The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Warawut Aiadmee, 2022-07-10 12:33:13

1465280806_7829

1465280806_7829

ประวัตคิ วามเป็นมาของแหลง่ เรยี นรู้
การจัดตัง้ อาคารแสดงเรือ่ งราวความเปน็ มาและเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ของจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี “พพิ ธิ เมอื งคนดี” ถูกจดั ตงั้

จากงบประมาณจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ทจ่ี ดั สรรงบประมาณโครงการตามแบบแผนพัฒนาจังหวัด ในโครงการศูนย์บริการขอ้ มลู และ
ชว่ ยเหลือนักทอ่ งเทยี่ วตอ่ มาได้ดาเนนิ การปรบั เปลี่ยนการก่อสรา้ งเป็นอาคารศนู ยเ์ รยี นร้ปู ระวตั ศิ าสตร์เมืองสุราษฎร์ธานีเพื่อรองรบั
กิจกรรมการกระตุ้นเศรษฐกจิ การท่องเท่ียว และเปน็ จุดเริ่มตน้ ของการรวบรวมเรอ่ื งราวทางประวัตศิ าสตร์ท่สี าคญั ของจังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี อนั จะเปน็ ตน้ แบบสู้การเรยี นรูใ้ นรปู แบบอน่ื ตอ่ ไปในอนาคต

ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ พพิ ธิ เมอื งคนดี ซ่ึงเป็นห้องสมุดมชี วี ติ ชว่ ยสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจเรือ่ งราวของคนจงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
“เมอื งคนดี” นามน้ีพระราชทาน เปดิ ให้บริการอยา่ งเป็นทางการเม่อื วนั ที่ 31 เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2554 โดยมีนายธรี ยทุ ธ
เอ่ียมตระกลู ผู้ว่าราชการจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ใหเ้ กียรติเปน็ ประธานในพิธีเปดิ

ความหมายของภาพพพิ ธิ เมืองคนดี
เส้นสฟี ้า คอื สายนา้ ตาปี สายนา้ ที่หล่อเลย้ี งชาวเมอื งคนดีมาเน่นิ นาน
เสน้ สนี า้ ตาล เป็นรูปพระธาตไุ ชยา เจดีย์ค่บู ้านคู่เมือง สมัยศรวี ิชยั

พพิ ธิ คือ ความหลากหลายตา่ งๆ เม่ือรวมกับคาวา่ “คนดี” ซึง่ มคี วามหมายในตวั ท่ีร้จู กั ถว้ นท่วั ว่าสุราษฎร์ธานี
พพิ ธิ เมอื งคนดี จึงเปน็ ทีท่ ี่รวมความหลากหลายเรอื่ งราวของเมืองสรุ าษฎร์ธานี

พพิ ธิ เมอื งคนดี โซนท่ี 1

รัชกาลท่ี ๙ เสดจ็ พระราชดาเนินเมอื งสุราษฎร์ธานี

นับตงั้ แต่เม่อื พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี ๙ เสด็จข้ึนเถลงิ ถวลั ยราชสมบตั ิ เม่ือวันที่ ๕ พฤษภาคม
๒๔๙๓ เป็นตน้ มา ทรงรับเอาธรรมเนียมจารีตประเพณี แตค่ รงั้ โบราณเมอื่ พระมหากษัตริย์ทรงไดร้ บั พระบรมราชาภิเษกเป็นสมเดจ็ พระ
บรมราชาธริ าชโดยสมบูรณ์แลว้ จะพระราชทานวโรกาสให้พสกนกิ รได้เข้าเฝา้ กราบทูลละอองธลุ พี ระบาทโดยท่วั ถงึ กันในพิธีเสด็จพระ
ราชดาเนนิ เลยี บพระมหานคร ตอ่ มาในสมยั รัชกาลที่ ๕ แหง่ กรงุ รัตนโกสินทร์เมือ่ การคมนาคมสะดวกขน้ึ นอกจากพระมหากษตั ริย์จะ
เสด็จฯโดยกระบวนพยหุ ยาตราเลยี บพระนครแล้วยงั ไดเ้ สด็จฯไปเย่ยี มราษฎรตามภูมภิ าคต่าง ๆ เพ่อื ทอดพระเนตรบา้ นเมือง และสภาพ
ชวี ติ ความเปน็ อยูร่ าษฎรของพระองค์ดว้ ยสายพระเนตรพระองคเ์ อง และให้ประชาชนไดช้ ืน่ ชมพระบารมอี ยา่ งใกลช้ ิด
วันท่ี ๒๖ มีนาคม ๒๕๐๒ นับเป็นครง้ั แรกในชีวิตของพสกนิกรชาวสรุ าษฎรธ์ านีไดม้ โี อกาสช่นื ชมพระบารมีของพระองคอ์ ยา่ ง
ใกลช้ ดิ เม่อื พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว พรอ้ มด้วยสมเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชนิ นี าถเสดจ็ พระราชดาเนินมายงั จงั หวัดสุราษฎร์
ธานีเปน็ ครั้งแรก และนบั จากนัน้ พระองคไ์ ด้เสด็จพระราชดาเนนิ มายังจังหวดั สรุ าษฎร์ธานกี ระทงั่ ถึงปจั จบุ ันรวม ๑๕ คร้ัง
คร้งั แรกของการเสดจ็ ฯเมอื งสรุ าษฎร์ธานี
วนั ที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๐๒ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั พรอ้ มดว้ ยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชนิ นี าถเสด็จพระราช
ดาเนินโดยขบวนรถไฟพระทีน่ ั่งมายงั จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี และประทบั แรม ณ จวนผวู้ ่าราชการจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
วันท่ี ๒๗ มีนาคม ๒๕๐๒ เวลา ๘.๕๙ น. ทั้งสองพระองคไ์ ด้เสด็จพระราชดาเนินออกมาประทบั ณ หนา้ มขุ ศาลากลางจังหวดั
ทรงมีพระราชดารสั วา่ “ ทรงยินดมี ากทไ่ี ด้มาเยี่ยมราษฎรจงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี และจังหวัดในภาคใต้ท้งั หมด แลว้ ทรงขอให้อานาจพระ
บรมธาตไุ ชยาและพระธาตศุ รสี ุราษฎร์ค้มุ ครองชาวสรุ าษฎร์ธานีให้มีความสขุ ความเจรญิ ยง่ิ ๆ ขณะนนั้ มีนายฉลอง รมิตานนท์ ผวู้ ่า
ราชการจังหวดั สุราษฎรธ์ านี กราบบังคมทูลนาขา้ ราชการ และราษฎรเฝ้าทลู ละอองธุลพี ระบาท
เสดจ็ พระราชดาเนินครงั้ ท่ี ๒

ยามเช้าของวนั ท่ี ๒๓ มนี าคม ๒๕๐๕ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั พรอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯพระบรมราชินนี าถ
สมเดจ็ พระราชชนนี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจา้ ฟ้าหญิงอุบลรตั นราชกัญญา สมเด็จพระเจา้ ลกู ยาเธอเจา้ ฟ้าวชิราลงกรณ์ ขณะยังทรงพระ
เยาว์ เสด็จพระราชดาเนินเพอ่ื ทอดพระเนตรภมู ทิ ัศนบ์ ริเวณอ่าวไทยและทรงเยีย่ มราษฎร
วนั ที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๐๕ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวฯ สมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรมราชินนี าถ และเสด็จพระราชชนนี ได้
เสดจ็ อ่าวหน้าทอนอาเภอเกาะสมยุ เวลาประมาณ ๐๙.๓๐ น.จากนั้นเสด็จข้นึ ประทบั บนรถยนตพ์ ระทีน่ ั่งไป น้าตกหนา้ เมือง
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวได้จารกึ พระนามาธิไธยย่อ ภปร. ลงบนกระดาษเพ่อื นาไปแกะสลกั ประดิษฐานบนผาหินบริเวณน้าตกและ
พระบรมสารรี ิกธาตุ ณ สานักสงฆศ์ ิลางู
การเสดจ็ พระราชดาเนนิ คร้งั นี้ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ทรงเกรงวา่ ต่อไปในอนาคตเกาะสมยุ จะขาดแคลนน้า ขอให้ทุก
คนชว่ ยกนั รกั ษาปา่ อย่าตัดไม้ทาลายปา่ อันเปน็ แหลง่ ต้นน้าสาคญั
การเสด็จพระราชดาเนนิ ครั้งที่ ๓
เมื่อวันท่ี ๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั พร้อมดว้ ยสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินนี าถ
เสด็จพระราชดาเนนิ โดยขบวนรถไฟพระทน่ี ั่งกลับจากเยย่ี มเยยี นพสกนกิ รทางภาคใต้ เมื่อรถไฟพระทีน่ ง่ั มาถงึ สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี
ทงั้ สองพระองค์จงึ ไดเ้ สดจ็ พระราชดาเนินขึ้นไปยงั สะพานข้ามทางรถไฟพร้อมโบกพระหัตถท์ กั ทายประชาชน อันเปน็ ภาพประวัติศาสตร์
มิรูล้ ืมของชาวสุราษฎรธ์ านี
การเสดจ็ พระราชดาเนินคร้ังท่ี ๔
วนั ท่ี ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๑๐ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชินนี าถ
เสดจ็ พระราชดาเนนิ มายงั วดั พระธาตุไชยา เพ่ือประกอบพระราชพิธีวันวสิ าขบูชา
การเสด็จพระราชดาเนนิ คร้ังท่ี ๕
วนั ที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๔๑๑ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั พรอ้ มด้วยสมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอเจ้าฟา้ มหาวชิราลง
กรณ์ เสดจ็ พระราชดาเนนิ มายังอาเภอเมือง จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี เพ่อื พระราชทานพระพุทธนวราชบพติ ร ให้ประจาจงั หวดั สุราษฎร์ธานี
แทนการพระราชทานพระแสงราชศาสตรา
เสรจ็ พธิ ี ท้ังสองพระองค์ได้เสดจ็ พระราชดาเนินโดยเฮลิคอปเตอรไ์ ปยังอาเภอพระแสง พระองคไ์ ด้มีพระราชกระแสรบั ส่งั กับ
นายชนิ พชั ร ทพิ ยรัตน์ นายอาเภอพระแสงว่า “การท่นี ายอาเภอวางโครงการใหร้ าษฎรทาถนนหนทางในทอ้ งทโี่ ดยการพัฒนาก็ดอี ยู่ แต่
อย่าไปเกณฑเ์ ขา ใหเ้ ขาทาดว้ ยความสมคั รใจการทาดว้ ยแรงคนอกี นานกว่าจะไดใ้ ชถ้ นน เชน่ ทบี่ างสวรรค์ เมือ่ ฉนั กลบั ไปกรงุ เทพ จะดู
เครื่องท่นุ แรง”

การเสดจ็ พระราชดาเนินการครง้ั ที่ ๖
หลังจากท่ไี ด้เสดจ็ พระราชดาเนนิ มายังอาเภอพระแสงเมอื่ วนั ที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๑๑ นัน้ พระองค์ไดส้ ดับรับฟัง

ปญั หา และทอดพระเนตรเห็นความทรุ กันดารลาบากต่อการเดินทางของพสกนกิ ร ชว่ั เวลาเพียง ๓ เดือน ในวันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๑๑
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ฯพร้อมดว้ ยสมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดาเนินมายังอาเภอพระแสง เพอ่ื
พระราชทานรถถากถาง (บลู โดเซอร์) หรือ รถแทรกเตอรด์ ซี ี สาหรับใช้ในการพฒั นาเสน้ ทางคมนาคมตดิ ตอ่ กับอาเภอพระแสง ซงึ่ สมยั
นน้ั มสี ภาพทุรกันดาร ไมม่ ที างรถยนตต์ ดิ ต่อกนั ระหวา่ งเมืองตอ่ เมือง การคมนาคมตอ้ งอาศัยทางน้าโดยตลอด แม้กระท่งั การนารถถาก
ถางมาพระราชทานใหใ้ นวนั นน้ั ต้องใชเ้ ฮลคิ อปเตอรห์ ิ้วเอามา
การเสด็จพระราชดาเนินคร้งั ท่ี ๗
วนั ที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๑๒ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว พรอ้ มดว้ ยสมเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชินนี าถได้เสดจ็ พระราช
ดาเนนิ มายังอาเภอครี รี ฐั นิคม ซ่งึ เปน็ ถนิ่ ทุรกันดารในขณะน้ันโดยเฮลิคอปเตอรพ์ ระทน่ี ่งั ทางอาเภอครี ีรฐั นคิ มได้สร้างพลบั พลาทป่ี ระทบั
เพ่อื รบั เสดจ็ ณ บริเวณสถานรี ถไฟ หลังจากเสด็จเยย่ี มเยยี นพสกนิกร ทั้งสองพระองคไ์ ดป้ ระทบั เฮลคิ อปเตอร์ไปยงั บา้ นไรไ่ กรษร อาเภอ
คีรรี ัฐนิคมแล้วเสด็จพระราชดาเนนิ กลบั มายงั สนามบนิ ดอนนก อาเภอเมือง จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี เมอื่ เวลา ๑๔.๐๐ น.

การเสด็จพระราชดาเนินครั้งที่ ๘
วนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๑๓ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชนิ นี าถ เสด็จพระราช

ดาเนนิ มายังอาเภอดอนสักเพื่อทรงยกช่อฟ้าพระอโุ บสถวดั เขาสวุ รรณประดษิ ฐ์ อาเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี
สมเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชนิ นี าถ ไดพ้ ระราชทานเงินส่วนพระองค์จานวน ๕๐๐ บาท ให้นางเอี่ยน ผู้ยากจนมบี ตุ ร ๑๕
คนเพ่ือบวชลูกชายในปนี ้นั
การเสดจ็ พระราชดาเนนิ คร้ัง ๙
วันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๑๕ เวลา ๑๔ .00 น. พระบาสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั และพระบาทสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชนิ ีนาถเสดจ็ พระราชดาเนินโดยเรอื พระท่ีน่งั จันทรมายงั ตาบลบอ่ ผุดอาเภอเกาะสมุย แล้วประทบั ลงเรือยางเทยี บชายหาด
การเสดจ็ พระราชดาเนินคร้งั ๑๐
วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๑๕ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั และสมเดจ็ พระนางเจ้าฯพระบรมราชนิ ีนาถพรอ้ มดว้ ยพระเจา้ ลูกเธอ
เจา้ ฟ้าหญิงสิรินธรเทพรัตนสดุ าเจา้ ฟา้ หญงิ จฬุ าภรณ์วลยั ลกั ษณเ์ สด็จพระราชดาเนนิ มายงั วดั สมยั สวุ รรณ ตาบลสองแพรก อาเภอพระ
แสง (ปัจจุบนั ข้นึ กับอาเภอชัยบรุ ี)แลว้ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยย่ี มเยียนราษฎรหมู่บา้ นโตรม ตาบลสองแพรก อาเภอพระแสง(ชยั บุรี)
การเสดจ็ พระราชดาเนินครัง้ ๑๑

วนั ที่ ๓0 เมษายน ๒๕๑๖ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชนิ นี าถเสด็จพระราชดาเนนิ
มายัง ตาบลไทรขึง อาเภอพระแสง นบั เปน็ ครัง้ ที่4ท่ชี าวอาเภอพระแสงไดม้ ีโอกาสชน่ื ชมพระบารมีอยา่ งใกลช้ ิดเนือ่ งจากพระองค์ทรง
สนพระทยั ในการพัฒนาอาเภอพระแสงอย่างต่อเนือ่ งหลงั จากพระราชทานรถถากถางให้มาในคร้งั ก่อน
การเสด็จพระราชดาเนินครั้งท่ี ๑๒

วันที่ ๒๗ สงิ หาคม ๒๕๑๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชนิ ีนาถพระเจ้าลกู เธอ
เจ้าฟ้าหญิงสิรนิ ธรเทพรตั นสุดาเจา้ ฟา้ หญงิ จุฬาภรณว์ ลัยลักษณเ์ สด็จพระราชดาเนนิ มายังอาเภอเวียงสระ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ซ่ึง
ขณะน้นั เป็นอกี อาเภอหนงึ่ หนง่ึ ท่ีมภี ยั จากผู้ก่อการร้ายคอมมวั นิสตใ์ นขณะน้นั แตด่ ว้ ยพระมหากรุณาธิคณุ อันเป็นศูนย์รวมใจของคนไทย
ทุกคน พระองคไ์ ด้เสร็จมาพระราชทานธงประจารุ่นให้แกก่ องลูกเสอื ชาวบ้าน เพ่ือเปน็ ขวัญและกาลงั ใจ
การเสด็จพระราชดาเนินครง้ั ที่ ๑๓

วันที่ ๑๑ กนั ยายน ๒๕๑๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชนิ ีนาถเสดจ็ พระราชดาเนนิ
มายังโรงพยาบาลสรุ าษฎรธ์ านขี ณะนายแพทยพ์ นสั อทุ โยภาสเป็นผูอ้ านวยการไดก้ ลา่ วว่าเปน็ การเสดจ็ ฯโดยไมท่ ราบล่วงหน้าเนื่องจาก
ทรงทราบว่ามีตารวจ ทหาร และลกู เสอื ชาวบ้าน ไดร้ ับบาดเจบ็ จากการปะทะกับผูก้ อ่ การรา้ ยคอมมวิ นิสต์ จงึ พระราชประสงค์เยยี่ ม
บุคคลเหล่านัน้ ดว้ ยพระองคเ์ องซึง่ ขณะน้ันพ้นื ท่ีจังหวดั สุราษฎรธ์ านีเปน็ เขตพ้นื ท่อี นั ตรายจากภัยของผู้ก่อการร้ายคอมมวิ นิสตท์ ่มี าพัก
รกั ษาตัวทโี่ รงพยาบาลน้าพระทัยของพระองคย์ ่ิงใหญส่ ุดท่จี ะพรรณา

การเสดจ็ พระราชดาเนินครง้ั ท่ี ๑๔
วนั ที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๑๙ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดลุ เดช และสมเดจ็ พระนางเจ้าฯพระบรมราชนิ ีนาถ

พร้อมด้วย พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟ้าหญิงสริ นิ ธรเทพรัตนสดุ า เจา้ ฟ้าหญิงจฬุ าภรณ์วลยั ลกั ษณเ์ สด็จพระราชดาเนนิ มายงั วดั เขาสุวรรณ
ประดษิ ฐ์ อาเภอดอนสกั จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

เนือ่ งจาก พระครสู วุ รรณ ประดษิ ฐการ(หลวงพ่อจอ้ ย) ปลัดนรลักษณ์ สร้างทองดี ไดน้ าความกราบทูลถงึ ปัญหา4ประการ
ของอาเภอดอนสกั คือ ความลาบากเรือ่ งน้า ไฟ ถนน และการลอกปากคลองต่อพระองค์เจา้ หญิงวิภาวดรี งั สติ จงึ ไดก้ ราบบงั คมทูลตอ่
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ดว้ ยพระปรีชาสามารถในการมองเห็นปัญหา และวิธแี ก้ไขอันดับแรกและสาคัญคอื ปัญหาแหลง่ นา้
บรโิ ภคจงึ รับสัง่ ใหห้ ม่อมหลวงทวสี นั ต์ ราชเลขาธิการสานักพระราชวังเป็นผู้ประสานการจัดสร้างประปาผวิ พืน้ ขึ้น โดยมอบหมายให้
กรป. กลาง และกรมชลประทานรับผดิ ชอบดแู ล จนกระทงั่ เสรจ็ ในปลายปี พ . ศ. ๒๕๑๘ ทาให้ชาวอาเภอดอนสกั มีนา้ สะอาดบริโภค
มาถงึ ปัจจบุ ัน

จากน้ันไดพ้ ระราชทานธงประจากองลูกเสอื ชาวบา้ น พร้อมทอดพระเนตรการแสดงของลูกเสอื ชาวบ้านในชดุ ต่างๆ

การเสด็จพระราชดาเนินคร้งั ท่ี ๑๕
เม่อื วนั ที่ ๓0 กนั ยายน ๒๕๓0 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ภูมพิ ลอดลุ เดชพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี ได้เสดจ็ พระราชดาเนนิ เปดิ เข่อื นรัชชประภา และโรงไฟฟ้าพลงั นา้ ท่อี าเภอบ้านตาขุน จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี
ชอ่ื เรียกดัง้ เดิมว่า เข่อื นเชย่ี วหลาน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวพระราชทานนามให้ใหมว่ า่ “เขอ่ื นรชั ชประภา ”มี

ความหมายว่า”แสงสวา่ งแหง่ รัชกาล”
ทกุ อยา่ งพระบาทของพระองค์แสดงถงึ พระราชอุตสาหะอันแรกกล้าในการบาเพ็ญพระราชกรณยี กิจเพ่อื ประโยชน์แห่งปวงชน

ทงั้ หลาย แตล่ ะคร้ังที่เสด็จพระราชดาเนนิ ล้วนเปน็ พระมหากรุณาธคิ ุณเปน็ ล้นพน้ ตอ่ ชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี ทงั้ ด้านการศกึ ษา การ
ศาสนา วฒั นาธรรม การพฒั นาแหลง่ น้า เสน้ ทางคมนาคม ฯลฯ และทรงเป็นมงิ่ ขวัญ เปน็ ศนู ยร์ วมใจของทกุ คน แมใ้ นยามทสี่ ภาพ
บ้านเมืองในช่วงเวลาหนึง่ ของสรุ าษฎรธ์ านจี ะเปน็ ดนิ แดนจากภัยผู้กอ่ การร้ายคอมมวิ นสิ ต์ แต่พระองค์ไดเ้ สรจ็ พระราชดาเนนิ โดยมยิ ่อ
ทอ้ หรอื หวั่นเกรงภยั อนั ตรายใดๆแมใ้ นถน่ิ ทรุ กนั ดารหรอื ปา่ ดงพงพี ชาวสรุ าษฎร์ธานีขอถวายความจงรักภกั ดี ขอพระองค์ทรงพระ
เจรญิ ย่งิ ยนื นาน

พพิ ิธเมืองคนดี โซนท่ี 2
ประวตั เิ มืองสุราษฎร์ธานี

ดินแดนประวตั ศิ าสตรร์ อบอ่าวบา้ นดอนถือเปน็ ศูนยก์ ลางอาณาจกั รศรีวิชยั ท่สี ะสมอารยธรรมและสบื ทอดกนั มา
ยาวนานจากหลกั ฐานทางโบราณคดที ีพ่ บในดนิ แดนแห่งนีใ้ ห้ทราบว่าสภาพภมู ศิ าสตร์ทาใหม้ อี ทิ ธิพลต่อการดารงชวี ิตและการ
พฒั นาการของเมอื งเปน็ อยา่ งยง่ิ สรุ าษฎรธ์ านเี ป็นศนู ย์กลางชมุ ชนเมืองที่ถกู จัดต้ังด้วยปจั จัยทางภมู ิศาสตรร์ อบอา่ วบา้ นดอน
เปน็ ศูนยก์ ลางการคา้ ขายนับแตอ่ ดีตจนถึงปัจจบุ ันโดยพฒั นามาพร้อม ๆ กับชุมชนโบราณอกี หลายแหง่ ที่อย่บู รเิ วณรอบอา่ ว
บา้ นดอนประกอบด้วยชุมชนเมอื งสาคญั ๆ ในอดตี ดังตอ่ ไปนี้

เกาะพงนั และเกาะสมยุ

ยอ้ นหลงั เมื่อปี พ.ศ. 2431 หรือเมอื่ 120 ปีท่ผี า่ นมารัชกาลที่ 5 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว
ได้เสดจ็ ประพาสเกาะพงันเปน็ ครัง้ แรกและได้พระราชทานนามนา้ ตกบนเกาะพงันถงึ สามแห่ง ได้แก่ นา้ ตกธารเสดจ็ นา้ ตกธาร
ประพาสและนา้ ตกธารประเวศโดยเฉพาะนา้ ตกธารเสดจ็ ทรงเป็นทีโ่ ปรดปรานพระราชหฤทัยพระองคเ์ สด็จประพาสถึง 14
ครง้ั มหี ลกั ฐานจารกึ เปน็ พระปรมาภิไธยอ่ บนก้อนหนิ อยรู่ มิ น้าตกจึงถึงปจั จุบนั เป็นความภมู ใิ จของชาวเกาะพงัน ทีม่ ี
ประวตั ิศาสตร์ยาวนาน

เมืองทา่ ทอง

เป็นเมืองขนาดใหญ่เชอื่ กนั วา่ เปน็ เมอื งสิบสอง นกั ษัตรของนครศรีธรรมราช ชือ่ “เมอื งสะอุเลา” สมยั รชั กาลท่ี 3 ได้
โปรดเกล้าใหย้ า้ ย “เมืองท่าทอง” มาต้งั ที่ “บา้ นดอน” เน่อื งจากบริเวณนเ้ี ป็นชุมชนหนาแน่นขาวบ้านสว่ นหนึ่งอพยพมาจาก
เมืองทา่ ทองไดร้ บั ความเสยี หายจากศึกพมา่ ครั้งก่อนและบา้ นดอนเป็นท่าเรอื รับส่งสนิ คา้ โปรดเกล้าใหย้ กฐานะเปน็ เมอื งจัตวา
ข้ึนตรงต่อกรงุ เทพมหานครพระราชนามใหมว่ ่า “ เมอื งกาญจนดิษฐ์”

เมืองไชยา

เมืองโบราณมศี นู ย์กลางทีร่ าบลุ่มคลองไชยาเกิดขน้ึ ราวพทุ ธศตวรรษที่ 10 เกิดผสมผสานระหวา่ งวฒั นธรรมดา้ น
ศาสนาพราหมณ์และศาสนาพทุ ธแบบเถรวาท มชี ่อื เสยี งมากเมือ่ ครง้ั วัฒนธรรมศรีวชิ ัยเจรญิ รงุ่ เรืองในราวพุทธศตวรรษที่ 13-
17 เมอื งไชยาเป็นเมอื งหนง่ึ ในเมอื งสิบสองนกั ษัตรของอาณาจกั รนครศรธี รรมราช ช่ือวา่ เมืองบนั ไทยสมอ สมัยรชั กาลท่ี 5
ทางการไดอ้ อกข้อบังคบั ลักษณะการครองหวั เมอื ง โดยปฏิรปู การปกครองใหท้ อ้ งที่หลายอาเภอรวมกนั มผี ู้ว่าราชการจังหวดั
เป็นผบู้ ังคับบัญชาและรวมหลายหัวเมืองเปน็ มณฑลเรยี กว่า ปกครองแบบ มณฑลเทศาภบิ าลโปรดเกล้าใหร้ วมเมืองไชยา
เมอื งกาญจนดิษฐเมอื งหลงั สวน และเมอื งชมุ พรเป็น”มณฑลชุมพร”

สมยั รัชกาลท่ี 6 พ.ศ. 2458 ยา้ ยศาลาว่าการมณฑลจากชุมพร มาตั้งท่บี า้ นดอนบริเวณเดียวกบั ศาลากลาง
เมอื งไชยา(บ้านดอนเดิม)ยกฐานะเมืองทา่ ทองเป็นอาเภอกาญจนดิษฐสว่ นเมอื งไชยาเก่าใหเ้ ปน็ ”อาเภอพมุ เรียง”แต่ราษฏรยงั
เรยี กว่าเมืองไชยาเนอ่ื งจากการเรยี กชื่อเมอื งกอ่ นหนา้ นนั้ ยังซา้ ซอ้ นและสับสนกันอยเู่ มอ่ื ครั้งเสดจ็ ประพาสมณฑลปักใต้ได้
ประทบั ณ เนนิ เขาใกล้กับเมอื งพุนพิน ทรงเหน็ ภมู ิประเทศคลา้ ยกบั เมือง ”สรุ ัฐ”ของอนิ เดียมีแม่น้า ”ตาปตี ี ”ไหลผา่ น
ประกอบกับพระองค์ได้ทรงพจิ ารณาวา่ ประชาชนทัว่ ไปนมี้ ีกิริยามารยาทเรยี บร้อยและทรงทราบจากผปู้ กครองเมอื งว่า
ประชาชนในเมอื งนีต้ ง้ั มัน่ อยู่ในศิลธรรมเคราพและยึดม่ันในพระพทุ ธศาสนาจึงพระราชทานนามเมอื งนวี้ า่ ”สุราษฎรธ์ านี”คือ
เมอื งคนดี เม่อื 29 กรกฎาคม 2458 หลงั จากนัน้ อกี 1 เดอื น จึงพระราชทานชือ่ แมน่ ้าสายท่ไี หลผ่านวา่ ”แม่นา้ ตาปี”
เม่ือเดือน สิงหาคม 2458 และพระราชทานพลับพลาที่ประทับว่า”พระตาหนกั สวนสราญรมย์ ”พร้อมทั้งให้เรยี กช่อื ควนทา่
ข้ามวา่ ”สวนสราญรมย์”

เมอื งทา่ ขา้ ม

ทา่ ขา้ มท่กี ลา่ วถึงในท่นี ่ี หมายถงึ ท้องถน่ิ ที่ตาบลทา่ ข้าม อาเภอพนุ พิน จังหวดั สุราษฎร์ธานี ในอดีตทา่ ข้ามเปน็ ทา่ เรือ
รมิ แมน่ า้ ตาปี สาหรบั ข้ามแมน่ า้ เปน็ ทีต่ ้งั ดา่ นชายแดนสาหรบั ตรวจ ผ้คู น และเกบ็ ภาษอี ากรระหว่างเมืองไชยา กบั ท้องท่ี
ลาพนู ซง่ึ เป็นแขวงข้นึ เมอื งนครศรีธรรมราช เป็นทส่ี รา้ งสะพานข้ามแม่น้าตาปี ปจั จบุ นั คือ สะพานจุลจอมเกล้า “ทา่ ขา้ ม”
เปน็ ชอ่ื เรียกอาเภอพุนพินเป็นเวลา 31 ปี คือระหวา่ งปี พ.ศ. 2473-2504

ในอดตี ทา่ ข้ามเคยมคี วามสาคัญในฐานะชุมทางและจุดยทุ ธศาสตรท์ ีส่ าคญั ในฐานะชมุ ทาง นอกจากจะเปน็ ท่าเรือ
สาหรบั ข้ามแมน่ า้ ตาปแี ล้ว ยงั เปน็ สถานท่สี าคัญในการเดนิ ทางติดตอ่ ผา่ นแม่น้าตาปไี มว่ า่ จะเดนิ ทางไปทางลานา้ พมุ ดวงไปยงั
ครี ีรัฐนคิ ม พนม ตะกัว่ ป่า พังงา และภูเกต็ หรอื ไปตามลานา้ ตาปไี ม่ว่าตอนสมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช สง่ กองทพั ไปตีเมือง
นครศรีธรรมราชในปี พ.ศ. 2321 หรอื ตอนทพ่ี มา่ ตีเมอื งนครศรธี รรมราชปี 2328 ตา่ งก็ใชเ้ สน้ ทางเดินทพั ผา่ นทา่ ขา้ มทง้ั ส้นิ
จึงเป็นจดุ ทที่ างฝ่ายเมอื งนครศรธี รรมราชต้งั ดา่ นตรวจและตงั้ กองทหารไว้กองหนึ่ง

พพิ ธิ เมอื งคนดี โซนที่ 3
วถิ ีชมุ ชนคนทา่ ขา้ ม ริมแมน่ า้ ตาปี โดดเดน่ เปน็ ศรสี ะพานจลุ จอมเกล้า

การก่อสร้างรถไฟสายใตใ้ นพ.ศ. ๒๔๔๙ สมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว(รชั กาลท๕ี่ )ได้สง่ มิสเตอร์
กติ ตินส์วศิ วกรชาวองั กฤษเลขายุการกรมรถๆฟหลวงกรมหลวงตาหลวงดารงราชนภุ าพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยและพระ
ยาวจีสัตยารกั ษเ์ จ้าเมืองไชยาออกสารวจเส้นทางรถไฟสายใตซ้ งึ่ ต้องกู้เงนิ จากรฐั บาลสหพันธรัฐมลายูของอังกฤษ โดยมี
มสิ เตอร์กติ ตนิ ส์เปน็ ผ้อู านวยการสรา้ งทางรถไฟสายใต้ต้งั แตป่ พี .ศ. ๒๔๕๓ ช่วงการก่อสร้างจากชุมพรไปยงั นครศรีธรรมราช
ต้องผ่านลาน้าสายใหญ่ทีต่ าบลท่าขา้ ม เมอื งไชยา คอื แม่นา้ หลวงการกอ่ สรา้ งสะพานเหล็กรูปทรงโค้งแบ่งเปน็ สามช่วงใช้

สาหรับให้รถไฟแล่นผ่านอยา่ งเดียวตอ้ งใช้งบประมาณ๑๔๙ ,๓๖๔ บาท แต่ถา้ จะทาทางคนเดนิ ต้องเพม่ิ งบประมาณอกี

๑๓,๐๐๐ บาท และถ้าจะใหส้ มบรู ณม์ ที างเกวยี นข้ามได้ดว้ ย ต้องเพม่ิ งบประมาณอกี ๑๔๘ ,๖๑๐ ซึง่ ราคาสูงเกอื บเทา่ ตวั

สะพาน ในขณะนั้นทีต่ าบลท่าขา้ ม เมืองไชยา ยงั ไม่คอ่ ยมเี กวยี นใชม้ าก ผูค้ นกไ็ มม่ าก จงึ ขอพระบรมราชานุญาตจิ าก

รชั กาลท่ี ๕ ใหง้ ดการสรา้ งทางเกวยี น ดังนนั้ สะพานข้ามแม่นา้ หลวงจึงมีแตท่ างรถไฟกบั คนเดินเทา่ นัน้ พ.ศ.๒๔๘๔ ทหารญ่ีปนุ่

ยกพลขึน้ บกทีส่ ุราษฎร์ธานี เชงิ สะพานข้ามแม่นา้ ตาปี เปน็ จุดต้ังฐานทัพทหารญปี่ ุ่น และเป็นจดุ พทุ ธศาสตร์ลาเลียงพลไปสู่

มลายู เพอ่ื เดินทางไปพมา่ และสงิ คโ์ ปร์ พ.ศ.๒๔๘๖ ทหารฝา่ ยสมั พันธมิตรไดใ้ ช้เครอื่ งบนิ บี ๒๔ บรรทุกระเบดิ มาทาลาย

สะพานแห่งนถี้ ึงสองคร้ัง โดยคร้ังแรกไมส่ ามารถทาลายลงได้ ครงั้ ทสี่ อง จึงใชโ้ ซ่ผูกร้อยระเบิดเป็นพวงทงิ้ ทาลายสะพานหกั ลง

กลางลาน้าตาปเี มือ่ พ.ศ.๒๔๘๖ นอกจากน้ี ไดร้ ะเบิดทาลายบ้านเรือนเสียหายในตลาดท่าขา้ มอีก

หลังจากสงครามสงบ รฐั บาลได้ว่าจ้างบรษิ ัท CORMANLONG CO.LTDประเทศองั กฤษมาทาการซ่อมแซมเปลี่ยน

รูปทรงจากจากทรงเหล็กโค้ง เป็นแท่งเหลี่ยม ลกั ษณะรูปทรงเดียวกบั สะพานพระรามที่ ๖ แบง่ ออกเปน็ ๓ ชว่ ง มีทางรถไฟ

ทางคนเดนิ และช่องกลางเว้นไว้สาหรบั ผวิ การจราจร ใช้เวลาซ่อมสร้างประมาณ ๖ ปี จึงเสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั

รชั กาลปัจจบุ นั พระราชทานนามให้เม่อื วันที่ ๒๖ เมษายน ๒๔๙๔ ว่า ”สะพานจุลจอมเกล้า ” และทาพธิ ีเปิดเมื่อวนั ที่ ๑๖

กมุ ภาพันธ์ ๒๔๙๖

พิพธิ เมืองคนดี โซนที่ 4
นอ้ มนาบุญ กศุ ลดล พาเทย่ี ววดั

สวนโมกข์
สวนโมกขพลาราม อยบู่ รเิ วณเขาพุทธทอง รมิ ทางหลวงหมายเลข 41 บริเวณกโิ ลเมตรที่ 134 เดิมช่ือวัดธารนา้ ไหล
มที า่ นพทุ ธทาสภิกขเุ ป็นผู้รเิ ร่มิ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2502 เพือ่ เป็นสถานทีแ่ สวงหาความสงบและศกึ ษาธรรม มีโรงมหรสพทาง
วิญญาณ ซึ่งประกอบด้วยภาพศิลป์ บทกวี คตธิ รรมคาสอนในพทุ ธศาสนานิกายตา่ ง ๆ ภาพพุทธประวัติ ภาพจาลองจากภาพ
หินสลกั เร่ืองพทุ ธประวัตใิ นอินเดีย รอบบริเวณรม่ รน่ื เหมาะสาหรบั เปน็ ทฝี่ กึ อบรมจิตใจและศึกษาพทุ ธศาสนา
สวนโมกข์ คือ แหล่งธรรมะ ในคาขวญั ประจาจังหวัด กอ่ ตง้ั โดย “พระธรรมโกศาจารย์ “ (เงอ่ื ม อินทปญโญ ) หรือท่ี
คนส่วนใหญร่ ู้จักในนามของทา่ นพุทธทาสภิกขุ สวนโมกขพลารามกอ่ ต้ังครงั้ แรกในปี พ.ศ.2475 ที่ ตาบลพมุ เรยี ง อาเภอไชยา
เกดิ จากความต้องการหาทส่ี งบสาหรบั ศึกษาธรรมะ ของท่านพทุ ธทาส หลังจากทท่ี ่านเดนิ ทางไปศึกษาธรรมะใน
กรุงเทพมหานคร พบเห็นการปฏิบตั ิตัวของพระทม่ี ิไดส้ ารวมเคร่งครดั ในธรรมวินัย และเบ่ือหนา่ ยความวนุ่ วายสบั สนของเมือง
หลวง
ท่านพุทธทาสไดต้ ้ังชื่อสถานท่ีแหง่ น้วี ่าสวนโมกขพลาราม “ เพราะบริเวณนัน้ มีตน้ โมกและตน้ พลาข้ึนอยู่มากข้ึนอยู่
มาก ทา่ นพุทธทาสจึงนาคาวา่ โมก พลา และอารามมารวมกันได้ชื่อสานักปฏบิ ัติธรรม ทม่ี ีความหมายตรงกบั ธรรมะวา่ “อาราม
ท่ที าใหเ้ กดิ กาลังแห่งงความหลดุ พ้น

พระบรมธาตไุ ชยา
พระบรมธาตไุ ชยา เปน็ สถานที่บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตขุ องสมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ นบั เปน็ ปชู นยี สถานสาคัญ

ค่บู า้ นคู่เมือง ของจงั หวัดสุราษฎร์ธานี พระบรมธาตุไชยาอยู่ในวดั พระบรมธาตไุ ชยาราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชัน้ เอก
เจดียพ์ ระบรมธาตุไชยาเปน็ สถาปัตยกรรมแบบศรีวิชยั องคเ์ ดียวท่ียังอย่ใู นสภาพทด่ี ที ี่สดุ สนั นิษฐานว่าสร้างข้ึน

ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 13-14 ไม่ปรากฎประวตั กิ ารสรา้ งและผ้สู รา้ ง เข้าใจวา่ สร้างในขณะทเี่ มอื งไชยาสมยั ศรีวชิ ัยกาลัง
เจรญิ รงุ่ เรืองสงู สุด หลักฐานทย่ี นื ยันถึงอาณาจกั รศรีวชิ ยั อายไุ มต่ ่ากว่า 1200 ปี

โดยองคเ์ จดยี ์พระบรมธาตเุ ป็นทรงสเ่ี หลี่ยมจตุรมขุ ยอ่ มขุ ดา้ นหน้าหรอื มุขดา้ นตะวนั ออก เปิดมบี ันไดขึ้นสาหรบั ให้
ประชาชนเข้าไปนมสั การพระพุทธรูปภายในเจดยี ์ เมอ่ื เขา้ ไปภายใน จะเห็นองค์พระเจดียห์ ลวง เห็นผนังกอ่ อฐิ แบบไมส่ อปนู
ลดหลั่นกนั ขน้ึ ไปถงึ ยอดมุข อีกสามดา้ น ทบึ ท้ังหมด ทีม่ มุ ฐานทกั ษณิ มเี จดียท์ ศิ หรือเจดีย์บริวารต้งั ซอ้ นอยดู่ ้วย หลังคาทาเปน็
3 ช้นั ลดหลัน่ กันขึน้ ไป แต่ละชน้ั ประดับรปู วงโค้งขนาดเล็กและสถปู จาลองรวม 24 องค์ เหนือขึ้นไปเปน็ ส่วนยอด ซ่งึ ไดร้ ับ
การซอ่ มแซมครั้งใหญใ่ นรัชกาลท่ี 5 เปน็ การบรู ณะปฏสิ งั ขรณย์ อดเจดยี ์ทเี่ ดิมหกั ลงมาถึงคอ ระฆัง ทาให้เห็นลวดลายละเอยี ด

เสยี หายมาก รวมทง้ั ฐานเจดียท์ ี่จมอยู่ใตด้ นิ ได้ขุดดนิ โดยรอบฐาน พระเจดยี ์ และทาลายรากไม้ในบริเวณนนั้ แลว้ ก่ออฐิ ถือปนู
ตลอดเพอ่ื ใหเ้ ห็นฐานเดมิ ของเจดีย์ อีกท้งั ลวดลายประดับเจดยี ์ ไดม้ กี ารสร้างเพมิ่ เติมใหม่ดว้ ยปูนป้ันเกือบทงั้ หมด เปน็ ลายปน้ั
ใหม่ ตามความคิดของผบู้ รู ณะ มไิ ดอ้ าศัยหลักทางโบราณคดี รวมถึงลานระหวา่ งเจดยี แ์ ละพระระเบยี ง เปลี่ยนจากอิฐหนา้ วัว
เป็นกระเบอ้ื งซเี มนต์ จนถึงในรัชกาลปัจจุบนั พ.ศ.2521-2522 ไดร้ ับการ บูรณะปฎิสังขรณใ์ หญอ่ ีกคร้งั โดยการบูรณะใน

คร้งั นเ้ี ป็นการซ่อมแซมของเก่าที่มอี ยู่เดมิ ใหค้ ง สภาพดี เพ่อื ไวเ้ ปน็ ปูชนียสถานทีส่ าคัญ
ของชาตสิ ืบต่อไป

ทา่ นอาจารย์พุทธทาส มีนามเดมิ ว่า เงอ่ื ม นามสกลุ พานชิ
เกดิ ในสกุลของพ่อคา้ ท่ีตลาด พุมเรียง ไชยา จ.สรุ าษฎรธ์ านี มีน้องสองคน เป็นชายชอื่ ยเ่ี กย้ และเปน็ หญิงชอื่ กิมซอ้ ยบิดาของ
ทา่ นมเี ชอ้ื สายจนี ประกอบอาชีพหลกั คอื การค้าขายของชา เฉกเช่น ท่ีชาวจนี นยิ มทากนั ทว่ั ไป แตอ่ ิทธิพลทท่ี ่านไดร้ บั จากบดิ า
กลบั เปน็ เรอื่ งของความสามารถทางดา้ นกวี และทางดา้ นชา่ งไม้ ซึง่ เป็นงานอดิเรกที่รกั ย่ิงของบดิ า สว่ นอทิ ธพิ ลท่ไี ดร้ บั จาก
มารดา คือ ความสนใจ ในการศึกษาธรรมะ อยา่ งลกึ ซงึ้ ครน้ั อายคุ รบ ๒๐ ปี กไ็ ดบ้ วชเปน็ พระ ตามคตินยิ มของชายไทยทว่ี ัด
โพธาราม ไชยา ได้รบั ฉายาวา่ "อินทปัญโญ" แปลวา่ ผู้มปี ญั ญา อนั ยง่ิ ใหญ่ เดิมท่านต้ังใจจะบวชเรียน ตามประเพณี เพียง ๓
เดือน แต่ ความสนใจ ความซาบซึง้ ความร้สู ึกเปน็ สขุ และสนกุ ในการศึกษาและเทศน์แสดงธรรม ทาใหท้ า่ นไมอ่ ยากสึก เลา่ กัน
ว่า เจา้ คณะอาเภอ เคยถามท่าน ขณะท่ี เปน็ พระเง่อื ม ว่ามีความคดิ เหน็ อยา่ งไรในการใชช้ ีวิตท่านตอบวา่ "ผมคิดว่าจะใช้ชีวติ
ใหเ้ ป็นประโยชน์ แกเ่ พอ่ื นมนษุ ย์ ใหม้ ากทสี่ ุด" "..แตถ่ ้ายเ่ี กย้ จะบวช ผมก็ต้องสึกออกไป อย่บู ้านค้าขาย" ทา่ นเจา้ คณะ
อาเภอ กเ็ ลยไปคุยกบั โยมแมข่ องทา่ นวา่ ทา่ นควรจะอย่เู ป็นพระตอ่ ไป สว่ นยีเ่ กย้ นอ้ งชายของท่านน้นั ไมต่ ้องบวชก็ไดเ้ พราะมี
ชวี ิตเหมือนพระอยู่แลว้ คือเป็นคนมกั น้อย สันโดษ การกินอยกู่ ็เรยี บง่าย ตัดผมสนั้ เกรยี น ตลอดเวลา นายยี่เก้ย ก็เลยไมไ่ ด้
บวช ให้พชี่ าย บวช แทน มาตลอด นาย ยีเ่ ก้ย ต่อมาก็คือ "ท่านธรรมทาส" ฆราวาสผเู้ ปน็ กาลงั หลักของคณะธรรมทาน ในการ
เผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ของสวนโมกขพลาราม

อดุ มคติแหง่ ชีวติ
พระเง่ือมไดเ้ ดนิ ทางมาศกึ ษาธรรมะตอ่ ทกี่ รุงเทพฯ สอบได้ นกั ธรรมเอกแลว้ เรยี นภาษาบาลีจนสอบได้เปรียญ ๓ ประโยค

ระหวา่ งทีเ่ รยี น เปรียญธรรม ๔ อย่นู ้นั ดว้ ยความทที่ ่านเป็นคนรกั การศกึ ษาค้นควา้ จากพระไตรปิฎก และศกึ ษาค้นควา้ ออกไป
จากตารา ถงึ เรอ่ื งการปฏิรปู พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา อินเดีย และการเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนาในโลกตะวนั ตก ทา
ใหท้ า่ นรสู้ ึกขัดแยง้ กับวธิ กี ารสอนธรรมะทย่ี ดึ ถอื รูปแบบตามระเบยี บแบบแผนมากเกินไป ความย่อหย่อนในพระวินัยของสงฆ์
ตลอดจนความเชอื่ ท่ีผิดๆ ของพทุ ธศาสนิกชน ในเวลานนั้ ทาใหท้ ่านมคี วามเชือ่ มน่ั วา่ พระพทุ ธศาสนาทส่ี อน ทีป่ ฏิบัติกนั ใน
เวลาน้ันคลาดเคล่อื น ไปมาก จากท่ี พระพุทธองค์ ทรงช้ีแนะ ทา่ นจงึ ตัดสินใจ หันหลังใหก้ ับการศกึ ษาของสงฆ์ เวลาน้ัน กลับ
ไชยา เพอื่ ศึกษา และทดลองปฏบิ ตั ิ ตามแนวทาง ทีท่ า่ นเช่อื มนั่ โดยร่วมกับนายธรรมทาส และ คณะธรรมทาน จดั ต้งั สถาน
ปฏิบัติธรรม "สวนโมกขพลาราม" ข้นึ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๕ จากนั้น ทา่ นได้ศึกษา และปฏิบตั ิธรรมะ อยา่ งเข้มข้น จนเชอ่ื มนั่ วา่
ท่านมาไม่ผิดทางแน่ และได้ประกาศ ใชช้ อ่ื นาม"พุทธทาส" เพ่อื แสดงวา่ ใหเ้ ห็นถึง อุดมคติสงู สดุ ในชวี ิตของท่าน

จากบนั ทึกของท่าน เม่ือวันท่ี ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๗ เขยี นไว้วา่
"...ชวี ิตของข้าพเจ้า สละทุกอยา่ งๆ มุ่งหมาย ต่อความสุขน้ี และประกาศ
เผยแพรค่ วามสุขน้ี เทา่ นั้น ไมม่ ีอะไรดกี ว่าน้ี ในบรรดามีอยใู่ น พทุ ธศาสนา..."

ในโลกน้ี จะใหล้ ัทธไิ หนครองโลกไม่สาคญั
ขอ แตใ่ หค้ นดีก็พอแลว้

คนดเี ผดจ็ การ กเ็ ผดจ็ การไปในทางดี
นาไปสคู่ วามดี และความเจริญอนั แทจ้ รงิ

คนดเี ป็นประชาธิปไตย
ก็พรอ้ มเพรยี งกนั ทาดไี ด้โดยไม่ ต้องสงสัย

แต่ถา้ คนช่ัวแลว้ แมจ้ ะเป็นประชาธปิ ไตย
ก็มแี ต่จะ "นอนหาความสาราญ" กันท่ัวไปหมด

ในที่สุดก็ลม่ จม

ฉะน้นั ขอแต่ใหค้ นดีอยา่ งเดียวกแ็ ลว้ กัน
จะ ซ้ายจัดหรือขวาจดั ยอ่ มใชไ้ ดท้ ้ังนน้ั

ธรรมะในศาสนาเท่านนั้ ทจี่ ะทาให้คนดี
หาใช่ลัทธกิ ารเมอื ง แตล่ ทั ธใิ ดไมเ่ ลย.

ปราชญแ์ หง่ ลุ่มน้าตาปี

นายเดโช บญุ ชชู ว่ ย

เขาเกิดเมอ่ื วนั ท่ี 31พฤษภาคม พ.ศ.2470 ณ ตาบลมะขามเต้ีย อาเภอเมอื ง จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี เปน็ บตุ รคนท่ี 2 ใน
จานวน 4 คน ของนายซ้อนและนางเที่ยว บญุ ชูชว่ ย

นายเดโชสมรสกับนางสายพณิ เม่อื ปี พ.ศ.2509 มบี ุตรด้วยกนั 3 คน สาเรจ็ การศึกษาระดบั ประถมศกึ ษาจาก
โรงเรียนสตรสี รุ าษฎรธ์ านี, ระดับมัธยมต้นจากโรงเรยี นอินทรพชิ ยั อาเภอเมอื ง จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี และระดับมัธยมปลายจาก
โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพญาไท จากนัน้ ไดเ้ ดินทางไปยังประเทศจนี ไปพักอย่ทู เ่ี มืองซวั เถาเป็นเวลา 1ปี 8 เดอื น ระหวา่ งที่
อยทู่ นี่ ั่นไดศ้ กึ ษาภาษาจนี ด้วยตนเอง จนสามารถแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทยได้ดี แมว้ ่าภาษาพดู จะใชไ้ ดไ้ ม่ดีนัก เขาเดนิ ทาง
กลบั เมอื งไทยและไดส้ มคั รเขา้ ศกึ ษากฎหมายท่ีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมอื ง สอบได้จานวน 30 วิชา กเ็ ลิกเรียน
เนอื่ งจากมีภาระการงานคือเป็นเจา้ ของผูจ้ ดั การและครใู หญ่โรงเรยี นธรี ศรมวิทยา ระหว่างน้ีเองได้สมคั รสอบประโยคครูพิเศษ
ประถม (พ.ป.) และประโยคครูพิเศษมัธยม (พ.ม.) ไดต้ ามลาดับในส่วนท่ีเก่ียวกบั ภาษาและวรรณกรรมไทย นายเดโช บุญชชู ่วย
เป็นผ้สู นใจศกึ ษางานด้านนอี้ ย่างจริงจังมาตงั้ แต่เปน็ นกั เรยี นระดับชั้นมธั ยมศกึ ษา โดยม่งุ แสวงหาความร้จู ากการอา่ น งาน
เขยี นทุกประเภท อกี ทง้ั สงั สรรค์กับบคุ ลท่มี คี วามรู้ ทาให้นายเดโช บญุ ชูช่วย มคี วามรู้ความคดิ ในดา้ นนอ้ี ยา่ งกวา้ งขวางพร้อมๆ
กบั ความสนใจดงั กลา่ วๆไดร้ เิ ริ่มการเขยี นเรือ่ งราวต่างๆ ควบค่กู ันไปด้วย ผลงานเขยี นของนายเดโช บุญชูช่วย มีทง้ั ร้อยแก้ว
และรอ้ ยกรอง งานเขียนรอ้ ยแก้วสว่ นใหญ่เปน็ สารคดี บทความ นวนิยาย นวนยิ ายแปล และบทละคร ส่วนงานเขยี นรอ้ ยกรอง
มักเขยี นดว้ ยคาประพันธ์กลอนสภุ าพ โครงสีส่ ภุ าพและกาพย์ยานี ในงานเขยี นจะใชท้ ้งั นามจริง และนามแฝง นามจริงมกั ใช้
เขยี นงานรอ้ ยกรอง แตบ่ างครง้ั ก็ใชน้ ามแฝง “ไศลอินทร” กม็ ี “เดชะ บญั ชาชยั ” ใชก้ ับงานแปลวรรณกรรมจีน และ “นวล
สรอ้ ยทอง” ใช้เขยี นบทความเก่ียวกับปัญหาสังคม
นายเดโชยังไดร้ บั เลือกต้งั เป็นสมาชกิ สภาจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี เขตอาเภอพนุ พนิ และเขตอาเภอดอนสักหลายสมัย
ตดิ ตอ่ กัน เคยดารงตาแหนง่ เป็นประธานสมาชกิ สภาจังหวดั และเคยดารงตาแหน่งอืน่ ๆท่สี าคัญเชน่ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
สถาบันราชภฎั สุราษฎร์ธานี เป็นกรรมการการศึกษาจงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ฯลฯ เป็นวิทยากรและผู้เชย่ี วชาญเก่ียวกบั ภาษาไทย
วรรณกรรมไทย วฒั นธรรม และประวัติศาสตร์โบราณคดที ้องถ่ินใหแ้ กห่ น่วยงานต่างๆ ทง้ั ในท้องถนิ่ และตา่ งทอ้ งถ่นิ อีกดว้ ย
นายเดโช บุญชูชว่ ย เปน็ นักเขียน นกั แปล ผู้สร้างสรรคง์ านความคิด ม่งุ ชีป้ ญั หาใหค้ นท่เี สยี เปรียบ เพ่อื ให้เกดิ ความ
เข้าใจและเหน็ ใจในสังคม สรา้ งสรรคง์ านได้หลากหลาย และม่งุ ปฏิบตั ติ นเพื่อชว่ ยเหลอื ท้องถน่ิ ทีเ่ ปน็ บา้ นเกดิ มาโดยตลอด

สัมผสั ดินแดนแห่ง “คนดี”

ทา่ ข้าม สถานที่ พระราชทาน

98 ปี พระราชทานนามเมอื งคนดที ีท่ า่ ขา้ ม ไดม้ ีการปรบั เปลยี่ นรากเหง้าไปจากเดิมผ่านกระบวนการธรรมชาติ จาก

รุ่นสรู่ ุน่ ตามเมอื งที่มกี ารพัฒนา ยอ่ มบง่ บอกถึงสว่ นขยายของประวัติศาสตร์ เมื่อ 98 ปี ไดม้ ากข้ึน เม่อื อธิบายความเพมิ่ เติม

จากหลกั ฐานทางหนงั สือ การอยู่รว่ มกันของคนต่างศาสนาต่างเชอ้ื ชาติท่ีมหี น้าท่สี ร้างเมอื ง แบบตง้ั ใจแตไ่ มร่ ู้ตัว ผ่านห้วงเวลา

มา 98 ปี

“เมืองคนดี ” นามพระราชทาน คนดี ความดี คอื ปัญญา เป็นปญั ญาท่สี ามารถแยกแยะพนิ จิ พิจารณาและเป็น

ปัญญาแห่งความเสมอภาค เมอื่ พร้อมด้วยปญั ญาก็เกิดความดีและความงาม ฉะนน้ั ความดี คนดี ไดแ้ ก่ ความดีไม่ได้เกดิ จาก

อานาจพลัง ดงั นน้ั เราจะใช้ความดีเปน็ ข้ออ้างในการบังคับบคุ คลอืน่ ให้มีความเห็นคล้อยตามเราไม่ได้ เพราะ “เมืองคนดี ”

ความดีจากคนดตี ้องลงมือกระทา เรม่ิ วิธกี ารจากปญั ญาแล้วสง่ ผ่านการลงมอื กระทาที่ไม่ใช่เพยี งแค่ชว่ั วนั กลับตอ้ งใช้ห้วงเวลา

เป็นตวั การนั ตี

เกอื บศตวรรตแห่งการเติบโต เมืองทา่ ขา้ ม เกิดจากเมืองเลก็ ๆ ริมฝง่ั แมน่ า้ ตาปี เติบโตมาดว้ ยนา้ พักน้าแรงของคน

“ท่าขา้ ม” ทีไ่ ด้รว่ มกันก่อรา่ งสรา้ งเมอื ง ให้เปน็ เมอื งทา่ แห่งการค้า และรงุ่ เรืองแห่งเศรษฐกิจความเจริญเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

จากชมุ ชนเลก็ ๆสู่ระบบของการพัฒนาเมือง พัฒนาทอ้ งถิ่น ในระบบ “สขุ าภบิ าลท่าข้าม ” ควบคกู่ ับ “การบาบัดทุกข์ บารุง

สขุ ” ของระบบกรมการปกครอง ทีม่ กี านนั ผู้ใหญบ่ า้ น เคียงข้างประชาชน ปฐมบทแหง่ การพัฒนาทอ้ งถนิ่ เริ่มตน้ อย่างจริงจัง

เม่อื สขุ าภบิ าลท่าข้าม ได้ยกฐานะข้นึ เป็นเทศบาลตาบลทา่ ขา้ ม เมอ่ื วันที่ 15 เมษายน 2529 และเทศบาลเมืองท่าข้าม เม่ือ

20 ธนั วาคม 2543 เรือ่ งท้องถิน่ จึงเสมอื นเรือ่ งใกลต้ วั ท่ีตอ้ งเขา้ ถงึ พนี่ อ้ งประชาชนมากข้นึ การพัฒนาทอ้ งถนิ่ ให้

เจรญิ กา้ วหน้าจากร่นุ สูร่ ุ่นถูกถ่ายทอด วัฒนธรรม ประเพณีการพฒั นาบา้ นเมอื งโดยตัง้ ใจแตไ่ มร่ ูต้ วั ยงั ปรากฏเหน็ เด่นชัดใน

ปัจจบุ นั

ไทยพทุ ธ “จบปจี บเดือน” ไทยอสิ ลาม ธรุ กิจเสอ้ื ผ้า-เฟอร์นเิ จอร์ ไทยมอญ-ข้าวแชข่ า้ วยา กลุ่มผใู้ ช้แรงงาน หรือ

แม้แตไ่ ทย- จนี ท่ยี งั รักการคา้ ขายเหมอื นเดมิ ยังคงรักษาเอกลกั ษณไ์ ว้ไดอ้ ยา่ งดี นอกเหนือจากสิง่ สาคญั ที่เป็นโบราณวัตถุ

รวมถึงปชู นยี บุคคล ท่ีเปน็ หลักฐานของเมืองคนดี

วันนีค้ งเป็นการเริม่ ต้นอกี ครั้งท่จี ะใหค้ วามสาคัญเพ่ิมเตมิ เพ่ือที่จะบอกกล่าวเลา่ เร่อื งเมอื งคนดีผ่านกระบวนการ

เสาะหาคดั เลอื ก คนดี ความดี จาก 19 อาเภอ เพ่ือจะนามารวบรวมให้ปรากฏในหนงั สอื ท่รี ะลึกครบรอบการพระราชทาน

นาม ในปีท่ี 99 และปตี ่อๆไป โดยเริ่มต้นจาก “ท่าขา้ ม”เมอื งมุมหนา้ ของสุราษฎรธ์ านี เมอื งสถานท่ีพระราชทานนาม เพื่อ

เปน็ การตอกย้าคาพระราชทานนาม ทมี่ คี วามหมายวา่ สรุ าษฎร์ธานี “เมอื งคนดี” ให้คงอยไู่ วใ้ ช่แคช่ อ่ื เมอื ง

ชาตชิ าย เชงิ ทอง

รองนายกเทศมนตรเี มืองทา่ ข้าม


Click to View FlipBook Version