The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaisiriphankaen54, 2021-08-24 03:23:15

หน้าปก

หน้าปก

รายงานอปุ กรณก์ ารทำงานของมอเตอรไ์ ฟฟา้
วชิ า เครอ่ื งกลไฟฟา้ และการการควบคมุ

รหสั วชิ า 30104-0003

จดั ทำโดย
นายชยั สริ ิ พนั ธแ์ กน่
รหสั นกั ศกึ ษา 64301040112
แผนกวชิ าไฟฟา้ สาขาไฟฟา้ กำลงั ปวส.(ม.6) 1/1 เลขที่ 2

เสนอ
อาจารย์ สมยั กง้ ซยุ

รายงานเลม่ นเ้ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของวชิ าเครอ่ื งกลไฟฟา้ และการการควบคมุ
หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ขนั้ สงู (ปวส.ม.6) พทุ ธศกั ราช 2564

ภาคเรยี นท1ี่ ปกี ารศกึ ษา 2564
วทิ ยาลยั เทคนคิ อดุ รธานี



คำนำ

รายงานเล่มนี้จดั ทำขน้ึ เพื่อเปน็ สว่ นหนึง่ ของวิชาเครอื่ งกลไฟฟ้าและการการควบคมุ รหัส
วิชา 30104-0003 หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพข้นั สูง (ปวส.ม.6) เพ่ือใหไ้ ดศ้ ึกษาหาความรูใ้ นเรื่อง
อุปกรณก์ ารใช้งานพรอ้ มใช้งานของมอเตอร์ ดังนี้
1) F1,F2,F3
2) K
3) S,H
และไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพื่อเป็นประโยชนก์ บั การเรียน

ผู้จัดทำหวังวา่ รายงานเลม่ นี้จะเป็นประโยชน์กับผูอ้ า่ น หรือนกั เรยี น นักศกึ ษา ทก่ี ำลงั หา
ขอ้ มลู เรอื่ งนีอ้ ยู่ หากมขี อ้ แนะนำหรอื ข้อผดิ พลาดประการใด ผ้จู ัดทำขอน้อมรับไวแ้ ละขออภัยมา ณ
ท่นี ีด้ ้วย

นายชัยสิริ พันธ์แก่น
ผูจ้ ดั ทำ

วนั ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

สารบญั ข

ชอ่ื เรอ่ื ง หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข,ค
F1 : ฟิวส์ป้องกันการลดั วงจรในสายวงจรกำลงั 1
F2 : ฟิวสป์ ้องกนั การลดั วงจรในสายวงจรควบคุม 1
สญั ลักษณฟ์ ิวส์ 1
หลกั การทำงานของ Fuse 2
F3 : โอเวอรโ์ หลดรีเลย์ (Overload relay) 3
สัญลักษณโ์ อเวอร์โหลดรเี ลย์ 4
หลักการทำงานโอเวอรโ์ หลดรีเลย์ 5
การตดิ ตั้ง 6
K : Magnetic Contactor 7
สัญลักษณ์แมกเนตกิ คอนแทคเตอร์ 7
สว่ นประกอบของแมกเนตกิ คอนแทคเตอร์ 8
หลักการทำงานแมกเนติกคอนเเทคเตอร์ 11
S (Switch) : สวติ ซ์ 12
โครงสร้างของสวติ ชป์ ุ่มกด 12
ประเภทของ Push button Switch 13
หลกั การทำงานของ Push button Switch 14

สัญลกั ษณ์สวิตช์ ค
H : ไพลอตแลมป์ (Pilot Lamp)
ประเภทตามการติดตงั้ 14
ประเภทตามการทำงาน 15
บรรณานกุ รม 16
17
19

1

อปุ กรณข์ องวงจรการควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟา้
1) F1 : ฟวิ สป์ อ้ งกนั การลดั วงจรในสายวงจรกำลงั

F2 : ฟวิ สป์ อ้ งกนั การลดั วงจรในสายวงจรควบคมุ

ฟิวส์ (Fuse) เป็นอปุ กรณป์ อ้ งกนั วงจรไฟฟา้ และถือเป็นตัวนำไฟฟ้าชนิดหนงึ่ ทำหนา้ ทีเ่ ป็นตวั ตดั

วงจรไฟฟ้าเม่ือเกิดการลดั วงจร(Short Circuit Current) หรอื มกี ระแสไฟฟา้ ไหลมากเกนิ ไป (Overload Current)

ฟิวส์เป็นโลหะผสมท่ี ประกอบไปดว้ ยบสิ มัท (Bi) ร้อยละ 50, ตะกั่ว (Pb) ร้อยละ 25 และดีบกุ (Sn) ร้อยละ 25 ซง่ึ

โลหะนน้ั จะมีจดุ หลอมเหลวตำ่ สาเหตทุ ต่ี อ้ งเลือกใช้โลหะท่มี ีจุดหลอมต่ำในการทำฟิวส์กเ็ พราะจะได้ทำให้

วงจรไฟฟ้าน้นั ขาดง่ายนั้นเอง

Fuse ทใ่ี ชง้ านกันในปัจจบุ ันน้ันสามารถแบ่งออกได้หลายประเภทไมว่ า่ จะเปน็ ฟิวส์หลอด, ฟวิ ส์กระบอก, ฟวิ ส์แรง
สูง, ฟวิ ส์แรงต่ำ เปน็ ต้น ซ่ึงแต่ละประเภทนน้ั กจ็ ะมีความเหมาะสมในการใชง้ านท่แี ตกต่างกนั ไป

ฟวิ สใ์ ชส้ ญั ลกั ษณแ์ ทน

2

หลกั การทำงานของ Fuse

ฟิวส์ (Fuse) เปน็ อุปกรณ์ปอ้ งกันวงจรไฟฟา้ จากการท่ีมีกระแสไหลผ่านวงจรมากเกนิ ไป (Overload
Current) หรือเกดิ ไฟฟา้ ลดั วงจร (Short Circuit Current) เมื่อมกี ระแสทม่ี ากกว่ากระแสที่ฟิวส์ทนได้ (Current
Rating) ลกั ษณะการทำงานคือเมื่อมีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นฟิวสจ์ ะเกดิ การเปลยี่ นพลงั งานไฟฟ้าเปน็ พลังงานความ
ร้อนใหก้ ับฟวิ ส์เล็กน้อย แต่ถ้ากระแสไฟฟา้ ที่ไหลผา่ นฟิวส์มีคา่ มากเกินไป (Overload Current) จะทำให้พลงั งาน
ความร้อนทีเ่ กิดขึ้นน้นั มีค่ามากจนฟวิ สห์ ลอมละลายไดเ้ น่ืองจากฟวิ สน์ ัน้ ทำจากโลหะทีม่ ีจุดหลอมเหลวตำ่ จงึ ทำให้
วงจรขาดได้ง่ายและเกิดการตัดกระแสไฟออกจากวงจรไฟฟ้าทันทีเพ่ือเปน็ การป้องกนั ความเสียหายที่จะเกดิ ขึน้ ซง่ึ
โดยปกติแลว้ กระแสเกนิ พิกดั (Overload Current) น้นั เกดิ เม่ือมีการดึงกระแสท่ีมากเกินจากโหลด สว่ นกระแส
ลดั วงจร (Short Circuit Current) เกิดจากการท่กี ระแสเคลื่อนทผ่ี ่านทางลัดท่ีอาจเกดิ จากการแตะกันของสายไฟ
หรือมีตวั นำไฟฟ้าเช่ือมต่อการลัดวงจรจาก L-N หรอื L-L

ถา้ กระแส ( i ) ≤ กระแส (Current Rating) ฟิวส์จะอยู่ในสภาวะปกติ

ถา้ กระแส (i) > กระแส (Current Rating) ฟิวส์จะขาด

ฟวิ ส์จะขาดเรว็ หรือชา้ จะขึน้ อยกู่ บั พิกัดตา่ งๆ และชนิดของฟวิ ส์ ซึง่ ความเรว็ (speed) ในการทำให้ฟิวสข์ าดน้ันก็จะ
แตกตา่ งกันออกไป ค่า speed ของฟิวส์จะขน้ึ อยู่กบั กระแสทีไ่ หลผ่านและวัสดทุ ท่ี ำฟิวส์ โดยมาตราฐานของฟวิ ส์จะ
ขาดภายใน 1 วินาที หลังจากมีกระแสเกิน แต่ถ้าฟิวสป์ ระเภทขาดเรว็ (fast-blow fuses) นั้นจะขาดภายใน 0.1
วินาที ซงึ่ ฟิวสล์ กั ษณะนจี้ ะใชต้ ามบา้ นเรือนทัว่ ไปเนอ่ื งจากหากมีไฟฟา้ ลัดวงจรฟวิ ส์กจ็ ะสามารถตดั วงจรได้ทันที
ส่วนฟวิ สป์ ระเภทขาดช้า (slow-blow fuses) จะขาดภายใน 10 วินาทีข้นึ ไป ซ่ึงจะนยิ มใช้กันในวงจรควบคมุ
มอเตอร์ เน่อื งจากเวลามอเตอร์เร่ิมทำงานจะกินกระแสไฟสงู ถ้าใช้ฟิวส์ธรรมดาอาจขาดไดง้ ่าย

3

F3 : โอเวอรโ์ หลด รเี ลย์ (Overload relay)

โอเวอร์โหลดรีเลย์ (Overload Relay) เป็นอปุ กรณ์ท่ชี ่วยในการตดั วงจรเพ่ือจา่ ยกระแสไปใหโ้ หลด สว่ นมาก
ใชเ้ ปน็ สวิตช์เปิด-ปิดแหลง่ จา่ ยไฟไปทีม่ อเตอร์หรอื ป๊ัม ซ่งึ จะใชค้ ู่กบั แมกเนตกิ คอนแทคเตอร์การป้องกนั กระแส
เนือ่ งจากภาระกระแสเกนิ ในงานมอเตอร์ไฟฟา้ น้ันมีอยบู่ ่อยครง้ั ส่วนใหญ่มาจากการใช้งานมอเตอรเ์ กนิ พิกัดจนทำ
ใหม้ อเตอร์เกิดความร้อนสูง ส่งผลใหต้ วั มอเตอร์เกิดความเสยี หายได้ ทั้งฟวิ ส์หรือเบรกเกอร์ในการสตารม์ อเตอร์
แบบ DOL น้นั จะมีกระแสเร่ิมเดนิ สงู มาก ดังนั้นการเลือกใชฟ้ วิ สห์ รอื เบรกเกอร์จึงต้องมีพกิ ดั กระแสท่ีสูงข้นึ เพอื่ ไว้
ปอ้ งกันการปลดวงจรจากการเริ่มเดินมอเตอร์ และหากมอเตอร์ทำงานเกินขนาดจะทำใหเ้ กดิ ความร้อนสะสมเพิ่ม
สงู ขึน้ แตท่ ง้ั ฟวิ สห์ รือเบรกเกอรจ์ ะไม่สามารถป้องกันในส่วนน้ีได้ ทำใหต้ อ้ งตดิ ต้ังโอเวอร์โหลด รเี ลย์เพม่ิ เตมิ เพือ่ ทำ
หน้าทีป่ ้องกนั มอเตอรใ์ นกรณีทีม่ ีการใช้โหลดเกินดังนนั้ จึงมีความจำเปน็ อย่างยง่ิ ท่ีควรจะตอ้ งทำการตดิ ต้ังโอเวอร์
โหลดที่มขี นาดเหมาะสมในอุปกรณส์ ตารท์ มอเตอร์ เพ่ือทำการปอ้ งกันมอเตอร์จากการเกิดโอเวอร์โหลด หรอื ความ
รอ้ นเกนิ พิกัด ซ่งึ จะส่งผลตอ่ อายุการใช้งานของมอเตอรไ์ ด้

สญั ลกั ษณโ์ อเวอรโ์ หลดรเี ลยแ์ บบธรรมดา

แบบน้เี มื่อเกิดโอเวอรโ์ หลดจะทําให้ Bimetal รอ้ นและโกง่ ตวั ออกไปแลว้ เมือ่ เยน็ ตวั ลงกลบั ท่ีเดิม
จะทาํ ให้หน้าสัมผสั ควบคมุ กลับตําแหน่งเดิมดว้ ย

4

สญั ลกั ษณโ์ อเวอรโ์ หลดรเี ลยแ์ บบทม่ี รี เี ซท็ (Reset)

แบบน้เี มอื่ เกิดโอเวอรโ์ หลดจะทาํ ให้ Bimetal ร้อนและโก่งตัวออกไปแลว้ จะมกี ลไกทางกลมา
ล็อคสภาวะการทาํ งานของ หน้าสัมผัสควบคุมทีเ่ ปล่ียนตาํ แหนง่ ไว้ เมื่อเยน็ ตวั ลงแล้วหน้าสัมผสั ควบคุม
ยงั คงสภาวะอยูได้ ถา้ ต้องการใหห้ นา้ สมั ผัส ควบคมุ กลบั ตาํ แหนง่ เดมิ ต้องกดปมุ่ รเี ซต (Reset) กอ่ น โอเวอร์
โหลดรเี ลย์แบบมีรเี ซต (Reset) นีม้ ักนิยมใชใ้ นการควบคุมเครือ่ งกลไฟฟา้

สัญลกั ษณ์ แบบมี Reset เม่อื ไฟเกิน หน้าสัมผัสเปิด ต้องกด Reset

5

หลกั การทำงาน

Electrical Overload Relay

Electrical Overload Relay จะไม่มีตวั ทำความร้อน (Heater) เหมอื นกับทพ่ี บในโอเวอร์โหลดประเภท
Thermal โอเวอรโ์ หลดรเี ลยช์ นดิ นี้มีการปอ้ งกันการสญู เสยี เฟสดว้ ยการตรวจจบั ความสูญเสยี ของเฟสและการปลด
มอเตอรอ์ อกจากแหลง่ จา่ ยไฟ จะใช้อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ในการตรวจสอบกระแสไฟฟ้าและปอ้ งกันสภาวะโหลด
เกินของมอเตอร์อยา่ งต่อเนื่อง มหี ลายแบบให้เลอื กตามการใช้งานรปู แบบตา่ งๆ โอเวอร์รีเลยแ์ บบนไ้ี มม่ ีการป้องกนั
ไฟฟา้ ลดั วงจร ดงั น้ันต้องใชค้ ู่กับเบรกเกอร์ นอกจากน้ยี ังมันยังสามารถเชื่อมต่อกบั อุปกรณ์ประเภท PLC เพม่ิ การ
สอ่ื สารแบบ Ethernet หรือการเชื่อมต่อแบบ Serial และฮาร์ดแวร์ระบบอตั โนมัติอืน่ ๆ Electrical Overload
Relay มีความแม่นยำและความยดื หยนุ่ มากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกบั Thermal Overload Relay แตม่ ีราคาแพง
กว่ามาก การใช้งานสว่ นมากจะอย่ใู นงานโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ นการทำเหมือง ซึ่งต้องการความแม่นยำและความ
ยืดหย่นุ สูง

6

Thermal Overload Relay

ภายในโอเวอรโ์ หลดมีขดลวดความร้อน (Heater) พันกบั แผน่ ไบเมทัล (Bimetal หรือแผน่ โลหะผลิตจาก
โลหะตา่ งชนิดกนั )เชอื่ มตดิ กนั เมือ่ ได้รับความร้อนแผน่ โลหะจะโก่งตัวขดลวดความร้อนซ่ึงเป็นทางผ่านของ
กระแสไฟฟา้ จากแหล่งจา่ ยไฟไปมอเตอร์ เม่ือกระแสไหลเขา้ สงู ในระดับค่าหน่งึ สง่ ผลขดลวดความรอ้ นทำให้
แผน่ ไบเมทลั ร้อนและโก่งตัว ดันใหห้ น้าสมั ผสั ปกติปดิ NC ของโอเวอร์โหลดท่ีต่ออนุกรมอยู่กับแผงควบคมุ เปิดวงจร
ตดั กระแสไฟฟา้ จากคอล์ยแม่เหลก็ ของคอนแทกเตอร์ ทำใหห้ นา้ สัมผัสหลัก (Main Contact) ของคอนแทกเตอร์
ปลดมอเตอรอ์ อกจากแหล่งจ่ายไฟ ป้องกันมอเตอร์ความเสียหายจากไฟเกินได้

การตดิ ตง้ั

การติดต้งั ต่อเน่ืองจากหน้าสัมผสั แม่เหลก็ ไฟฟ้า (Magnetic Contactor) ผู้จำหน่ายส่วนใหญ่จะผลิตโอเวอร์
โหลดรีเลย์แตล่ ะร่นุ ตามชว่ งกระแสท่ีปรับต้งั ซ่งึ จะสอดคล้องกับการทนกระแสของหนา้ สัมผสั แมเ่ หล็กไฟฟ้า หรอื
แมกเนติกคอนแทคเตอร์ เพอื่ ใหส้ ามารถติดตั้งได้สะดวกโดยการต่อเชือ่ มกับคอนแทคเตอร์ไดโ้ ดยทไ่ี ม่ต้องเดิน
สายไฟ

7

2) K : Magnetic Contactor

แมกเนติกคอนแทคเตอร์ คือ อุปกรณส์ วิทชต์ ัดตอ่ วงจรไฟฟ้า เพอื่ การเปิด-ปดิ ของหน้าสมั ผสั
(Contact) ทำงานโดยอาศัยอำนาจแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ช่วยในการเปิด-ปิดหนา้ สมั ผัส ในการตัดต่อวงจรไฟฟา้ เช่น เปิด-
ปดิ การทำงานของวงจรควบคมุ มอเตอร์ นยิ มใชใ้ นวงจรของระบบแอร์ , ระบบควบคุมมอเตอร์ หรือใชใ้ นการ
ควบคุมเคร่ืองจักรต่างๆ โดยแมกเนติกคอนแทคเตอร์นนั้ จะมีสว่ นประกอบหลักทส่ี ำคัญต่อการทำงาน ไดแ้ ก่ แกน
เหล็ก (Core) ,ขดลวด (Coil) ,หนา้ สมั ผสั (Contact) และสปรงิ (Spring)

สญั ลกั ษณแ์ มกเนตกิ คอนแทคเตอร์

8

สว่ นประกอบของแมกเนตกิ คอนแทคเตอร์

แกนเหลก็ (Core)

แกนเหล็กน้ีผลิตจากแผน่ เหลก็ บางๆ นำมาวางซ้อนกันหลายๆ ชัน้ โดยแผ่นเหลก็ เหลา่ นจ้ี ะถูก
เคลือบด้วยฉนวนไฟฟ้า เพอ่ื ป้องกนั ไม่ให้กระแสไฟไหลวนในแกนเหลก็ ท่ีจะสง่ ผลให้เกดิ ความร้อนภายในแกนเหล็ก
แกนเหล็กที่ทำหนา้ เป็นทางเดินของเส้นแรงแม่เหลก็ ประกอบดว้ ย 2 สว่ นคือ แกนเหล็กอยกู่ ับที่ (Stationary
Core) มขี ดลวดทองแดงพันรอบอยู่ และมวี งแหวนบงั (Shading Ring) ฝงั อยู่บนผวิ หนา้ ของแกนเหลก็ เมื่อทำการ
จ่ายไฟฟา้ กระแสสลบั AC เข้าไปที่ขดลวด เสน้ แรงแม่เหลก็ จะเปลย่ี นสลบั ไปมา ส่งผลให้อาร์เมเจอรเ์ กิดการสั่นไหว
ตามจังหวะการเปล่ยี นแปลงเสน้ แรงแมเ่ หล็ก วงแหวนบงั (Shading Ring) จะทำให้เกิดเสน้ แรงแม่เหล็กทีต่ ่างเฟส
กบั เส้นแรงแมเ่ หล็กหลัก จงึ สามารถชว่ ยลดการสัน่ ลงได้ แกนเหล็กเคลือ่ นท่ี (Moving Armature) ทำจากแผ่นเหล็ก
บางอันซ้อนกนั เป็นแกน โดยมีชดุ หนา้ สัมผสั เคลื่อนท่ี (Moving Contact) ยดึ ติดอยู่

9

ขดลวด (Coil)

ขดลวดทำมาจากทองแดง ขดลวดจะถูกพันอย่รู อบแกนเหล็กอยู่กบั ที่ ทำหนา้ ที่สรา้ งสนามแม่เหล็ก
โดยมีขว้ั ต่อไฟเข้าสญั ลกั ษณ์ A1 – A2

หนา้ สมั ผสั (Contact)

หนา้ สมั ผัสของแมกเนติก คอนแทคเตอร์ แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คอื
หนา้ สมั ผสั หลกั (Main Contact)
ทำหน้าที่ตัด-ต่อกระแสไฟฟา้ ในวงจรกำลัง (Power Circuit) เข้าสู่โหลด ซ่ึงมขี นาดกระแสไฟฟ้าทม่ี ากกวา่
หนา้ สมั ผสั นี้จึงมีขนาดใหญ่กว่า แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คอื
หน้าสมั ผสั อย่กู บั ท่ี (Stationary Contact) หน้าสมั ผัสส่วนนีจ้ ะถูกยึดตดิ อยู่กบั โครง (Mounting) ของแมกเนติก
ส่วนนจี้ ะเปน็ ส่วนท่เี ช่อื มตอ่ กับสายตวั นำไฟฟ้าทั้งดา้ นเข้าและดา้ นออก
หนา้ สมั ผสั เคลอ่ื นท่ี (Movable Contact) หน้าสมั ผัสส่วนนี้จะถูกยึดอยู่กับสว่ นแกนเหล็กเคลอ่ื นที่ โดยมีตวั รองรับ
ทว่ี ัสดุเปน็ ฉนวนไฟฟ้าเป็นตวั ยึดเข้าดว้ ยกัน
หน้าสัมผสั ช่วย (Auxilary Contact) หน้าสัมผัสส่วนนม้ี ขี นาดของชุดหนา้ สัมผสั เล็กกวา่ หน้าสัมผัสหลกั รองรับ
กระแสไฟได้นอ้ ยกว่า ถูกนำไปใชง้ านในวงจรควบคุม (Control Circuit) หนา้ สัมผสั ชนดิ นีม้ ที ง้ั แบบติดต้ังอยใู่ นตัว
แมกเนติกเลย หรือแบบตดิ ต้ังแยกตา่ งหากที่นำมาประกอบเขา้ กบั แมกเนติกเพมิ่ ไดภ้ ายหลัง โดยแบบตดิ ตง้ั แยกจะ
ได้รับความนยิ มมากกวา่ แบบตดิ ตง้ั อยูใ่ นตวั และสามารถติดต้ังได้ท้งั ดา้ นข้างหรอื ด้านบนของแมกเนติก คอนแทค
เตอร์ หน้าสัมผสั ช่วยนแี้ บง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คือ
หน้าสมั ผัสปกตเิ ปิด (Normally Open : NO) หน้าสมั ผสั ปกตปิ ดิ (Normally Close : NC)

10

สปรงิ (Spring)

เปน็ สปริงแบบชนดิ สปริงกด (Pressure Spring) โดยสปรงิ ในแมกเนติก คอนแทคเตอร์ มี 2 ชุด คอื
สปรงิ ดันแกนเหลก็

สปริงกันแกนเหล็กหรือสปรงิ ดนั อารเ์ มเจอร์ คือ สปรงิ ที่ทำหนา้ ท่ีดันแกนเหล็กทั้ง 2 สว่ นใหแ้ ยกจากกนั เมื่อไม่
มีการจ่ายไฟเข้าขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก เป็นผลให้หน้าสัมผัสแยกออกจากกนั สปรงิ ส่วนน้ีจะมีขนาดใหญ่ท่สี ดุ
สปริงดนั หนา้ สัมผสั

คอื สปรงิ ที่ติดตัง้ อยู่กับหนา้ สัมผัส (สว่ นท่เี คลอื่ นท่ี) ตดิ ตั้งอย่ดู ้านหลงั ของหนา้ สมั ผสั ทำหน้าทค่ี อยดนั ให้
หน้าสมั ผัสแนบสนทิ กับหน้าสัมผสั ส่วนที่อยกู่ ับที่ และเป็นตวั ซมึ ซบี แรงกระแทกระหวา่ งหนา้ สมั ผสั เพอ่ื ไมใ่ ห้
หน้าสัมผัสเกดิ ความเสียหาย

สว่ นของขา No Nc

โดยการทำงานคือ
ถ้าไมม่ ไี ฟเลย้ี งขา NC – ทำงานขา NO – ไม่ทำงาน
ถา้ มีไฟเลยี้ งขา NC – ไมท่ ำงาน NO – ทำงาน

11

ส่วนของหนา้ สมั ผสั (Contact)

ถา้ ไม่มไี ฟมาเลยี้ งขาควบคมุ
หนา้ สัมผสั จะแยกออกจากกันทำใหว้ งจรขาดแต่เมื่อไรก็ตามท่ีมไี ฟมาเลี้ยงขาควบคุม
หน้าสัมผัสก็จะตดิ กนั และไฟจะสามารถไหลผา่ นได้

ส่วนของขาควบคมุ

สว่ นนเ้ี อาไว้ตอ่ เพ่ือจ่ายไฟไปยังขดลวดแมเ่ หล็กครับ

โดยถ้าจ่ายไฟไปผ่านขดลวดแม่เหล็กจะเกดิ การเหน่ียวนำให้เกดิ สนามไฟฟ้าและดูดหน้าคอนแทคใหต้ ดิ ทำให้ไฟไหล
ผ่านได้

หลกั การทำงานแมกเนตกิ คอนเเทคเตอร์

เมือ่ มีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นไปยงั ขดลวดสนามแม่เหล็กท่อี ยู่ขากลางของแกนเหล็ก ขดลวดจะสร้างสนามแมเ่ หล็กที่
แรงสนามแม่เหล็กชนะแรงสปรงิ ดึงให้แกนเหล็กชดุ ท่เี คลื่อนที่ (Stationary Core) เคลื่อนทล่ี งมาในสภาวะนี้ (ON)
คอนแทคทั้งสองชุดจะเปล่ยี นสภาวะการทำงานคอื คอนแทคปกตปิ ิดจะเปิดวงจรจดุ สมั ผสั ออก และคอนแทคปกติ
เปดิ จะต่อวงจรของจุดสัมผัส เมื่อไม่มีกระแสไฟฟา้ ไหลผ่านเข้าไปยังขดลวด สนามแม่เหลก็ คอนแทคทั้งสองชดุ จะ
กลับไปสู่สภาวะเดิม

12

3) S (Switch) : สวติ ซ์
Push Button Switch

Push Button Switch หรอื ท่ีเรียกกนั วา่ สวิตซ์ป่มุ กด เป็นอปุ กรณ์ทางไฟฟ้า ซ่งึ ทำหนา้ ทตี่ ดั และต่อวงจรทางไฟฟา้
และ ใช้ในการควบคุมการทำงานของมอเตอร์ หรือการทำงานของเครื่องจักรตา่ งๆ เปน็ เหมือนอปุ กรณ์พ้ืนฐาน ใช้ได้
กบั อตุ สาหกรรมท่ัวไป มีทง้ั แบบมีไฟ และทบึ แสง

โครงสรา้ งของสวติ ชป์ มุ่ กด

โดยโครงสร้างของสวิตช์ป่มุ กดสามารถแยกได้ 4 ส่วน ไดแ้ ก่
1.ปุ่มกดทำด้วยโลหะหรือพลาสตกิ ซึ่งจะมีหลายหลายสีให้เลือกใช้งาน
2.ฐานยึดระหวา่ งปมุ่ กดและตัวล็อกหน้าสมั ผัส โดยจะมีเกลียวทีฐ่ านเพ่ือไวส้ ำหรบั ยึดอุปกรณ์กับช้นิ งานด้วย
3.หนา้ สัมผัส NO และ NC
4.หลอดไฟ LED ทใ่ี ชแ้ สดงสถานะ

13

ประเภทของ Push button Switch

Push button Switch สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ

แบบกดตดิ ปลอ่ ยดบั

แบบกดติดปล่อยดับ หรอื ทีเ่ รยี กวา่ แบบสปรงิ รีเทิร์นเป็นประเภทท่นี ิยมใช้กนั มากท่สี ดุ เน่อื งจากมฟี งั กช์ นั การ
ทำงานท่ีไมย่ ่งุ ยาก นยิ มใช้กับ ตู้ MDB ตู้ DB และ ตู้ control เครื่องจักร เปน็ ตน้

แบบกดตดิ กดดบั หรอื แบบ push on / push off

เปน็ ประเภทท่ีฟงั กช์ นั การทำงานแบบไม่ซบั ซ้อน เชน่ Start/stopสายพานลำเลยี ง เป็นต้น

14

หลกั การทำงานของ Push button Switch

Push button Switch มีทง้ั หมด 2 ชนดิ ดงั น้นั หลักการทำงานจึงมคี วามแตกกต่างกันดังน้ี
แบบกดตดิ ปลอ่ ยดบั
เมอ่ื มีการกด Push button Switch หน้าสัมผัสดงั กล่าวจะเปลย่ี นสถานะ จาก NO เป็น NC หรือ จาก NC จะเปน็
NO แตเ่ มอื่ ปลอ่ ยมอื ออกจาก Push button Switch หน้าสัมผสั จะกลับสสู้ ภาวะปกตใิ นแหนง่ เดมิ โดยมีแรงผลกั ดนั
จากสปรงิ ให้ Push button Switchเขา้ ส้สู ภาวะปกติ

สญั ลกั ษณ์

แบบกดตดิ กดดบั

เมอ่ื มีการกด Push button Switch หน้าสมั ผัสดงั กล่าวจะเปล่ยี นสถานะ จาก NO เปน็ NC หรือจาก NC จะเปน็
NO แตเ่ มื่อปล่อยมือออกจาก Push button Switch หนา้ สัมผัสจะถกู ล็อกไว้โดยกลไกลของสวิตซ์ ซงึ่ สามารถกลบั
สูส้ ภาวะปกติในแหนง่ เดิมได้โดยโดยกด Push button Switchอีกครงั้ ทำใหค้ ลายล็อก จะมีแรงผลกั ดันจากสปริง
ให้Push button Switchเขา้ สสู้ ภาวะปกติ

สญั ลกั ษณ์

15

H : ไพลอตแลมป์ (Pilot Lamp)

หลอดไฟแสดงสถานะหนา้ ตคู้ วบคุม (Status or Pilot Lamp) ซง่ึ ตคู้ วบคุมนน้ั จำเปน็ อยา่ งยิง่ ทต่ี อ้ งมี
สถานะบอกให้ผู้ใชง้ านระบบทราบการทำงานของระบบ ดังนน้ั อปุ กรณ์ที่บอกสถานะ คือ PILOT LAMPS โดยที่
สถานะที่ใช้ในทว่ั ๆไป เช่น แสดงการทำงาน , การหยดุ ทำงาน ,การเกิด Alarm ,การเกิด Over load , การเปดิ หรือ
ปดิ ระบบ, ไฟแสดงเฟสระบบไฟฟ้า,และอนื่ ๆ

รูปตัวอยา่ งการใชง้ าน Pilot Lamp

ไฟแสดงสถานะ มีประโยชน์ในการวนิ สิ ัยอาการผิดปกตขิ องระบบ การเฝ้าระวังระบบ กระบวนการผลิต และการ
ตรวจซอ่ มระบบ ทำใหเ้ กดิ ความผดิ พลาดนอ้ ยหรือไมเ่ กิดเลย ช่างผสู้ งั เกตการณ์เปน็ ผู้ดแู ลระบบก็สามารถแก้ไข
ปัญหาได้ง่าย

สญั ลกั ษณ์

16

สขี องไฟแสดงสถานะมคี วามหมายอะไร
สีแดง (red)เป็นสีทม่ี ักจะใช้กับการแจง้ สถานะของเคร่อื งจักรเม่ือหยดุ การทำงานหรอื ไม่พรอ้ มสำหรับการใช้งาน

สเี หลอื ง (yellow or amber) เป็นการแจง้ สัญญาณเตือน ตัวอย่างเชน่ แจง้ เตือนใหผ้ ู้ปฎิบตั งิ านทำการตรวจเชค็
เคร่ืองจักร เมอ่ื มสี งิ่ ผดิ ปกติเกิดขนึ้
สเี ขยี ว (green) เป็นการแจ้งสถานะวา่ เคร่ืองจักร กำลงั ทำงานอยู่
สฟี ้า(blue) เป็นสีที่นิยมนำไปใชก้ บั ตู้ไฟฟา้ 3 phase บอกสถานะการทำงานของ T ตามมาตรฐาน VDE ของ
ประเทศเยอรมนั

แบง่ ประเภทของไพลอตแลมป์ ออกเปน็ 2 แบบหลกั ๆ โดยแบง่ ตามการตดิ ตง้ั และแบง่ ตาม
การทำงาน

แบง่ ประเภทตามการตดิ ตง้ั

แยกประกอบไม่ได้

ไพลอตแลมป์ประเภทน้ีจะถกู ประกอบเรียบร้อยมาตัง้ แตโ่ รงงานผลิต ไพลอตแลมปป์ ระเภทนี้จะใชเ้ วลาติดตงั้ น้อย
เหมาะสำหรบั ผู้ที่ต้องการความรวดเรว็ ตอนตดิ ตง้ั หรือลดขั้นตอนในการตดิ ตั้ง แตม่ ีข้อเสยี ตรงท่หี ากหลอดไฟเสยี
แลว้ สำหรบั การเปลี่ยนหลอดไฟใหม่นั้นจะทำได้ยากหรอื บา้ งครั้งจะต้องเปลย่ี นยกชุดเลย ขอ้ ดีคอื ราจะถูกกวา่ แบบ
แยกประกอบ

17

แยกประกอบได้

ไพลอตแลมป์ประเภทนเ้ี น่ืองจากเปน็ แบบแยกประกอบทำให้มีข้อดีตรงทห่ี ากมสี ่วนใดส่วนหน่ึงชำรุดก็สามารถ
เปลยี่ นเฉพาะส่วนนัน้ ไป เชน่ ถา้ สว่ นของหลอดไฟเสีย เราสามารถเปล่ียนไดอ้ ย่างรวดเรว็ และง่ายอกี ด้วยโดยทำการ
ถอดเฉพาะส่วนของหลอดไฟออกมาเท่าน้นั แต่ราคาของไพลอตแลมป์แบบน้จี งึ มีราคาทีแ่ พงกวา่ แบบแยกประกอบ
ไมไ่ ดอ้ ยูเ่ ล็กน้อย

แบง่ ประเภทตามการทำงาน

แสดงสถานะเพียงอยา่ งเดียว

Pilot Lamp ไพลอตแลมป์แบบนจ้ี ะมเี พยี งหลอดไฟแสดงสถานะเทา่ น้นั ไม่มีปุ่มกด ไม่มีเสียงเตือน การแจ้ง
เตอื นจะถกู แสดงดว้ ยหลอดไฟ LED ทอ่ี ยู่ภายในไพลอตแลมป์ โดยมสี ีใหเ้ ลอื กหลายสที ้ังสีแสง สเี ขียว สีเหลอื ง สนี ำ้
เงิน ราคาไพลอตแลมป์แบบนี้มีราคาไมแ่ พง ตัวอย่างการใช้งาน เช่น ติดตัง้ บนตคู้ วบคุมมอเตอร์ไว้แสดงการทำงาน
ของมอเตอร์

แสดงสถานะพร้อมสวทิ ปมุ่ กด

Pilot Lamp ไพลอตแลมป์แบบนีจ้ ะมหี ลอดไฟ LED พร้อมปุ่มกด การแจง้ เตือนจะถกู แสดงด้วยหลอดไฟ
LED สามารถควบคมุ การทำงานดว้ ยการกดปมุ่ เปิด-ปิด การทำงาน เหมาะกับงานท่ีต้องการควบคมุ การทำงาน
โดยการตดิ ต้ังไพลอตแลมป์แบบนี้จะตอ้ งใชไ้ ขควงมาชว่ ย เพ่ือประกอบสว่ นหัวและส่วนตัวของไพลอตแลมป์เขา้
ดว้ ยกัน ราคาจะสูงกว่าแบบแรก นับว่าเปน็ ไพลอตแลมป์ท่ีได้รบั ความนิยมใช้งานเยอะ

18

แสดงสถานะพร้อมเสยี งเตือน Buzzer

ไพลอตแลมปแ์ บบนี้จะมีลักษณะพิเศษคือ มีเสยี งเตอื นพร้อมกับไฟ LED การตดิ ต้งั ไพลอตแลมป์ประเภทน้ีมี
การใชน้ อ็ ตพิเศษเพื่อยึดตวั ไพลอตแลมป์เข้ากบั แผงควบคุม มฟี งั ก์ชั่นท่คี รบในตวั เหมาะสำหรบั ผู้ที่ตอ้ งการใชง้ าน
แบบพเิ ศษ

19

บรรณานกุ รม

https://my.factomart.com/?_ga=2.99396766.120029926.1625548721-
1949131681.1624845193

20

21


Click to View FlipBook Version