The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการอบรมโครงการหลักสูตร Agile Organization Management

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วายุ จินดาพล, 2021-12-29 00:42:43

รายงานผลการอบรมโครงการหลักสูตร Agile Organization Management

รายงานผลการอบรมโครงการหลักสูตร Agile Organization Management

คำนำ ๑
กล่มุ พัฒนาระบบบรหิ าร สานักงานคณะกรรมการค้มุ ครองผ้บู รโิ ภค

๒ New Toolkit พิชิตองค์การสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)

Agile Organization
M anagement

ชอ่ื เรื่อง รายงานผลการอบรมกิจกรรมการส่งเสริมด้านการพัฒนาองค์กร
จัดทำโดย Agile Organization Management

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
Office of the Consumer Protection Board (OCPB)

กลมุ่ พฒั โปนารระง่ บใบสบรทหิ นัารสสมานยั ักงใานสค่ใณจะผกรบู้ รมรกโิ าภรคคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค

คำนำ ๓

คำนำ

สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี สานักงาน ก.พ.ร. ได้จัดการอบรมกิจกรรมการส่งเสริม
ดา้ นการพฒั นาองคก์ ร Agile Organization Management การพัฒนาองคก์ รสยู่ คุ New Normal ขบั เคลื่อนองค์กร
ด้วยข้อมูล มุ่งหน้าสู่เป้าหมายใหม่ได้อย่างย่ังยืน ผ่านการเสวนาแลกเปล่ียนประสบการณ์ระหว่างวิทยากร
ผทู้ รงคุณวุฒแิ ละผบู้ ริหารจากหนว่ ยงานต่าง ๆ เพื่อม่งุ สู่การปรบั บทบาทของผู้นาต่อ การเปลย่ี นแปลงองคก์ รและ
การเผชิญกับสถานการณ์ที่คับขัน ความเข้าใจผิดต่อการพัฒนาองค์กรและการใช้เทคโนโลยี และหลักการ
ขน้ั ตอน และตวั อย่างการใช้เคร่ืองมือการพัฒนาองค์กรแบบ Agile

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร จึงได้ส่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมการฝึกอบรมคือ นายวายุ จินดาพล นักวิเคราะห์
นโยบายและแผนปฏิบัติการ เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวในวันท่ี 16 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เวลา 9.30 – 12.00 น.
แบบออนไลน์ผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (โปรแกรม Zoom Meeting)

นำยวำยุ จินดำพล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค

กลุม่ พฒั นาระบบบริหาร สานักงานคณะกรรมการค้มุ ครองผบู้ ริโภค

๔ New Toolkit พชิ ิตองค์การสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)

สำรบัญ

หนา้
คำนำ .................................................................................................................................................................. ๓
สำรบญั ............................................................................................................................................................... ๔
สำรบญั รูปภำพ .................................................................................................................................................. ๕
๑. การเผชญิ กบั สถานการณท์ ี่คบั ขนั และบทบาทผ้นู าตอ่ การปรับเปลี่ยนองค์กร............................................... ๗
๒. ความเข้าใจผิดในการพัฒนาองค์กรดจิ ทิ ลั ...................................................................................................๑๐
๓. หลกั การ ขน้ั ตอน และตวั อย่างการใช้เครื่องมือการพฒั นาองค์กรแบบ Agile.............................................๑๑
๔. การทา Workshop โดยใชเ้ คร่ืองมือ Vision Builder.................................................................................๑๓
เอกสำรอำ้ งองิ ..................................................................................................................................................๒๒

กลุ่มพฒั นาระบบบริหาร สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค

สำรบญั รูปภำพ ๕

สำรบญั รปู ภำพ

รูปที่ 1 ความท้าทายในยุคปจั จุบัน.................................................................................................................... ๗
รูปที่ 2 10 Soft Skills ทักษะที่ทกุ คนควรมใี นอนาคต (ฉบับลา่ สุดปี 2021).................................................... ๘
รูปที่ 3 พรี ะมดิ ประชากรของประเทศไทยจากผลการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2563
(ดา้ นบน) และ 2583 (ลา่ งล่าง) ......................................................................................................................... ๙
รูปที่ 4 ขนั้ ตอน Agile Organization Management เพื่อการพัฒนาอย่างย่งั ยืน.........................................๑๑
รูปที่ 5 แนวทางการระดมสมองหาวิสยั ทศั น์ของโครงการโดยใชเ้ ครือ่ งมอื Vision Builder...........................๑๓

กลุ่มพฒั นาระบบบริหาร สานักงานคณะกรรมการค้มุ ครองผบู้ ริโภค

๖ New Toolkit พชิ ติ องคก์ ารสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)

สำรบญั ตำรำง

ตำรำงท่ี ๑ การระดมความคิดดา้ นสภาพสังคม สภาพแวดล้อมต่อ “อนั ตรายจากกล่องส่มุ ทแี่ ฝงการชงิ โชค” ..........๑๓
ตำรำงที่ ๒ การระดมความคดิ ด้านทศิ ทางโลก ทศิ ทางประเทศ “อนั ตรายจากกล่องส่มุ ทแี่ ฝงการการชิงโชค”

......................................................................................................................................................๑๔
ตำรำงท่ี ๓ การระดมความคิดดา้ นความต้องการของตลาดและสภาพเศรษฐกิจ “อันตรายจากกลอ่ งสุ่มทแ่ี ฝง

การชิงโชค” ...................................................................................................................................๑๕
ตำรำงท่ี ๔ การระดมความคิดดา้ นกฎหมายและระเบยี บ “อนั ตรายจากกลอ่ งสมุ่ ทแี่ ฝงการชงิ โชค”..............๑๕
ตำรำงท่ี ๕ การระดมความคดิ ด้านทกั ษะของคนทต่ี อ้ งการ “อันตรายจากกลอ่ งสุ่มทแ่ี ฝงการชิงโชค”...........๑๖
ตำรำงท่ี ๖ การระดมความคิดดา้ นตาแหนง่ บทบาท พฤตกิ รรมและวัฒนธรรมขององคก์ ร “อนั ตรายจาก

กลอ่ งสุ่มทแ่ี ฝงการชิงโชค” ............................................................................................................๑๖
ตำรำงท่ี ๗ การระดมความคดิ ด้านโอกาสทางธรุ กิจและนวตั กรรม Business & Innovation Opportunities

“อันตรายจากกล่องสมุ่ ท่แี ฝงการชิงโชค”......................................................................................๑๗
ตำรำงท่ี ๘ การระดมความคดิ ด้านทิศทางและการตรวจสอบ Directions & Monitoring “อันตรายจากกลอ่ ง

สุ่มทแี่ ฝงการชงิ โชค” .....................................................................................................................๑๙
ตำรำงที่ ๙ การระดมความคิดดา้ นการตอ้ งการกาลงั พลหรอื ไมจ่ าเป็น Required Manned & Un-Manned

“อนั ตรายจากกล่องสุ่มท่ีแฝงการชิงโชค”......................................................................................๑๙
ตำรำงที่ ๑๐ การระดมความคดิ ด้านตาแหนง่ ท่ตี อ้ งการ บทบาท และพนั ธมิตรหลกั Required Positions,

Roles & Key Partners “อนั ตรายจากกลอ่ งสมุ่ ทีแ่ ฝงการชิงโชค”..............................................๒๐
ตำรำงที่ ๑๑ วสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ ของโครงการโดยใชเ้ ครอื่ งมือ Vision Builder..........................................๒๑

กลุม่ พัฒนาระบบบริหาร สานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผ้บู รโิ ภค

๑. กำรเผชิญกบั สถำนกำรณ์ทีค่ ับขนั และบทบำทผนู้ ำตอ่ กำรปรบั เปลย่ี นองค์กร ๗

ผลกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรม Agile Organization Management

๑. กำรเผชญิ กับสถำนกำรณ์ทค่ี ับขนั และบทบำทผู้นำต่อกำรปรับเปล่ยี นองค์กร

กำรเผชิญกบั สถำนกำรณท์ ่ีคบั ขัน นั้นเกิดจาก “สภาวะแวดล้อมในการดาเนินงานของโลกยุคปจั จุบัน
มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา รวดเร็ว และยากจะคาดการณ์” หรือ VUCA ซ่ึงย่อมาจาก (1) Volatility
(ความผันผวน) เช่น ความผันผวนของราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ค่าเงิน และ Disruptive Technology
(2) Uncertainty (ความไม่แน่นอน) เช่น ยอดขายไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หรือไม่โตในอัตราเดียวกับในอดีต
(3) Complexity (ความสลับซับซ้อน) เช่น รสนิยม ความต้องการ และพฤติกรรมผู้บริโภคซับซ้อนมากขึ้น
รวมถึงไร้ระเบียบแบบแผน และ (4) Ambiguity (ความคลุมเครือ) เช่น รถยนต์ไฟฟ้า บางคนมองว่าจะมา
ทดแทนรถยนต์ใช้ น้ามัน บางคนบอกว่าไม่มีทาง เป็นต้น [1] อ.ดนัยรัฐ ธนบดีธรรมจารี กล่าวถึงประเด็น
ความท้าทายในยุคปัจจุบนั ไดแ้ ก่ ลูกค้าหรือผู้รับบริการมีความตอ้ งการสูงข้ึนตลอดเวลา กฎระเบียบ กฎหมาย
และบทลงโทษหนกั ข้ึน รว่ มดว้ ยความไมแ่ น่นอนของวกิ ฤติโลก ทัง้ ภยั ธรรมชาติ และ Disruptive Technology
และปัญหาการเตรยี มความพร้อมด้านคน และทักษะใหม่ ๆ (รปู ที่ 1) [2]

รูปที่ 1 ประเดน็ ความทา้ ทายในยคุ ปัจจบุ ัน
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นว่าสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ตอ้ งเผชญิ กับความท้าทายต่าง ๆ
ได้แก่ ความต้องการของผู้ร้องทุกข์ฯ ที่สูงขึ้น [3] ในการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ ไม่ว่าจะเป็นการแก้ไขปัญหา
ให้สาเร็จภายในระยะเวลาที่รวดเร็ว การติดตามสถานะเรื่องร้องทุกข์ ส่วนผู้ประกอบธุรกิจต้องการอานวย
ความสะดวกในด้านการจดทะเบียนขายตรงและตลาดแบบตรง นอกจากน้ี สคบ. ต้องเผชิญกับกฎหมาย
กฎเกณฑ์และระเบียบท่ีเข้มข้นขึ้นของภาครัฐตามหน่วยงานที่คอยกากับดูแลภายใต้มาตรฐานต่าง ๆ ได้แก่
การดาเนินการภายใต้ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
(Personal Data Protection Act: PDPA) รวมท้ัง พระราชบัญญัติที่ สคบ. ต้องดาเนินการอย่างเคร่งครัด คือ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 เป็นต้น
ทั้งนี้ยังต้องเผชิญกับความไม่แน่นอนจากปัจจัยภายนอก ได้แก่ การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019

กลมุ่ พฒั นาระบบบรหิ าร สานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผ้บู ริโภค

๘ New Toolkit พชิ ิตองค์การสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)
(COVID-19) นาไปสู่สถานการณ์ การทางานที่บ้าน Work From Home การก้าวเข้าสู่พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(e-Commerce) นาไปสู่สถานการณ์ การทาธุรกรรมที่เอาเปรียบผู้บริโภคในหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น
การได้รับสินค้าไม่ตรงตามโฆษณา ความปลอดภัยทางด้านข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลบัตรเครดิต การส่งของ
ท่ีลา่ ชา้ และไมเ่ หน็ สินค้าก่อนสัง่ ซอื้ หรือส่งั จอง [4] เป็นต้น
ดังนั้น สคบ. ต้องเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรบุคคลที่ประกอบด้วยทักษะเฉพาะทางท่ีจาเป็น
สาหรับวิชาชีพ ซึ่งสามารถวัดประเมินผลได้อย่างเป็นรูปธรรม (Hard skills) ได้แก่ ความรู้ด้านกฎหมาย
ด้านการบัญชี ด้านการวิเคราะห์วางแผน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น และทักษะหรือความสามารถ
เฉพาะบุคคลซ่ึงใช้เคร่ืองมือวัดหรือประเมินเป็นระดับคะแนนได้ยาก (Soft Skills) ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์
การบริหารเวลา การปรับตวั การควบคมุ อารมณ์ เปน็ ต้น [5]

รูปที่ 2 10 Soft Skills ทักษะทท่ี ุกคนควรมีในอนาคต (ฉบับลา่ สดุ ปี 2021)
บทบำทผู้นำต่อกำรปรับเปลี่ยนองค์กร ผู้นาต้องปรับเปล่ียนให้รวดเร็วและอย่ายึดติดความสาเร็จใน
อดีตโดยใช้วิธีการทางานแบบเดิม ๆ ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มกาลังคน การเพิ่มงบประมาณอาจจะไม่ทาให้
ผลผลิตเพมิ่ ขึ้นตามไปดว้ ยเมื่อก้าวเขา้ สู่ยุคดิจทิ ัล ดงั น้นั ผ้นู าต้องปรับบทบาทสู่การทางานภายใตก้ ารขาดแคลน
งบประมาณ ขาดแคลนอัตรากาลัง รวมท้ังขาดแคลนเทคโนโลยี และคิดถึงสถานการณ์ท่ีองค์กรจะต้องเจอ
ในอนาคต เช่น การเข้ามาของยานยนต์ไฟฟ้า [6] การเข้าสู่ยุคสังคมผู้สูงวัยของไทย (รูปท่ี 3) [7] การเข้ามาของ
Metaverse [8] เป็นต้น นาไปสู่การคาดการณ์ผลกระทบที่จะเกิดข้ึน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพขององค์กรภายใต้
ทรพั ยากรทีจ่ ากัด

กลุม่ พฒั นาระบบบรหิ าร สานักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค

๑. กำรเผชญิ กบั สถำนกำรณ์ทคี่ ับขนั และบทบำทผู้นำต่อกำรปรับเปลยี่ นองค์กร ๙

รูปท่ี 3 พีระมิดประชากรของประเทศไทยจากผลการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2563
(ดา้ นบน) และ พ.ศ. 2583 (ลา่ งล่าง)

กลุ่มพัฒนาระบบบรหิ าร สานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค

๑๐ New Toolkit พชิ ิตองคก์ ารสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)

๒. ควำมเข้ำใจผดิ ในกำรพัฒนำองคก์ รดจิ ิทลั

ภายใต้การพัฒนาองค์กรของตนให้มุ่งสู่องค์กรดิจิทัล ให้สนับสนุน ขับเคล่ือน ทบทวนปรับปรุง
กระบวนงานให้รองรับการเปล่ียนแปลงด้านดิจิทัล (Digital Transformation) ท่ีผ่านการเช่ือมโยงยุทธศาสตร์
ในระดับต่าง ๆ ต้ังแต่ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ โดยเฉพาะด้านท่ี ๒๐
ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพของรัฐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๓
โดยเฉพาะองค์ประกอบท่ี ๑ เศรษฐกิจมูลค่าสูงท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม (High Value-Added Economy) [9]
และแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ท้ัง 4 ยุทธศาสตร์ [10] ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในการ
มุ่งสู่องค์กรดิจทิ ัลของหนว่ ยงานภาครฐั

ควำมเข้ำใจผิดในกำรพัฒนำองค์กรดิจิทัล การทางานในยุคดิจิทัลหรือการสร้างนวัตกรรมไม่ได้เป็น
เรื่องของการใช้เทคโนโลยีเท่านั้น ตามการจาแนกนวัตกรรมภาครัฐ [11] การทางานในยุคดิจิทัลผ่านการใช้
นวัตกรรมน้ัน ครอบคลุมถึงการใช้ความคิดใหม่ ๆ (Conceptual Innovation) นโยบายใหม่ ๆ (Policy
Innovation) ซึ่งไม่จาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีหรือถูกจากัดกรอบตามทิศทาง (Trend) หรือคาหรือวลีที่
ทันสมัย (Buzzwords) เช่น Big Data Artificial Intelligence Chat-bot และแผนกไอทีมีหน้าท่ีเป็นฝ่าย
สนับสนุนการนาองค์กรสู่ดิจิทัล ส่วนการทางานเพ่ือให้มุ่งสู่ดิจิทัลน้ันเป็นหน้าที่ของหน่วยงานต้องขับเคล่ือน
ไปพร้อม ๆ กัน ท้ังคนรุ่นใหม่และคนรุ่นเก่า ซึ่งต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Kaizen หรือ Continuous
Improvement) ตามแบบ PDCA (Plan-Do-Check-Act) โดยกาหนดเปา้ หมายขององค์กรใหช้ ดั เจน

กำรปรับเปล่ียนบทบำทผู้นำในกำรพัฒนำองค์กรดิจิทัล มิใช้การแก้ปัญหา (Paint point) ในอดีต
แต่ต้องเป็นการแก้ปัญหาที่กาลังจะเกิดข้ึนในอนาคต ซึ่งผู้นายุคใหม่ต้องตัดสินใจทางานภายใต้สภาวะวิกฤต
ให้ทันต่อสถานการณ์ ประกอบด้วย การเปิดกว้างทางความคิดเห็นรับฟังคนรอบข้าง ภายใต้หลักเกณฑ์
กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) [12] จากสมมุติฐานท่ีว่า “Idea ท่ีดีจะมาจาก Idea
ปริมาณมาก” ผู้นายุคใหม่ต้องยึดหลักว่าไม่ยึดหลัก เพราะหลักการทางานในอดีตไม่อาจใช้งานกับการ
เปล่ียนแปลงในอนาคตได้ ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มอัตรากาลังจะเพ่ิมผลงานนาไปสู่การเพ่ิมผลผลิต ดังนั้น
การรู้ถึงขีดจากัดขององค์กร (Know your Limit) ไม่ใช้การทางานแบบไม่มีขีดจากัด (No Limit) และคานึงถึง
ทรัพยากรท่ีมีผ่านการคาดการณ์ความสาเร็จแบบสมเหตุสมผล นาไปสู่การถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นระบบ
ไมย่ ดึ ตดิ กบั ประสบการณ์ กอ่ ให้เกิดความยั่งยนื ในองคก์ ร

องค์กรที่ยั่งยืน องค์กรต้องเปลี่ยนแปลงตามสภาวะแวดล้อมได้อย่างทันท่วงที รูปแบบ ระบบ รวมถึง
เครื่องมือในการดาเนินงานก็มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้น การรู้ขีดจากัดของหน่วยงานจะนาไปสู่
การวดั และการประเมินทีท่ าไดจ้ รงิ “องคก์ รใดหยดุ นิง่ องคก์ รนนั้ กาลงั กา้ วถอยหลงั ”

กลุ่มพัฒนาระบบบรหิ าร สานักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค

๓. หลกั กำร ขั้นตอน และตัวอย่ำงกำรใช้เคร่อื งมอื กำรพฒั นำองค์กรแบบ Agile ๑๑

๓. หลักกำร ขัน้ ตอน และตัวอยำ่ งกำรใช้เครื่องมือกำรพัฒนำองคก์ รแบบ Agile

หลักกำร Agile หมายถึง ความคล่องแคล่ว ว่องไว กระฉับกระเฉง ดังนั้น องค์กรแบบ Agile
Organization คือการทางานแบบท่ีลดขั้นตอนที่ยุ่งยากและลดความไม่จาเป็นของงานเอกสารลง และหันมา
ให้ความสาคัญกับการทางานและการส่ือสารกันภายในทีม กล้าทดลองทาสิ่งใหม่ ๆ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์หรือ
ผลลัพธ์ท่ีดีที่สุดโดยไม่จาเป็นต้องทาทุกอย่างตามข้ันบันไดเหมือนวิธีการทางานแบบเก่า นอกจากนี้ การท่ีคน
ในองค์กรรู้จักเรียนรู้และปรับตัวอย่างรวดเร็ว ซ่ึงจะเอ้ือต่อการพัฒนาและต่อยอดนวัตกรรมเป็นอย่างมาก [13]
สามารถถอดบทเรียนสกู่ ารพัฒนาต่อเนื่องเพ่อื ตอบความตอ้ งการใหม่ ๆ ซึง่ หลักสาคญั ของ Agile Organization
Management คือ ปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลง ส่ือสารกันอย่ างคล่องตัว และถอดบทเรียนรู้
สู่การพฒั นาต่อเน่อื ง

ขั้นตอน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นว่า Agile Organization Management ของ สคบ. ต้องเร่ิมจากการ
ปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงผ่านการคดิ ค้นหาความเสยี่ งที่หนว่ ยงานตอ้ งประสบในอนาคตไมใ่ ชก้ ารแก้ไขปญั หา
จากอดีต ได้แก่ การหลอกลวงทาธุรกรรมในโลกเสมือน (Metaverse) การเคลมประกันยานยนต์ไฟฟ้า
(Electric Vehicle) การร้องทุกข์ของผู้บริโภคในสังคมสูงวัย (Aging Society) เป็นต้น ผ่านการส่ือสาร
อย่างคล่องตัวระหว่างกัน ได้แก่ การเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์ (YouTube Line TikTok) การประชุม
ออนไลน์ (VDO Conference) ระดมความคิดการสร้างวิสัยทัศน์ผ่านโปรแกรมออนไลน์ Vision Builder [14]
หรือระบบบริหารองค์กรผ่านข้อมูลข่าวสารและการวิจัย เป็นต้น นาไปการสู่ถอดบทเรียนและการพัฒนาต่อเน่ือง
กาหนดตัวช้ีวัดตามสภาพความเป็นจริง (Know your limit) บริหารภายใต้ทรัพยากรที่จากัดและพัฒนา
อย่างตอ่ เน่อื งในอนาคต

ตัวอย่ำงกำรใช้เครื่องมือกำรพัฒนำองค์กร หน่วยงานต้องใช้ข้อมูลในการตัดสินใจประกอบด้วย
ขั้นตอนแสดงดงั รปู ท่ี 1 [2]

รูปที่ 4 ขัน้ ตอน Agile Organization Management เพือ่ การพัฒนาอย่างย่งั ยืน

กลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร สานักงานคณะกรรมการค้มุ ครองผบู้ ริโภค

๑๒ New Toolkit พิชิตองคก์ ารสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)
1. Vision Builder คือเคร่ืองมือท่ีช่วยในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและกาหนดทิศทางการทางาน

แต่ละด้านอย่างมีสมดุลภายใต้สภาพแวดล้อมใหม่ที่ไม่นิ่ง มุ่งความยังยืนโดยเน้นความสมดุลในการขับเคล่ือน
คณุ คา่ รว่ มกนั สามารถใชไ้ ด้ทงั้ ในระดับโครงการและในระดบั องค์กร

2. Enterprise Blueprint หรือ พมิ พ์เขียวองค์กร คือแผนผังแสดงหน่วยองค์ประกอบความสามารถต่าง ๆ
ขององค์กรออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อทาให้ผู้บริหารและทีมงานเห็นภาพขององค์กรตรงกันสู่การบริหารจัดการ
อยา่ งเป็นระบบ มเี อกภาพในการพฒั นาองค์กรสู่ความย่ังยนื ซง่ึ สามารถใชไ้ ด้ทงั้ ในระดับโครงการและในระดับองคก์ ร

3. DT Worksheet (Design & Track) เคร่ืองมือแสดงรายละเอียดและวิเคราะห์ของส่วนงานท่ีจะทาให้
บรรลุภารกิจงานหลักเพ่ือการวางแผนการดาเนินงาน และเกิดประสิทธิภาพสูงสุดจากการกาหนดเทคโนโลยี
ใหส้ มดลุ กบั ปัจจัยรอบด้าน

4. Road map/ Phasing การกาหนดระยะเวลาความสาเรจ็ ผ่านการ Feedback ใช้ Wisdom Builder

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค

๔. กำรทำ Workshop โดยใช้เคร่ืองมอื Vision Builder ๑๓

๔. กำรทำ Workshop โดยใชเ้ ครื่องมอื Vision Builder

ในช่วงหน่ึงของการเสวนา อ.ดนัยรัฐ ธนบดีธรรมจารี ได้ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทดลองหาวิสัยทัศน์ของ
โครงการภายหลังการเปิดประเทศหลังยุคโควิด-19 ผ่านการระดมสมองด้วยระบบออนไลน์ โดยมีขั้นตอน
แสดงดงั รูปที่ 5 ซ่งึ มลี าดบั ในการระดมความคิด ดังน้ี (1) การระดมความคิดด้านสภาพสังคม สภาพแวดลอ้ มต่อ
(2) การระดมความด้านถึงทิศทางโลก ทิศทางประเทศ (3) การระดมความคิดดา้ นความต้องการของตลาดและ
สภาพเศรษฐกิจ (4) การระดมความคิดด้านกฎหมายและระเบียบ (5) การระดมความคิดด้านทักษะของคน
ทีต่ อ้ งการ และ (6) การระดมความคดิ ดา้ นตาแหนง่ บทบาท พฤติกรรมและวฒั นธรรมขององคก์ ร

รูปที่ 5 แนวทางการระดมสมองหาวิสัยทศั น์ของโครงการโดยใชเ้ ครอื่ งมือ Vision Builder
ภายหลังการเข้าอบรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจึงมีแนวคิดนาเอาเครื่องมือ Vision Builder มาทดลองการ
กาหนดหาวิสัยทัศน์ของ สคบ. โดยผ่านการระดมสมองของบุคลากรกลุ่มพัฒนาระบบบริหารจานวนทั้ง 7 คน
ในหวั ขอ้ “อนั ตรายจากกลอ่ งสมุ่ ที่แฝงการการชงิ โชค”
ตำรำงท่ี ๑ การระดมความคิดด้านสภาพสงั คม สภาพแวดล้อมต่อ “อันตรายจากกล่องสุ่มทแ่ี ฝงการชิงโชค”

สภำพสังคม สภำพแวดลอ้ ม
1. คนไทยชอบเส่ียงโชคและเล่นการพนัน
2. มกี ารเลยี นแบบ (พฤติกรรมเลยี นแบบ)
3. ผ้บู ริโภคไมไ่ ดท้ ราบราคาท่แี ทจ้ ริงของสินคา้ ขาดภมู คิ ุ้มกนั เรื่องความคุ้มค่ากับราคา
4. ความเหลอ่ื มล้าระหว่างผู้ประกอบธรุ กิจกบั ผ้บู รโิ ภค
5. ผปู้ ระกอบธุรกจิ คนเหน็ แกต่ วั มากขน้ึ
6. ผูบ้ ริโภคไมร่ ู้อะไรจริงหรอื ปลอม

กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร สานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ ริโภค

๑๔ New Toolkit พชิ ิตองค์การสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)

7. คนตดิ มอื ถอื มากขนึ้
8. ความแตกตา่ งระหว่าง Generation
9. การเขา้ มาของ Internet of Thing และการเข้ามาของสกลุ เงินดจิ ิทัล
10. สังคมไร้ระเบียบวนิ ัย
11. รายไดค้ นในประเทศน้อยกว่ารายจ่าย
12. ความเหนอื่ ยล้าในการทางาน
13. สถาบันครอบครวั ไมเ่ ขม้ แขง็
14. เสรภี าพในการแสดงออก
15. ผใู้ ช้กฎหมายใชช้ อ่ งว่างกฎหมายในการหาประโยชน์
16. ระบบความยตุ ิธรรมใช้ไมไ่ ด้กับคนรวย

ตำรำงที่ ๒ การระดมความคิดด้านทศิ ทางโลก ทศิ ทางประเทศ “อนั ตรายจากกลอ่ งสุ่มที่แฝงการชิงโชค”

ทศิ ทำงโลก ทศิ ทำงประเทศ

1. สงครามการคา้ ยุค e-Commerce
2. New Normal และ Never Normal
3. มีเทคโนโลยเี สมือนจริงเข้ามารองรับ Metaverse
4. เป้าหมายการพัฒนาอยา่ งย่งั ยืน SDGs
5. เงินดิจิทัล เลกิ ใช้ธนบตั ร
6. ยคุ AI
7. การขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ผ่านการใชเ้ ทคโนโลยี
8. Covid-19
9. การเปิดเสรที างการค้าในธุรกิจบรกิ ารบางประเภท
10. Thailand 4.0
11. แผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
12. แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (17) ความเสมอภาคและหลกั ประกันทางสังคม
และ (22) กฎหมายและกระบวนการยตุ ิธรรม
13. แผนการปฏริ ปู ประเทศ ด้านสังคม (ลดความเหล่ือมลา้ ในการเข้าถงึ การค้มุ ครอง
ทางสงั คม) และ ดา้ นกฎหมาย (ยกเลิกหรือปรบั ปรงุ กฎหมายให้ทนั สมยั )
14. การคมุ้ ครองผบู้ ริโภคอาเซยี น

กลุม่ พัฒนาระบบบรหิ าร สานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค

๔. กำรทำ Workshop โดยใช้เคร่ืองมอื Vision Builder ๑๕

ตำรำงท่ี ๓ การระดมความคิดด้านความต้องการของตลาดและสภาพเศรษฐกิจ “อันตรายจากกล่องสุ่มท่ีแฝง
การชงิ โชค”

ควำมต้องกำรของตลำดและสภำพเศรษฐกจิ

1. กระแสของการใส่ใจเรื่องสขุ ภาพ ความสวยความงาม
2. ความสะดวกสบาย มีบรกิ ารทดี่ ี
3. ซ้ือของออนไลนเ์ ปน็ หลัก และความรวดเร็วในการได้รับการบริการ
4. ส่ือสารรวดเร็ว ตอบสนองความตอ้ งการแบบทันที
5. ปลอดภยั จากโควดิ
6. บรกิ ารแปลกใหม่
7. ต้องการความรวดเร็ว และความเชอ่ื มนั่ ด้านธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์
8. การตอบสนองมาถงึ หนา้ บ้าน
9. ได้ของมคี ณุ ภาพ ราคาสมเหตุสมผล
10. การรบั ประกันสินคา้
11. ตน้ ทนุ ต่า ราคาถูก
12. บริการทต่ี รงกบั ความตอ้ งการลกู ค้า

ตำรำงที่ ๔ การระดมความคิดด้านกฎหมายและระเบยี บ “อนั ตรายจากกล่องสมุ่ ท่แี ฝงการชงิ โชค”

กฎหมำยและระเบยี บ

1. ความปลอดภัยของขอ้ มลู ส่วนบคุ คล PDPA
2. มาตรฐานวชิ าชีพ
3. ระบบการกากบั มาตรฐาน
4. การบังคับใชท้ รี่ ว่ มกนั ระหวา่ งประเทศมากข้ึน
5. มาตรฐานสากล ISO UNTAD ARSEAN
6. กฎหมายภาษอี ากร
7. กฎหมายการพนนั
8. ระเบียบการควบคมุ ฉลาก โฆษณา
9. กฎหมายฟอกเงนิ
10. พ.ร.บ.ค้มุ ครองผู้บริโภค
11. พ.ร.บ. ขายตรงและตลาดแบบตรง
12. ประมวลกฎหมายอาญา ฐานฉอ้ โกง
13. พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

กล่มุ พฒั นาระบบบรหิ าร สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค

๑๖ New Toolkit พชิ ติ องคก์ ารสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)

ตำรำงท่ี ๕ การระดมความคิดด้านทกั ษะของคนท่ีตอ้ งการ “อนั ตรายจากกลอ่ งสุ่มทแี่ ฝงการการชงิ โชค”

ทกั ษะของคนท่ีตอ้ งกำร

1. ทักษะการสอื่ สาร
2. Big Data และการวิเคราะหข์ ้อมลู
3. ทักษะการนาเสนอ เขา้ ใจงา่ ย
4. ทักษะความแม่นยาด้านกฎหมาย
5. การเจรจาตอ่ รอง
6. Service mind
7. EQ
8. Soft-skill
9. การวิเคราะหบ์ ุคลิกลักษณะของผู้บริโภค ผปู้ ระกอบการ
10. ปรบั ตัว เรยี นรเู้ ร็ว
11. จิตวทิ ยา
12. การผสมผสานโลกเสมือนกับโลกจรงิ Metaverse

ตำรำงที่ ๖ การระดมความคิดดา้ นตาแหน่ง บทบาท พฤติกรรมและวัฒนธรรมขององคก์ ร “อันตรายจากกล่องสุ่ม
ทแ่ี ฝงการชงิ โชค”

ตำแหน่ง บทบำท พฤตกิ รรมและวฒั นธรรมขององคก์ ร

1. การคมุ้ ครองผูบ้ ริโภคในดา้ นโฆษณา ฉลาก สัญญา และธุรกจิ ขายตรงและตลาดแบบตรง
2. ควบคุมดแู ล จับกุม และมติดาเนนิ คดผี ปู้ ระกอบธุรกจิ ทเี่ อาเปรยี บผูบ้ ริโภค
3. ดาเนนิ การอยา่ งโปร่งใส
4. การรับฟังความคิดเห็นของผอู้ น่ื และถา่ ยทอดความร้ใู หผ้ ูอ้ ื่น
5. เขา้ อกเข้าใจผู้ประกอบการและผู้บริโภค
6. พฒั นาองค์กร พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนื่อง
7. ใช้เทคโนโลยีในการดาเนนิ การ
8. รบั เรอ่ื งราวรอ้ งทุกข์ จากผบู้ ริโภคท่ีเดือดร้อน
9. ปรบั ปรงุ พัฒนากฎหมายดา้ นการคุ้มครองผู้บรโิ ภค
10. เสริมสรา้ งองคค์ วามร้ดู า้ นการคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภคให้แก่ประชาชน
11. พัฒนาระบบและกลไกการคมุ้ ครองผู้บริโภค
12. นาความเข้มแข็งสผู่ ้บู รโิ ภค
13. การดาเนินการเกย่ี วกับสินคา้ ท่ีอาจเปน็ อนั ตราย
14. ดาเนินคดแี ทนผู้บรโิ ภค

กลุ่มพัฒนาระบบบรหิ าร สานักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค

๔. กำรทำ Workshop โดยใช้เครื่องมือ Vision Builder ๑๗

ภายหลังจากการระดมความคิด ด้าน (1) การระดมความคิดด้านสภาพสังคม สภาพแวดล้อมต่อ
(2) การระดมความด้านถึงทิศทางโลก ทิศทางประเทศ (3) การระดมความคิดด้านความต้องการของตลาดและ
สภาพเศรษฐกิจ (4) การระดมความคิดด้านกฎหมายและระเบียบ (5) การระดมความคิดด้านทักษะของคนท่ี
ต้องการ และ (6) การระดมความคิดด้านตาแหน่ง บทบาท พฤติกรรมและวัฒนธรรมขององค์กร ในหัวข้อ
“อันตรายจากกล่องสุ่มที่แฝงการการชิงโชค” แล้วเสร็จ (สรุปไว้ดังรูปท่ี 6) บุคลากรกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
จานวนทั้ง 7 คน ต้องระดมความคิดด้าน (7) โอกาสทางธุรกิจและนวัตกรรม Business & Innovation
Opportunities (8) ทิศทางและการตรวจสอบ Directions & Monitoring (9) ต้องการกาลังพลหรือไม่จาเปน็
Required Manned & Un-Manned และ (10) ตาแหน่งท่ีต้องการ บทบาท และพันธมิตรหลัก Required
Positions, Roles & Key Partners
ตำรำงท่ี ๗ การระดมความคดิ ด้านโอกาสทางธุรกจิ และนวตั กรรม Business & Innovation Opportunities
“อนั ตรายจากกลอ่ งสมุ่ ทีแ่ ฝงการการชงิ โชค”

โอกำสทำงธุรกิจและนวตั กรรม
1. ระบบ Big Data ด้านการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค
2. การเช่อื มโยงขอ้ มูลกบั หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง
3. ระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นกฎหมาย
4. กฎหมายดา้ นการค้มุ ครองผ้บู รโิ ภค
5. ระบบรบั เร่อื งราวร้องทกุ ข์
6. ระบบตรวจสอบประวัตอิ าชญากรรม
7. ระบบ Chat-bot พป่ี กปอ้ ง
8. ระบบจดทะเบียนขายตรงและตลาดแบบตรง
9. เอกสารงานวจิ ัยดา้ นการค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภค

ดังน้ัน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถสรุปเป็นพันธกิจท่ี 1 ท่ีคานึงจากสภาพสังคม สภาพแวดล้อมและ
ความต้องการของตลาดและสภาพเศรษฐกิจ ได้ว่า “สร้างองค์ความรู้ ด้านราคา และการตัดสินใจในตลาด
e-commerce”

กล่มุ พัฒนาระบบบรหิ าร สานักงานคณะกรรมการค้มุ ครองผู้บรโิ ภค

๑๘ New Toolkit พิชิตองค์การสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)

รูปที่ 6 แนวทางการระดมสมองหาวสิ ยั ทัศน์ของโครงการโดย

กลุ่มพฒั นาระบบบรหิ าร สานักงา

ยใชเ้ ครื่องมือ Vision Builder ขอ้ (1) (2) (3) (4) (5) และ (6)

านคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค

๔. กำรทำ Workshop โดยใช้เคร่ืองมอื Vision Builder ๑๙

ตำรำงที่ ๘ การระดมความคิดด้านทศิ ทางและการตรวจสอบ Directions & Monitoring “อันตรายจากกลอ่ งสมุ่ ที่
แฝงการชิงโชค”

ทศิ ทำงและกำรตรวจสอบ

1. Dashboard
2. ตรวจสอบ/สอบถามความพงึ พอใจ
3. Online Tracking
4. Survey
5. Vote
6. KPI
7. การบนั ทึกขอ้ มูลในระบบ cloud
8. จานวนผู้ร้องทุกขเ์ ร่อื งกลอ่ งสุ่มท่ีแฝงการการชงิ โชค
9. จานวนยอดกด like จานวนยอด share จานวนยอด sub.
10. การตรวจสอบบัญชี
11. ผลประกอบการ ยอดขาย

ดงั นนั้ ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมสามารถสรปุ เปน็ พนั ธกจิ ท่ี 2 ทีค่ านงึ จากทิศทางโลก ทิศทางประเทศและ
กฎหมายและระเบียบไดว้ ่า “ยกระดับมาตรฐานธุรกิจ e-commerce ไทยสู่สากล”

ตำรำงที่ ๙ การระดมความคดิ ด้านการต้องการกาลงั พลหรอื ไม่จาเป็น Required Manned & Un-Manned
“อนั ตรายจากกลอ่ งสุม่ ทีแ่ ฝงการชงิ โชค”

กำรตอ้ งกำรกำลังพลหรือไมจ่ ำเปน็

1. Robotic
2. Data science
3. Data Analytics
4. Al
5. Chabot
6. Communication skill
7. IOT
8. Computer language
9. Cyber Security
10. Network
11. Data Governance

กลุ่มพัฒนาระบบบรหิ าร สานักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค

๒๐ New Toolkit พิชติ องค์การสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)

ดังนั้น ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถสรุปเป็นพันธกิจท่ี 3 ที่คานึงจากความต้องการของตลาดและ
สภาพเศรษฐกิจและทักษะของคนที่ต้องการได้ว่า “พัฒนาการทางานร่วมกันระหว่างบุคลากรและ
ปญั ญาประดษิ ฐ์ในยุคดิจทิ ัล”
ตำรำงท่ี ๑๐ การระดมความคิดด้านตาแหน่งที่ต้องการ บทบาท และพันธมิตรหลัก Required Positions,
Roles & Key Partners “อนั ตรายจากกล่องสุม่ ท่ีแฝงการการชงิ โชค”

ตำแหน่งที่ต้องกำร บทบำท และพันธมติ รหลัก
1. ควบคุมดแู ล จดทะเบียน ผปู้ ระกอบธรุ กจิ กรมธุรกิจการคา้
2. กากับดแู ลธรุ กจิ ดิจทิ ลั สานกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
3. พ.ร.บ.ว่าด้วยการพนนั กรมการปกครอง
4. รบั เรือ่ งราวร้องเรียนภมู ภิ าค ศนู ยด์ ารงธรรม
5. ฐานขอ้ มลู คดี กระทรวงยุตธิ รรม
6. ควบคุมดแู ลส่อื กสทช.
7. สอบสวนคดีพเิ ศษตามกฎหมาย DSI
8. ดาเนนิ การตามกฎหมายวา่ ดว้ ยราคาสินคา้ และบริการ กรมการคา้ ภายใน
9. มาตรฐานอาหารและยา อย.
10. ฐานขอ้ มูลคดี ตวั บทกฎหมาย สานกั งานอยั การ
11. มาตรฐานสินคา้ มอก.

ดังนั้น ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถสรุปเป็นพันธกิจที่ 4 ท่ีคานึงจากกฎหมายและระเบียบและตาแหน่ง
บทบาท พฤติกรรมและวฒั นธรรมขององค์กรได้ว่า “บรู ณาการการทางานด้านธุรกจิ e-Commerce”

ภายหลังจากการระดมความคิดของบคุ ลากรกลุ่มพัฒนาระบบบริหารจานวนท้ัง 7 คน ดา้ น (7) โอกาส
ทางธุรกิจและนวัตกรรม Business & Innovation Opportunities (8) ทิศทางและการตรวจสอบ Directions &
Monitoring (9) การต้องการกาลังพลหรือไม่จาเป็น Required Manned & Un-Manned และ (10) ตาแหน่ง
ที่ต้องการ บทบาท และพันธมิตรหลัก Required Positions, Roles & Key Partners จากหัวข้อ “อันตราย
จากกล่องสุ่มที่แฝงการการชิงโชค” แล้วเสร็จ สามารถนาเอาข้อมูลดังกล่าวมากาหนดวิสัยทัศน์ของโครงการ
ได้วา่ “พฒั นามาตรฐานธรุ กจิ e-Commerce ไทยส่สู ากล นาไปสกู่ ารบรโิ ภคอย่างย่งั ยนื ” (สรปุ ไว้ดงั รูปที่ 7)

กลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร สานกั งานคณะกรรมการค้มุ ครองผู้บรโิ ภค

ตำรำงท่ี ๑๑ วิสัยทัศนแ์ ละพันธกจิ ของโ

กล่มุ พฒั นาระบบบรหิ าร สานักงา

๔. กำรทำ Workshop โดยใชเ้ ครื่องมอื Vision Builder ๒๑

โครงการโดยใชเ้ ครอื่ งมือ Vision Builder

านคณะกรรมการคมุ้ ครองผ้บู ริโภค

๒๒ New Toolkit พชิ ติ องค์การสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)

เอกสำรอ้ำงองิ

1. ดร.รักษ์ วรกิจโภคาทร ธนาคารเพอื่ การสง่ ออกและนาเขา้ แห่งประเทศไทย, การบรหิ ารคน … บนโลก
แห่งความผนั ผวน Managing Human Resources in a VUCA World
(https://ocsc.go.th/sites/default/files/attachment/page/1.vuca_drrak_final.pdf).
7 กนั ยายน พ.ศ. 2561.

2. ดนัยรัฐ ธนบดธี รรมจาร สถาบนั ส่งเสรมิ การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองทดี่ ี สานกั งาน ก.พ.ร., Agile
Organization Management (https://www.igpthai.org/wp-
content/uploads/2021/06/001_Agile_Organization_v1099_Danairat_N.pdf). สบื คน้ เมื่อ
23 ธนั วาคม พ.ศ. 2564.

3. วายุ จนิ ดาพล กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค, รายงานวิจยั
ผลกระทบของพฤตกิ รรมผู้บรโิ ภคในยคุ ดิจิทลั ต่อการแก้ไขปัญหาเรอ่ื งรอ้ งทุกข์ ปี 2563 Effect of
customer behavior in the digital age on OCPB complains 2020 (Reported)
https://www.ocpb.go.th/download/article/article_20210429195831.pdf (Search at
2 ธนั วาคม พ.ศ. 2564).

4. สานักงานสถติ ิแห่งชาต,ิ ทิศทาง e – Commerce ไทย
(http://service.nso.go.th/nso/web/article/article_32.html), สบื คน้ เม่ือ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2564.

5. Short Recap, 10 Soft Skills ทักษะที่ทุกคนควรมีในอนาคต (ฉบับล่าสุดปี 2021)
(https://shortrecap.co/social-trend/soft-skills-ทักษะท่ที ุกคนควรม/ี ). สบื คน้ เม่อื 23 ธันวาคม พ.ศ. 2564.

6. กรงุ เทพธุรกจิ , รับกระแส “EV” ไทยพร้อมแค่ไหน กบั การมาถงึ ของ “รถยนต์ไฟฟ้า”
(https://www.bangkokbiznews.com/auto/968940). สืบคน้ เมือ่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2564.

7. สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ และสถาบนั วจิ ัยประชากรและสังคม
มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, รายงานการศกึ ษาผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงโครงสร้างประชากรและ
ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายตอ่ การพัฒนาประเทศจากผลการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย
(https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=9814). สงิ หาคม 2562.

8. The Standard Stan Up for the People, Metaverse กับความสาคัญในโลกอนาคตและโอกาส
การลงทนุ ในโลกเสมือนจริง (https://thestandard.co/metaverse-and-investment-
opportunities/). สืบคน้ เม่ือ 23 ธนั วาคม พ.ศ. 2564.

9. สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ, ยุทธศาสตร์ระดับต่าง ๆ ของไทย. สืบคน้ เมอื่
23 ธันวาคม พ.ศ. 2564.

10. สานกั งานพฒั นารัฐบาลดจิ ทิ ลั (องคก์ ารมหาชน), แผนพฒั นารฐั บาลดิจิทลั ของ ประเทศไทย พ.ศ.
2563-2565 (https://www.dga.or.th/policy-standard/policy-regulation/dga-019/dga-
024/dga-029/). สบื ค้นเมือ่ 23 ธนั วาคม พ.ศ. 2564.

กลุ่มพฒั นาระบบบรหิ าร สานกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค

เอกสำรอ้ำงอิง ๒๓

11. Atwise Consulting Company Limited, Innovation
(http://wise.co.th/wise/Presentations/Digital/Innovative_Organization_17_November_2
017.pdf). สืบค้นเมอื่ 23 ธนั วาคม พ.ศ. 2564.

12. Kolanya Apisontasombat (medium.com), สรุปความหมาย วิธกี าร และความรู้ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั
Design Thinking (https://medium.com/@Kolanya/สรุปความหมาย-วธิ กี าร-และความรู้ท่ี
เกยี่ วข้องกบั -design-thinking-8693bca52525). สบื คน้ เม่ือ 23 ธนั วาคม พ.ศ. 2564.

13. South East Asia Center (SEAC), การทางานแบบ Agile คืออะไร มบี ทบาทในการพลกิ องคก์ ร
อย่างไร (https://www.seasiacenter.com/th/insights/agile-organization-speed-up-your-
orgnization/). สบื ค้นเม่อื 23 ธันวาคม พ.ศ. 2564.

14. Software Quality Management Excellence Promotion Program (SQUAE), Agile
Enterprise Architecture (https://www.swpark.or.th/squae/agile_ea.php). สืบคน้ เมื่อ 23
ธนั วาคม พ.ศ. 2564.

กลุม่ พฒั นาระบบบริหาร สานักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผู้บรโิ ภค

๒๔ New Toolkit พิชติ องคก์ ารสมรรถนะสูง (PMQA ๔.๐)

กลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร สานกั งานคณะกรรมการค้มุ ครองผู้บรโิ ภค


Click to View FlipBook Version