝ่เรยี นรู้ ตั้งใจเพยี รพยายามในการเรียน ซึ่งตรงกับคณุ ลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค์ข้อท่ี 4. ในการเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรจู้ ากกิจกรรมคลินิกภาษา พฤติกรรมบ่งช้ี เชน่

นักเรยี นต้งั ใจเรยี น เอาใจใส่และมคี วามเพียรพยายามในการเรยี นรู้ และสนใจเข้ารว่ มกิจกรรมการ
เรยี นรูต้ ่างๆ นอกจากน้ีแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรตู้ า่ งๆทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น ด้วย
การเลือกใช้สอื่ อยา่ งเหมาะสม บนั ทึกความรู้ วิเคราะหส์ รปุ เป็นองคค์ วามรู้ และสามารถนาไปใช้ใน

ชวี ิตประจาวนั ได้ พฤตกิ รรมบง่ ชี้ เชน่ ศกึ ษาค้นคว้าหาความรจู้ าก ส่อื เทคโนโลยีต่างๆ แหลง่ เรยี นรู้
ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใชส้ อื่ ได้อย่างเหมาะสม บันทกึ ความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบ

จากส่งิ ทเ่ี รียนรู้ สรุปเปน็ องค์ความรู้ และแลกเปลี่ยนความร้ดู ้วยวิธีการตา่ งๆเพ่อื นาไปใชใ้ น
ชีวิตประจาวนั

2. ตัง้ ใจและรบั ผิดชอบในการปฏบิ ัตหิ น้าท่กี ารงาน ซงึ่ ตรงกบั คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ข้อท่ี

6 ซ่ึงนักเรยี นเอาใจใส่ตอ่ การปฏบิ ัตหิ นา้ ทท่ี ไ่ี ด้รบั มอบหมาย ตงั้ ใจและรับผดิ ชอบในการทางานให้
สาเร็จ และปรบั ปรุงและพัฒนาการทางานดว้ ยตนเอง ทางานดว้ ยความเพียรพยายามและอดทน

เพอ่ื ใหง้ านสาเรจ็ ตามเป้าหมาย พฤติกรรมบง่ ช้ี เช่น ทุ่มเททางาน อดทน ไมย่ อ่ ทอ้ ตอ่ ปัญหาและ
อปุ สรรคในการทางาน พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทางานใหส้ าเร็จ และช่ืนชมผลงานด้วย
ความภาคภูมิใจ

3. นักเรียนเกดิ การช่วยเหลอื ซ่งึ กันและกันในการจดั กิจกรรม ชว่ ยเพ่อื นฝึกสอนการอ่านด้วย
ความเต็มใจและพึงพอใจโดยไม่หวังผลตอบแทน เกดิ ความรักความสามัคคีและบรรยากาศทด่ี ใี นชน้ั

เรียน ซึ่งตรงกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ขอ้ ที่ 8

ตำรำงที่ 1 : ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น

ระดับชัน้ จำนวน ไม่ผ่ำน ผลกำรประเมนิ ดีเยย่ี ม ระดบั ดี
นักเรียน ผ่ำน ดี 40 รอ้ ยละ
47
ป.1 78 - 5 33 38 ขน้ึ ไป
118 73 93.59
ป.2 92 - 12 33 80 85.95
85.58 77 74.75
ป.3 103 - 25 39
230
รวม 273 - 42 105

รอ้ ยละ 100

ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมนิ สมรรถนะสาคญั ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั
พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2563 ของผเู้ รียน ในระดับผ่านขน้ึ ไป

ตอนที่ 7 ปจั จัยควำมสำเร็จ
จากการดาเนนิ ทีท่ าให้งานประสบผลสาเร็จ เกิดจากการวางแผนที่ดี และการสนับสนนุ ทัง้

บคุ ลากรในโรงเรียนและบุคลากรภายนอกดงั น้ี
1. นกั เรยี นเรียน ซง่ึ เปน็ ปัจจยั หลกั ท่ีสาคัญในการขบั เคลอื่ นและทากจิ กรรมตามวธิ ีปฏบิ ัติท่ี

เปน็ เลศิ ซึ่งนักเรยี นให้ความรว่ มมือและเข้าใจถงึ บทบาทหนา้ ทขี่ องตัวเอง พร้อมท่จี ะเรียนรใู้ นการจัด
กิจกรรม การสรา้ งสรรค์ผลงาน มีความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคเ์ ปา้ หมาย นามาเป็นพ้นื ฐานในการ
ออกแบบกิจกรรมได้ และทุกกิจกรรมมีความเชอ่ื มโยงสอดคล้องกนั นกั เรยี นใหค้ วามร่วมมือ และมคี วาม
พรอ้ มในรว่ มกจิ กรรม คิดเอง ทาเอง แก้ปัญหาเอง นักเรียน ทุกคนมสี ่วนรว่ มในการแกป้ ญั หา เห็นคณุ คา่ และ
ความสาคญั ของการพัฒนาตนเอง เห็นคณุ ค่าและความสาคัญ เกดิ นักเรียนมีความรกั และสามัคคีกัน

2. ครูมีความต้งั ใจจรงิ มุ่งมั่นขยันอดทน ไม่ทอ้ แท้ต่ออุปสรรค ฝกึ พฒั นาและจดั หาสือ่
เพือ่ ให้เหมาะสมกบั นกั เรียนทม่ี ีความหลากหลาย หม่นั ศกึ ษาและพัฒนาตนเองรว่ มกับองคก์ รหรอื สถาบัน
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุรนิ ทร์ ศกึ ษานเิ ทศของสานักงานเขตน้ื ท่กี ารศึกษา สพป.สร.2 ที่เกีย่ วขอ้ งกบั การศึกษา
และนามาปรบั ใช้พฒั นา เพอื่ ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด
แกผ่ ู้เรียน สถานศึกษา และวงการศึกษาต่อไป

3. การรว่ มกนั จดั ทาแผนพฒั นาเดก็ พเิ ศษด้านการเรยี นรู้ IEP รว่ มกบั ครูพี่เล้ียงเด็กพิเศษของ
ทางโรงเรียน ซ่งึ มีความเชย่ี วชาญ เพ่ือเขา้ ใจและรว่ มกนั แก้ปัญหา ออกแบบกจิ กรรม สอ่ื การเรยี น เหมาะสม

4. ผู้ปกครองให้การสง่ เสรมิ สนับสนุน ให้ความร่วมมอื ชน่ื ชมยินดแี ละพึงพอใจ พรอ้ มให้การ
สนบั สนนุ กิจกรรม และพรอ้ มทจ่ี ะพฒั นานักเรยี นไปพร้อมกบั คณุ ครู

6. การได้รับการสนบั สนนุ ทางผูอ้ านวยการโรงเรียนและทางโรงเรียนในการสนับสนุนครใู หม้ ี
นวัตกรรมที่สอดคลอ้ งและเหมาะสมในการพฒั นาเด็ก ร่วมถึงงบประมาณในการสนบั สนนุ

7. ในการบรหิ ารจดั การการดาเนนิ การทากิจกรรม ขั้นตอน คอื การวางแผน การปฏบิ ัติตามแผน
การตรวจสอบ และการปรบั ปรงุ แก้ไข ดงั นี้ กาหนดสาเหตุของปัญหา จากนั้นวางแผนเพื่อการ
เปลี่ยนแปลงหรือทดสอบเพ่ือการปรับปรุงให้ดีข้ึน การปฏบิ ัติตามแผนหรือทดลองปฏบิ ัตเิ ป็นการนาร่องใน
สว่ นยอ่ ย ตรวจสอบเพอื่ ทราบว่าบรรลุผลตามแผนหรือหากมีสิง่ ใดที่ทาผิดพลาดหรือได้เรียนรู้อะไรมาแล้ว
บ้าง ยอมรบั การเปลย่ี นแปลง หากบรรลุผลเปน็ ท่ีน่าพอใจหรอื หากผลการปฏิบตั ิไม่เป็นไปตามแผน ให้ทาซ้า
วงจรโดยใช้การเรยี นรู้จากการกระทาในวงจรท่ีได้ปฏิบตั ไิ ปแล้ว ในการใชว้ งจร PDCA

ตอนที่ 8 บทเรียนท่ีไดร้ ับ (Lesson Learned)
ปัญหำระหว่ำงกำรดำเนินกิจกรรม สภาพปัญหาและความตอ้ งการ คือ ปจั จยั ทน่ี าไปสู่การ

เปลีย่ นแปลงและพัฒนาให้ดีขึน้

1) กิจกรรมและภาระงานของโรงเรียนและสถานการณ์โรคระบาด (โคโรนา่ ไวรัส) ดงั นัน้ การ
วางแผนงานต้องมีความยืดหยุ่น ชดั เจน และสามารถปรบั เปลย่ี นได้ตามสถานการณ์ และสามารถใช้เวลาวา่ งให้
เกิดประโยชน์กบั การจดั กิจกรรม

2) การใหค้ วามรว่ มมือเสยี สละทมุ่ เทของทุกฝ่ายเป็นปจั จัยสาคัญท่ีทาให้การจัดกิจกรรมประสบ
ความสาเร็จ

3) การมีวินัย อดทน ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ของนักเรียนและครูท่เี ข้าร่วมกิจกรรม มี
ความสาคญั มากในการชว่ ยใหก้ ารจัดกจิ กรรมประสบความสาเร็จ เนอ่ื งจากกิจกรรมบางอย่างมุ่งแก้ไขปัญหา
ของพฤติกรรมนักเรียนกล่มุ ใหญ่ ซ่งึ หากสามารถทาได้ก็จะเกดิ ประโยชนต์ ่อส่วนรวมอยา่ งยงิ่

4) ครแู ละบุคลากรมภี าระงานมาก สง่ ผลถงึ การแบง่ เวลาเพือ่ การดาเนนิ งานกจิ กรรม VIP Clinic มี
น้อย

5) ขาดเครอื่ งมือท่มี มี าตรฐาน เปน็ ท่ียอมรับ ในการประเมินการอ่านเขียนของนักเรียนนี่มีความ
บกพรอ่ งหรือเด็กพเิ ศษ

แนวทำงแกไ้ ข
1) การวางแผนการดาเนนิ งานด้วยการบรู ณาการ การดาเนินกจิ กรรม VIP Clinic ไปกับการจดั
กจิ กรรมอน่ื ในช่วงเวลาเดียวกัน เพิ่มเติมการ การกจิ กรรมในช่วงกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี นชุมนุมและราคาอนื่ ๆที่
เหมาะสม ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมในช่วงพัก หรอื วนั หยดุ ตามความสมัครใจของนักเรียน
2) ยึดหลกั การมีสว่ นร่วมจากทุกฝ่ายทีเ่ กยี่ วขอ้ ง โดยไดร้ ับการสง่ เสรมิ สนับสนนุ จากโรงเรยี น
ชุมชน ในการส่งเสรมิ สนับสนนุ และดาเนินผ่านกระบวนการวงจรคณุ ภาพ PDCA เป็นกระบวนการสาคญั ใน
การพัฒนาใหก้ ารดาเนินการต่างๆสาเร็จไดด้ ว้ ยดี การจัดกจิ กรรมเพือ่ การทาให้ปฎสิ ัมพันธ์อันดรี ะหว่างเด็กเกง่
และอ่อน ทาใหน้ กั เรยี นไดใ้ ช้ศักยภาพอยา่ งเตม็ ที่ โดยทีไ่ มท่ งิ้ เด็กคนใดคนหน่ึง เกิดเปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรู้
3) สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา และโรงเรียนจัดการประชาสัมพนั ธ์การดาเนินงาน โครงการ
โรงเรยี นสจุ รติ ใหก้ บั สถานศกึ ษาในสังกดั และบุคคลท่ัวไปรับทราบอย่างจริงจงั ทวั่ ถึงและขอความรว่ มมือในการ
ดาเนนิ งานตามโครงการ เพื่อให้การดาเนนิ งานเป็นไปในทิศทางทวี่ างไว้
4) พฒั นาเครอ่ื งมือในการประเมินทกั ษะการอา่ นเขียนทมี่ คี วามเฉพาะปรับเกณฑ์การประเมิน
นักเรียนใหเ้ หมาะสมกบั เด็กบกพร่องด้านการเรียนรู้

9. กำรเผยแพร่/กำรได้รบั กำรยอมรบั /รำงวลั ที่ได้

ขา้ พเจา้ ไดน้ าผลงานเผยแพร่และได้รับรางวัลดงั น้ี ดงั นี้
1. ไดม้ กี ารเผยแพร่นวตั กรรม VIP Clinic คลนิ กิ ภาษาพฒั นาการอ่านเขยี นเด็กพเิ ศษ

ภายในโรงเรียน และโรงเรยี นในเครือขา่ ยที่ท่ีสนใจ เช่น โรงเรียนบงึ -ยางประชาสรร เครือขา่ ยรตั นบุรี3 ใน
งานประเมินโรงเรียนพอเพียง

2. ได้มกี ารเผยแพร่ VIP Clinic คลินิกภาษาพัฒนาการอ่านเขียนเดก็ พเิ ศษ พัฒนาการอา่ น
เขยี น ในงานชา้ งประจาจังหวดั สรุ ินทร์ ตวั แทนของโรงเรียนที่มีการพฒั นาการอ่านและเขียน ระดับเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา สุรินทร์ เขต 2

3. ได้รับรางวัลเหรียญทอง ครผู สู้ อนนกั เรยี น กิจกรรมการแขง่ ขันการทาหนังสือเล่มเล็ก
ระดับช้นั ป.4-6 กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ในการแข่งขนั ศลิ ปะหตั ถกรรมนักเรยี น ระดบั เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษา สรุ ินทร์ เขต 2

4. การแข่งขันการจัดทาหนังสือเล่มเล็กประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ช้นั ป.4-6 เหรยี ญทองแดง ระดับชาติ ปกี ารศกึ ษา 2562

5. ได้รับรางวัลเหรียญทอง หอ้ งเรยี นคุณภาพ สู่ to be the first ระดับชน้ั ป.1-3 เครอื ข่าย
รัตนบรุ ี 1 เพ่อื ให้บรรยากาศในชน้ั เรยี นเหมาะกบั การทากิจกรรม

6. ไดร้ ับรางวัลครดู ไี ม่มอี บายมขุ ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

7. ได้รบั คดั เลอื กเป็นครผู ู้สอนดีเดน่ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น เนื่องในวัน
ครู อาเภอรัตนบรุ ี ประจาปี 2564 จากการประกวดนวัตกรรมการสอน

8. นางอจั ฉราภรณ์ ศรีท ได้รว่ มเปน็ ครูตน้ แบบในการนาเสนอวิธีการสรา้ งสือ่ นวัตกรรมและ
วิธีการสอนทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) รว่ มกับคณะครุ ุศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุรนิ ทร์ เมื่อวนั ท่ี 23

ธันวาคม ปี 2564
9. นางอจั ฉราภรณ์ ศรีโท ตาแหน่งครูผู้สอน ไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศ ลาดับที่2 การประกวด

ผลงานและนวัตกรรมการสอนท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) ในโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ิการ “การพฒั นาองค์

ความรู้ เพือ่ แกป้ ญั หาอา่ นไมอ่ อก เขียนไม่ได้ ของเด็กไทย”ภายใตโ้ ครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
พฒั นาท้องถิ่นโดยมีสถาบนั อดุ มศึกษาเป็นพ่เี ลี้ยง สาหรับครูสังกัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา

ประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 1,2 และ3 ณ มหาวิทยาลัยราชภฏั สุรินทร์ ปี 2565
10. โรงเรยี นอนุบาลรตั นบรุ ี ได้รับรางวลั ชนะเลิศ ลาดบั ท่ี 2 การประกวดผลงานและ

นวตั กรรมการสอนทเี่ ป็นเลิศ (Best Practice) ในโครงการอบรมเชิงปฏิบิการ “การพัฒนาองค์ความรู้

เพือ่ แก้ปัญหาอา่ นไมอ่ อก เขยี นไม่ได้ ของเด็กไทย”ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนา
ท้องถ่ินโดยมสี ถาบนั อดุ มศกึ ษาเปน็ พีเ่ ลี้ยง สาหรบั ครูสังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา

สรุ นิ ทร์ เขต 1,2 และ3 ณ มหาวิทยาลัยราชภฏั สุรินทร์ ปี 2565

บรรณำนกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2553). พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไข เพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท2ี่ )
พ.ศ. 2545. กรงุ เทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.

นพรตั น์ รองหมนื่ . (2553). หนงั สอื เล่มเลก็ ส่ือการสอนธรรมดาทไี่ มธ่ รรมดา การสร้างสรรค์และ นามา
ประยกุ ตใ์ ช้ให้มคี วามหลากหลาย. สบื ค้นเมอื่ 12 กุมภาพนั ธ์ 2562 จาก

http://www.sahavicha.com/?name=article&file=readarticle&id=1677.
www.udru.ac.th/qaudru/images/ DATA/ handbook5.pdf.

https://www.pobpad.com/%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81-ld

ภำคผนวก



















ประวัตผิ จู้ ดั ทำ

1. ขอ้ มูลผจู้ ดั ทำ

ช่อื นางอัจฉราภรณ์ นามสกลุ ศรโี ท

อายุ 31 ปี อายุราชการ 7 ปี

คุณวฒุ ิทำงกำรศึกษำ

1.1 วุฒิปรญิ ญาตรี การศกึ ษาบัณฑิต (กศ.บ.) วิชาเอก ภาษาไทย จากสถาบัน มหาวทิ ยาลัย

มหาสารคาม

1.2 วุฒปิ รญิ ญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัญฑิต (ศษ.ม.) วชิ าเอก การบรหิ ารการศกึ ษา

จากสถาบัน มหาวิทยาลัยปทมุ ธานี

ตาแหน่ง ครู คศ.2 ตาแหน่งเลขท่ี 4595

สถานศึกษา โรงเรียนอนบุ าลรัตนบรุ ี อาเภอ รัตนบุรี

สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 2

สว่ นราชการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

2. กำรรับรำชกำร
2.1 เริ่มรับราชการในตาแหน่ง ครูผูช้ ว่ ย เม่อื วันท่ี 1 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2557
2.2 ได้ในตาแหนง่ ครู คศ.1 เมื่อวนั ที่ 1 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2559

2.3 ได้ในตาแหน่ง ครู คศ.2 เมอื่ วนั ท่ี 1 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2563

3. กำรปฏิบตั งิ ำน
สำยงำนกำรสอน
1) การปฏิบัตกิ ารสอนชว่ งชัน้ ท1่ี ชัน้ ป1-3 ประชาชัน้ ประถมศึกษาปีท2่ี สอนทกุ วชิ า


Click to View FlipBook Version