The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับตั๋วเงิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirawan.nan, 2021-12-29 21:34:29

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับตั๋วเงิน

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับตั๋วเงิน

การบนั ทึกบัญชเี กีย่ วกบั ตวั๋ เงนิ และ
การแสดงบัญชีเกยี่ วกบั ตัว๋ เงินในงบการเงนิ

สาระการเรียนรู้

1. ความหมายและประเภทของตว๋ั เงนิ ทางบัญชี
2. การบันทึกบัญชเี กี่ยวกับตั๋วเงนิ
3. สมดุ ทะเบียนเก่ียวกับต๋วั เงนิ
4. การแสดงบัญชีเกี่ยวกบั ต๋ัวเงนิ ในงบการเงิน

ความหมาย และประเภทของตว๋ั เงินทางบัญชี
ความหมายของต๋วั เงนิ ทางบัญชี
ต๋ัวเงินทางบัญชี หมายถึง เอกสาร หลักฐานที่แสดงถึงการเป็นหน้ีระหว่าง
ลูกหนี้และเจ้าหนี้ ในวงการธุรกิจทั่วไป เช่น ธนาคาร บริษัทหรือหา้ งร้านทั่วไปจะใช้ต๋ัว
เงินเพ่ือชาระหนี้ เมื่อมีการซื้อขายสินค้าหรือบริการหรือสินทรัพย์อ่ืนเป็นเงินเชื่อ การ
กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินหรือ ธนาคาร และยังใช้ในการซ้ือขายระหว่างประเทศ
ตลอดจนการขอผัดผ่อนการชาระหน้ที ถ่ี ึงกาหนดชาระดว้ ย

ในทางบัญชี ต๋ัวเงิน หมายถึง เฉพาะตั๋วแลกเงินและต๋ัวสัญญาใช้เงินเท่าน้ัน
ส่วนเช็คจะเก่ยี วข้องกบั การบนั ทึกบญั ชีเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวนั

ความหมาย และประเภทของตวั๋ เงินทางบัญชี

ชนิดของต๋วั เงินทางบญั ชี
ตวั๋ เงนิ ทางบัญชี แบ่งเปน็ 2 ชนิด คือ
1. ตว๋ั เงินชนดิ มดี อกเบยี้ (Interest-Bearing Notes) เป็นต๋วั เงินท่ีมีอัตรา

ดอกเบ้ยี ระบุไว้ในตัว๋ เม่อื ครบกาหนดใช้เงนิ จะไดร้ ับหรอื จา่ ยเงนิ ตามจานวนเงนิ ท่ีระบไุ ว้
หนา้ ตว๋ั (Face Value) บวกดอกเบ้ียในอตั ราทก่ี าหนดตามอายุของต๋ัวเงนิ

2. ตว๋ั เงินชนิดไม่มดี อกเบ้ีย (Noninterest-Bearing Notes) เปน็ ตว๋ั เงนิ ทไ่ี ม่
ระบอุ ัตราดอกเบีย้ ไว้ในต๋ัว เมอ่ื ครบกาหนดใช้เงนิ จะได้รบั หรอื จ่ายเงนิ ตามจานวนเงนิ ทไ่ี ด้
ระบไุ วห้ นา้ ตัว๋ เทา่ น้ัน

ความหมาย และประเภทของตว๋ั เงินทางบญั ชี

ประเภทของตัว๋ เงนิ ทางบญั ชี

ต๋วั เงินทางบัญชี แบง่ เป็น 2 ประเภท คอื
1. ตั๋วเงนิ จา่ ย (Notes Payable)
2. ตั๋วเงนิ รับ (Notes Receivable)

1.ตั๋วเงนิ จา่ ย (Notes Payable)

ต๋ัวเงินจ่าย (Notes Payable) หมายถึง ต๋ัวแลกเงินท่ีกิจการเป็นผู้
รับรองหรือต๋ัวสัญญาใช้เงินที่กิจการเป็นผู้ออกเพื่อชาระค่าสินค้า บริการหรือชาระ
หน้ีให้แก่เจ้าหนี้ โดยท่ีกิจการ จะต้องจ่ายเงินตามตั๋วเม่ือถึงวันครบกาหนด ตั๋วเงิน
จ่ายนีถ้ อื เปน็ หน้ีสนิ หมุนเวยี นของกจิ การ ตว๋ั เงนิ จา่ ย แบง่ ได้ 3 ประเภท คือ

1. ตั๋วเงินจ่ายทางการค้า (Notes Payable-Trade) คือ ต๋ัวเงินท่ีออกให้
เพอื่ ชาระหน้ี คา่ ซอ้ื สนิ ค้าหรือบริการ

2. ตั๋วเงินจ่ายธนาคาร (Notes Payable-Bank) คือ ตั๋วเงินท่ีออกให้
ธนาคารเพอ่ื เปน็ หลักฐานในการกยู้ ืมเงิน

3. ตั๋วเงินจ่ายอื่นๆ (Notes Payable-Others) คือ ต๋ัวเงินที่ออกให้เจ้าหน้ี
เพื่อเป็น หลักฐานในการกยู้ มื เงิน หรอื ชาระหนี้อน่ื ๆ

2.ตวั๋ เงินรบั (Notes Receivable)

ต๋ัวเงินรบั (Notes Receivable) หมายถึง ตราสารทางกฎหมาย ท่ีแสดง
สิทธิที่จะได้รับ ชาระเงินตามจานวน เวลา และสถานที่ท่ีระบุไว้ในตั๋ว ตั๋วเงินรับแบ่ง
ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื

1. ตั๋วเงินรับการค้า (Notes Receivable-Trade) คือ ต๋ัวเงินรับท่ีได้จาก
การขายสินค้า หรอื บริการของกจิ การ

2. ตวั๋ เงินรบั อืน่ ๆ (Notes Receivable-Others) คอื ต๋ัวเงนิ รบั ท่ีได้จาก
การขายทด่ี นิ อาคารและอปุ กรณแ์ ละการใหพ้ นกั งานหรอื บรษิ ัทในเครือกยู้ ืมเงิน

การบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั ตว๋ั เงิน

การบันทกึ บัญชเี กีย่ วกับตวั๋ เงิน จะมีวธิ กี ารบันทกึ ทางดา้ นตั๋วเงินรับและตว๋ั เงนิ จา่ ย โดย แบ่งเป็น 2 ดา้ นคือ

1. การบนั ทกึ บญั ชีทางด้านผูจ้ ่ายเงิน (ด้านลกู หน)ี้
ในกรณีลูกหนี้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อชาระหนี้ให้แก่เจ้าหน้ี การบันทึกบัญชีจะต้องบันทึก ในวันที่ออกตั๋ว
และวันครบกาหนดชาระเงิน
แต่ในกรณีลูกหนี้ได้รับรองการจ่ายเงินในต๋ัวแลกเงินท่ีเจ้าหนี้เป็นผู้ส่ังจ่าย การบันทึกบัญชี จะต้องบันทึกใน
วันรับรองตว๋ั และวันครบกาหนดชาระเงนิ
ต๋วั เงินท่กี ิจการออกหรอื รับรองดังกล่าวขา้ งต้นนี้ เรยี กว่า “ตวั๋ เงินจา่ ย”

การบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกับตว๋ั เงินจา่ ย จะบันทกึ แยกเป็นกรณีตา่ งๆ ดงั น้ี
1. การออกตวั๋ เงนิ จา่ ย เมอ่ื กจิ การซื้อสินคา้ เปน็ เงนิ เชอ่ื

2. การออกตั๋วเงนิ จ่ายเพื่อชาระหน้ใี หเ้ จ้าหน้ี

3. การออกตั๋วเงนิ จา่ ยเพื่อซ้อื สนิ ทรพั ย์

4. การออกต๋วั เงินจา่ ยฉบับใหมแ่ ทนต๋วั เงนิ จา่ ยฉบบั เดมิ ท่คี รบกาหนด

5. การออกตั๋วเงนิ จา่ ยฉบบั ใหม่มมี ลู ค่าต๋ัวบางส่วน และส่วนท่เี หลือชาระเปน็ เงนิ สด
กรณนี ี้กจิ การไม่สามารถชาระหนีไ้ ดท้ ั้งหมด จึงขอผอ่ นผันเจ้าหนเี้ พ่อื ชาระหนี้ บางสว่ นพรอ้ มดอกเบ้ีย ส่วนที่

เหลอื ขอออกตวั๋ เงินฉบับใหม่ให้กบั เจา้ หนี้แทนฉบบั เดมิ

6. การบนั ทึกบญั ชีเกย่ี วกับการชาระเงินตามตั๋วเงินจ่ายเมอ่ื ต๋วั เงนิ ครบกาหนด
กรณเี ปน็ ต๋ัวเงนิ ชนดิ ไมม่ ีดอกเบ้ีย

7. การบนั ทึกบญั ชีเกย่ี วกับการชาระเงนิ ตามตว๋ั เงินจ่ายเมื่อต๋วั เงนิ ครบกาหนด
กรณเี ปน็ ต๋ัวเงินชนดิ มีดอกเบ้ีย

กรณีเป็นตวั๋ เงินชนดิ มีดอกเบี้ย
ตวั อย่าง 2.1 เม่ือวนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน นายประกอบได้ซ้อื สนิ คา้ จากนายประกจิ จานวน 10,000 บาท

โดยออกตั๋วสัญญาใชเ้ งนิ ชาระคา่ สินค้าให้นายประกิจในวนั เดียวกนั นี้ ต๋ัวมกี าหนด
2 เดือน ดอกเบ้ีย 15% ตอ่ ปี เมือ่ ถงึ วันครบกาหนดชาระเงนิ นายประกอบ ได้ชาระเงิน
ใหน้ ายประกิจเรยี บรอ้ ยแลว้
การบนั ทกึ บญั ชที างดา้ นนายประกอบจะเป็นดังนี้
วนั ออกตวั๋

วนั ครบกาหนดชาระเงนิ

กรณเี ป็นตวั๋ เงินชนดิ ไมม่ ดี อกเบย้ี
ตวั อย่าง 2.2 เม่อื วันที่ 25 มถิ นุ ายน นายประพนั ธ์ได้ซือ้ สนิ คา้ จากนายประเวช จานวน 10,000 บาท

โดยออกตว๋ั สัญญาใช้เงนิ ชาระคา่ สนิ ค้าให้นายประเวชในวันเดยี วกนั น้ี ตวั๋ มีกาหนด 2 เดอื น
เมื่อถงึ วันครบกาหนดชาระเงนิ นายประพันธไ์ ดช้ าระเงินให้นายประเวช เรยี บรอ้ ยแลว้
การบนั ทกึ บญั ชีทางดา้ นนายประพันธ์จะเปน็ ดังน้ี
วันออกตวั๋

วนั ครบกาหนดชาระเงนิ

ในกรณที ีก่ ิจการจดทะเบียนเข้าสูร่ ะบบภาษีมูลคา่ เพมิ่ 7%

ตวั อย่าง 2.3 เมื่อวนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน นายประกอบได้ซื้อสินค้าจากนายประกิจ จานวน 10,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม
7% โดยออกต๋ัวสัญญาใช้เงิน ชาระค่าสินค้าให้นายประกิจ ในวันเดียวกันน้ีต๋ัวมีกาหนด 2 เดือน
ดอกเบี้ย 15% ตอ่ ปี เมอ่ื ถงึ วนั ครบกาหนด ชาระเงนิ นายประกอบไดช้ าระเงนิ ให้นายประกิจเรียบร้อย
แลว้

การบนั ทึกบัญชที างดา้ นนายประกอบจะเป็นดงั นี้
วนั ออกตัว๋

วนั ครบกาหนดชาระเงนิ

การบันทึกบัญชเี ก่ยี วกับต๋ัวเงิน

2. การบันทกึ บัญชที างด้านผรู้ ับเงิน (เจ้าหน)ี้
ในกรณีเจ้าหน้ีได้รับตั๋วสัญญาใช้เงินจากการชาระหน้ีของลูกหนี้ การบันทึกบัญชีจะบันทึกใน
วนั ท่ไี ดร้ ับตว๋ั และวันครบกาหนดรบั เงนิ
และในกรณีเจ้าหนไี้ ดร้ ับตว๋ั แลกเงิน ท่ีลูกหน้ีเซน็ ช่ือรับรองการจ่ายเงินเรียบร้อยแล้ว การบันทึกบัญชี
จะบนั ทึกในวันท่ไี ดร้ บั ต๋ัว และวันครบกาหนดรบั เงินเช่นเดียวกัน
ตั๋วเงินที่กจิ การไดร้ ับมาจากการชาระหน้ดี ังกลา่ วขา้ งต้นนี้ เรียกว่า “ตว๋ั เงินรับ”

การบนั ทกึ บัญชเี กีย่ วกบั ตั๋วเงินรบั จะบันทึกแยกเป็นกรณีต่างๆ ดงั น้ี
1. การรบั ต๋วั เงนิ รบั จากการขายสินค้าเปน็ เงินเชอื่

2. การรับต๋วั เงนิ รับจากการรบั ชาระหนี้ของลกู หน้ี

3. การรบั ตัว๋ เงินรับจากการขายสนิ ทรัพย์

4. การรับต๋วั เงินรบั จากการใหบ้ ุคคลภายนอก พนกั งาน ลกู จา้ งก้ยู มื

5. การรับต๋วั เงินรบั ฉบบั ใหมแ่ ทนต๋วั เงนิ รบั ฉบบั เดมิ ท่ีครบกาหนด

6.การรับต๋วั เงินรบั ฉบับใหมม่ ีมลู ค่าต๋วั บางสว่ นและส่วนที่เหลอื รับชาระเป็นเงินสดสมุด
รายวันท่วั ไป

7. การบนั ทึกบญั ชีเกย่ี วกับการรบั เงนิ ตามตัว๋ เงินรบั เมื่อต๋วั เงินครบกาหนด
กรณเี ป็นตว๋ั เงินชนดิ มีดอกเบย้ี

กรณีเปน็ ตั๋วเงินชนิดไมม่ ีดอกเบ้ีย

ตวั อยา่ ง 2.4 เม่ือวนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน นายประกจิ ไดข้ ายสนิ คา้ ให้นายประกอบ จานวน 10,000 บาทโดยได้รบั ตวั๋
สัญญาใช้เงนิ เป็นค่าสินคา้ ในวันเดยี วกนั น้ี ตว๋ั มกี าหนด 2 เดอื น ดอกเบีย้ 15% ต่อปี เม่อื ถงึ วนั

ครบกาหนดนายประกิจไดร้ ับเงนิ เรยี บร้อยแลว้

การบนั ทกึ บัญชที างด้านนายประกจิ จะเปน็ ดงั นี้

วันท่ีไดร้ ับต๋ัว

วนั ครบกาหนดรบั เงนิ

ตัวอย่าง 2.5 เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน นายประเวชได้ขายสินค้าให้นายประพันธ์ จานวน 10,000 บาท
โดยได้รับต๋ัวสัญญาใช้เงินเป็นค่าสินค้าในวันเดียวกันนี้ ต๋ัวมีกาหนด 2 เดือน เม่ือถึง
วนั ครบกาหนด นายประเวชได้รบั เงนิ เรียบรอ้ ยแล้ว

การบนั ทึกบัญชีทางดา้ นนายประเวชจะเปน็ ดังน้ี
วันที่ได้รับตัว๋

วนั ครบกาหนดรบั เงนิ

ในกรณีทีก่ จิ การจดทะเบยี นเข้าสู่ระบบภาษีมลู คา่ เพ่ิม 7%
ตวั อย่าง 2.6 เมื่อวันท่ี 25 มิถุนายน นายประกิจได้ขายสินค้าให้นายประกิจ จานวน 10,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม

7% โดยได้รับต๋ัวสัญญาใช้เงินเป็นค่าสินค้า ในวันเดียวกันนี้ ตั๋วมีกาหนด 2 เดือน ดอกเบี้ย 15% ต่อปี
เมอ่ื ถึงวนั ครบกาหนดนายประกจิ ไดร้ ับเงินเรียบรอ้ ยแลว้
การบนั ทึกบัญชีทางดา้ นนายประกิจจะเปน็ ดังน้ี
วันทไี่ ดร้ บั ตัว๋

วนั ครบกาหนดรบั เงนิ

ความหมายและประเภทของต๋วั เงนิ ทางบัญชี

ในกรณีกิจการมรี ายการคา้ ท่ีเก่ียวขอ้ งกับตั๋วเงินเป็นประจา และมีเป็นจานวนมาก เพือ่ ความสะดวก
ในการบันทึกบัญชีและการคุมยอดต๋ัวเงิน กิจการจึงควรแยกบันทึกบัญชี คือ ใช้สมุดทะเบียนตั๋วเงินรับ
(Notes Receivable Journal) สาหรบั บันทึกรายการรบั ชาระหนี้จากลกู หนี้ ดว้ ยตั๋วเงิน และใช้สมุดทะเบียน
ตั๋วเงินจ่าย (Notes Payable Journal) สาหรับบันทกึ รายการ จ่ายชาระหนี้สนิ ให้เจ้าหน้ีด้วยต๋ัวเงิน พอถึงวัน
สิน้ เดือนกจิ การจึงรวมยอดผ่านรายการไปบญั ชี แยกประเภทตว๋ั เงินรับและตั๋วเงนิ จา่ ยเพยี งครั้งเดยี ว

ตัวอยา่ งสมุดทะเบยี นตว๋ั เงินรับและตั๋วเงนิ จา่ ย

- ในวันที่กิจการได้รับตั๋วเงินจากการชาระหน้ีของลูกหนี้ กิจการจะบันทึกรายการใน สมุดทะเบียนต๋ัวเงินรับ
และผ่านรายการไปยงั สมดุ บัญชีแยกประเภทลกู หนร้ี ายตัว

- ในวันส้ินเดือน กิจการจะรวมยอดในช่องจานวนเงินและผ่านรายการไปเดบิตบัญชี ต๋ัวเงินรับ เครดิตบัญชี
คุมยอดลกู หน้ี ในสมุดบัญชีแยกประเภทท่วั ไป

ตวั อย่างสมดุ ทะเบียนต๋วั เงนิ รบั และต๋ัวเงนิ จ่าย

- ในวันที่กิจการออกตั๋วเงินเพ่ือชาระหนี้ให้เจ้าหนี้ กิจการจะบันทึกรายการใน สมุดทะเบียนตั๋วเงินจ่าย และ
ผา่ นรายการไปยังสมุดบญั ชแี ยกประเภทเจา้ หนร้ี ายตัว

- ในวันส้ินเดือน กิจการจะรวมยอดในช่องจานวนเงินและผ่านรายการไปเดบิตบัญชีคุมยอด เจ้าหน้ี เครดิต
บัญชตี ว๋ั เงนิ จ่ายในสมุดบญั ชแี ยกประเภททั่วไป

การแสดงบัญชเี ก่ียวกับตั๋วเงินในงบการเงนิ

ตามทีไ่ ด้กล่าวมาแลว้ วา่ ตั๋วเงนิ ในทางบญั ชแี บ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ ตว๋ั เงินรับและตวั๋ เงินจา่ ย
- ตั๋วเงินรบั ถือเปน็ สนิ ทรพั ย์หมนุ เวียน แสดงภายใตห้ ัวข้อลกู หน้กี ารคา้ และลกู หน้อี นื่

การแสดงบญั ชเี กีย่ วกบั ตัว๋ เงนิ ในงบการเงนิ

- ตว๋ั เงินจ่ายถอื เปน็ หน้สี ินหมนุ เวียน แสดงภายใตห้ ัวขอ้ เจ้าหนี้การคา้ และเจา้ หนี้อ่นื

ตวั อยา่ ง 2.7

ต่อไปนี้เปน็ รายการบางสว่ นรวมท้ังต๋วั เงินของกจิ การแห่งหนงึ่ ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25X1

ลกู หนีก้ ารค้า 28,000 บาท

ตว๋ั เงนิ รบั 20,000 บาท

คา่ ใช้จ่ายจา่ ยลว่ งหน้า 12,000 บาท

รายไดค้ ้างรบั 2,000 บาท

เงนิ ทดรอง 5,000 บาท

เจ้าหนี้การค้า 24,500 บาท

ตัว๋ เงินจา่ ย 45,000 บาท

คา่ ใชจ้ ่ายค้างจา่ ย 1,500 บาท

รายไดร้ บั ล่วงหนา้ 13,000 บาท

ให้ทา แสดงรายการเก่ยี วกับตัว๋ เงินในงบแสดงฐานะการเงนิ

กจิ การ................

งบแสดงฐานะการเงนิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1

หมายเหตุ หน่วย : บาท

สินทรพั ย์

สนิ ทรัพยห์ มนุ เวียน

ฯลฯ

ลกหู นี้การค้าและลกู หนห้ี มนุ เวียนอื่น (1) 67,000

หนี้สนิ หมุนเวียน

ฯลฯ

เจ้าหนก้ี ารคา้ และเจ้าหน้ีหมนุ เวยี นอน่ื (2) 84,000

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ หนว่ ย : บาท
หมายเหตุ 1 ลกู หนี้การคา้ และลกู หนห้ี มนุ เวยี นอื่น
28,000
ลกู หน้กี ารค้า 20,000
ตวั๋ เงนิ รบั 12,000
ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหนา้ 2,000
รายไดค้ า้ งรับ 5,000
เงินทดรอง 67,000

หมายเหตุ 2 เจ้าหน้กี ารค้าและเจ้าหน้หี มนุ เวยี นอ่นื หน่วย : บาท
เจ้าหน้กี ารคา้
ต๋วั เงนิ จา่ ย 24,500
คา่ ใชจ้ า่ ยค้างจา่ ย 45,000
รายได้รบั ล่วงหน้า 1,500
13,000
84,000


Click to View FlipBook Version