The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2563-2564 สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by STRI Information, 2021-12-24 00:44:17

รายงานประจำปี 2563-2564 สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายงานประจำปี 2563-2564 สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2020-2021
Annual
Report

2 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

สารบั ญ

4 Reinventing University
6 สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
8 สารจากอธิการบดี
10 สารจากรองอธิการบดีฝ่ ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี

สารสนเทศ
12 สารจากผู้อำ�นวยการสำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
14 คณะผู้บริหารสำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16 บุคลากรสำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
18 การบริ หารจั ดการทุ นวิ จั ย
20 บทคว�มวจิ ยั ทต่ี พี ิมพ์ ในฐ�นขอ้ มลู Web of Science

(SCI/SCIE), Scopus และ TCI
21 ศู นย์วิจัยเฉพาะทางและกลุ่มวิจัยเฉพาะทาง
22 ศู นย์นวัตกรรมด้านการออกแบบและวิศวกรรมเพ่ือการผลิต

(CoI-DEM)
24 ศู นย์ความร่วมมือทางด้านเทคโนโลยี โครงสร้างน้ําหนักเบา

(LiST)
26 ศู นย์วิจัยเกษตรแปรรูป มจพ. วิทยาเขตปราจีนบุรี
28 ศู นย์บริหารงานจัดการทรัพย์สิ นทางปั ญญา
30 ศู นย์บ่มเพาะวิสาหกิจ
32 Talent Mobility
34 การเงินและงบประมาณ
36 การประเมินคุณภาพการศึ กษาภายใน
38 การให้ บริ การห้ องประชุ ม
40 เว็ บไซต์ และระบบสารสนเทศเพื่ องานวิ จั ย
42 กิจกรรมส่ งเสริมและพัฒนาบุคลากร
44 กิจกรรมส่ งเสริมและพัฒนางานวิจัย
50 การนำ�ผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมเข้าร่วมจัดแสดง

นิ ทรรศการ
56 งานวิจัย มจพ. กับรางวัลในเวทีระดับชาติและนานาชาติ
60 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยกับหน่วยงาน

ภายนอกมหาวิ ทยาลั ย

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 3

4 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

Reinventing University

การพลิ กโฉมมหาวิ ทยาลั ย

“พลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University)” คือ โครงการที่เริ่มต้น
ปฏิรูประบบการศึ กษา โดยการกำ�หนดกลุ่มสถาบันอุ ดมศึ กษาเชิงยุทธศาสตร์
เป็ นการกำ�หนดเป้ าหมายและผลลัพธ์การดำ�เนินงานตามจุดเน้นเชิงยุทธศาสตร์
ของสถาบั นอุ ดมศึ กษา ซ่ึงสถาบั นอุ ดมศึ กษามี บทบาทสำ �คั ญในการพัฒนา
กำ�ลังคนท่ีมีศั กยภาพ และความสามารถระดับสู งในสายวิชาการระดับมันสมอง
(Brainpower) และวิชาชีพด้านต่างๆ (Manpower) รวมถึงความต้องการผล
การศึ กษาวิจัยเพ่ือพัฒนากระบวนการผลิตไปจนถึงการสร้างนวัตกรรมสิ นค้า
และบริการจำ�นวนมาก อั นจะนำ�ไปสู่ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
และการขั บเคล่ื อนเศรษฐกิ จของประเทศอย่ างย่ั งยื น โดยจะมุ่ งเน้ นเปล่ี ยน
ระบบเศรษฐกิ จแบบเดิ มไปสู่ ระบบเศรษฐกิ จที่ ขั บเคลื่ อนด้ วยนวั ตกรรม ซึ่ง
ต้องใช้แนวทางสานพลังจากภาครัฐ เอกชน ประชาชน สถาบันการศึ กษาและ
สถาบันวิจัยต่างๆ เพื่อขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จัดอยู่ ในกลุ่ม “การพัฒนา
เทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology and Innovation)” มุ่งเน้นการสร้าง
การพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของอุตสาหกรรม สร้างเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมตามทิศทางและจุดเน้นของประเทศ พร้อมมุ่งสู่ การจัดการการศึ กษา
เพื่อเน้ นการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและส่ งเสริมการสร้างนวั ตกรรมเพื่อตอบ
โจทย์การพัฒนาเศรษฐกิจ สั งคม และอุตสาหกรรมของประเทศ

สำ �นั กวิจั ยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้สนั บสนุ นนโยบายของมหาวิทยาลัย
ในส่ วนความเป็ นเลิศด้านการวิ จั ย สร้างสรรค์ประดิษฐกรรมและนวั ตกรรม
โดยสนั บสนุ นการนำ �งานวิ จั ยและนวั ตกรรมสู่ สากลเพ่ือร่วมขั บเคล่ื อนการ
พัฒนามหาวิทยาลัยในภาพรวม จึงมีการบริหารจัดการทุนวิจัยจากเงินรายได้
ของมหาวิทยาลัย เงินจากแหล่งทุนภายนอก การสนับสนุนห้องปฏิบัติการวิจัย
รวมถึงการบริการห้องประชุม/สั มมนา พร้อมผลักดันให้เจ้าของผลงานวิจัยและ
ส่ิ งประดิษฐ์ ในการดำ�เนิ นการจดทะเบียนทรัพย์สิ นทางปั ญญา รวมถึงการนำ�
ผลงานนวั ตกรรมและส่ิ งประดิ ษฐ์ ไปต่ อยอดในเชิ งพาณิ ชย์ การสนั บสนุ น
การสร้างผู้ ประกอบการใหม่ การส่ งเสริมให้ บุ คลากรวิ จั ยในมหาวิ ทยาลั ย
ไปปฏิ บั ติ งานเพ่ือแก้ ไขปั ญหาและเพิ่ มขี ดความสามารถในการผลิ ตให้ กั บ
ภาคอุ ตสาหกรรม ในด้ านการเผยแพร่ผลงานทางวิ ชาการระดั บนานาชาติ
และในด้านการประชาสั มพันธ์ ได้ปรับรูปแบบให้เป็ นการประชาสั มพันธ์เชิงรุก
และเพ่ิมความหลากหลาย โดยเฉพาะในรูปแบบออนไลน์ โดยมีการปรับรูปแบบ
ในการนำ �เสนอให้ มี ความทั นสมั ยและน่ าติ ดตาม รวมถึ งเพิ่มช่องทางในการ
กระจายข่ าวสารให้ มากย่ิ งข้ึ น

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 5

6 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

Science and Technology Research Institute

สำานักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปรัชญา
ส่งเสริมก�รวิจัยเพื่อพัฒน�คน พัฒน�วิทย�ศ�สตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

ปณิธาน
มงุ่ สคู่ ว�มเป็ นเลศิ ท�งวชิ �ก�รผ�่ นง�นวจิ ยั ด้�นวทิ ย�ศ�สตร์และเทคโนโลยแี ละ
วิช�ก�รข้ันสูง เพื่อให้เป็ นผู้พัฒน�และสร้�งสรรค์เทคโนโลยีท่ีเหม�ะสม อันก่อ
ให้เกิดก�รพัฒน�เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม

วสิ ยั ทศั น์
พัฒน�ก�รวิจัยวิทย�ศ�สตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สู่คว�มเป็ นเลิศ

พันธกจิ
ส่งเสรมิ บรหิ �ร และบรกิ �รง�นวจิ ยั พฒั น�ปัจจัยส่งเสรมิ ง�นวจิ ยั และ
ต่อยอดน�ำ �ผลง�นวิจัยไปใช้เชงิ พ�ณชิ ย์ ก่อใหเ้ กดิ ก�รพัฒน�เศรษฐกิจ สังคม
และสง่ิ แวดลอ้ ม

อัตลกั ษณ์
ส่งเสริมก�รวิจัย สู่คว�มเป็ นเลิศด้�นวิทย�ศ�สตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

น• โยสบ่ งาเยสหรลิมักและสนั บสนุ นการดำ �เนิ นงานวิ จั ย จั ดสรรทุ นอุ ดหนุ นการวิ จั ย
แสวงหาแหล่ งทุ นสนั บสนุ น สร้างเครือข่ ายความร่วมมื อทางการวิ จั ย
และพั ฒนาบุ คลากรทางการวิ จั ย

• ส่งเสริมและสนับสนุนศู นย์วิจัยเฉพาะทางในด้านการวิจัยและการให้บริการ
ทางวิ ชาการตามความเช่ี ยวชาญ

• ส่ งเสริ มและสนั บสนุ นการนำ �ผลงานวิ จั ยไปใช้ ประโยชน์ เชิ งวิ ชาการ
เชิงนโยบายเชิงสาธารณะ และ/หรือเชิงพาณิชย์

• ประชาสั มพันธ์เผยแพร่ผลงานวิ จั ยของมหาวิ ทยาลั ยด้ วยส่ื อทุ กรูปแบบ
รวมท้ั งประสานการถ่ ายทอดและขยายผลงานวิ จั ยสู่ การใช้ ประโยชน์
อย่ างกว้ างขวาง

• เป็ นศู นย์กลางการบริหารจั ดการสารสนเทศทางการวิจั ย เพื่อให้บริการ
งานวิ จั ยท่ี สะดวกรวดเร็ว

• ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมการทำ�นุบำ�รุงศิ ลปวัฒนธรรมภายใน
หน่ วยงาน

• ส่ งเสริมและสนั บสนุ นให้ มี ระบบและกลไกการประกั นคุ ณภาพการศึ กษา
ท่ีมีประสิ ทธิภาพ

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 7

8 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

สารจากอธิการบดี

ศาสตราจารย์ ดร.สุ ชาติ เซี่ยงฉิน

ตลอดระยะเวลา 13 ปี ที่ผ่านมา สํ านักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ก่อต้ังข้ึนและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
โดยสํ านักวิจัยฯ เป็ นกําลังหลักในการพัฒนางานวิจัยของมหาวิทยาลัยในภาพรวม เพ่ือให้สอดคล้องต่อ
เอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ท่ีว่า “มจพ. คือมหาวิทยาลัยแห่งการ
สร้างสรรค์ ประดิษฐกรรมสู่นวัตกรรม” อีกท้ัง มจพ.ยังมุ่งมั่นที่จะก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยชั้นนําด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรม รวมท้ังเป็ นท่ียอมรับในระดับนานาชาติ ซ่ึงในปี พ.ศ. 2563-2564 น้ี มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้มุ่งเน้นการสร้างระบบฐานข้อมูลวิจัยและยกระดับงานวิจัยท่ีเป็ น
มาตรฐานในระดับสากลและใช้ประโยชน์ ได้จริงในภาคอุตสาหกรรม ซ่ึงจุดน้ีมีความสํ าคัญอย่างย่ิง เพราะจะ
เป็ นพ้ืนฐานสํ าคั ญท่ี ส่ งเสริมให้ บุ คลากรและนั กวิ จั ยทุ กท่านตระหนั กถึ งการมุ่งมั่ นในการพัฒนางานวิ จั ย
ส่ิ งประดิษฐ์ และนวัตกรรมท่ีตอบโจทย์และเข้าถึงความต้องการของภาคอุ ตสาหกรรมได้อย่างมากท่ีสุ ด
และส่ิ งสํ าคัญอีกประการหน่ึงคือ สํ านักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ก่อต้ังข้ึนภายใต้เจตนารมณ์ คือ
เป็ นหน่วยงานท่ี ให้บริการ ส่ งเสริม และสนับสนุน ให้บุคลากรได้พัฒนาการวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

และนวัตกรรมสู่ ความเป็ นเลิศและได้รับการยอมรับในระดับสากล

แนวทางในภาพรวมของ มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนื อ ก็ อยากจะฝากสํ านั กวิ จั ย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ช่วยกันขับเคล่ือนเก่ียวกับการพัฒนางานวิจัย สิ่ งประดิษฐ์ และนวัตกรรม โดย

คํานึงถึงบริบทของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ คือ “การทําวิจั ยประยุกต์ร่วมกับ
ภาคอุ ตสาหกรรม” เช่นเดี ยวกั บที่ เคยเน้ นย้ํ าเสมอมา ก็ คื อยกระดั บจากส่ิ งประดิ ษฐ์ ข้ึ นมาสู่ มาตรฐาน

ต่อยอดสู่ นวัตกรรม คือการทํางานวิจั ยเชิงประยุกต์อย่างเป็ นระบบจากองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี โดยตอบโจทย์ ในภาคอุตสาหกรรม มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าพระนครเหนื อ

มองในเรื่องของสิ่ งประดิษฐ์ นั้น เป็ นการทําการวิจัยเชิงประยุกต์สู่ นวัตกรรมในอนาคต เพ่ือยกระดับในเร่ือง

ของงานวิจัยเชิงอุตสาหกรรมพัฒนาไปใช้ ในภาคอุตสาหกรรม เพื่อใช้ ในการยกระดับนวัตกรรมของประเทศชาติ

แต่อย่างไรก็ตาม ความสํ าเร็จและความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือท่ี

ปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัด ตลอดจนการดําเนินงานด้านงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมที่เต็มประสิทธิภาพ

ตั้งแต่อดีตมาจนถึงปั จจุบันน้ี จะไม่สามารถเกิดข้ึนได้เลยหากขาดการสนับสนุนอันดีจากสํานักวิจัยวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี และผมขอฝากทางสํ านั กวิ จั ยวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ือเป็ นกําลั งสํ าคั ญเช่นเดิ ม

ที่เน้นย้ําในทุกปี ท่ีผ่านมา ในการร่วมมือกันท้ังผู้บริหารมหาวิทยาลัย ผู้บริหารสํานักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รวมถึงบุคลากรทุกท่าน ในการขับเคล่ือนนโยบาย กลยุทธ์ต่าง ๆ รวมท้ังร่วมกันเสนอแนะและปรับกลยุทธ์ต่าง ๆ

ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง การแข่งขันระดับนานาชาติและนโยบายของรัฐบาลในเร่ืองของนวัตกรรม

ที่ ใช้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยประเด็นหลักท่ีขาดไม่ ได้ คือ “การมุ่งมั่นที่จะนําพามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

พระจอมเกล้าพระนครเหนือก้าวไปสู่ World University Ranking” และมีความพร้อมอยู่เสมอสํ าหรับ
การแข่งขันในระดับสากลเช่นเดียวกับในปี ท่ีผ่านมา ทั้งน้ีเพื่อสร้างความภาคภูมิ ใจและนําเกียรติยศช่ือเสี ยง

มาสู่ มหาวิทยาลัยของเรา

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 9

10 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

สารจากรองอธิการบดี
ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ศาสตราจารย์ ดร.สมฤกษ์ จันทรอัมพร

ภายในปี พ.ศ. 2580 ประเทศไทยตั้งเป้ าหมายว่าจะเป็ นประเทศพัฒนาแล้ว เป็ นประเทศที่
ประชาชนมีรายได้สู ง และเป็ นประเทศที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม (Innovation-
driven economy) คําถามท่ีตามมาคือ จากวันน้ีสู่ วันนั้น เราจะต้องเดินหน้าขับเคล่ือน
ไปด้วยกันอย่างไร แน่นอนว่า “มหาวิทยาลัยเป็ นแหล่งมันสมองของประเทศ และต้องเป็ น
หัวหอกในการสร้างนวัตกรรม (Innovation) และสร้างนวัตกร (Innovator)” คําว่า
มหาวิทยาลัยอาจดูกว้างใหญ่คลุมเครือ หากแต่ โดยเนื้อแท้แล้ว มหาวิทยาลัยก็ ไม่ ได้หมายถึง
ส่ิ งใดอ่ืนนอกจากตัวเราเอง และตัวการ (Agent) ที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงก็มิ ใช่ ใครอื่น
นอกจากตัวเราเอง ใช่หรือไม่ว่า We are the change we seek. ดังเช่นที่ บารัค โอบามา
เคยกล่ าวไว้

ในวันน้ี คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยได้ริเร่ิมแนวทางใหม่ๆ และสานต่อแนวทางในอดีตหลายๆ
ทางเพ่ือให้มหาวิทยาลัยขับเคลื่อนเดินไปข้างหน้า เราริเริ่มโครงการรับนักวิจัยระดับหลัง
ปริญญาเอกและระดับปริญญาเอก ด้วยมุ่งหว้งจะดึงคนเก่งโดยเฉพาะจากต่างประเทศให้
เข้ามาทํางานวิจัยใน มจพ. เราพยายามแสวงหาและถักทอความร่วมมือทางวิชาการกับ
มหาวิทยาลัยในต่างประเทศเพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยในเมืองไทย เราพยายาม
จั ดกลุ่มวิ จั ยเพ่ือให้ เพ่ือนพ้องคอเดี ยวกั นทางวิ ชาการได้พบปะพู ดคุ ยและทํางานด้ วยกั น
เราได้พยายาม สร้างเวทีการประชุมวิชาการเพ่ือให้อาจารย์และนักวิจัยรุ่นใหม่ ได้ ใช้เป็ นบันได
ข้ันแรกในการฝึ กฝนตนและสร้างผลงานวิชาการ เราพยายามสร้างเวทีที่จะดึงผลงานวิจัย
ของบุคลากร มจพ. ให้เป็ นที่รับรู้แพร่หลายต่อสาธารณชน

กระผมในนามของผู้บริหารมหาวิ ทยาลั ยท่ี รับผิ ดชอบงานด้านการวิ จั ยและนวั ตกรรม ขอ
ขอบพระคุ ณทุ กท่านท่ี ได้ สละแรงกายและแรงใจในการทํากิ จกรรมต่างๆ ตามท่ี กล่าวมา
แต่ผมต้องขอเรียนว่า ผมยังเหน่ื อยไม่มากพอและพวกเราก็ยังเหน่ื อยไม่มากพอที่จะสร้าง
ผลงานวิจัยและนวัตกรรมของ มจพ. ให้เข้มแข็งเกรียงไกรยิ่งกว่านี้

ในโอกาสน้ี กระผมจึ งขอเชิญชวนทุ กท่านมาเหน่ื อยด้ วยกั นอี กคร้ังและอี กหลายๆ คร้ัง
ในหลายๆ กิจกรรมที่จะตามมา และขอให้เชื่อเถอะครับว่ามันจะเป็ นหยาดเหงื่อท่ีเปื้ อนย้ิม
เพราะ “ความยากลําบากของเราในวันนี้ จะช่วยให้งานวิจัยและนวัตกรรมของมหาวิทยาลัย
ดีข้ึน” ช่วยให้เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และสั งคม ดีข้ึน กระทั่งช่วยให้เราได้ข้ึนชื่อว่าได้อยู่
และได้ร่วมสร้างประเทศไทยให้เป็ นประเทศพัฒนาแล้วในอีก 20 ปี ข้างหน้าที่จะมาถึง

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 11

12 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

สารจากผู้อำานวยการสำานักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รองศาสตราจารย์ ดร.กมั ปนาท เทยี นนอ้ ย

มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนื อ ได้ รับการจั ดกลุ่ม
มหาวิ ทยาลั ยให้ อยู่ ในกลุ่มมหาวิ ทยาลั ยท่ี มุ่งสู่ การจั ดการการศึ กษาเพ่ือเน้ น
การพัฒนาด้านเทคโนโลยีและส่ งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology
Development and Innovation) เพ่ือตอบโจทย์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
และอุตสาหกรรมของประเทศ ตามโครงการพลิกโฉมระบบการอุดมศึ กษาของ
ประเทศไทย (Reinventing University System) สํ านักงานปลัดกระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมนั้น สํานักวิจัยวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ในฐานะหน่ วยงานหลั กที่ รับผิ ดชอบภารกิ จด้ านงานวิ จั ยของ
มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าพระนครเหนื อได้ เน้ นส่ งเสริมและสนั บสนุ น
ให้ บุ คลากรของมหาวิ ทยาลั ยสร้างงานวิ จั ยในด้านสั งคม วิ ทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี การส่ งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ รวมถึงการส่ งเสริมเพ่ือ
สร้างส่ิ งประดิษฐ์ และนวัตกรรม ที่นํามาซ่ึงความเข้มแข็งและความเจริญของ
ประเทศไทยอย่างยั่งยืน แสดงเอกลักษณ์ ของมหาวิทยาลัยที่ว่ “มจพ. คือ
มหาวิทยาลัยแห่งการสร้างสรรค์ประดิษฐกรรมสู่ นวัตกรรม”

การจัดทํารายงานประจําปี 2563 - 2564 ของสํ านักวิจัยฯ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ
รวบรวมและนําเสนอข้อมูลที่เป็ นผลการดําเนินงานของสํ านักวิจัยฯ ตามพันธกิจ
ด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัยในปี 2563 และ 2564 ท่ีผ่านมา ด้านการวิจัย
ด้านสิ่ งประดิษฐ์ และนวัตกรรม ด้านกลุ่มวิจัยและศู นย์วิจัยเฉพาะทาง ด้านการ
ส่งเสริมการเป็ นผู้ประกอบการใหม่ ด้านความร่วมมือและกิจกรรมสําคัญ รวมถึง
การให้บริการงานวิจัยท่ีเกิดข้ึน โดยทําการเปรียบเทียบข้อมูลผลการดําเนินงาน
ด้านงานวิจัยของมหาวิทยาลัย ในปี 2563 และ 2564 ซ่ึงจากการเปรียบเทียบ
ข้อมูลผลการดําเนินงานด้านวิจัยของมหาวิทยาลัย ในปี 2563 และ 2564 กับ
ผลการดําเนินงานในปี งบประมาณต่างๆ ที่ผ่านมา โดยผลสั มฤทธิ์ด้านงานวิจัย
ของมหาวิ ทยาลั ยในด้านการตีพิมพ์ ในวารสารวิ ชาการระดั บนานาชาติ และ
เงินรายได้ จากแหล่ งทุ นภายนอก ซ่ึงเป็ นตั วช้ีวั ดท่ี สํ าคั ญในการจั ดอั นดั บ
มหาวิทยลัยในระดับสากล นอกจากน้ีผลงานส่ิงประดิษฐ์ และนวัตกรรมมีจํานวน
ท่ี เพ่ิมสู งข้ึ น ซ่ึงเป็ นตั วช้ีวั ดท่ี สํ าคั ญตามการกําหนดกลุ่มสถาบั นอุ ดมศึ กษา
เชิ งยุ ทธศาสตร์ ด้ วย

สํานักวิจัยฯ หวังเป็ นอย่างยิ่งว่า ข้อมูลจากรายงานประจําปี เล่มน้ีสามารถสะท้อน
ให้ เห็ นถึ งภาพโดยรวมผลการดําเนิ นงานด้านการสนั บสนุ นงานวิ จั ยและ
นวัตกรรมของสํานักวิจัยฯ ได้เป็ นอย่างดี ท้ายน้ี ในนามของผู้บริหารและบุคลากร
ของสํ านั กวิ จั ยฯ ขอขอบคุ ณนั กวิ จั ยและบุ คลากรด้านการสนั บสนุ นการวิ จั ย
ทุ กท่าน ในความร่วมมือสร้างสรรค์ ผลงานวิ จั ยและนวั ตกรรมที่ ดี ตลอด
ระยะเวลาของปี 2563 และ 2564 มา ณ โอกาสนี้

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 13

โครงสร้างการบริหาร

คณะผู้บริหารสำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

ศาสตราจารย์ ดร. ศาสตราจารย์ ดร. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
สุ ชาติ เซ่ียงฉิน สมฤกษ์ จันทรอัมพร นวพร วิสิ ฐพงศ์ พันธ์
อธิ การบดี มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยี รองอธิการบดีฝ่ ายวิจัยและ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ ายวิจัยและ
พระจอมเกล้ าพระนครเหนื อ พั ฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศ เทคโนโลยี สารสนเทศ

รองศาสตราจารย์ ดร. รองศาสตราจารย์ ดร. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
กัมปนาท เทียนน้อย ฐิ ติพงษ์ เลิศวิริยะประภา วัลลภ กิติสาธร
ผู้ อำ �นวยการ รองผู้อำ�นวยการฝ่ ายพัฒนาธุรกิจและ รองผู้อำ�นวยการฝ่ ายส่งเสริมการวิจัย
สำ �นั กวิ จั ยวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายความร่วมมืออุตสาหกรรม และแผนยุ ทธศาสตร์วิ จั ย

14 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

รองศาสตราจารย์ ดร. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
รังสิ มา หญีตสอน ชลกาญจน์ วงศ์ ก่อทรัพย์ พรศั กดิ์ ศรีสังสิ ทธิสั นติ
รองผู้อำ�นวยการฝ่ ายบริหารและ ผู้จัดการศู นย์บ่มเพาะวิสาหกิจ ประธานกรรมการศู นย์นวัตกรรม
จั ดการนวั ตกรรม ด้ านการออกแบบและวิ ศวกรรม
เพื่ อการผลิ ต

รองศาสตราจารย์ ดร. ดร.ชนิกา ช่ืนแสงจันทร์
ธัญญา ปรเมษฐานุวัฒน์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการฝ่ ายส่งเสริมงานวิจัย
ผู้ประสานงานศู นย์ วิ จั ยเกษตรแปรรูป และพัฒนาความเป็ นสากล
มจพ.วิทยาเขตปราจีนบุรี

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 15

บุคลากรสำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สำ �นักงานผู้อำ�นวยการ

จิตติมา สุ วรัตน์ หัวหน้าสำ �นักงานผู้อำ�นวยการ
| โทร.1512 | [email protected]

งานทรัพยากรบุคคลและบริหารสำ �นักงาน

1. วันทนีย์ จารเขียน เจ้าหน้าที่บริหารงานท่ัวไป | โทร.1510 | [email protected]

2. รัชนี เก็บเงิน เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป | โทร.1501 | [email protected]

3. พรรณี เก็บเงิน เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป | โทร.1515 | [email protected]

4. รัชกร โตจันทร์ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร | โทร.1554 | [email protected]

5. จิตร บุญถูก พนักงานบริการ | โทร.1501

งานคลั งและพั สดุ นักวิชาการเงินและบัญชี | โทร.1511 | [email protected]
1. อุดมพร ดวงเงิน นักวิชาการเงินและบัญชี | โทร.1511 | [email protected]
2. ณิชารีย์ มังคลาจารย์ นักวิชาการเงินและบัญชี | โทร.1511 | [email protected]
3. ฤทัยอนงค์ นาคะไพบูลย์ นักวิชาการเงินและบัญชี | โทร.1511 | [email protected]
4. ศรีจันทร์ วิลัยหงษ์ นักวิชาการพัสดุ | โทร.1509| [email protected]
5. สิ ริพร ไสวสุ ภาพ เจ้าหน้าที่วิจัย | โทร.1509 | [email protected]
6. สุ พัฒจิต ผลาชิต

ฝ่ ายส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ

กาญจนา งามพจนวงศ์ หัวหน้าฝ่ ายส่ งเสริมการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ

| โทร.1506 | [email protected]

งานส่ งเสริมการวิจัย นักวิชาการศึ กษา | โทร.1513 | [email protected]
1. ธนพล นิงสานนท์ นักวิชาการศึ กษา | โทร.1513 | [email protected]
2. โศภิษฐ์ แจ่มถาวร เจ้าหน้าท่ีบริหารงานทั่วไป | โทร.1513 | [email protected]
3. สุ มนกาญจน์ พฤกษพิทักษ์

งานทรัพย์สิ นทางปั ญญาและพัฒนาเครือข่าย

1. มิ่งขวัญ มากทอง นักวิชาการศึ กษา | โทร.1516 | [email protected]

2. ถนอม อุ่นประเสริฐ เจ้าหน้าท่ีบริหารงานทั่วไป | โทร.1506 | [email protected]

3. ชลิดา จันทเวช เจ้าหน้าท่ีบริหารงานทั่วไป | โทร.1506 | [email protected]

4. สุ ริยพงศ์ โคกทอง วิศวกร | โทร.1506 | [email protected]

16 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

ฝ่ ายวิศวกรรมและระบบสนับสนุน

ไกรสุ ข บุญประดิษฐ์ หัวหน้าฝ่ ายวิศวกรรมและระบบสนับสนุน | โทร.1548 |

[email protected]

งานวิ ศวกรรมและห้ องปฏิ บั ติ การ วิศวกร | โทร.1517 | [email protected]
1. บุญอนันต์ ชื่อสุ ธรรม วิศวกร | โทร.1548 | [email protected]
2. ชวพล ตรีวิสู ตร ช่างเทคนิค | โทร.1517 | [email protected]
3. อดุลย์ ถีติปริวัตร นักวิจัย (มจพ. ปราจีน) | [email protected]
4. ชัยศิ ริ กิจเภาสงค์ นักวิจัย (มจพ. ปราจีน) | [email protected]
5. รจเรข ชคทันต์บดี วิศวกร (มจพ. ปราจีน) | [email protected]
6. เหมวรรณ ต่อแต้ม เจ้าหน้าที่บริหารงานท่ัวไป (มจพ. ปราจีน) | [email protected]
7. ศศิ ธร พงษ์จีน

งานอาคารสถานท่ี และระบบสนั บสนุ น

1. วิตติ รักแหลมทอง วิศวกร | โทร.1518 | [email protected]

2. กฤดา จรัสศรีสกุล นักวิชาการคอมพิวเตอร์ | โทร.1518 | [email protected]

3. ยุทธนา ปั ดชา ช่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ | โทร.1518 | [email protected]

4. สมคิด หลวงพิมล พนักงานรักษาความปลอดภัย | โทร.1515

5. สุ ทธนพ วงศ์ เณร พนักงานรักษาความปลอดภัย | โทร.1515

6. สุ วัฒน์ สุ ขมงคล พนักงานขับรถยนต์ | โทร.1500

ฝ่ ายพัฒนาศู นย์ความเป็ นเลิศ

ไกรสุ ข บุญประดิษฐ์ หัวหน้าฝ่ ายพัฒนาศู นย์ความเป็ นเลิศ | โทร.1548 |

[email protected]

1. คณะกรรมการบริหารศู นย์นวัตกรรมด้านการออกแบบและวิศวกรรมเพ่ือการผลิต (CoI-DEM)

2. คณะกรรมการขับเคล่ือนศู นย์วิจัยเกษตรแปรรูป

3. ศู นย์ความเป็ นเลิศ

4. ศู นย์วิจัยเฉพาะทาง

5. กลุ่มวิจัยเฉพาะทาง

หน่ วยเสริ มสร้ างผู้ ประกอบการใหม่

1. กนกฬส เจริญราษฎร เจ้าหน้าท่ีบริหารงานทั่วไป | โทร.1516 | [email protected]

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 17

การบริ หารจั ดการ

ทุ นวิ จั ย

สำ �นั กวิ จั ยวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดำ�เนิ นงานด้านการส่ งเสริมการวิ จั ย
ของมหาวิทยาลัยโดยสนับสนุนการจัดสรรเงินรายได้จากมหาวิทยาลัย เพ่ือเป็ น
ทุนอุ ดหนุ นการวิจั ยให้แก่คณาจารย์ นั กศึ กษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย
จำ�แนกได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
(1) ทุนวิจัยพ้ืนฐาน ซ่ึงสำ �นักวิจัยฯ ดำ�เนินการจัดสรรทุนมาอย่างต่อเนื่องเป็ น
ประจำ�ทุกปี ได้แก่ ทุนสนั บสนุ นนั กวิจั ยรุ่นใหม่ ทุนพัฒนาองค์ความรู้พื้นฐาน
ทุนพัฒนาองค์ความรู้ ใหม่เพื่อตอบสนองอุ ตสาหกรรมเป้ าหมาย ทุนอุ ดหนุ น
การวิจัยเพ่ือพัฒนาศั กยภาพการทำ�งานวิจัยของสายสนั บสนุ น โดยทุนวิจัยใน
กลุ่ มนี้ มุ่ งเน้ นการวิ จั ยเพื่อพั ฒนาองค์ ความรู้และเผยแพร่ผลงานวิ จั ยในรูปแบบ
ของการตี พิ มพ์ บทความวิ จั ยในวารสารวิ ชาการ
(2) ทุนวิจัยเพื่อการพัฒนานวัตกรรม เป็ นประเภททุนใหม่ท่ีสำ�นักวิจัยฯ ผลักดันให้
เกิ ดข้ึ นเพ่ือสนั บสนุ นทิ ศทางของมหาวิ ทยาลั ยท่ี มุ่ งเน้ นการพั ฒนาเทคโนโลยี และ
ส่ งเสริมการสร้างนวัตกรรม ได้แก่ ทุนพัฒนานวัตกรรม ทุนพัฒนานวัตกรรม
เชิงพาณิชย์ โดยมีการประกาศรับสมัครทุนในปี งบประมาณ 2565 เป็ นปี แรก
(3) ทุนสนับสนุนการศึ กษาวิจัยของนักศึ กษา เป็ นประเภททุนใหม่ที่สำ �นักวิจัยฯ
ทำ�หน้าที่เป็ นหน่วยงานสนับสนุนการดำ�เนินงานและบริหารจัดการ เพ่ือส่ งเสริม
การพัฒนาศั กยภาพด้านการวิจัยให้แก่นักศึ กษาระดับบัณฑิตศึ กษา ได้แก่ ทุน
โครงการพัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรม (พวอ.) ระดับปริญญาโท
และปริญญาเอก ซ่ึงเป็ นความร่วมมือกันระหว่างมหาวิทยาลัย และสำ �นั กงาน
การวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยมีการประกาศรับสมัครทุนในปี งบประมาณ 2564
- 2565 เป็ นรุ่นแรก

18 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

สรุ ปจำ �นวนโครงการวิ จั ยและงบประมาณในกลุ่ มทุ นวิ จั ยพื้ นฐาน
ปี พ.ศ. 2562 - 2564

ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563 ปี พ.ศ. 2564

ประเภททุน โครงการ งบประมาณ โครงการ งบประมาณ โครงการ งบประมาณ

(บาท) (บาท) (บาท)

ทุ นสนั บสนุ น 20 2,000,000 25 2,462,600 15 1,500,000
นั กวิ จั ยรุ่ นใหม่

ทุ นพั ฒนาองค์ 38 3,800,000 27 2,700,000 38 6,900,000
ความรู้พื้นฐาน

ทุ นพั ฒนาองค์ 42 13,200,000 40 12,900,000 46 16,200,000
ความรู้ ใหม่
เพื่อตอบสนอง
อุ ตสาหกรรม
เป้ าหมาย

ทุ นอุ ดหนุ นการ 8 470,000 16 960,000 10 600,000
วิ จั ยเพ่ื อพั ฒนา
ศั กยภาพการ
ทำ �งานวิ จั ยของ
สายสนั บสนุ น

รวมทุกแหล่งทุน 108 19,470,000 108 19,022,600 109 25,200,000

นอกจากนี้ สำ �นั กวิจั ยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรับหน้าท่ีเป็ นหน่ วยงานหลัก
ของมหาวิทยาลัย ในการบริหารจัดการและสนับสนุนการดำ�เนินงานให้แก่นักวิจัย
ท่ี ได้รับทุนวิจัยจากเงินงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.)
ทุ นวิ จั ยจากแหล่ งทุ นภายนอก และทุ นศึ กษาวิ จั ยให้ แก่ นั กศึ กษาระดั บปริญญาเอก
และหลังปริญญาเอกจากกองทุน 60 ปี มจพ. เพ่ือการวิจัยระดับปริญญาเอก
และหลั งปริ ญญาเอกด้ วย

จำ �นวนโครงการและงบประมาณวิ จั ยจากแหล่ งทุ นภายนอก

ปี พ.ศ. จำ�นวน งบประมาณ
2561 130 318,767,840.00
2562 106 289,656,170.00
2563 80 233,109,806.00
2564 67 174,407,061.66

หมายเหตุ * ข้อมูล สื บค้น ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2564

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 19

บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ ในฐานข้อมูล
Web of Science (SCI/SCIE),
Scopus และ TCI

สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีการส่ งเสริมให้นักวิจัยตีพิมพ์บทความ
ในวารสารวิ ชาการระดั บชาติ และระดั บนานาชาติ โดยเฉพาะอย่ างย่ิ งใน
ฐานข้อมูลที่ ได้รับการยอมรับในระดับสากล อาทิ Web of Science (SCI/SCIE),
Scopus และ TCI โดยมีกระบวนการสนับสนุนผ่านการให้ทุนวิจัย เงินสมนาคุณ
ตลอดจนการให้ รางวั ลเพื่อเป็ นขวั ญกำ �ลั งใจในการดำ �เนิ นงานเพ่ือพั ฒนา
งานวิจัยที่มีคุณภาพสู่ สาธารณะ

ปี ค.ศ. SCI/SCIE Scopus TCI
2018 257 554 236
2019 416 832 233
2020 456 853 180
2021 527 898 23

2018 2019 2020 2021
SCI/SCIE Scopus TCI

หมายเหตุ * ข้อมูลตามปี ปฏิทิน
** ข้อมูล สื บค้น ณ วันท่ี 21 พฤศจิกายน 2564

20 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

ศู นย์วิจัยเฉพาะทางและ
กลุ่ มวิ จั ยเฉพาะทาง

จำ �นวนกลุ่ มวิ จั ยเฉพาะทาง จำ�นวนศู นย์วิจัยเฉพาะทาง
2 33

ผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2563

Web of Science 60 บทความ

Scopus 56 บทความ

TCI 3 บทความ

จำ �นวนบทความวิ จั ยที่ ตี พิ มพ์ ฐานอ่ืนๆ 1 บทความ

ประชุ มระดั บนานาชาติ 26 บทความ

ประชุ มระดั บชาติ 2 บทความ

ลิขสิ ทธิ์ 2 ผลงาน

จำ �นวนโครงการวิ จั ยที่ ได้ รั บการสนั บสนุ น 40 โครงการ
ทุ นวิ จั ยจากแหล่ งทุ นภายนอก

จำ �นวนงบประมาณที่ ได้ รั บการสนั บสนุ น จำ�นวนทั้งสิ้ น 153,385,405.00 บาท
จากแหล่งทุนภายนอก

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 21

22 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

Center of Innovation in Design and Engineering for
Manufacturing (CoI-DEM)

ศู นย์นวัตกรรมด้านการออกแบบและ
วิ ศวกรรมเพื่ อการผลิ ต

83.10% ผลการดำ �เนิ นงาน 83.10%
ในปี 2563
246 งาน 7.10% 246 งาน
งานบริ การวิ ชาการ
และบริ การครุ ภั ณฑ์ งานบริ การวิ ชาการ
เพื่ องานวิ จั ย และบริการครุภัณฑ์ 21 งาน
เพือง งาานนวเิยจัี่ยยมชม ศึ กษาดูงาน
9.80%
9.80%และ สนั บสนุ นการเรี ยน
29 งาน การสอน
การฝึ กอบรม งานวิจัย 29 งาน
สร้ างนวั ตกรรม และ การฝึ กอบรม งานวิจัย
โครงการต่างๆ สร้ างนวั ตกรรม
และโครงการต่างๆ

7.10%

21 งาน
งานเยียมชมศึ กษาดูงานและ
สนั บสนุ นการเรี ยนการสอน

64% ผลการดำ �เนิ นงาน 6%
ในปี 2564
349 งาน 30 งาน
ง านบริการวิชาการ การฝึ กอบรม งานวิจัย
และบริ การครุ ภั ณฑ์
เพ่ื องานวิ จั ย สร้ างนวั ตกรรม และ
โครงการต่ างๆ
29%
1%
160 งาน
ง านตรวจเช็คและ 8 งาน
บำ �รุ งรั กษาครุ ภั ณฑ์ งานเยี่ยมชม ศึ กษาดูงาน

และ สนั บสนุ นการเรี ยน
การสอน

ห้องปฏิบัติการศู นย์ CoI-DEM ช้ัน 1 ห้องปฏิบัติการศู นย์ CoI-DEM ชั้น 5

1. เคร่ืองกัด CNC 5 แกน 1. เคร่ือง Co2 Laser
2. เครื่องกลึง CNC 4 แกน 2. เคร่ือง Fiber Laser
3. เคร่ืองวัดขนาดแบบแกน CMM 3. เครื่องสแกน 3 มิติ 3D Scan
4. เครื่องตัดและเชื่อมแบบเลเซอร์ Robot Arm 4. เคร่ือง 3D Print
5. เครื่อง Injection moulding 5. เคร่ือง 3D Print ชนิด FDM
6. เคร่ือง Compression 6. เคร่ือง Dynamic Mechanical Analyzer (DMA)
7. เคร่ือง Fillament Extuder 7. เคร่ือง Thermogravimetric Analysis (TGA)
8. เคร่ือง Thermomechanical Analysis (TMA)
ข้ อมู ลเพ่ิ มเติ ม 9. เครื่อง Optical microscope (OM)
[email protected] 10. เครื่อง Differential Scanning Calorimetry (DSC)
http://www.stri.kmutnb.ac.th/coi-dem/ 11. เคร่ือง Spectrometer INVENIO (FT-IR)
https://www.facebook.com/coidem/ 12. เคร่ืองศึ กษาสั มประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทาน (Tribometer)
13. เครื่องทดสอบความล้าของวัสดุ (Fatique)
14. เครื่อง Rheometer

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 23







































โครงการสั มมนาเชิงปฏิบัติการ "Green Uiversity"

วันที่ 4 - 7 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุม 212 ชั้น 2 อาคารสำ �นั กวิจั ย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และบุราภัฏ รีสอร์ท อ.เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
พร้อมศึ กษาดูงานท่ีมหาวิทยาลัยแม่ โจ้

โครงการผู้บริหารพบบุ คลากรสำ �นั กวิ จั ยวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วั นที่ 23 กรกฎาคม 2563เวลา 09.00 - 15.00 น. ณ ห้ องประชุ มชั้น 9
อ�ค�รส�ำ นกั วิจยั วทิ ย�ศ�สตรแ์ ละเทคโนโลยี มจพ.

โครงการส่ งเสริมการออกกำ�ลังกายเพื่อสุ ขภาพ

วั นที่ 10, 16, 24 และ 30 กรกฎาคม 2563 เวลา 15.00 - 16.00 น.
ณ ห้องประชุมใหญ่ ช้ัน 9 อาคารสำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 43

กิจกรรมส่ งเสริมและพัฒนางานวิจัย

ปฐมนิเทศนักวิจัยท่ี ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำ�ปี งบประมาณ
2563

วันท่ี 1 ตุลาคม 2562 ณ ห้องประชุมใหญ่ ช้ัน 9 อาคารสำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

อบรมเชิงปฏิบัติการ"การก่อสร้างถนนยางพาราดินซีเมนต์ "รุ่นที่ 4

วันท่ี 18 - 19 พฤศจิกายน 2562 ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 9 อาคารสำ �นักวิจัย
วิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

ผู้บริหารพบคณาจารย์และนั กวิจั ย มจพ. วาระพิเศษการเสนอ
ของบบูรณาการ ประจำ�ปี 2564

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2562 ณ หอประชุมเบญจรัตน์ อาคารนวมินทรราชินี

44 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ "2019 Research, Invention,
and Innovation Congress (RI2C 2019)"

วันท่ี 11 - 13 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพฯ

มอบทุนสนับสนุนการสร้างผลงานต้นแบบส่ิงประดิษฐ์ และนวัตกรรม
2563

วันที่ 20 ธันวาคม 2562 ณ ห้องประชุมใหญ่ ช้ัน 9 อาคารสำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 45

กิจกรรมส่ งเสริมและพัฒนางานวิจัย

งานประกวดสิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ประจำ�ปี 2563

วั นท่ี 31 มกราคม - 1 กุ มภาพันธ์ 2563 ณ หอประชุ มประดู่ แดง อาคาร
อเนกประสงค์

มอบรางวัลนักวิจัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประจำ�ปี 2562

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 ณ หอประชุมประดู่แดง อาคารอเนกประสงค์

46 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

มอบรางวลั ศนู ยว์ จิ ยั เฉพาะทางดเี ดน่ และเงนิ สนบั สนนุ การดาำ เนนิ งาน
รอบการประเมนิ ปี 2561

วันท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 9 อาคารสํ านั กวิจัยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมเพ่ือจัดต้ัง
คณะกรรมการจริ ยธรรมการวิ จั ยในมนุ ษย์ ประจำ �มหาวิ ทยาลั ย

วันท่ี 5 - 6 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 9 อาคารสำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

โครงการให้ ความรู้เก่ี ยวกั บจริยธรรมการวิ จั ยในมนุ ษย์ ประจำ �
มหาวิ ทยาลั ย

วันท่ี 24 สิงหาคม 2563 ณ ห้องประชุมใหญ่ ช้ัน 9 อาคารสำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 47

กิจกรรมส่ งเสริมและพัฒนางานวิจัย

อบรมพัฒนาแนวทางการดำ�เนินกิจกรรม โครงการ Talent Mobility

วันที่ 19 สิ งหาคม และ 11 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุมใหญ่ ช้ัน 9 อาคาร
สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การประชุมประจำ�ปี ครั้งท่ี 3 เทคโนโลยีเซ็นเซอร์เชิงนวัตกรรมโดย
ใช้แม่เหล็กไฟฟ้ าเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ทุนส่ งเสริมกลุ่มวิจัย
เมธีวิจัยอาวุโส สกว. ประจำ�ปี 2560

วันที่ 21 สิ งหาคม 2563 ณ ห้องประชุมวิจิตรวามี คณะวิศวกรรมศาสตร์

ปฐมนิเทศนักวิจัยท่ี ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำ�ปี งบประมาณ
2564

วันที่ 22 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุมใหญ่ ช้ัน 9 อาคารสำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

48 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.

ประกาศผลรางวัลนักวิจัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประจำ�ปี
2563

วันท่ี 19 มกราคม 2564

รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ. 49

การนำ�ผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม
เข้ าร่วมจั ดแสดงนิ ทรรศการ

สำ�นักวจิ ัยวิทย�ศ�สตรแ์ ละเทคโนโลยี นำ�ผลง�นวิจัย ส่ิงประดษิ ฐ์ และนวัตกรรม
ของนักวิจัย เข�้ ร่วมจดั แสดงนิทรรศก�รทัง้ ภ�ยในและภ�ยนอกมห�วิทย�ลยั
เพ่ือเผยแพร่ประช�สมั พนั ธ์และเปิดเวทีใหน้ ักวจิ ัยไดม้ ีโอก�สในก�รนำ�เสนอ
ผลง�น ตลอดจนแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละประสบก�รณ์

Seoul International Invention Fair 2019 (SIIF 2019)

วันที่ 27 - 30 พฤศจิก�ยน 2562 ณ COEX กรุงโซล ประเทศเกาหลี ใต้
มี ผลงานเข้ าร่วม จํ านวน 3 ผลงาน
1. ผลงาน Anti-Ant and Insect Masterbatch - มาสเตอร์แบช

ผลติ ภณั ฑ์ป้องกนั มดและแมลง โดย รศ.ดร.ระพพี นั ธ์ แดงตนั กี สงั กดั
บณั ฑติ วทิ ย�ลยั วทิ ย�ศ�สตรน�น�ช�ตสิ ริ นิ ธร ไทย-เยอรมนั (TGGS) มจพ.
2. ผลงาน Simulation Pregnancy Box Model - หุ่ นจำ �ลอง
ก�รต้งั ครรภม์ �รด� โดย น�ยอ�วธุ แจง้ มณี และ น�ยพฒุ พิ ฒั น์ แสงทอง
อ�จ�รยท์ ่ีปรึกษ� ผศ.พยงุ เดชอยู่ คณะวทิ ย�ศ�สตร์ ประยกุ ต์
3. ผลงาน Catta Eco Litter - ผลติ ภณั ฑ์ ทร�ยแมวจ�กมนั ส�ำ �ปะหลงั
โดย น.ส.นษิ ฐ� ทร�ยแกว้ และ น.ส.กมลชนก ปญั โญ อ�จ�รยท์ ่ีปรึกษ�
ผศ.ดร. พีรพงษ์ พรวงศท์ อง คณะวิทย�ศ�สตรป์ ระยกุ ต์

50 รายงานประจำ�ปี 2563 - 2564 | สำ �นักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มจพ.


Click to View FlipBook Version