The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แหล่งเรียนรู้ห้องสมุดประชาชนจังหวัดพะเยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wi Singsom, 2021-11-10 20:05:57

แหล่งเรียนรู้ห้องสมุดประชาชนจังหวัดพะเยา

แหล่งเรียนรู้ห้องสมุดประชาชนจังหวัดพะเยา

แหล่งเรียนรู้ อำเภอเมอื งพะเยำ จังหวัดพะเยำ

แหล่งเรียนรู้เป็นสถานที่ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของบุคคลในรูปแบบต่างๆ ท่ีหลากหลายเป็น
ตัวกระตุ้นความกระหายใคร่รู้ของบุคคล สร้างจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนเป็นสถานท่ี
ที่บคุ คลจะมาศึกษาค้นควา้ ข้อมลู ขา่ วสารและความร้ตู ่างๆ ตามความสนใจ

ตำนำนกว๊ำนพะเยำ
กว๊าน คือ น้าลึกหรือน้าวน กว๊านพะเยาเป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจาก

บึงบอระเพ็ดและหนองหาน แต่กวา๊ นพะเยารังต้าแหน่งแหล่งน้าจดื ใหญ่ท่ีสดุ แห่งภาคเหนือตอนบน มีเนือที่
ถึง 12,831 ไร่ แต่ก่อนน้าแห้งในฤดูแล้งจึงท้าให้เกิดเป็นสองแอ่ง กว๊านหลวงกับกว๊านน้อย หากฝนตก
หน้าน้า น้าท่วมไปทั่วบรเิ วณ ต่อมากรมประมงจึงสร้างท้านบกันล้าน้าอิง ในปี พ.ศ. 2484 จึงท้าให้กวา๊ น
พะเยาเป็นบึงธรรมชาติขนาดใหญ่ มีน้าค่อนข้างคงท่ี มีน้าสูงขึน ความลึกเฉล่ีย 1.5 เมตร กว๊านพะเยา
จึงกลายเป็นที่ตังสถานีประมงน้าจืดที่ใหญ่ที่สุดของภาคเหนือ มีช่ือเสียง ประสบความส้าเร็จในการผสม
เทียมปลาบกึ ไดเ้ ปน็ ครงั แรกของโลก เม่อื ปี พ.ศ. 2526

นา้ องิ สายน้าสา้ คัญของกวา๊ นพะเยา มีกา้ เนิดเกดิ ขนึ มาจากภเู ขาสงู ในอ้าเภอแม่ใจ แตเ่ มอ่ื ยอ้ นขึน
ไปสู่ต้นสายปลายน้านัน ร่องล้าธารบรรจบกับแม่น้าวัง ท่ีอ้าเภอวังเหนือ จังหวดล้าปาง เกิดขึนจากจุดยอด
กลางภูเขาสูงของต้นน้าแห่งนีคือ ดอยผีปันน้า ล้าห้วยไหลลงสู่อ.แม่ใจในพะเยา คือ ห้วยเอียง ผ่านบ้าน
แม่ใจสูห่ นองเลง็ ทราย ออกสทู่ ุ่งนาแม่ใจ ผ่านบา้ นยมื , บ้านใหม่, บา้ นต้า รวมล้าห้วยถงึ 18 สาย กลายเป็น
ล้าน้าอิงไหลลงสู่กว๊านพะเยาท่ี อ.เมือง ดังค้ากลอนที่มีมาแต่โบราณว่า “สุขเย็นใจ๋ล้า ตุ่นต้าต๋อมต้า
แม่ไล้ฮ่องค้า ลงมาไหลดัน ไหลลงจากเขา ภูดอยเขตกัน ฮอมลงมาสู่กว๊าน” หลอมรวมวัฒนธรรมที่สูงล้า
แห่งกว๊านพะเยาไหลสู่ล้านา้ อิง น้าเร่ืองราวเล่าขานของสายน้าวกขึนสูท่ ิศเหนือ ผ่านดอกค้าใต้และจุนเข้าสู่
จังหวัดเชียงราย สู่อ้าเภอเทิง พญาเม็งราย มาสุดสายปลายน้าอิง ที่แนบแอบชิดล้าน้าโขงท่ีอ้าเภอเชียงของ
แห่งเชยี งรายนี

บรรยากาศรอบริมชายกว๊าน วัดวาอารามมากมาย น่ังเรือแจวพายไปไหว้พระศิลาถึงกลางน้า
ให้ฉ่้าหัวใจ มีหมู่บ้านต้านานอยู่รายรอบกว๊าน มองไปเบืองหน้า บรรยากาศแสนโรแมนติก มีภูเขาเป็นฉาก
หลัง ดอยหลวงกับดอยหนอกเด่นตระหง่าน พระอาทิตย์ลับฟ้าลาลง ดอยภูเขา สายน้าสีทองส่องผ่านชีวิต
เรียบง่ายท่ีพายเรือหาปลา ตังแต่เช้าจนเย็นย่้าทุกวัน กระชังปลามีเลียงหลากหลายปลามากมีให้จับถึง
50 ชนิดจากกว๊านแห่งนี ทังกุ้งหอย ปลากรายสวาย เทโพ ปลาจีน ชะโด ปลานิล ปลาใน และทับทิม ฯลฯ
บัวหลวง ดอกม่วง และบวั สาย สวนสาธารณะท่ีออกก้าลังกาย กราบไหวพ้ ่อขุนง้าเมืองท่ีริมชายกว๊าน ปล่อย
อารมณ์ลนื่ ไหลไปกบั ร้านชากาแฟ อาหารยามเยน็ ริมกวา๊ น ปลาบกึ ปลาคงั สดๆ ขึนช่อื สุดๆ คือ ปลาเผากับ
กุ้งเต้น บรรยากาศแสนโรแมนตกิ แบบนี องค์การอนามัยโลกก้าหนดให้จงั หวัดพะเยาเป็นเมืองที่น่าอยู่เมอื ง
หนง่ึ ของโลกและได้ชื่อวา่ เปน็ เมอื งทน่ี า่ อยู่ท่สี ดุ 1 ใน 5 ของประเทศไทย

วดั ศรโี คมคำ พระอำรำมหลวง จงั หวัดพะเยำ

วัดศรีโคมค้า เป็นวัดพระอารามหลวงชันตรี สังกัดมหานิกาย อยู่ในเขตการปกครองของคณะสงฆ์
ภาค 6 หนเหนือ ตังอยู่ ณ เลขท่ี 692 หมู่ท่ี 1 ถนนพหลโยธิน ตา้ บลเวยี ง อ้าเภอเมอื ง จังหวัดพะเยา

วดั ศรีโคมค้า ตังอยู่ในเขตเทศบาลเมอื งพะเยา ห่างจากตัวเมืองไปทางเหนอื ประมาณ 1,000 เมตร
ด้านทิศใต้-ตะวันตก ติดกับกว๊านพะเยา ทิศเหนือ-ตะวันออก ติดกับถนนพหลโยธิน เร่ิมก่อสร้าง
องคพ์ ระประธาน (พระเจ้าตนหลวง) เมอื่ พ.ศ. 2034 มาส้าเรจ็ บรบิ รู ณเ์ ม่ือ พ.ศ. 2067 ใชเ้ วลาประมาณ
33 ปี จัดเป็นวัดโดยสมบรู ณ์ การกอ่ สร้างในสมยั นัน พระยาเมอื งตู้ เจ้าผู้ครองเมอื งพะเยา ผทู้ รงอปุ ถมั ภ์

ในกาลต่อมาหัวเมืองต่างๆ ของล้านนาไทยหลายหัวเมืองถูกข้าศึกพม่าเข้ารุกรานท้าให้ประชาชน
แตกกระจดั กระจายต้องสูญเสยี ประชาชนและทรัพยส์ นิ แก่ขา้ ศึก แม้ทรัพยส์ นิ ของ พระศาสนากต็ อ้ งทอดทิง
ปล่อยให้ปรักหักพัง บ้านเมืองรกร้างว่างเปล่าอยู่ประมาณ 56 ปี ถึง พ.ศ. 2387 ทรงโปรดเกล้าแต่งตัง
นายพุทธวงศ์ เมืองล้าปาง เป็นพระยาประเทศอุดรทิศขึนมาครองเมืองพะเยา ทรงตังนายมหายศ
เป็นพระยาอุปราช ครันพระยาประเทศอุดรทิศถึงแก่อนิจกรรมไป ทรงโปรดเกล้าฯ นายมหายศขึน
ครองเมืองพะเยาแทน ทรงตังเจ้าบุรีรัตน์ขึนเป็นพระยาอุปราชแทน ท่านทังสองได้เริ่มบูรณะองค์พระ
ประธาน และบูรณะวัดศรีโคมค้าขึนใหม่ เริ่มก่อสร้างพระวิหารและเสนาสนะขึนมีสภาพเป็นวัดสมบูรณ์
ต่อจากนันเจ้าผู้ครองเมืองพะเยาอีกหลายองค์ เช่น เจ้าหลวงอินทะชมพู เจ้าหลวงขัตติยะ เจ้าหลวงชยั วงศ์
จนถงึ องค์สุดท้าย คือ พระยาประเทศอุดรทศิ (มหาชัย ศตี สิ าร) ครองเมอื งพะเยา ทกุ องคไ์ ด้บรู ณปฏิสงั ขรณ์
วัดศรีโคมค้า

พระวิหารหลังเก่าสร้างมานานช้ารุดทรุดโทรม พระยาประเทศอุดรทิศทรงรือแล้วก่อสร้างใหม่
โดยนายพัฒน์เป็นช่างก่อสร้าง ก่อสร้างเป็นเวลานานไม่เสร็จ นายช่างพัฒน์มาถึงแก่กรรมไป จึงทอดทิงไว้
ครันต่อมาการปกครองบ้านเมืองได้เปลี่ยนแปลงจากเจ้าผู้ครองเมืองมาเป็นระบบการปกครองเป็นมณฑล
เรียกมณฑลพายัพ กระจายอ้านาจการบริหารออกเป็นจังหวัด อ้าเภอ ต้าบล หมู่บ้าน ต้าแหน่งเจ้าผู้ครอง
นครก็เลิกร้างไป พระยาประเทศอุดรทิศกราบบังคมลาออกจกต้าแหน่งทางการ จึงแต่งตังนายคลาย
บษุ ยบรรณ มาเปน็ นายอ้าเภอเมืองพะเยา ในสมัยนนั พระยาประเทศอุดรทิศแม้พน้ จากตา้ แหน่งแลว้ ก็ยังให้
การอุปถัมภ์วัดศรีโคมค้าเช่นเดิม มไิ ด้ทรงทอดทิง

ขณะนันได้ทราบกิตติศัพท์ว่า ครูบาพระศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนาไทยเกิดขึน ท่านสังกัดอยู่
วัดบ้านปาง อ้าเภอลี จังหวัดล้าพูน ท่านมีบารมีมีธรรมสงู ท้าการก่อสร้างและบูรณะปฏิสงั ขรณ์โบราณวตั ถุ
สถาน ในเขตทอ้ งท่จี ังหวัดล้าพูน-เชียงใหม่ มีประชาชนเลอ่ื มใสมาก ข่าวนไี ดแ้ พรส่ ะพัดไปทว่ั ในแถบล้านนา
ไทย จงึ ไดป้ ระชมุ ปรกึ ษาหารอื กัน ทางฝ่ายคณะสงฆ์มีพระครศู รวี ิราชวชิรปญั ญา เจ้าคณะแขวงเมอื งพะเยา

เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ทางฝ่ายบ้านเมืองมีพระยาประเทศอุดรทิศ อดีตเจ้าผู้ครองเมืองและนายคลาย
บุษยบรรณ นายอ้าเภอเมืองพะเยา พร้อมพ่อค้า คหบดี ประชาชนต่างก็มีความเห็นชอบพร้อมเพรียงกัน
จึงไปอาราธนาครูบาศรวี ิชัยมาเป็นประธานก่อสร้างพระวิหารวัดศรีโคมค้า โดยใชใ้ ห้พระปัญญา วดั บ้านปิน
และจ่าสิบต้ารวจเอกอ้าย พูนชัย ไปอาราธนานิมนต์ท่านมาสร้างพระวิหาร ท่านสอบถามถึงประวัติความ
เป็นมาของพระเจ้าตนหลวงว่าเปน็ มาอย่างไรเมื่อได้รับทราบต้านานว่าเป็นโบราณวัตถุอันเก่าแก่มีหลักฐาน
แน่นนอน ท่านจึงรับปากว่าจะมาสร้าง แต่มีเง่ือนไขว่า ให้คณะสงฆ์และประชาชนชาวพะเยาเตรียมวัสดุ
ก่อสร้าง อาทิ อฐิ ปูน ทราย หนิ เหล็ก ไวใ้ ห้พร้อม

พระครศู รวี ริ าชวชิรปญั ญา เจ้าคณะแขวงเมอื งพะเยา จงึ ไดป้ ระชุมปรึกษาคณะสงฆ์ เจ้าคณะหมวด
เจ้าอาวาส ภิกษุสามเณรทุกวัดวาอาราม เข้ามาตังปางกระท่อม ปั้นอิฐก็ได้ ประมาณ 200,000 ก้อน
ทราย หิน โดยขอความร่วมมือผู้มีก้าลังต่างหามาไว้จนครบถ้วน แล้วไปอาราธนาท่านอีกครัง
เม่ือวัสดุครบถ้วนแล้ว ท่านรับนิมนต์ทันทีแล้วเตรียมเอาพระภิกษุผู้ช้านาญการก่อสร้างมาเป็นบริวาร
ออกเดินทางมาจากจังหวัดล้าพูนตามล้าดับ เส้นทางจนถึงเมืองพะเยา เม่ือวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2465
ตรงกบั วันขนึ 8 ค่้า เดอื น 4 เหนอื

วันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2465 ขึน 11 ค่้า เร่ิมลงมือรือพระวิหารหลังเก่าจนเสร็จเรียบร้อย
วนั เสารท์ ี่ 6 มกราคม 2466 ตรงกบั ขึน 7 ฯ 2 ค้า่ ปจี อ จุลศกั ราช 1248 วางศลิ าฤกษ์ ลงเสาพระวิหาร
ใหญ่ ตอ่ จากนันก็เทเสาพระวิหารต้นอืน่ ต่อไป ขุดรากฝาผนงั ก่อฝาผนัง และก่อกา้ แพงลอ้ มรอบ สรา้ งศาลา
บาตร (ศาลาราย) รอบกา้ แพงวัด สรา้ งพระอุโบสถ พระวิหาร พระพทุ ธบาทจ้าลอง สรา้ งพรอ้ มกันหมดทุกๆ
หลังในคราวเดียวกันและก่อสร้างภายในปีเดียวเหมือนเนรมิต คิดค่าก่อสร้างเป็นจ้านวน 113,000 รูปี
(รูปหี นึ่งคิดราคา 75 สตางค)์

ครันวันที่ – มีนาคม พ.ศ. 2467 ท้าบุญฉลองพระวิหาร พร้อมกับศาสนวัตถุอื่นๆ ที่ก่อสร้างเสร็จ
เรียบรอ้ ยแลว้ จึงท้าบุญฉลองพระวิหารนานประมาณ 1 เดอื น จึงแลว้ เสรจ็ หลังจากทา้ บุญฉลองพระวิหาร
แลว้ ครบู าพระศรีวชิ ัยก็กลับไปจังหวัดเชยี งใหม่เร่ิมสร้างวิหารวัดสวนดอก จงั หวดั เชยี งใหม่ จงึ ไดม้ อบหมาย
ให้พระครูบาแก้ว คนธฺ ว้โส เป็นผูร้ บั ภารธรุ ะการดแู ลรกั ษาโบราณวตั ถุและพระวหิ ารแทน

วัดศรีโคมค้า ได้สร้างมานานประมาณ พ.ศ. 2034 ตังแต่เร่ิมสร้างพระเจ้าตนหลวงมาแล้ว
เจ้าอาวาสองค์แรกที่ปรากฏในต้านาน คือ พระธรรมปาล ท่านผู้นีได้ท้าประโยชน์อันย่ิงใหญ่ คือ ได้เขียน
ต้านานพระเจา้ ตนหลวงออกเผยแพร่แก่ประชาชนท่ีหนภี ัยสงครามแล้วกลบั เข้ามาสู่เมืองพะเยา ภายหลังได้
ทราบเรื่องราวต้านานนีแล้วเกิดศรัทธาปสาทะย่ิงใหญ่ อยู่ต่ออีกประมาณ 404 ปี จุลศักราช 1219
พ.ศ. 2400 พระกัปปินะเป็นเจ้าอาวาสอีกครังหนึ่ง มีบันทึกในหนังสือสมุดข่อย บันทึกว่า แสนทักขิณะ
เขียน ดวงชะตาพระเจ้าตนหลวงมีประธรรมปาละ เขียนไว้ให้ท่านได้รับทราบ แสดงว่าวัดศรีโคมค้าเป็นวัด
มาแตโ่ บราณกาล แตม่ าในยุคหลงั บา้ นเมืองตกอยู่ในภาวะสงคราม ท้าใหบ้ า้ นเมอื งอยู่ไม่ปกตสิ ุข ต้องอพยพ
โยกย้ายไปอยู่ตามหัวเมืองท่ีปลอดภัยจากข้าศึก ท้าให้บ้านเมือง วัดวาอารามรกร้างว่างเปล่าไป
ต่อมาภายหลังไดส้ ถาปนาเมืองพะเยาขึน บา้ นเมือง วดั วาอารามก็ถกู บรู ณะกอ่ สร้างขนึ โดยล้าดบั

วัดศรีโคมค้า เร่ิมก่อสร้างขึนครังหลังสุดเม่ือปี พ.ศ. 2465 พระครูศรีวิวิราชวิชริปัญญา
เจ้าคณะแขวงเมืองพะเยาเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ทางฝ่ายบ้านเมือง อดีตเจ้าผู้ครอ งเมืองพะเยา
พระยาประเทศอุดรทิศ และอดีตนายอ้าเภอเมืองพะเยา คือ หลวงสิทธิประสาธน์ (คลาย บุษยบรรณ)
นายอา้ เภอเมืองพะเยาคนแรก ไดร้ ่วมใจกนั อาราธนานมิ นต์พระครูบาศรวี ิชยั จังหวัดล้าพูน มาเปน็ ประธาน
น่ังหนักในการก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ จนส้าเร็จบริบูรณ์ดังได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว ท่านก็มาด้ารงต้าแหน่ง
เจ้าอาวาสวัดศรีโคมคา้

ประเพณี "8 เปง็ ไหวส้ ำป๋ำรมพี ระเจ้ำตนหลวง"
ประเพณี "8 เป็ง ไหว้สาป๋ารมีพระเจ้าตนหลวง" ครบ 520 ปี อันเป็นประเพณีงานของจังหวัด

พะเยา ซ่ึงเป็นงานที่จัดว่ายิ่งใหญ่ที่สุดและส้าคัญอย่างยิ่งของจังหวัดเล็ก ๆ จังหวัดนีเลยก็ว่าได้
เม่ือถึงเทศกาลประเพณีดังกล่าว ผู้คนจากท่ัวสารทิศเดินทางมาสู่จังหวัดพะเยาเพ่ือกราบนมัสการ
ขอพรจากองค์พระเจ้าตนหลวงพระศักด์สิ ิทธิ์เมืองล้านนาและสร้างธรรมบารมีให้กับตนเองอย่างไม่ขาดสาย
งานนีผู้คนเบียดเสียดเดินกันไปมามากมายทังผู้คนจากอ้าเภอต่าง ๆ ภายในจังหวัดพะเยาเอง
และต่างจังหวัด เช่น ล้าปาง เชียงใหม่ เชียงราย ฯลฯ ในอดีตต่างประเทศ เช่น เชียงตุง ประเทศพม่า
สินสองปันนา ประเทศจีนตอนใต้ และประชาชนจากหลวงพระบาง ประเทศสาธาณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว ก็เดินทางมาเพื่อแสวงบุญกันอย่างล้นลาม แต่ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันทางการของแต่ละ
ประเทศเข้มงวดกับประชาชนของตนจงึ ท้าให้การเดนิ ทางไมส่ ะดวกและจ้านวนคน ไมเ่ หมือนอย่างในอดีต

ควำมหมำยของแปดเป็ง
ค้าว่า “แปดเป็ง” นันเป็นภาษาพืนเมืองของชาวล้านนาโดยแยกออกเป็นสองค้า คือ แปด

กับค้าว่า เป็ง ค้าว่า “แปด” ก็คือวันเพ็ญเดือน 8 (เหนือ) ทางภาคกลางถือว่าเป็นเดือน 6 ซ่ึงการนับเดือน
คนทางภาคเหนือโดยเฉพาะแถบล้านนาจะนับเดือนไวกว่าคนทางภาคกลางไปสองเดือน ดังนันพอถึงเดือน
6 อนั เป็นเดอื นท่เี สวยฤกษ์วสิ าขะ หรอื วันวิสาขบชู า (วนั เพญ็ เดือน 6) คนทางเหนือจงึ ถอื ว่าเป็นเดอื น 7

ในเรื่องดังกล่าวนีแตกต่างกันท่ีการนับ เน่ืองจากการนับวันเดือนปีของล้านนา ตาม “ปักกะตืน”
(มาจากค้าว่า ปักษ์ หมายถึง ข้างขึน ข้างแรม และ ทิน หมายถึง วัน) เป็นการนับตามจันทรคติ ส่วนของ
ภาคกลาง (กรุงเทพฯ) นับตามสุริยคติซ่ึงเร่ืองนีมีตังแต่ไทเขิน ไทลือ ความเช่ือเรื่องฤกษ์ยามจะคล้ายกับ
คนล้านนา แต่การนับเวลาจะต่างกัน คือ ไทเขิน ไทลือ นับเดือนเร็วกว่าคนไทยกรุงเทพฯ ไป 1 เดือน
แต่ช้ากว่าคนล้านนาไป 1 เดือน เช่น เดือน 5 ของคนกรุงเทพฯ จะตรงกับเดือน 6 ของไทเขิน ไทลือ
และจะตรงกับเดือน ๗ ของไทล้านนา และอีกนัยหน่ึง ไทล้านนานับเดือนก่อนคนกรุงเทพฯ 2 เดือน
เช่น เดือน 8 ของไทล้านนาจะตรงกับเดือน 6 ของคนกรุงเทพฯ และในการนับพุทธศักราชชาวไทลือ

ไทใหญ่จะนับเร็วกว่าชาวสยาม 1 ปี เช่น จุลศักราช 1351 ไทยสยามจะนับเป็นพุทธศักราช 2532
แตไ่ ทเขิน ไทลือ ไทใหญจ่ ะนับเป็นพุทธศกั ราช 2533 เหมือนของพม่าและลงั กา

ค้าว่า “เป็ง” ก็คือ คืนวันเพ็ญ หรือคืนท่ีพระจันทร์เต็มดวงนันเอง ซึ่งมีค่าแทนค้าว่า วันเพ็ญ
ขึน 15 ค้่า เม่ือรวมสองค้าเข้าด้วยกันว่า “แปดเป็ง” จึงมีความหมายว่า วันเพ็ญเดือน 6 (8 เหนือ)
พระจันทร์เต็มดวงเสวยฤกษว์ ิสาขะ ขึน 15 ค่า้ นนั่ เอง

วันแปดเปง็ หรือคือวิสำขบชู ำ
ความส้าคัญของวันแปดเป็ง ก็คือ เป็นวันที่เราทราบกันดีว่าเป็นวันวิสาขบูชา ซ่ึงเป็นวันคล้าย

วันประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพานขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นวันที่มหัศจรรย์และวันส้าคัญท่ีสุด
ของชาวโลก ทังนีองค์การสหประชาชาติได้ประกาศยกย่องและเชิดชูวันวิสาขบูชาให้เป็นวันส้าคัญของโลก
ไปแลว้ ด้วย

• ประสูติ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประสูติ ณ สวนลุมพินีวัน แคว้นสักกะซึ่ง
อยู่ระหว่างเมืองกบิลพัสด์ุอันเป็นของพระเจ้าสุทโธทนะพระราชบิดากับเมืองเทวทหะของพระนางสิริมหา
มายาพระราชมารดา ปัจจุบันอยู่ในบริเวณประเทศเนปาล ชื่อเมืองลุมมิดเด เมื่อเช้าวันศุกร์ ปีจอ ขึน 15
ค่า้ เดือน 6 (8 เหนอื ) กอ่ นพุทธศกั ราชได้ 80 ปี

• ตรัสรู้ เมื่อพระองค์ทรงเบ่ือหน่ายต่อทุกข์ในชีวิตแบบฆราวาสและต้องการแสวงหาความดับทุกข์
จงึ ทรงออกผนวชดว้ ยวัย 29 พรรษา ทรงศึกษาในส้านักครูอาจารย์ต่าง ๆ มากมายและทรงใช้ความเพียร
พยายามหลากหลายวิธีการ แต่ไม่ได้ผลและยังไม่สามารถท่ีจะหลุดพ้นได้ ต่อมาพระองค์ทรงลองหัน
มาใช้ทางสายกลางตามแบบมัชฌิมาปฏิปทา คือการฝึกปฏิบัติอบรมทางจิตและด้วยวิธีนีเองพระองค์
จึงทรงสามารถใช้ความรู้ลงสู่ภาคปฏิบัติ เป็นการผสมผสานกันอย่างลงตัวรวมเป็นระยะเวลานานถึง 6 ปี
จนได้ส้าเรจ็ เป็นพระอนตุ ตระสมั มาสัมพุทธเจ้าดว้ ยการประกาศสจั จธรรมแห่งทฤษฎี หรอื สูตรวา่ ความร้แู จ้ง
เห็นจริง “อริยสัจจ 4” ในเวลาเช้ามืดของวันพุธขึน 15 ค้่าเดือน 6 (8 เป็ง) ปีระกา ก่อนพุทธศักราชได้
45 ปี ณ ต้าบลอรุ เุ วลาเสนานิคม แคว้นมคธ ปจั จบุ ันอย่ใู นเขตเมืองพทุ ธ คยา แคว้นพิหาร ประเทศอินเดยี

• ปรินิพพาน เมื่อพระองค์ ไดท้ รงประกาศพระศาสนาใหต้ งั มน่ั ดีแล้วเป็นระยะเวลาถึง 45 พรรษา
พระองค์ทรงตัดสินพระทัยที่จะปรินิพพานด้วยวัย 80 พรรษา เม่ือวันอังคาร ขึน 15 ค้่าเดือน 6 (8 เป็ง)
ปีมะเส็ง ณ สาลวโนทยานของมัลลกษัตริย์ เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ ปัจจุบันอยู่ในเขตพืนที่เมืองกุสีนคร
แควน้ อุตตรประเทศ ประเทศอนิ เดยี

ควำมผูกพันวนั แปดเปง็ กับพระเจำ้ ตนหลวง
วันแปดเป็ง เป็นวันส้าคัญอย่างย่ิงด้วยเหตุฉะนี ส่วนที่จะเชื่อมโยงผูกพันกับพระเจ้าตนหลวง

อย่างไรนัน จะอาศัยเพียงว่าเป็นวันคล้ายวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานขององค์สมเด็จพระสัมมา
สัมพุทธเจ้าอย่างเดียวมิได้ เพราะถ้าเป็นเช่นนันวัดไหนๆ ก็มีพระเจ้าตนหลวงกับประเพณี ๘ เป็ง
คงมเี ตม็ ไปหมดเป็นแนแ่ ท้ที่จรงิ นนั มีนัยยะสา้ คญั ถึง 5 ประการ ดงั นี

1. วันเร่ิมโยนหินถมหนองเอียงก้อนแรก คือ วัน 8 เป็ง ตามต้านานสองตายายได้หาวันดี
ในการเริ่มถมหนองเอียง วันแรกที่โยนลงไปนันตรงกับวันขึน 15 ค้่าเดือน 8 (เหนือ) ซ่ึงบริเวณที่จะสร้าง
องค์พระนันเป็นหนองน้าแต่เดิมดินก็อ่อนตัว จึงจ้าเป็นท่ีจะต้องปรับถมสภาพดินให้พืนท่ีดังกล่าวเสมอกัน
กอ่ นซึง่ ตามต้านานตอ้ งใช้เวลาในการถมถึง 2 ปี 7 เดอื นจงึ จะสามารถใช้การได้

2. วันเริ่มก่อสร้างองค์พระเจ้าตนหลวง คือ วัน 8 เป็ง แม้ประวัติการเร่ิมก่อสร้างจะไม่ชัดเจน
แต่ปีที่สร้างได้ระบุชัดเจนว่า 2034 เป็นการสร้างท่ีมีการเตรียมการไว้อย่างดีมาก เช่น จ้านวนอิฐที่จะใช้
กอ่ สรา้ ง, จ้านวนวสั ดุอุปกรณ์อื่นๆ อีกมากมาย ดงั ไดก้ ล่าวเอาไวแ้ ล้ว

3. วันที่สร้างองค์พระเจ้าตนหลวงเสร็จเรียบร้อย คือ วัน 8 เป็ง การสร้างท่ีใช้ระยะเวลายาวนาน
ถึง 33 ปี ผ่านเจ้าผู้ครองเมืองพะเยาถึง 3 รุ่นแสดงให้เห็นถึงความย่ิงใหญ่ขององค์พระเจ้าตนหลวง
ท่คี นในสมยั โบราณสามารถสรา้ งส่งิ ทม่ี ขี นาดใหญแ่ ละมหศั จรรยท์ ี่สดุ ในแถบถน่ิ ลา้ นนา

4 .วันเฉลิมฉลองครังแรก คือ วัน 8 เป็ง ประวัติส่วนนีก็กล่าวเพียงว่าเมื่อองค์พระเจ้าตนหลวง
เสร็จเรียบร้อยแล้วพญาเมืองตู้ เจ้าผู้ครองเมืองพะเยาได้ส่งสาสน์บอกพญาเมืองแก้วเจ้าเมืองเชียงใหม่
ให้ทรงทราบแล้ว พระองค์ทรงปีติยินดีเป็นอย่างมาก จึงส่ังสร้างพระวิหารให้เสร็จภายใน 2 ปีแล้วจึงเฉลิม
ฉลองพร้อมกบั องค์พระท่ีเดยี ว

5. ประเพณีที่ชาวบ้านถือปฏิบัติเป็นประจ้าปี คือวันวิสาขบูชาหรือวัน 8 เป็ง สิ่งท่ีมีความสัมพันธ์
กับพระเจ้าตนหลวงดังกล่าวมานันแม้ไม่ชัดเจนแต่ก็ประมาณได้จากพิธีกรรมที่กระท้าสืบต่อกันมาคือ
วันวิสาขบูชา วันขึน 15 ค้่า เดือน 6 (8 เหนือ) หรือวันแปดเป็งนันเอง แต่ข้อสังเกตมีว่าปีไหนมีอธิกมาส
คือ เดือน 8 สองหน ทางวัดจะถือเอาเดือน 8 หนแรกเป็นงานประเพณี ซึ่งยึดถือติดต่อกันมาหลายช่ัวอายุ
คนรวมปีปัจจบุ นั

งำนประเพณีแปดเปง็ นมสั กำรพระเจำ้ ตนหลวง

เมื่อถึงวันส้าคัญทางพระพุทธศาสนา ซ่ึงมักจะอยู่ในช่วงเดือนพฤษภาคมของทุกๆ ปี วันวิสาขบูชา
มาถึงทางวัดจะจัดให้มีงานเฉลิมฉลองเพื่อให้ญาติโยมเข้ามากราบไหว้บูชาพระเจ้าตนหลวงเป็นระยะเวลา
ถงึ 10 วัน 10 คืน และเปน็ งานท่ยี งิ่ ใหญท่ ส่ี ดุ ในรอบหนง่ึ ปขี องทางจงั หวดั พะเยาทีเดยี ว

ลักษณะงำนโดยทัว่ ไปอำจแบง่ ได้เป็น 3 สว่ นใหญ่ คือ
1. เขตมณฑลพุทธศาสนพิธี จะประกอบไปด้วยบริเวณพระวิหารและรอบศาลาราย

จ้านวนประมาณ 2 ไร่ เขตพุทธศาสนพิธีนีเป็นเร่ืองของกิจกรรมทางศาสนาและพิธีกรรม เป็นเร่ืองของ
จิตวิญญาณจะมีประชาชนท่ัวไปหลั่งไหลกันมากราบนมัสการพระเจ้าตนหลวง บ้างก็มานอนในพระวิหาร
หลวง บ้างก็นอนรอบศาลาราย เพื่อรอร่วมพิธีกรรมวันสุดท้าย อันสะท้อนให้เห็นถึงรูปแบบการด้าเนนิ ชวี ิต
อย่างวิถีพุทธ เน้นถึงพฤติกรรมของคนที่แสดงออกมาโดยยึดพระรัตนตรัยเป็นท่ีพึ่งทางวัดเองได้จัดให้มี
กิจกรรมหลากหลายเริ่มตังแต่วันแรกของงานจัดให้มีการบูชาพระรัตนตรัย, การสรงน้าพระ, การตักบาตร
108, การตักบาตรข้าวสาร, การบูชาพระประจ้าวันเกิด โดยจะมีพิธีกรรมอ่ืนๆ อีกมากซึ่งตลอดงาน
จะมีพิธีกรได้แนะน้าให้รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีและวิธีการนมัสการพระเจ้าตนหลวง เม่ือถึงวันส้าคัญ

คือวันสุดท้ายของงาน หรือวัน 8 เป็ง อันเป็นวันพระใหญ่ขึน 15 ค้่าพระจันทร์วันเพ็ญ เร่ิมตังแต่เช้าตรู่
จะมีการท้าบุญตักบาตร, ไหว้พระ,รับศีล, พระสงฆ์แสดงธรรมเทศนา, ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์, รับพร
ฯลฯ ส่วนตอนกลางวันก็มีการฝึกอบรมวิปัสสนากัมมัฏฐาน ตอนบ่ายจะถวายจตุปัจจัยให้กับพระสงฆ์
ที่มาจากวัดต่างๆ กลางคืนก็มีพิธีเวียนเทียน,สวดมนต์ตัน (เป็นภาษาพืนเมือง หมายความว่า การสวดมนต์
ยาว), มพี ระธรรมเทศนา, การสวดเบกิ ไปจนถงึ รงุ่ เชา้ ของอีกวันหนึ่งแต่ไม่ใหเ้ กินตหี ้า

2. เขตอารามิกชน จะประกอบไปด้วยบริเวณลานวัดทังหมด คือ เขตนอกศาลารายออกมาถึง
แนวก้าแพงวัด จ้านวน 70 กว่าไร่ เขตนีเป็นเร่ืองของการออกร้านค้าขายเครื่องใช้ไม้สอยต่างๆ จิปาถะ
ตังแต่สินค้าพลาสติก, ถ้วยกระเบือง ฯลฯ ที่พ่อค้าแม่ค้าจะน้ามานานๆ ทีจะมีสินค้าราคาถูกมาวางขายกัน
ผู้คนก็เดินชม เดินซือกันไป สินค้าโดยมากก็เป็นเคร่ืองประดับตกแต่ง เสือผ้า เคร่ืองอุปโภคบริโภค
หรือแม้แต่ยาสมุนไพรและท่ีดูแล้วนึกถึงอดีต ก็คือ ได้มีพ่อค้าแม่ขายได้พากันน้าของมาขายแบบแบกับดิน
คอื น่งั ขายกับพืนเหมือนอดีต เชน่ กระเทยี ม ผลไม้ ขนม แหนม เปน็ ต้น เขตนเี ป็นเร่ืองของวิถีชีวิตท่ีผูกพัน
กับชีวิตประจ้าวันของชาวบ้านมากท่ีสุด คือ กินเท่ียว พักผ่อน ต่อรองสินค้าซึ่งปีๆ หนึ่งจะมีสินค้าแปลกๆ
ใหม่ๆ มาวางขายกนั เต็มไปหมด เรยี กไดว้ า่ ทกุ ตารางนวิ มีราคากว็ า่ ได้

3. เขตกิจกรรมบันเทิง จะเป็นบริเวณสนามหน้าวัดทังหมดจ้านวน 18 ไร่ เขตนีเป็นกิจกรรมการ
แสดงมโหรสพตา่ งๆ มากมายทงั ชิงช้าสวรรค์ ม้าหมุน รถไต่ถงั มวย ภาพยนตร์ ดนตรี และการละเล่นต่างๆ
อีกมากมาย กิจกรรมนีเป็นการระดมผู้คนมาชมุ นุมกันมิใชน่ ้อยๆ ผู้คนส่วนมากจะเป็นพวกเด็กๆ และวัยรุน่
ที่ชักชวนพ่อแม่ปู่ย่าตายายมาดูงาน ซ่ึงว่ากันตามจริงแล้ววัดเป็นสถานท่ีสนองต่อบุคคล 3 วัย กล่าวคือ
วยั ตน้ ของชวี ติ , วัยทา้ งาน, วัยผู้สูงอายุ โดยจะแยกอธิบาย ดังนี

- วัยต้นของชวี ิต คือ เดก็ และวัยรนุ่ เป็นวัยท่ีไม่ต้องการเหตุและผลมากมายนัก มักชน่ื ชอบ
ในเรอ่ื งท่สี นุกสนานรืน่ เริง ดงั นนั เขตกจิ กรรมบันเทิงที่จดั นอกวดั หรือหน้าวดั ซึ่งเป็นเรื่องของการละเล่นและ
ถูกจริตของคนกลุ่มนีเป็นอย่างมาก อย่างน้อยแม้ไม่ลึกซึงในเรื่องของธรรมะ แต่ก็ท้าให้คนกลุ่มนีได้มา
ใกล้ชิดไดเ้ หน็ พิธีกรรม ได้มาไหว้พระและไดม้ าเป็นเพ่อื นผ้เู ฒา่ ผ้แู ก่ เป็นต้น

- วัยท้างาน คือ ผู้ใหญ่คนวัยท้างานทังหลายท่ีชีวิตก้าลังวุ่นอยู่กับหน้าท่ีการงานเป็น
วัยท่ีก้าลังสร้างเนือสร้างตัว วัยนีจะสนใจในเร่ืองท่ีใกล้ตัวท่ีสุดคือเร่ืองของการกินอยู่ มีใช้ วัยนีจะหาซือ
เคร่ืองอุปโภคบริโภคของท่ีจ้าเป็นในชีวิตประจ้าวัน,เรื่องศรัทธากับส่ิงที่ตอบแทน เช่น อ้อนวอน แสวงโชค
เปน็ ต้น ถือวา่ เป็นวยั ทมี่ ีเหตุผลมากกวา่ กลมุ่ แรก

- วัยสูงอายุ ผู้เฒ่าผู้แก่ โดยมากจะเน้นกิจกรรมในพระวิหารเป็นส่วนใหญ่ซ่ึงมีกิจกรรม
ที่ให้คุณค่าทางจิตใจมากกว่า เพราะเป็นวัยที่ล่วงกาลผ่านวัยมามากจึงท้าให้เห็นสัจจะของชีวิตหลายอย่าง
จึงมุ่งถึงความดีสูงสุดและความสงบทางจิตใจมากขึน สามารถอดทนฟังและพยายามท้าความเข้าใจในส่ิงท่ี
ลูกหลานบอกว่าน่าเบอื่ , เขา้ ใจยาก เช่น ธรรมะบรรยาย, การสวดมนต์, การสวดเบิก เปน็ ต้น

อย่างไรก็ตาม "วันแปดเป็ง : ประเพณีนมัสการพระเจ้าตนหลวง" แม้รอบหน่ึงปีจะมีครังหนึ่ง
ก็ตาม แต่การสร้างบุญบารมีควรมีหลายๆ ครังในรอบหน่ึงปี เพื่อความไม่ประมาทมัวเมาในชีวิต ควรคิด
สร้างทางไปสวรรค์ ดว้ ยจติ วิญญาณแห่งพทุ ธะ

อนุสำวรยี พ์ ่อขุนงำเมอื ง
อนุสาวรยี พ์ ่อขนุ งา้ เมอื งประดิษฐานอยทู่ ี่สวนสาธารณะเทศบาลหน้ากวา๊ นพะเยา จังหวดั พะเยา

พ่อขุนง้าเมือง เป็นกษัตริย์เมืองพะเยาองค์ที่ 9 นับจากพ่อขุนจอมธรรม ประสูติเม่ือพุทธศักราช
1781 เปน็ ราชบุตรของพ่อขุนมิง่ เมือง สืบเชอื สายมาจากท้าวจอมผาเรือง เม่อื พระชนมายุ 14 ปี พระราช
บิดาส่งไปศึกษาเล่าเรียนศิลปะศาสตร์เทพในส้านักเทพอิสิตนอยู่ภูเขาดอยด้วน 2 ปี จึงจบการศึกษา
เม่ือพระชนมายุได้ 16 ปี พระราชบิดาส่งไปศึกษาต่อ ขอถวายตัวอยู่ในส้านักสุกันตฤาษี ณ กรุงละโว้
(ลพบรุ )ี จึงไดร้ ู้จกั คุ้นเคยกับ พระรว่ งเจ้าแหง่ กรงุ สโุ ขทยั สนิทสนมผกู ไมตรีตอ่ กันอยา่ งแนน่ แฟน้ ศกึ ษาศิลป
ศาสตร์ร่วมครูอาจารย์เดียวกันเป็นสหายกันตังแต่นันมาทรงเป็นผู้ทรงอิทธิฤทธิ์เช่นเดียวกับพระร่วงเจ้า
เมอ่ื เรยี นจบก็เสด็จกลับเมอื งพะเยา ปพี ทุ ธศักราช 1310 พระราชบิดาสนิ พระชนม์ จึงครองราชย์สืบแทน

ต้านานกล่าวถึงพ่อขุนง้าเมืองไว้ตอนหนึ่งว่า ทรงเป็นศรัทธาเล่ือมใสใน พระพุทธศาสนาไม่ชอบ
สงคราม ปกครองบ้านเมืองด้วยความเท่ียงธรรม ผูกไมตรีจิตต่อประเทศราช และเพ่ือนบ้าน ขุนเม็งรายเคย
คิดยกทพั เข้าบดขยีเมืองพะเยา พ่อขุนง้าเมืองลว่ งรู้เหตุการณ์ กอ่ นแทนทจ่ี ะยกทัพเข้าต่อต้าน ไดส้ ่งั ไพร่พล
ให้อยู่ในความสงบ สั่งให้เสนาอ้ามาตย์ออกต้อนรับโดยดี เชิญขุนเม็งรายเสวยพระกระยาหารและ
เลียงกองทัพให้อิ่ม ขุนเม็งรายจึงเลิกการท้าสงคราม แต่นันมาพ่อขุนง้าเมือง จึงยกเมืองปลายแดน
ซึ่งมีเมืองพาน เมืองเช่ียงเคี่ยน เมืองเทิง และเมืองเชียงของ ให้แก่พระเจ้าเม็งรายและท้าสัญญาปฏิญาณ
ต่อกนั จะเป็นมิตรตอ่ กนั ตลอดไป

ฝ่ายพระยาร่วงซึ่งเป็นสหายคนสนิทก็ได้ถือโอกาสเย่ียมพ่อขุนง้าเมืองปีละ 1 ครัง ส่วนใหญ่เสด็จ
ในฤดูเทศกาลสงกรานต์ ได้มีโอกาสรู้จักขุนเม็งรายทัง 3 องค์ ได้ชอบพอเป็นสหายกัน เคยหันหลังเข้า
พิงกันกระท้าสัจจปฏิญาณแก่กัน ณ ริมฝ่ังแม่น้าขุนภู ว่าจะไม่ผูกเวรแก่กัน จะเป็นมิตรสหายกัน กรีดโลหิต
ออกรวมกันขันผสมน้า ทรงด่มื พรอ้ มกัน (ภายหลังแม่นา้ นไี ดช้ ่อื ว่า แมน่ า้ อิง)

พ่อขุนง้าเมืองเป็นผู้ทรงอุปฐากพระธาตุจอมทองซึ่งตังอยู่บนดอยจอมทอง ซ่ึงถือว่าเป็นสถานท่ี
ศกั ดิส์ ทิ ธค์ิ ู่เมืองพะเยา ทป่ี ระชาชนสักการะบชู ามาจนตราบเทา่ ทุกวันนี

พ่อขุนง้าเมืองสินพระชนม เม่ือปีพุทธศักราช 1816 โอรส คือ ขุนค้าแดง สืบราชสมบัติแทน
ขุนค้าแดงมีโอรสชื่อ ขนุ ค้าลือ ซงึ่ ครองราชย์สมบัติแทนต่อมา

เมืองพะเยาถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหน่ึงของแคว้นล้านนาในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 19
( หลัง พ.ศ. 1800 ) ตามต้านานกล่าวว่า ในสมัยพระยาค้าฤาบุตรพระยาค้าแดง (สุวรรณสามราช)
เปน็ เจ้าเมอื งครองเมืองพะเยาเป็นลา้ ดับท่ี 14 ตงั แตข่ นุ จอมธรรมเปน็ ตน้ มา และเปน็ ลา้ ดบั ที่ 3 ตังแตพ่ ญา

ง้าเมืองมา พญาค้าฟูแห่งเมืองเชียงแสน คบคิดกับเจ้าเมืองน่านท้าศึกขนาบเมืองพะเยา เข้าสมทบกองทัพ
กันไปรบเมืองพะเยา ครังนันกองทัพพระยาค้าฟูเข้าเมืองพะเยาได้ก่อน ได้ผู้คนช้างม้าและทรัพย์สิ่งของ
เป็นอันมาก ก็มิได้แบ่งปันให้พระยากาวน่าน พระยากาวน่านขัดใจจึงยกกองทัพเข้ารบกับพระยาค้าฟู
พระยาค้าฟูเสียที ล่าทัพหนีกลับมาเมืองเชียงแสน กองทัพน่านยกเลยไปตีปล้นเอาเมืองฝางได้ พระยาค้าฟู
ก็ยกกองทัพใหญ่ไปตีกองทัพน่านยังเมืองฝาง กองทัพเมืองน่านสู้ก้าลังไม่ได้ก็เลิกถอยกลับไปเมืองน่าน
พระยาค้าฟูก็เลิกทัพกลับมาเมืองเชียงแสน นบั แต่นนั มา เมืองพะเยาก็ถูกผนวกเขา้ เปน็ ส่วนหน่ึงของล้านนา
แลว้ ถกู ลดฐานะเปน็ เมอื งเลก็ ๆ ทขี่ นึ อยูก่ ับเมอื งเชยี งราย

วดั อนำลโยทพิ ยำรำม (ดอยบษุ รำคมั )
วัดตังอย่ทู ี่หมบู่ ้านสันปา่ บง หม่ทู ่ี 6 ต้าบลสันป่าม่วง อา้ เภอเมือง จงั หวัดพะเยา

วัดอนาลโยทิพยารามแห่งดอยบุษราคัม อุทยานพระพุทธศาสนา อยู่ห่างจากตัวจังหวัด
20 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 1 ไปตามทิศเหนือ มุ่งหน้าสู่อ้าเภอแม่ใจ ประมาณ 7 กิโลเมตร
เลียวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 1127 และเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 1193 ถ้าใช้เส้นทางทิศใต้
มุ่งหน้าสู่อ้าเภองาว จังหวัดล้าปาง กิโลเมตรที่ 4 สี่แยกแม่ต้า เลียวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 1193
ก็เปน็ อกี เสน้ ทางหน่ึงทเี่ ดนิ ทางไปส่วู ัดอนาลโยทพิ ยาราม

วัดอนาลโยทิพยารามมเี นือทที่ ังหมด 2,800 ไร่ เร่ิมการก่อสร้างโดย พระอาจารย์ไพบูลย์ สมงั คโล
ขณะท้ารออยู่วัดรัตวนาราม ท่านมีปรากฏการณ์เห็นทรายทองไหลลงมาสู่วัดเป็นสายรังสี แสงของทราย
ทองท่ีไหลพร่ังพรูราวกับสายน้านันอาบวัดทังวัดแทบจะกลายเป็นวัดทองค้า ท่านมองทวนล้าแสงสีทองไป
ก็เห็นเขาท่ีอยู่อีกฟากหนึ่งของกว๊านพะเยานันเอง จากนันได้มีโยมอารธนาไปดูสถานท่ีส้าคัญและแปลก
ประหลาด เพ่ือจะได้สร้างส้านักสงฆ์ไว้เป็นท่ีบ้าเพ็ญกุศลของชาวบ้าน คือชาวบ้านมักจะเห็นแสงสว่างเป็น
ดวงกลมลอ่ งลอยไปมาอย่บู นดอยสงู แสงนันดสู ว่างเรืองรอง บางทีกส็ ว่างจ้าเป็นสีเหลืองสดอาบทังดอยราว

กับเป็น ดอยทองค้า เหตุการณ์เหล่านีมักปรากฏในวันส้าคัญทางพุทธศาสนา เช่น วันพระ 8 หรือ 15 ค่้า
เป็นต้น หลังจากที่พิจารณาดูสถานที่แล้วเห็นว่าเป็นสถานท่ีสวยเหมาะสมแก่การเจริญเมตตาภาวนา
เปน็ อยา่ งย่ิง ควรทจ่ี ะสร้างให้เปน็ สถานท่พี ักปฎิบตั ิธรรม

สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ เป็นองค์ประธานพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันท่ี 14
พฤษภาคม 2525 เวลา 12.45 น. จากนันก็ได้สร้างส่งิ ต่างๆมาจนปรากฏเหน็ อยู่ในปจั จบุ ัน แต่มอี ปุ สรรค
สา้ คญั อยูป่ ระการหนึ่งท่ที ้าใหว้ ดั ต้องขบคดิ หนักคือ “การขาดแคลนนา้ ” ระหว่างที่ท่านก้าลงั ครุ่นคิดหาทาง
แก้ไข วันหน่ึงท่านพระอาจารย์ไพบูลย์ได้รับอาราธนานิมนต์ไปเจริญพระพุทธมนต์ ณ พระที่น่ัง ไพศาล
ทักษิณในพระบรมหาราชวัง ขณะพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงประเคนเคร่ืองจตปุ ัจจัยไทยธรรมมาถงึ
ท่าน อาจารย์ทรงมพี ระราชปฎสิ ันถารว่า “ทราบขา่ วว่าทา่ นอาจารยไ์ ด้ไปสรา้ งส้านกั สงฆ์บนเขาสูงทจ่ี ังหวัด
พะเยาทางฟาก กว๊าน คงจะขาดแคลนนา้ ไม่เปน็ ไรผมจะปรกึ ษากรมชลประทานให้” วนั พธุ ที่ 18 มกราคม
2527 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงเสด็จพระราชด้าเนินเยี่ยมนมัสการพระอาจารย์ไพบูลย์
สุมังคโล หัวหน้าส้านักสงฆ์อนาลโย เป็นการส่วนพระองค์ ในการเสด็จพระราชด้าเนินครังนัน ทรงสราญ
พระราชหฤทัยเป็นที่ย่ิงทรงสนทนาธรรมแล้วทรงเสวยพระกระยาหารค่้า ณ ท่ีประทับรับรองของส้านัก
สงฆ์อนาลโย ประทับอยู่ตังแต่เวลา 15.00 น. จนถึงเวลา 20.00 น. จึงเสด็จพระราชด้าเนินกลับและได้
ทรงมีพระราชด้าริให้กรมชลประทานจัดสร้างอ่างเก็บน้าแม่ต๋อม และอ่างเก็บน้าห้วยทับช้าง เพ่ือผันน้ามา
ใช้บนส้านักสงฆ์และจ่ายไปยงั ไร่นาของประชาชน จึงนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณลน้ เกล้าลน้ กระหม่อมเป็น
ท่ีสดุ

กระทรวงศึกษาธิการและมหากรุณาธิคุณ อนุญาตให้เป็นวัดโดยสมบูรณ์ตังแต่วันท่ี 20 มกราคม
2530 และมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้วัดอนาลโยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ประกาศ
ณ วันท่ี 18 มกราคม 2531 เม่ือวันท่ี 10 เมษายน 2532 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสสาธิราชฯ สยามกุฏราชกุมารเสด็จพระราชด้าเนินแทนพระองค์
ทรงประกอบพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ทรงตัดลูกนิมิตอุโบสถและทรงเปิดวัดอนาลโยโดยใช้ระยะเวลา
ก่อสร้างส่งิ ทังหมดรวม 6 ปีเศษ
บรเิ วณวดั แบ่งเปน็ เขตพทุ ธาวาสและสงั ฆาวาส มีส่งิ น่าสนใจ ดงั นี

เขตพุทธำวำส จากลานจอดรถเดินผ่านซมุ้ ประตูขนึ สู่บนั ไดหิน พบสง่ิ ก่อสรา้ งทางพุทธศาสนาอยู่ท่ามกลาง
ต้นไม้นอ้ ยใหญห่ ลายสิง่ ได้แก่

- หอหลวงปู่ขาว อนาลโย เป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งวัดถ้ากลองเพล จังหวัดอุดรธานี
ทพ่ี ระเกจิที่พระอาจารย์ไพบูลยใ์ ห้ความเคารพนับถือ

- วิหารพระหม่ืนปี อาคารมีขนาดใหญ่ ประดิษฐานพระพุทธรูปปางสมาธิซ่ึงเป็นพระประธาน
ใช้เปน็ ทปี่ ระชมุ สงฆห์ รอื ปฏิบตั ธิ รรม

- พระนาคปรก ประดิษฐานอยู่กลางแจ้ง ตรงข้ามวิหารพระหม่ืนปี เป็นพระพุทธรูปปูนป้ัน สีขาว
มเี ศียรพญานาคอยู่ดา้ นหลัง

- หอพระเงนิ เปน็ อาคารไม้ลวดลายสวยงาม ไม่มีผนงั เปน็ ที่ประดษิ ฐานพระพทุ ธรูปส้าริด ปางลีลา
จา้ นวนมาก แต่ละองคส์ งู ประมาณ 50 เซนติเมตร. และมรี ปู หลอ่ ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)
หอพระมีระเบียงด้านหน้า ที่สามารถชมทิวทัศน์กว๊านพะเยาจากมุมสูงได้ ถัดจากหอพระขึนไปเป็นสถูป

ใกลๆ้ กันมีพระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์ใหญ่ นามวา่ พระพุทธเมตตานภาวสิ ุทธิมงคล ประดิษฐานกลางแจ้ง
เป็นพระพทุ ธรปู ปนู ปัน้ สีขาว หน้าตักกวา้ งราว 10 เมตร มรี ูปปั้นกระต่ายสองตวั อยู่ด้านหน้า

- โบสถ์ ศิลปะล้านนา หน้าบันประดับด้วยปูนปั้นลวดลายสวยงาม หางหงส์และใบระกา
เป็นรูปพญานาค บันไดทางขึนเป็นปูนปั้นรูปพญานาคเช่นกัน พระประธานเป็นพระพุทธรูปปางนาคปรก
แกะจากไม้ ด้านหลงั โบสถ์มีเจดยี ศ์ ลิ ปะล้านนา ประดบั ปูนปน้ั สวยงาม
เขตสงั ฆำวำส ระหวา่ งเขตพุทธาวาสและสังฆาวาส มปี ระตไู มแ้ กะสลักเป็นรปู พญานาคบานใหญ่ กนั ในเขต
สังศาวาส มีกุฏิสงฆ์อยู่ท่ามกลางแมกไม้ บรรยากาศสงบร่มรื่น มีหอพระโบราณและหอพระแก้ว เป็นที่เก็บ
รวบรวมพระพุทธรูปองค์เล็กอันมีค่า ได้แก่ พระแก้วมรกตจ้าลอง พระบุษราคัม และพระทองค้า ซ่ึงทางวัด
จดั เวรยามดแู ลความปลอดภยั ตลอด 24 ช่วั โมง

- อุทยานพระพุทธศาสนา ตังอยู่บนเขาอีกลูกหน่ึงถัดจากตัววัด ต้องขับรถไปอีกราว
2.6 กิโลเมตร มสี ่งิ ก่อสรา้ งหลายแหง่ เรียงรายไปตามภูเขา ท่สี ้าคัญไดแ้ ก่ สังเวชนยี สถาน 4 จา้ ลอง ซง่ึ ถอด
แบบจากสวนลุมพินีสถานที่ประสูติของพระพุทธองค์ มีวิหารมายาเทวีและเสาอโศก รวมทังปูนปั้นรูปราช
กุมารสิทธัตถะยืนชีนิวมือข้างขวาขึนด้านบน มีดอกบัวศิลารองรับพุทธคยาสถานท่ีตรัสรู้ สถูปสารนาถ
สถานท่ีตรสั รู้ สถูปสารนาถสถานทีแ่ สดงธรรมโปรดปญั จวัคคยี และกุสนิ าราสถานท่ีปรินพิ พาน

- จุดสูงสุดที่รถเข้าถึงได้คือ บริเวณลานพระพุทธลีลา ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์สูงใหญ่มองเห็น
ได้แต่ไกล เป็นพระพุทธรูปทองเหลืองขัดเงารมด้าสูง 25 เมตร ทางเข้าเป็นซุ้มประตูโขงและบันไดนาค
บริเวณนอกเหนือจากนีเป็นพืนท่ีหวงห้ามเฉพาะคนภายใน ด้วยเป็นที่ตังของพระต้าหนักภูตะวัน ซ่ึงเคยใช้
เปน็ สถานทรี่ ับรองพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ฯ คราวเสด็จพระราชด้าเนนิ มายงั วัดอนาลโยทิพยาราม

วัดติโลกอำรำม-ทำ่ เรือวดั ติโลกอำรำม
พุทธสถานวดั กลางกวา๊ นพะเยา อ้าเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

วัดติโลกอาราม เป็นโบราณสถานแห่งหนึ่งที่จมอยู่ในกว๊านพะเยา เป็นวัดท่ีพระเจ้าติโลกราช
แห่งราชอาณาจักรล้านนาโปรดให้พระยายุทธิษถิระ เจ้าเมืองพะเยาสร้างขึนในราวปี พ.ศ.2019-2029
ในบริเวณท่ีเรียกว่าบวกส่ีแจ่งวัดแห่งนีเป็นชื่อวัดท่ีปรากฏอยู่ในศิลาจารึก ซ่ึงถูกค้นพบได้ในวัดร้างกลาง
กว๊านพะเยาหรือในบรเิ วณหนองเตา่ จากข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึก ทา้ ใหร้ ู้ว่าวดั นีมีอายุเก่าแก่มากกว่า
500 ปี สร้างในสมัยพระเจ้าติโลกราช กษัตริย์ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ วัดนีมีความส้าคัญทางประวัติศาสตร์
เพราะเป็นวดั ที่มีผู้ปกครองเมืองพะเยาได้สรา้ งถวาย เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติแกพ่ ระเจา้ ตโิ ลกราช

ในฐานะทรงเป็นกษัตริย์ผู้ย่ิงใหญ่แห่งอาณาจักรล้านนาวัดติโลกอารามจมอยู่ในกว๊านพะเยา
เนอื่ งจากในปี พ.ศ. 2482 กรมประมงสร้างประตูกนั น้าในกว๊านพะเยาเพ่ือกักเกบ็ นา้ จึงท้าใหบ้ รเิ วณกว๊าน
พะเยาท่ีแต่เดิมเป็นชุมชนโบราณ และมีวัดอยู่เป็นจ้านวนมากต้องจมน้าในอดีตพืนท่ีกว๊านพะเยาเป็นพืนท่ี
รองรับน้าจากเทือกเขาไหลลงมาเป็น ล้าห้วย ล้าธาร แม่น้า และกลายเป็นหนองน้าเล็กใหญ่ในช่วงฤดูแล้ง
ระหว่างเดือนมีนาคม-มิถุนายน ของทุกปี ปริมาณน้าจะลดลงท้าให้ชาวบ้านสามารถใช้พืนท่ีเกษตรกรรม
เลียงสัตว์และเป็นเส้นทางสัญจรไปมาระหว่างตัวเมืองกับหมู่บ้านรอบๆ กว๊านพะเยาและเม่ือหลายร้อยปี
มานันพืนท่ีในบริเวณของกว๊านพะเยาจะเป็นชุมชนหมู่บ้านมีวัดวาอารามอยู่หลายวัดและวัดติโลกอาราม
เป็นโบราณสถานแห่งหน่ึงที่จมอยู่ในกว๊านพะเยาเวียนเทียนกลางน้าแห่งเดียวในโลกเทศกาลเวียนเทียน
ท่ีวัดติโลกอาราม มีความแตกต่างจากการเวียนเทียนในวัดอ่ืนๆ คือ วัดติโลกอาราม จะเวียนเทียนโดยการ
นั่งเรือเวียนเทียนรอบวัดซึ่งตังอยู่กลางน้า โดยในแต่ละปีจะมีการเวียนเทียน 3 ครัง คือ วันมาฆบูชา
วันวิสาขบชู า และวนั อาสาฬหบชู า

การเดนิ ทาง
วัดติโลกอาราม สามารถเดินทางจากแยกประตูชัยเข้าสู่ตัวเมืองพะเยา โดยใช้ถนนประตูชัย และ

ถนนพหลโยธนิ จากนันจึงเลียวซา้ ยบริเวณธนาคารกสกิ รไทย ตามถนนทา่ กวา๊ น จนถึงท่าเรือกว๊านพะเยา

วัดพระธำตุจอมทอง
พระธาตุจอมทอง เป็นเจดีย์ทรงล้านนาสูง 30 เมตร ตังอยู่บนฐานส่ีเหล่ียมจตุรัสกว้าง 9 เมตร
ซ้อนกันสามชัน รองรับองค์ระฆัง ส่วนยอดสุดเป็นฉัตรสีทอง ฐานโดยรอบข้างลา่ งบุ ด้วยแผ่นโลหะดนุ ลาย
เป็นรูป 12 นักษัตร และลายไทยอันงดงามมาก ลักษณะคล้ายพระธาตุ หริภุญชัย จังหวัดล้าพูน
วัดพระธาตุจอมทองตังอยู่บนเนินเขาตรงข้ามวัดศรีโคมค้า ต้าบลเวียง อ้าเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
จากสแี่ ยกประตูชัย ทางหลวงหมายเลข 1 มุ่งหนา้ สแู่ มใ่ จ 2.5 กโิ ลเมตร มีแยกซ้ายมอื ผ่านหอสมดุ แห่งชาติ
เฉลมิ พระเกยี รตไิ ป 300 เมตร วดั อยู่ทางขวามือ

ความเป็นมานันเล่ากันว่า พระพุทธเจ้าเคยเสด็จมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่เมืองภูกามยาว
ประทับแรมบนดอยตังอยู่บนฝั่งหนองเอียงทางทิศเหนือ พระองค์ได้มอบพระเกศธาตุองค์หนึ่ง เพื่อน้าไป
ประดิษฐานไว้ในถ้าบนดอยนัน เป็นถ้าลึก 70 วา ซึ่งครอบครัวบ้านช่างทองท่ีน้าภัตตาหารมากถวาย
ซง่ึ เป็นเวลาเดยี วกนั กบั ต้านานของพระเจ้าตนหลวงแห่งวดั ศรโี คมคา้

วดั ลี
ที่ตังวัดลี ปัจจุบันอยู่ท่ีบ้านหล่ายอิง ใกล้กับโรงเรียนเทศบาล 3 ต้าบลเวียง อ้าเภอเมืองพะเยา จังหวัด
พะเยา

หลักฐำนทำงโบรำณโบรำณคดี หลกั ฐำนทำงโบรำณคดที ี่สำคัญ ไดแ้ ก่
1. เจดีย์ “พระธาตุวัดลี”เป็นเจดีย์เก่าแก่ที่สร้างขึนในสมัยพุทธศตวรรษที่ 21 และภายหลังได้รับ

การบูรณะปฎสิ ังขรณ์ครังใหญ่ ในชว่ งปี พ.ศ. 2463 - 2478 โดยครูบาศรวี ชิ ยั
2. พระพุทธบาทจา้ ลองหินทราย เปน็ โบราณวตั ถุท่สี า้ คัญของวดั มมี าตงั แต่ดังเดมิ
3. ศลิ าจารกึ วดั ลี เปน็ จารกึ ทก่ี ล่าวถึงประวัติการสร้างวัดลีในพ.ศ. 2038 และเป็นหลกั ฐานส้าคัญ

ชนิ เดยี วท่ที ้าใหไ้ ด้ความเปน็ มาของวดั ลี

ประวัติ “วัดลี” เป็นวัดท่ีเก่าแก่ท่ีส้าคัญวักหนึ่งของเมืองพะเยามาช้านาน มีปูชณียสถานที่ส้าคัญ
และศกั ด์สิ ิทธิ์คือ องคพ์ ระธาตุธาตุวดั ลี ซง่ึ เป็นทเี่ คารพสกั การบชู าของชาวพะเยา และประชาชนโดยทั่วไป

“วัดลี” เป็นชื่อแต่ดังเดิม ความหมายค้าว่า “ลี” เป็นค้าโบราณของไทยทางภาคเหนือ หมายถึง
กาดหรือตลาดในความหมาย “วัดลี” นันก็คือ วดั ท่ีอยู่ในยา่ นชมุ ชนตลาด

ประวัติของวัดลี ตามหลักฐานท่ีปรากฏอยู่ในจารึก พย. 27 ได้กล่าวถึง การสร้างวัดลี
เม่ือปีจุลศักราช 857 หรือปี พ.ศ. 2038 ตรงกับสมัยของพระเจ้ายอดเชียงราย กษัตริย์แห่งอาณาจักร
ล้านนา (เชียงใหม่) พระเจ้ายอดเชียงรายได้มีพระราชโองการให้เจ้าหม่ืนหน่อ เทพครู ผู้เป็นพ่อครูหรือ
พระราชครูของพระเจ้ายอดเชียงราย ขณะนันมากินต้าแหน่งเป็น “เจ้าสี่หมื่นพะเยา”ฐานะเป็นเจ้าผู้ครอง
เมือง ได้มาสร้างวัดลีเพื่อเป็นการถวายส่วนบุญ ส่วนกุศลแด่พระเจ้ายอดเชียงรายกษัตริย์เมืองเชียงใหม่
เจ้าสี่หม่ืนพะเยาได้มากระท้าพิธีฝังหินก้าหนดเขตวัดและ ผูกพัทธสีมาเป็นอุโบสถไว้กับวัดลี เมื่อวันอาทิตย์
ขึน 8 ค้่า เดือน 9 เหนือ (ประมาณปลายเดือน พ.ค. หรือต้นเดือน มิ.ย.) ปีพ.ศ. 2038 และเจ้าสี่หม่ืน
พะเยาได้อาราธนาพระมหาสามีญาณเทพ จากวัดมหาพรมาเป็นประธานในพิธี พร้อมกับมีพระเถระส้าคัญ
จากวัดต่างๆ ในเมืองพะเยามาร่วมพิธี อาทิเช่น พระมหาสามีนนท์ จากวัดพญาร่วง พระเถระญาณสุนทร
จากวัดป่าพระเถรญาณมงคลจากวัด (หลักฐานจากจารึกช้ารุด)เป็นต้น เจ้าสี่หม่ืนพะเยาได้ถวายที่นาให้

วัดหรือที่เรียกกันว่า “นาจังหัน” ซึ่งผู้ที่น้านาในจังหันจะต้องเสียภาษีให้กับวัด รายได้จากภาษีนา
เป็นค่าทะนุบ้ารุงวัด ทังข้าวัดและนางจังหันเป็นกรรมสิทธ์ิของวัดโดยสมบูรณ์ กษัตริย์รัชกาลที่สืบต่อมา
ไมม่ สี ิทธจ์ิ ะเพิงถอน พระมหาเถรปัญญาวังสะ ได้รบั การแต่งตงั เป็นเจ้าอาวาสองค์แรกของวัดลี และมีลูกวัด
ร่วมเป็นจา้ พรรษาอยู่ 3รปู คือ พระเถระญาณทสั สี พระเถรสวรเทพ และพระเถรพทุ ธมิ า

ภายหลังในสมัยของพระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์หรือท้าวแม่กุ กษัตริย์อาณาจักรล้านนา ได้เกิดสงคราม
ระหว่างล้านนากับพม่า และพระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์ของพม่าสามารถยึดครองล้านนาได้ส้าเร็จ
ทา้ ใหล้ ้านนาตกเปน็ เมืองขึนพม่านับถือตงั แต่พ.ศ.2101 จนถงึ พ.ศ.2317 รวมระยะเวลานานถึง 216 ปี
สภาพการเป็นเมืองขึนของพม่า ท้าให้เมืองล้านนาไม่มีความสงบสุข เพราะต้องอยู่ในภาวะสงครามเกือบ
ตลอดเวลาและผู้คนล้มตายไปในสงครามเป็นจ้านวนมาก เน่ืองจากถูกกองทัพพม่าเกณฑ์ไปรบในสงคราม
ระหว่างพม่ากับกรุงศรีอยุธยาหลายครัง และอีกส่วนหน่ึงถูกกวาดต้อนเป็นเชลยและเกณฑ์ไปเป็นทาสใช้
แรงงานในพม่า ด้วยเหตุนีเองท้าให้ประชากรในล้านนาลดลงเป็นนอย่างมาก และตายหัวเมืองต่างๆ
ของล้านนารวมถึงเมืองพะเยาต้องกลายเป็นเมืองร้างไปเป็นเวลายาวนาน ส่วนทางด้านศาสนาก็ขาดผู้คน
มาทะนบุ ้ารงุ จงึ ทา้ ให้วดั วาอารามสว่ นใหญถ่ กู ปล่อยให้รกร้างช้ารุดทรุดโทรมต้องกลายเป็นวดั ล้างไปในทีส่ ดุ

ความล่มสลายของอาณาจักรล้านนาท้าให้การฟ้ืนฟูบ้านเมืองต้องใช้ระยะเวลายาวนาน
เพราะการขาดผู้น้าที่เข้มแข็งและไม่มีก้าลงั คนมากพอจะมาพลิกฟ้ืนเมือง จนกระทังปี พ.ศ. 2317 ในสมัย
กรุงธนบุรี พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงได้ยกกองทัพพม่าออกจากล้านนาได้เป็นผลส้าเร็จ
ท้าให้ลา้ นนาได้ รบั ปลดปลอ่ ยเปน็ อิสรภาพ หลงั จากนันล้านนาจงึ เริ่มเขา้ สู่ยคุ การฟืน้ ฟูเมืองภายใตน้ โยบาย
“เก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าเข้าเมือง” ส้าหรับเมืองพะเยากว่าจะได้รับการฟ้ืนฟูตังเมืองขึนมาอีกครังก็เข้ายุค
กรุงรัตนโกสินทร์แล้ว คอื เมื่อปี พ.ศ. 2386 ในสมยั ของพระบาทสมเด็จพระนง่ั เกล้าเจ้าอยู่หัว ราชาลที่ 3
ส่วน วัดลี แม้จะไม่ปรากฎประวัติหลักฐานแน่ชัดในชว่ งสมัยพม่ายึดครองล้านนา แต่เข้าใจว่าไม่แตกต่างไป
จากวัดอื่นๆ ในเมืองพะเยาสมัยนัน คือถูกปล่อยให้รกร้าง ดังจะเห็นได้ จากหลักฐานเอกสารในหนังสือ
ราชการของกระทรวงมหาดไทยที่ 33/142 ลงวันท่ี 5 เมษายน 2447 ซึ่งสมเด็จเจ้าฟ้าพระยาด้ารง
ราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ทรงน้าความกราบทูลเพ่ือขอพระราชกระแสอนุญาต
จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาล ท่ี 5 เพ่ือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ย้าย
เมืองพะเยาไปอยู่ ท่ีบ้านแม่ต้่า ในหนังสือได้บรรยายสภาพของเมืองพะเยาสมัยนันว่า ในเขตเวียงมีสภาพ
แห้งแล้งกันดารน้าราษฎรท้ามาหากินล้าบาก และราษฎรที่ทนล้าบากไม่ได้ก็อพยพไปอยู่ท่ีอ่ืนกันหมด
บ้านราษฎรเหลืออยู่ประมาณ 260 หลังคาเรือนและแทบจะไม่ค่อยมีผู้คนอาศัย จะเหลือเพียงแต่ที่ท้าการ
ของราชกาลเท่านัน ผู้คนส่วนใหญ่อพยพไปอยู่บ้านแม่ต้าเนื่องจากอยู่ใกล้แม่น้าอิงและมีผู้คนอยู่หนาแน่น
และในส่วนของวัดวาอารามส่วนใหญ่อยู่สภาพเป็น วัดร้าง จะมีวัดที่เหลืออยู่ไม่กี่แห่ง แต่ละวัดก็มี
พระจ้าพรรษาอยเู่ พยี ง 2-3 รูปเทา่ นนั

วัดลี ซ่ึงได้ผ่านการเป็นวัดร้างมาหลายร้อยปีเพ่ิงมาได้รับการบูรณะปฎิสังขรณ์ครังใหญ่
และยกฐานะขนึ เป็นมาเปน็ วัดอีกครัง ในช่วงปี พ.ศ. 2463 -2478 โดยมพี ระครูบาศรวี ิชัย นกั บุญลา้ นนา
เจา้ อาวาสวัดบ้านป๋าง จงั หวดั ล้าพนู มาเป็นผ้นู า้ ในการบรู ณะปฎสิ งั ขรณ์ เมื่อการบรู ณะปฏิสงั ขรณ์แล้วเสร็จ
จึงได้ไปนิมนต์ครูบาแก้วมูลญาณวุฑฺฒิ ซึ่งเป็นพระลูกศิษย์ของครูบาศรีวิชัย ขณะนันจ้าพรร ษา
อยู่ที่วัดพระเจา้ ตนหลวงให้มาเปน็ เจ้าอาวาสวดั ลี ตอ่ มาจนกระทัง ปพี .ศ. 2510 ทา่ นจงึ มรณภาพ และได้มี
การแต่งตังพระศรีทอนซึ่งเป็นพระลูกวัดขึนรักษาแทน เจ้าอาวาส ภายหลัง ภายหลังปีพ.ศ. 2512
เจ้าอาวาสรักษาการได้ลาสิกขา คณะกรรมการวัดและศรัทธาวดั จึงได้ไปนิมนต์พระบุญชื่น ฐิตธมฺโม จากวัด
แม่ตา้ เมอื งชมุ จงั หวดั พะเยาให้มาเป็นเจา้ อาวาสวัดลี สืบตอ่ จวบจนปัจจบุ นั

วัดศรอี โุ มงคค์ ำ

ชาวบ้านเรียกว่าวัดสูง ที่ตังวัดตังอยู่บนเนินสูง โบสถ์และเจดีย์ก็ตังอยู่บนฐานสูง มองดูโดดเด่น
เมื่อมองจากทุกทิศทางและมองจากริมกว๊านพะเยา มาถึงวัดศรีอุโมงค์ค้า “มานมัสการพระเจ้าล้านตือ
และพระเจา้ แข้งคม”

พระเจ้าล้านตือ หรือพระเจ้าแสนแซ่ หรือหลวงพ่องามเมืองเรืองฤทธิ์ เป็นพระพุทธรูปส้าริด
ปางมารวิชัย ศิลปะสุโขทัยผสมศิลปะพะเยา ปิดทองทังองค์ ถือได้ว่าเป็นพระพุทธรูปองค์หนึ่งท่ีงดงาม
แห่งล้านนา ประดิษฐานเป็นพระประธานภายในโบสถ์คู่กับพระเจ้าแข้งคม ค้าว่า “ตือ” เป็นหน่วยการนับ
ของลา้ นนาดงั นี หน่วย สบิ ร้อย พนั หมน่ื แสน ลา้ น โกฏิ ตอื

พระเจ้าแข้งคม เป็นพระพุทธรูปหินทรายปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 1.3 เมตร สูง 1.9 เมตร
บริเวณหน้าแข้งมีลักษณะเป็นเหล่ียม แตกต่างจากพระพุทธรูปโดยทั่วไป สัณนิษฐานว่าสร้างในสมัยพระยา
ยุทธษิ ฐิระ ซงึ่ มคี วามสัมพันธ์อันดีกับพระเจา้ ติโลกราชแห่งเชียงใหม่ พระเจา้ ติโลกราชโปรดใหส้ ร้างพระเจ้า
แข้งคมประดิษฐานในวัดศรีเกิด จ.เชียงใหม่ พระยายุทธิษฐิระจึงน้าแบบอย่างมาสร้างประดิษฐานขึน
ทพ่ี ะเยา แตกต่างกนั ทีว่ ัสดุท่ีพะเยาเปน็ พระพุทธรปู หินทราย ส่วนทางเชยี งใหม่เป็นพระพทุ ธรปู สา้ ริด

เจดีย์เป็นศิลปะเชียงแสนสีทองอร่าม อยู่ด้านหลังโบสถ์ มีฐานส่ีเหล่ียมซ้อนกัน 3 ชัน ต่อด้วย
เรือนธาตุรูปแปดเหล่ียมย่อมุม บนเรือนธาตุมีซุ้ม จระน้าทังสี่ทิศ สูงขึนเป็นองค์ระฆังกลม บัลลังก์
ปล้องไฉนและปลยี อด

พระเจ้าทนั ใจ เป็นพระพุทธรปู หนิ ทรายปางมารวชิ ยั หนา้ ตกั 2 เมตร ประดิษฐานในวิหารหลังเสา
ท่ีตังอยู่ติดกับอาคารเรียนของโรงเรียน พินิตประสาธน์ ชาวบ้านมีความเช่ือว่า ขอพรส่ิงใดก็ได้สิ่งนัน
อย่างรวดเร็วทันใจ ภายในศาลายังมีพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่งคือ พระเจ้ากว๊าน เป็นพระพุทธรูปหินทราย
ปางมารวิชัย หน้าตกั กว้าง 1 เมตร ขดุ พบในเจดยี โ์ บราณกลางกว๊านพะเยา

วัดตังอยู่ในเขตเทศบาลเมืองพะเยา จากส่ีแยกประตูชัย ใช้ถนนประตูชัยตรงเข้าถนนดอนสนาม
แลว้ เลียวซา้ ยเข้า ถนนพหลโยธิน (สายเก่า) ตรงไปประมาณ 300 เมตร วัดอยขู่ วามอื

วดั ป่ำแดงบุญนำค
สถานท่ตี งั วดั ป่าแดงบุณนาค บ้านปา่ แดง ต้าบลทา่ วงั ทอง อ้าเภอเมือง จังหวัดพะเยา

เป็นวัดเก่าแก่ตังแต่สมัยพระพุทธศาสนาเข้ามาในอาณาจักรพะเยา เดิมชื่อวัดบุญนาคตอนหลัง
มีการสร้างวัดใหม่เพิ่มชื่อว่า วัดป่าแดง ปัจจุบันก็รวมเป็นวัดเดียวกันชื่อ วัดป่าแดงบุญนาค เป็นวัดส้าคัญ
ของเมืองพะเยา พบศิลาจารึก 2 หลักในบริเวณวัด จารึกหลักที่ 1 เมื่อปี พ.ศ. 2042 เรียกชื่อวัดนีว่า
วัดพญาร่วง จารึกหลักที่ 2 เม่ือปี พ.ศ. 2078 กล่าวถึงพระเป็นเจ้าอยู่หัว (พระเมืองเกษเกล้า กษัตริย์
เชียงใหม่) มีราชโองการให้เจ้าเมืองพะเยาสร้างมหามณฑปขึนในเมืองพะเยาจากเหตุการณ์
ทางประวัติศาสตร์ ประกอบกับลักษณะแบบแผนขององค์เจดีย์แบบสุโขทัย ท้าให้พิจารณาได้ว่าวัดนีน่าจะ
สร้างสมัยพระยายุทธิษฐิระ เจ้าเมืองพิษณุโลก เมื่อครังที่ท่านอพยพมาอยู่ล้านนา เป็นเจ้าเมืองพะเยา
ตอนตน้ พุทธศตวรรษท่ี 21

ส่ิงก่อสร้างท่ีส้าคัญภายในวัด มีพระเจดีย์ลักษณะเป็นศิลปะแบบสุโขทัย พระเจดีย์ทรงล้านนา
มลี กั ษณะคลา้ ยกับเจดยี ์วัดป่าสัก อา้ เภอเชยี งแสน จงั หวัดเชียงราย มเี นนิ ซากโบราณสถานจ้านวน 25 แห่ง
ซากแนวก้าแพงโบราณ 4 แนว สถานท่ีตังวัดป่าแดงบุญนาค ตังอยู่ ณ บ้านป่าแดง ต้าบลท่าวังทอง
อ้าเภอเมือง จังหวัดพะเยา อยู่ห่างจากตัวเมืองพะเยาประมาณ 1.5 กิโลเมตรไปทางทิศเหนือ ความส้าคัญ
ต่อชุมชน วัดป่าแดงบุญนาคได้รับการยกย่องให้เป็นวัดแรกท่ีมีการตานก๋วยสลาก หรือประเพณีสลากภัตต์
ในปัจจุบัน วัดป่าแดงบุญนาคเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปเก่าแก่ท่ีส้าคัญของจังหวัดพะเยา คือ หลวงพ่อ
นาคและพระพุทธรูปไมแ้ ก่นจนั ทร์ ปัจจุบันประดษิ ฐาน ณ พิพิทธภณั ฑ์ณสถานแหง่ ชาติ

วัดหลวงรำชสณั ฐำน

ไม่ควรพลาดชมจิตรกรรมฝาผนังบนแผ่นไม้ วัดตังอยู่ในต้าบลเวียง อ้าเภอเมือง จังหวัดพะเยา
เดิมเป็นวัดร้าง ต่อมาเจ้าหลวงวงศ์ร่วมกับชาวบ้านได้บูรณะปฏิสังขรณ์จนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2387
ชาวบ้านเรยี กวา่ วดั หลวง เนื่องจากเป็นวัดที่เจ้าหลวงวงศซ์ ่ึงครองเมืองพะเยาเป็นผบู้ ูรณะปฏสิ ังขรณ์นั่นเอง
ตอ่ มาไดม้ ปี ระชาชนมาประกอบพธิ ที างศาสนาและไดช้ ่ือว่าวดั หลวงราชสัณฐาน

วหิ ารเป็นสถาปัตยกรรมแบบพืนเมืองล้านนาทสี่ วยงามแห่งหน่ึงมีอายุกว่าร้อยปี ดา้ นทิศตะวันออก
ที่เสาประตูทังสองข้าง มีรูปปั้นสิงห์เฝ้าประตูข้างละตัว เดินเหยียบย่างตรงขึนบันไดนาค ทางเข้าสู่ประตู
วิหารมีสิงหป์ ้ันด้วยปูนที่ข้างประตูอีกด้านละตัว ภายในวิหารเป็นโถงใหญ่ ภายในเป็นที่ตังพระประธานและ
พระพทุ ธรูปอีก 4 องค์ ภาพจติ รกรรมฝาผนงั ทีอ่ ยภู่ ายในเขียนด้วยสีฝ่นุ ผสมกาวยางไม้ เขยี นลงบนกระดาษ
สา ผ้าแปะอยู่บนผนังไม้เป็นเร่ืองมหาชาติชาดกและพุทธประวัติในปี 2527 เกิดพายุฝนท้าให้วิหาร
พังทลายลงมาทังหมด ต่อมาเม่ือสร้างวิหารหลังใหม่บนฐานเดิมและคงรูปแบบสถาปัตยกรรมเดิมไว้
ทางวัดได้น้าภาพจิตรกรรมของเดิมมาติดตัง ประกอบเข้ากับวิหารหลังใหม่ เป็นสิ่งท่ีนักท่องเที่ยวน่าแวะ
ไปชมอย่างยิ่ง พระเจดีย์เป็นทรงพืนเมืองล้านนา ประกอบด้วยฐานเขียงส่ีเหลี่ยมสามชัน ต่อด้วยบัวหงาย
มเี รอื นธาตถุ ัดขึนไป เปน็ บัวคว้า่ บัวหงาย ตอ่ ด้วยฐานเขยี งรูปทรงกลมสามชัน ต่อด้วยมาลัยเถา รปู ทรงกลม
ถัดขึนเป็นคอระฆังกลม องค์ระฆังรูป 8 เหลี่ยม ถัดขึนไปเป็นบัลลังก์ 8 เหล่ียม ปล้องไฉนเป็นปูนปั้นรูป
กลบี บัว 2 ชนั และปลยี อด

หอวัฒนธรรมนิทศั น์ วดั ศรโี คมคำ
สถานท่ีตัง ติดกับก้าแพงวัดศรีโคมคา้ ถนนพหลโยธิน ต้าบลเวยี ง อ้าเภอเมือง จงั หวัดพะเยา

หอวัฒนธรรมนิทัศน์วัดศรีโคมค้านี เป็นสถานท่ีของวัด โดยมีพระเดชพระคุณพระอุบาลีคุณู
ปมาจารย์เป็นผู้ให้ก้าเนิด และเป็นผู้อ้านวยการ จัดสร้างและเปิดท้าการเมือวันที่ 18 มกราคม 2539
โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ทรงเสด็จเปิดงานอย่างเป็นทางการ เป็นสถานท่ี
จัดแสดงวัตถุโบราณ รวมถึงเอกสารข้อมูลส้าคัญทางประวัติศาสตร์ ทังด้านวรรณกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
วัฒนธรรมประเพณี และวิถีความเป็นอยู่ของชาวบ้านในจังหวัดพะเยา เป็นผลงานแห่ง
ความอุตสาหพยายามในการสืบเสาะและเก็บรักษาของหลวงพ่อ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ เจ้าอาวาส
วัดศรีโคมค้าเป็นเวลากว่า 43 ปี ที่หลวงพ่อได้พบซากปรักหักพังและประติมากรรมในยุคหินทราย
ของเมืองพะเยา (พุทธศตวรรษที่ 20-22) อาทิ ส่วนเศียรและส่วนองค์พระพุทธรูปที่แตกหักช้างเอราวัณ
4 เศียร ดอกบัวหินทราย ถ้วยชามเวียงกาหลง เป็นต้น ตลอดจนการกลันกรองจนกลายเป็นหอวัฒนธรรม
นิทัศน์วัดศรีโคมค้าต้องใช้ระยะเวลากว่า 32 ปี จึงแล้วเสร็จสมบูรณ์ ในปี พ.ศ.2539 และมีพิธีเปิด
เม่ือวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2539 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี เสด็จมาเป็นองค์ประธานท้าพิธีเปิด หอวัฒนธรรมนิทัศน์ วัดศรีโคมค้าได้รั บการ
ออกแบบด้วยศิลปะล้านนาประยุกตด์ ้านหลังอาคารติดกับกว๊านพะเยาจึงมีภมู ิทัศน์ทสี่ วยงามตามธรรมชาติ
ภายในอาคารมีพืนท่ีในการจัดแสดงจ้านวน 2,000 ตารางเมตรบนอาคาร 2 ชัน ประกอบด้วยห้องจัด
แสดงทงั หมด 5 หอ้ งแต่ละหอ้ งแบง่ เป็นสว่ นๆ รวมทังหมดเปน็ 11 ส่วน ไดแ้ ก่

1. ห้องกว๊านพะเยา เป็นห้องที่จัดแสดงประวัติกวา๊ นพะเยา เร่ิมตังแต่ประวัติที่เป็นนิทานปรัมปรา
กว๊านพะเยาในอดีต ตังแต่ก่อนปี พ.ศ.2482 และหลังปี พ.ศ. 2484 รวมถึงวิถีชีวิตการประมงในเมือง
พะเยา

2. ลานศิลาจารึก เมื่อเดินออกจากห้องกว๊านพะเยาแล้วจะเข้าสู่บริเวณ “ลานศิลาจารึก”
ส่ิงท่ีจะเห็นได้ชัดในมุมนีคือ หลวงพ่อพุทธเศียร เศียรพระพุทธรูปหินทรายขนาดใหญ่ใสมัยพุทธศตวรรษ
ที่ 20-21 ได้ค้นพบที่วดั สบรอ่ งขุย วัดรา้ งทสี่ ันนษิ ฐานว่าเป็นสถานท่ถี ือน้าพิพฒั น์สาบานของพ่อขุนงา้ เมือง
พ่อขุนมังราย และพ่อขุนรามค้าแหง(พระร่วง) เมื่อปี พ.ศ.1830 หลวงพ่อพุทธเศียร ถือได้ว่าเป็น
พระพุทธรูปหินทรายที่มีพุทธลักษณะสวยงามที่สุดตามแบบศิลปะสกุลช่างพะเยาในยุคต้นที่ได้รับอิทธิพล
จากสุโขทัย นอกจากนียังมีหลักศิลาจารึก ส่วนใหญ่เป็นหลักศิลาจารึกหินทรายในช่วงศตวรรษท่ี 20-22
(พ.ศ.1900-2200) ซึ่งเป็นหลักฐานชินส้าคัญทางประวัติศาสตร์ ที่สามารถน้ามาผูกโยงถึงระยะเวลา
และเหตุการณท์ างประวัติศาสตร์อย่างชดั เจนจากการคน้ พบหลักศลิ าจารึกทังหมด 117 หลกั และมากที่สุด
เท่าท่มี กี ารคน้ พบ

3. พะเยาก่อนประวัติศาสตร์ เป็นส่วนจัดแสดงเรื่องเมืองพะเยาก่อนประวัติศาสตร์ซ่ึงอยู่บริเวณ
ชัน 2 ของอาคาร มีการจัดแสดงวัตถุโบราณในยุคหิน อันได้แก่เคร่ืองมือตังแต่ยุคหินกระเทาะจนถึงยุคหิน
ขัด เช่น มีด หอก ขวาน ฯลฯ สันนิษฐานว่ามีอายุกว่า 2,500-7,000 ปี ทังหมดจัดแสดงในห้องท่ีจ้าลอง
บรรยากาศคล้ายเมืองโบราณ

4. พะเยายุคต้น เน้นการเผยแพร่ประวัติพะเยาในแคว้นล้านนา หลังพระยามังรายยึดเมืองหริภุญ
ไชย (ล้าพูน) และเขลางค์ (ล้าปาง) พระองค์ได้สร้างเมืองเชียงใหม่ขึนเป็นศูนย์กลางอ้านาจที่ลุ่มแม่น้าปิง
เม่ือปี พ.ศ.1839 ซ่ึงเป็นจุดก้าเนิดของแคว้นล้านนา และการแสดงสถานการณ์จ้าลองเม่ือครังพระยามัง
รายตดั สินคดที พ่ี ระรว่ งปลอมเป็นพระยางา้ เมืองไปหาพระมเหสีของพระยางา้ เมือง

5. พะเยายุครุ่งเรือง เป็นห้องอลังการที่สุด (ทางพระพุทธศาสนา) ในบรรดาห้องทังหมด
ของหอวัฒนธรรมนิทัศน์ฯ เนื่องจากมีการจัดแสดงศิลปะและวัตถุโบราณในยุครุ่งเรืองของเมืองพะเยา
ความงดงามของห้องนีอยู่ท่ีพระพุทธรูปท่ีมีพุทธศิลป์ที่แตกต่างกัน 5 องค์ คือ หลวงพ่อสุโข พระเจ้าขีอาย
พระหินทรายทรงเคร่ือง พระพุทธรูปเนือสัมฤทธิ์ และสุดท้าย พระพุทธรู ปหินทราย ศิลปะพะเยา
นอกจากนีก็มี ปฎิมากรรมหนิ ทรายเมืองพะเยา พระเคร่ือง และเครื่องใช้สัมฤทธิต์ ่างๆ มากมาย

6. เครื่องปันดินเผาเมืองพะเยา เคร่ืองป้ันดินเผาเป็นอีกสิ่งหนึ่งท่ีขุดพบเป็นจ้านวนมากในเมือง
พะเยา ไม่ว่าบรรดาจาน ชาม ถ้วย หรือไห ที่ถูกค้นพบมากท่ีสุด หนึ่งในจ้านวนเหล่านัน คือ ไหปูรณคตะ
ซ่ึงเป็นไหทใี่ ชบ้ ูชาหนา้ พระ ถือว่าเปน็ ไหท่ีสวยงามท่สี ดุ มลี วดลายสตั ว์ป่าหิมพานตท์ ีส่ อ่ื ถึงหลักอภปิ รัชญา

7. พะเยายุคหลัง ส่วนนีได้จัดแสดงเรื่องราวและวัตถุโบราณของเมืองพะเยาหลังถูกพม่ายึดครอง
และถูกผนวกเข้ากับอาณาจักรล้านนา เมื่อราวปี พ.ศ. 2101 ห้องนีจัดแสดงสิ่งของหลากหลาย
แต่ท่นี ่าสนใจมากที่สุด คอื หัวใจและปอด ของพระประธาน ท่ถี ูกคน้ พบในวหิ ารวดั หลวงราชสณั ฐาน รวมถึง
อัญมณีของมีค่าต่างๆ อาทิแหวน เพชรพลอย ดอกไม้ทอง ดอกไม้เงิน แผ่นเงิน แผ่นทองท่ีบรรจุไว้ในหัวใจ
พระประธาน

8. กบฎเงียว ส่วนนีจัดแสดงเรื่องราวเงียวบุกปล้นเมืองพะเยา เม่ือปี พ.ศ.2445 โดยจุดเด่นอยู่
ทเ่ี สอื ของปแู่ สนผวิ เสมอเชือ ผูส้ มคบคิดกบั กบฎเงยี วเขา้ ปลน้ พะเยา เสอื ตัวดงั กล่าวเปน็ เสือทป่ี ูแ่ สนผิวสวม
ใส่ขณะถูกน้าตัวไปประหารชีวิตเม่ือวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2445 ณ สุสานประตู ท่าแป้น
เมืองพะเยา

9. วิถีและภมู ปิ ญั ญา จดั แสดงเรื่องราวของบุคคลสา้ คญั ของเมืองพะเยา ทังดา้ นประวตั ิศาสตร์และ
ภูมิปญั ญาท่ีมคี วามเกีย่ วข้องกับเมืองพะเยา

10. คนกบั ชา้ ง หอ้ งนจี ดั แสดงเร่ืองราวของช้างในด้านต่างๆในล้านนา ไมว่ ่าจะเปน็ วิถีชีวิตของช้าง
ความเชื่อ รวมถึงคติทางพระพุทธศาสนา นอกจากนียังมี ฟอสซิลช้าง 4 งา อายุราว 15 ล้านปี ฟอสซิล
ไดโนเสาร์ อายุราว130 ล้านปีและฟอสซิลของ ปู 2 ตัวที่กอดกันตายจนกลายเป็นหินอายุกว่า 3,000 ปี
ท่มี าของชื่อ คูร่ กั มหัศจรรย์ ชวี ิตผกู พันธุอ์ มตะ 3,000 ปี

11. คลังวัตถุโบราณ ห้องสุดท้ายเป็นห้องเก็บวัตถุโบราณท่ีไม่ได้จัดเข้าเป็นหมวดหมู่ นอกจากนัน
ยงั ประดษิ ฐาน หลวงพ่อองคด์ า้ พระพุทธรูปเนือสมั ฤทธิ์แก่ทองคา้ ผวิ ขององค์พระจึงออกสดี ้า เปน็ ที่มาของ
ชื่อ พระเจ้าองคด์ า้

อุทยำนกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์และดำรำศำสตร์
ควำมเปน็ มำ

ปัจจุบันวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและไอซีท่ีได้เข้ามามีบทบาทส้าคัญต่อชีวิตและความเป็นอยู่
ของประชาชนเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีต้องการพัฒนาอนาคตองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยาได้เล็งเห็น
ความส้าคัญของการศึกษาทุกระดับจึงได้จัดตังสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
และอุทยานการเรียนรู้จงั หวดั พะเยาเพื่อเปน็ แหล่งบริการความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละดาราศาสตร์
อำคำรนทิ รรศกำรวิทยำศำสตร์

อาคารนิทรรศการวิทยาศาสตร์ แบง่ โซนหลกั ๆ ออกเป็น 8 โซน ดงั นี

1. 3D มัลติมีเดีย มิติใหม่ในการเรียนรู้ ภาพยนต์ 3 มิติ แนววิทยาศาสตร์ ที่ดูด้วยแว่นตาโพลา
รอยด์

2. สัมผัสแห่งจินตนาการและนักวิทยาศาสตร์ สัมผัสแห่งจินตนาการมหัศจรรย์ สนุกสนานกับ
อุปกรณ์แบบ Interactive ที่ทันสมัย โดยใช้เซนเซอร์ (Sensor) จับการเคลื่อนไหวเพ่ือการปฏิสัมพันธ์
โต้ตอบกับผู้ใช้งาน นักวิทยาศาสตร์ ได้จัดการแสดงเกี่ยวกับวิถีชีวิตและประวัตินักวิทยาศาสตร์คนส้าคัญ
ของโลก ซ่ึงเป็นตน้ แบบหรือแนวทางแห่งการพัฒนาสู่เทคโนโลยีต่างๆในปจั จบุ ัน รวมถงึ เพอ่ื เทดิ พระเกียรติ
บิดาแหง่ วทิ ยาศาสตร์ไทย

3. อาณาจกั รแห่งชวี ิต อาณาจักรแห่งชีวิต (Living Things) เรียนรู้เกยี่ วกบั หน่วยของสิ่งมชี วี ิตของ
พืชและสัตว์ อวยั วะต่างๆในร่างกายมนษุ ยจ์ ากอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์

4. ธรรมชาติบนโลก อุตุนิยมวิทยาและคณิตศาสตร์ เรียนรู้เก่ียวกับรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
หน้าท่ี ความส้าคัญหรือความแตกต่างของ หิน แร่ ภูเขาไฟ การเกิดเมฆฝน จ้าลองส่ิงมีชีวิต ท่ีอยู่อาศัยของ
สัตวใ์ นยุคดกึ ด้าบรรพ์ ทงั บนพืนดนิ และใต้สมุทร

อุตุนิยมวิทยาจัดแสดงชุดอุปกรณ์ตรวจสภาพอากาศพร้อมกับโปรแกรมการพยากรณ์อากาศ
ทที่ นั สมยั เพ่อื ใหท้ ราบสภาพอากาศ ณ เวลาปัจจุบนั

สนุกสนานกับเกมส์คณิตศาสตร์ ท่ีเสริมสร้างทักษะการคิดทางคณิตศาสตร์ โดยสามารถศึกษา
ท้าความเข้าใจด้วยตนเอง

5. มิติใหม่สารใกล้ตัวและแดนฟิสิกส์ สนุกกับอุปกรณ์สัมผัสและโต้ตอบท่ีทันสมัย เรียนรู้ 108
เรื่องธาตุ โดยสามารถน้าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ้าวันและเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆ
ท่ีเกิดขึนรอบตัวเรา ตะลุยแดนฟิสิกส์ Physics Quest สนุกสนานกับการสัมผัสและทดลองเล่นอุปกรณ์ท่ี
ทันสมัยด้วยตัวเองในเร่ืองต่างๆ เช่น กระจก แสงและการมองเห็น การอนุรักษ์โมเมนตัม วงจรไฟฟ้าและ
ไฟฟา้ สถติ เปน็ ต้น

6. ไขปริศนาดาราศาสตร์และท้องฟ้าจ้าลอง ไขปริศนาดาราศาสตร์ เรียนรู้เกี่ยวกับดาราศาสตร์
ระบบสุริยะรวมทังดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ต่างๆในห้วงอวกาศ ผ่านอุปกรณ์แบบ Interactive ท้องฟ้า
จ้าลองสถานีความรู้เพ่ือการสร้างจินตนาการและความบันเทิงทางดาราศาสตร์ท่ีแสดงเรื่องราวของ
ปรากฏการณต์ า่ งๆ ทางดาราศาสตร์และอวกาศ

7. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหรรษา เพอ่ื เสรมิ สรา้ งใหเ้ กิดจินตนาการใหม่ๆและพัฒนาการการเรียนรู้ทางด้าน
กลศาสตร์ พลังงาน คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การพัฒนาทกั ษะดา้ นภาษาองั กฤษ

8. ห้องสมุด ห้องสมุดมีชีวิต Active Library สนุกสนานกับการศึกษา เรียนรู้ด้วยสื่อรูปแบบต่างๆ
หนังสือในห้องสมุดจะท้าให้คุณรู้สึกรักการเรียนรู้ รักการอ่านมากขึน และกระตุ้นให้เกิดจินตนาการที่
สรา้ งสรรค์

อำคำรหอดดู ำว
อาคารหอดดู าวมกี ลอ้ งโทรทรรศนท์ ี่ใชใ้ นการศึกษาเทหวตั ถุบนท้องฟ้าดว้ ยกัน 2 ตัว ดงั นี

1. กล้องโทรทรรศน์แบบหกั เหแสง ขนาดหน้ากล้อง 6 นิว

2. กลอ้ งโทรทรรศนแ์ บบผสม ชนิด Celestron ขนาดหนา้ กล้อง 14 นวิ

องค์การบริหารส่วนจงั หวดั พะเยา ตา้ บลเวียง อา้ เภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000
เปดิ วันอังคาร-ศุกร์ เวลา 08.30-16.30 น.

วนั เสาร์-อาทติ ย์ 09.00-16.00 น. ปิด วันจนั ทร์ และวนั หยดุ นักขตั ฤกษ์

หอจดหมำยเหตุแหง่ ชำติเฉลิมพระเกยี รตสิ มเดจ็ พระบรมโอรสำธิรำชฯ สยำมมกฎุ รำชกมุ ำร พะเยำ

ทีต่ ัง ถนนซุปเปอรไ์ ฮเวย์ อา้ เภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

วิสัยทัศนแ์ ละพันธกิจ
มุ่งสู่ความเป็นแหล่งข้อมูลเรื่องประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม โดยเน้นข้อมูลในจังหวัดรับผิดชอบการ

บริหารงานเอกสารรวมทังความเป็นผู้น้าในงานจดหมายเหตุของส่วนราชการ 8 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่
จงั หวดั พะเยา เชียงราย แพร่ น่าน อุตรดติ ถ์ สุโขทัย พิจติ ร และเพชรบรู ณ์
ประวัติและบทบำทหนำ้ ที่

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดพะเยาสร้างขึนเน่ืองด้วยพิจารณาเห็นว่าจังหวัดพะเยา
มีความเหมาะสมทจ่ี ะจัดตังหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เพราะเป็นจงั หวัดท่ีมีอดีต อันรุ่งเรือง เคยเป็นที่ตังของ
อาณาจักรส้าคัญทางภาคเหนือ และมีความพร้อมท่ีเกิดจากการสนับสนุน ของส่วนราชการที่เก่ียวข้อง
รวมทังบุคลากรท่ีเข้าใจและเห็นคุณค่าของเอกสารจดหมายเหตุ โดยเร่ิมต้นจากการที่นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรี
วงศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ได้มีหนังสือถึง กรมศิลปากร เม่ือเมื่อวันท่ี 19 ตุลาคม 2535
ขอให้พิจารณาด้าเนินการจัดตังหอสมุดแห่งชาติท่ีจังหวัดพะเยา โดยเสนอให้ใช้อาคารที่ว่าการอ้าเภอ
เมืองเดิม เป็นที่ท้าการส้านักงานชั่วคราว กรมศิลปากร พิจารณาเห็นสมควรปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี
โดยมีข้อสังเกตว่างานจดหมายเหตุ และงานหอสมุดมีลักษณะใกล้เคียงกัน ดังนัน เพื่อเป็นการประหยัด
ทังงบประมาณ อัตราก้าลังและสถานท่ีในการก่อสร้าง ควรจัดตังรวมหน่วยงาน ทังสองแห่งไว้ในสถานท่ี
เดียวกัน กรมศิลปากร จึงเสนอขอด้าเนินการจัดตังหอจดหมายเหตุแห่งชาติควบคู่กันไปด้วย และได้
มอบหมายใหน้ ายพูลลาภ อนิ ทรนัฎ วิศวกรโยธา และนายสเุ ทพ วริ ิยะบศุ ย์ มัณฑนากร ไปตรวจสอบอาคาร
ดงั กล่าวพบวา่ อาคารนันมสี ภาพไม่แขง็ แรงเพียงพอท่จี ะรบั น้าหนักเอกสารได้

กรมศิลปากร จึงได้พิจารณาท่ีดินเพ่ือท้าการก่อสร้างอาคารใหม่และได้รับการสนับสนุนจาก
พระธรรมวิมลโมลี เจ้าอาวาสวัดศรโี คมค้า ดโดยมอบท่ีดินของวั (ขณะนัน) พระธาตุจอมทองจ้านวน 5 ไร่
ด้านที่ติดถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ ให้เป็นสถานที่ก่อสร้างอาคารหอจดหมายเหตุแห่งชาติจังหวัดพะเยา
กรมศิลปากรจึงมอบหมายให้นายไพบูลย์ ผลมาก สถาปนกิ (ขณะนัน) ด้าเนนิ การออกแบบอาคาร สว่ นการ
ตกแต่งภายในอาคารนันมอบหมายให้ นายสุเทพ วิริยะบุศย์ มัณฑนากร ด้าเนินการโดยได้รับงบประมาณ
ดา้ เนินการตังแตป่ ี พ.ศ. 2537 ถึง พ.ศ. 2542 รวมทังสิน 27,678,600 บาท ย่สี ิบเจ็ดลา้ นหกแสนเจ็ด)
(หม่ืนแปดพันหกร้อยบาทถ้วนหอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดพะเยาแห่งนี กรมศิลปากร
กระทรวงศึกษาธิการ (ขณะนัน) สร้างขึนเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุฎราชกุมาร เนือ่ งในโอกาสท่ที รงมพี ระชนมายคุ รบ 45 พรรษา เมือ่ พ.ศ. 2540

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้พระราชทานพระราชานุญาตให้ใช้ช่อื อาคาร
ว่า“หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พะเยา”
เม่ือวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 และได้เสด็จพระราชด้าเนินทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันพุธท่ี 8 มีนาคม
พ.ศ. 2538 เวลา 15.00 น.ต่อมาได้รับ พระมหากรุณาธิคุณพระราชทานพระนามาภิไธยย่อ มวก.
เพอื่ อญั เชิญมาประดิษฐาน ณ อาคารหอจดหมายเหตแุ ห่งชาตเิ ฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกฎุ ราชกุมาร พะเยา

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชด้าเนินทรงเปิดหอจดหมายเหตุ
แห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พะเยา ในวันจันทร์
ท่ี 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 หอจดหมายแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุฎราชกมุ าร พะเยา จึงพร้อมเปิดใหบ้ รกิ ารไดต้ งั แตป่ ี พ.ศ. 2542

หนำ้ ทค่ี วำมรับผิดชอบ
1. รับผิดชอบการบริหารงานเอกสารของส่วนราชการ 8 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดพะเยา

เชยี งราย แพร่ นา่ น อุตรดติ ถ์ สโุ ขทัย พิจิตร และเพชรบูรณ์
2. รวบรวม ประเมินคณุ คา่ วิเคราะห์ จัดหมวดหมู่ เกบ็ รกั ษา และอนรุ ักษเ์ อกสารสา้ คญั ของชาติ
3. ใหบ้ รกิ ารศึกษาค้นคว้าวิจยั แก่หน่วยงานองค์กร รัฐวสิ าหกิจ นกั เรียนนักศกึ ษา ประชาชนท่ัวไป
4. บนั ทกึ เหตุการณส์ า้ คัญของชาติ
5 .ด้าเนนิ การเปน็ ตัวแทนกรมศิลปากรในพนื ที่ จงั หวัดพะเยา
6. ปฏิบัติงานร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นทีเก่ียวข้องหรือท่ีได้รับ

มอบหมายในรูปแบบบูรณาการ

เตำเวยี งบวั
แหลง่ เตาเวียงบัว อยูท่ ี่บ้านเวียงบวั หม่ทู ่ี 7 ต้าบลแม่กา อ้าเภอเมือง จงั หวัดพะเยา

แหล่งเตาเวยี งบัว อยหู่ ่างจากกว๊านพะเยาไปทางทิศใต้ ประมาณ 20 กิโลเมตร และอยูต่ รงข้ามกับ
ที่ ตังมหาวิทยาลัยนเรศวรพะเยา บริเวณท่ีพบเตาเผาและ เศษเครื่องถ้วยชามอยู่ ตามท่ีลาดเนินในพืนที่
เมอื งโบราณ “ เวยี งบวั ” และตามรมิ ล้าน้าหว้ ยแม่ต้า ในหมู่บ้าน เวียงบัว ตามไรน่ า ในสวนของชาวบ้านก็
พบเนินดนิ ท่ตี งั เตาเผาอยูท่ ัว่ ไปแหล่งเตาเวยี งบัว อยทู่ บ่ี ้านเวยี งบัว หมทู่ ่ี 7 ต้าบลแม่กา อ้าเภอเมอื ง จงั หวัด
พะเยา ชาวบ้านเวียงบวั ชว่ ยกันเลือกพืนทขี่ ดุ คาน 2 แหง่ นอกหมบู่ ้าน คือ แหล่งเตาในท่ีดินของพ่ออุ้ยแต๋ง
เครือวัลย์แห่งหนึ่ง กับในท่ี ดินของพ่อจัน เฉพาะธรรม อีกแห่งหน่ึง ซึ่งทังสองบริเวณ ชาวบ้านเคยขุดพบ
เศษเครอื่ งถ้วยชาม และพบร่องรอยโครงสรา้ งเตาเผามากอ่ น

ชาวบ้านเวียงบัวพบว่าเตาเผาและเศษถว้ ยชามท้าใหห้ มู่บา้ นของเขาเปน็ ท่ีรู้จักและมชี ่ือเสียงในทาง
ที่ดีความรู้สึกสมหวัง ปิติยินดีกับการท่ีได้รับการยอมรับจากคนบ้านอ่ืน มีข่าวของหมู่บ้านลงหนังสือพิมพ์
ออกโทรทัศนท์ ้าให้ชาวบ้านเหน็ คณุ ค่าทแี่ ท้จรงิ ของแหลง่ โบราณคดี

ประวัติศนู ยว์ ิจัยและพัฒนำประมงนำจืดพะเยำ

แรกเริ่มมีชื่อว่า “สถานีบ้ารุงพันธุ์สัตว์น้า 2 กว๊านพะเยา” พืนท่ีก่อสร้างได้จากการเวนคืนโดยการ
จดั ซอื จากราษฎร ในปี พ.ศ. 2482-2484 พร้อมๆ กับการเวนคืนท่ีดินในบริเวณกวา๊ นพะเยา การก่อสร้าง
สถานีฯ เร่ิมด้าเนินการ เม่ือ ก่อสร้างประตูน้าแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2482 และเร่ิมเปิดด้าเนินการเมื่อวันที่
24 มิถุนายน 2484 สถานีฯ แห่งนีเป็นสถานีฯ แห่งที่ 2 ของประเทศไทยโดยมีนายสวัสด์ิ เทียมเมธ
เป็นหัวหน้าสถานีฯ เป็นคนแรก ต่อมาเม่ือปี พ.ศ. 2496 เปลี่ยนช่ือเป็นสถานีประมง (กว๊านพะเยา)
เชียงราย ต่อมาเม่ือปี พ.ศ. 2520 จังหวัดพะเยาได้แยกออกมา จากจังหวัด เชียงรายท้าให้สถานีฯ
เปล่ยี นช่อื เป็นสถานปี ระมงน้าจืดจังหวัดพะเยา และในปงี บประมาณ 2545 เนือ่ งจากมีการปรับโครงสร้าง
ระบบราชการใหม่ ทา้ ใหส้ ถานีประมงน้าจดื จังหวดั พะเยา ปรับเปลย่ี นเปน็ ศนู ยว์ ิจัยและพัฒนาประมงน้าจืด
พะเยา ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้าจืดพะเยา ปัจจุบันตังอยู่ถนนพหลโยธิน ต้าบลเวียง อ้าเภอเมือง
จงั หวดั พะเยา มพี ืนทที่ อี่ ยู่ในครอบครอง แบง่ เป็น 2 ส่วน ดงั นี
สว่ นที่ 1

สถานีฯ เดิมมี 4 แปลง (ตามทะเบียนการครอบครอง สค.1) แปลงที่ 1 เป็นท่ีท้าการ มีเนือท่ี 67
ไร่ แปลงท่ี 2 มีเนือท่ี 2 งาน 87 ตารางวา แปลงท่ี 3 มีเนือท่ี 1 งาน 90 ตารางวา แปลงที่ 4 มีเนือท่ี 2
ไร่ 1 งาน 24 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารท่ีท้าการ อาคารปลาบึก ประตูระบายน้า พระต้าหนัก หลังที่
1 พระต้าหนัก หลังท่ี 2 พระต้าหนัก หลังที่ 3 พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
อาคาร แสดงพันธุ์ปลา (aquarium) ระบบบ้าบัดน้าเสีย และประตูระบายน้า บันไดปลาโจน และศูนย์
เรยี นร้เู ศรษฐกจิ พอเพยี งชมุ ชน

อาคารแสดงพันธุ์ปลาน้าจืด ก่อสร้างขึนภายใต้โครงการประมงในแหล่งน้าจืดขนาดใหญ่
เป็นอาคารแบบตึกขึนเดียว โครงสร้าง คสล. โครงหลังคาเหล็กทรงสเปน พร้อมอุปกรณ์ และตู้แสดงพันธ์ุ
ปลาจา้ นวน 34 ตู้ งบประมาณการก่อสร้างวงเงิน 4,177,600 บาท สร้างเสรจ็ สมบรู ณเ์ มื่อเดือนมกราคม
2536

ภายในอาคารแสดงพนั ธ์ุปลา จดั แสดงพนั ธป์ุ ลานา้ จดื ทห่ี าดูยากในพืนทจ่ี ังหวดั พะเยา โดยรวบรวม
จากกว๊านพะเยา แม่น้าอิง แม่น้าแม่ลาว พันธุ์ปลาท่ีจัดแสดงไว้ในอาคารแสดงพันธุ์ปลา มีประมาณ 69
ชนิด เปดิ ใหเ้ ข้าชมทุกวัน ไม่เวน้ วันหยดุ ราชการ ตังแตเ่ วลา 08.30-16.30 โดยมผี ูเ้ ข้าชมสถานแสดงพันธุ์
ปลาเปน็ หมู่คณะจากสถานศึกษา กล่มุ เยาวชนตา่ งๆ และบคุ คลทว่ั ไป

ส่วนที่ 2

ก่อสร้างภายใต้โครงการประมงในแหล่งน้าจืดขนาดใหญ่ งบประมาณ 185 ล้านบาท ด้าเนินการ
เมอื่ ปี 2534 กอ่ สรา้ งเสร็จสมบูรณ์เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2536 พนื ทที่ ังหมด 200 ไร่ ประกอบไปด้วย
อาคารปฏบิ ตั กิ าร โรงเพาะฟกั และบอ่ ดนิ

โบรำณสถำนบ้ำนร่องไฮ-หม่บู ้ำนรอ่ งไฮ-ตมี ดี บำ้ นรอ่ งไฮ

เป็นโบราณสถานที่เป็นชุมชนโบราณขนาดใหญ่ อยู่ริมกว๊านพะเยา เป็นส่วนหน่ึงของวัดติโลก
อารามในสมัยโบราณ บริเวณใกล้เคียงกันมีร่องรอยของศาสนสถาน อยู่ประมาณ 8-9 แห่ง โดยมีกลุ่ม
โบราณสถานบา้ นร่องไฮ ต้าบลแมใ่ ส อา้ เภอเมอื ง หลักฐานทเ่ี คยพบเก่ียวขอ้ งโดยตรงกับวดั ติโลกอาราม คอื
จารึกวัดติโลกอาราม พบท่เี นินสันธาตุในกว๊านพะเยาใกล้กับทา้ ยหมู่บา้ นร่องไฮ หมูบ่ า้ นร่องไฮ แต่เดมิ ไม่ได้
บันทึกประวัติในการจัดตังหมู่บ้าน แต่เดิมชุมชนบ้านร่องไฮ ประมาณ 100 กว่าปีพืนท่ีในชมุ ชนบ้านรอ่ งไฮ
ยังเป็นป่าไมร้ ังไมไ้ ผ่ไม้ทองกวาวและไมเ้ บญจพรรณเปน็ จ้านวนมาก

ซ่ึงต่อมาได้มีกลุ่มชนที่มาตังหลักฐานในหมู่บ้านมาจากบ้านท่ากว๊าน ในต้าบลเวียงพะเยา ได้มาตัง
บ้านเรือนอยู่ตามหัวไร่ปลายนาประกอบอาชพี ท้านา เลียงสัตว์ประมาณ 10 – 20 ครัวเรือน ซึ่งต้นตระกลู
แรกท่ีมาตังบ้านเรือน คือ ตระกูลชุ่มค้าลือ ต่อมาเป็น ชุ่มลือ แล้วต่อมาก็มีประชากรเริ่มอพยพมาจากบ้าน
กาดเมฆ อ้าเภอเมือง จังหวัดล้าปาง มาท้ามาหากินตังถิ่นฐานโดยการน้าเอาวัฒนธรรมการตีมีดมาด้วยจน
ท้าให้เป็นอาชีพของชาวบ้านร่องไฮซ่ึ งประชากรที่อพยพมาจากล้าปางเริ่มมาเม่ือ พ.ศ. 2458 การตังช่ือ
หมู่บ้านมีจากค้าบอกเลา่ ว่า เมื่อสมัยก่อนบ้านร่องไฮมีร่องน้าไหลผ่านกลางหมู่บ้านลงสูแ่ ม่น้าอิง หรือหนอง
เอียงซ่ึงสองข้างฝ่ังร่องน้ามีต้นไทรใหญ่ขึนอยู่เรียงกันซึ่งทางภาคเหนือ หรือภาษาพืนเมืองเรียกต้นไทรว่า
ตน้ ไฮ จึงตงั ชื่อตามรอ่ งน้าทมี่ ีต้นไฮ ขนึ ว่า ร่องไฮจนมาถึงทกุ วันนีในอดตี บา้ นร่องไฮ มีเพียงหม่บู ้านเดียว คือ
บ้านร่องไฮหมู่ที่ 1 ต้าบลแม่ใส อ้าเภอเมือง จังหวัดพะเยา ต่อมาได้มีการแยกหมู่บ้านเพิ่ม จึงเป็นบ้านร่อง
ไฮ หมู่ที่1 และบ้านร่องไฮ หมู่ที่ 11 พ.ศ. 2540 เหตุผลของการแยกหมู่บ้านในครังนัน สืบเนื่องจากเขต
การปกครองของบ้านร่องไฮ หมู่ที่ 1 มีมากและประชาชนในหมู่บ้านมีความต้องการที่ได้รับความช่วยเหลือ
จากหน่วยงานทงั ในภาครัฐและภาคเอกชนเพ่ิมมากขึน ทงั ในด้านของโครงสรา้ งพืนฐานด้าน สาธารณูปโภค

ด้านการเงินการจัดตังกองทุนหรือจัดตังชมรมต่างๆ ฉะนันการแยกหมู่บ้านจึงเป็นหนทางที่ประชาชนใน
หมู่บ้านร่องไฮจะได้รบั การชว่ ยเหลอื เป็นสองเท่าจากที่เป็นอยู่แต่การแยกหมู่บ้านครังนัน ก็มิได้มีผลกระทบ
ต่อทางด้านสังคมและวัฒนธรรมดังเดิมที่มีอยู่ แต่จะเป็นการเพิ่มความสามารถและการเพ่ิมประสิทธิภาพ
และความเข็มแข็งของชาวบา้ นในการพฒั นาหม่บู ้านร่องไฮให้ดีขนึ และเจริญยง่ิ กว่าเดิม ชมุ ชนบา้ นรอ่ งไฮ มี
วัดร่องไฮ เป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจต่างๆของประชาชนมีโรงเรียนประถมศึกษา 1 แห่งตังอยู่หมู่ท่ี 1
ปัจจุบันจ้านวนประชากรของชุมชนบ้านร่องไฮ หมู่ที่ 1 ทังหมด 506 คน จ้านวน 127 ครัวเรือน จ้าแนก
เป็นชาย 232 คน เปน็ หญงิ 274 คน และหมทู่ ่ี 11 มปี ระชากรทังหมด 325 คนจา้ นวน 128 ครัวเรือน
จ้าแนกเป็นชาย 160 คน เป็นหญิง 165 คน การเข้าถึงชุมชนบ้านร่องไฮนันสามารถเข้าถึงได้ 2 ด้าน คือ
การเข้าถึงทางบก และการเข้าถึงทางน้า การเข้าถึงทางบก ชุมชนบ้านร่องไฮ ห่างจากตัวจังหวัดเป็น
ระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร และห่างจากเขตเทศบาลเมืองพะเยา ซึ่งเป็นย่านพาณิชยกรรมของชุมชน
แม่ต้า เป็นระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ซ่ึงทางนักท่องเท่ียวสามารถเดินทางจากจังหวัดพะเยาถึงชุมชน
บา้ นรอ่ งไฮได้โดยสะดวกดว้ ยรถส่วนตัว หรือนักท่องเทย่ี วจะใช้บริการรถสาธารณะสองแถวทีผ่ ่านชุมชนบ้าน
ร่องไฮ สายพะเยา - แม่นาเรือ – แม่ใจ ที่สามารถขึนรถได้ท่ีบริเวณตลาดสดพะเยา ซึ่งจะมีรถผ่านชุมชน
จนถึงเวลา 17.00 น. รถเที่ยวสดุ ทา้ ยท่ีออกจากชุมชนไปยังตวั เมือง เวลา 15.00 น. ซงึ่ สามารถใช้บริการ
รถสาธารณะสองแถวได้โดยที่ไม่มีรถยนต์ส่วนตัวตลอดเส้นทางจากตัวอ้าเภอเมืองพะเยา ถึงย่านชุมชน
แม่ต้าซ่ึงเป็นถนนส่ีช่องทางเดินรถแต่ช่วงสี่แยกแม่ต้าเข้ามายังชุมชนบ้านร่องไฮ เป็นถนนลาดยางเป็น
ระยะทาง 2 กิโลเมตร จนมาถึงสายหลักภายในหมู่ท่ีเชื่อมต่อจากถนน แม่นาเรือ – แม่ใจ เป็นถนนลาด
คอนกรตี เสริมเหล็ก

ศำลหลกั เมืองพะเยำ

เดิมจงั หวัดพะเยามฐี านะเป็นอ้าเภอหนง่ึ ของจังหวัดเชยี งราย และไดร้ บั การยกฐานะขนึ เป็นจังหวัด
เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 เพ่ือเป็นศิริมงคลแก่บ้านเมือง จึงได้สร้างศาลหลักเมือง สร้างครังแรก
เมอื่ พ.ศ. 2520 ไม่ประสบความส้าเรจ็ มาสรา้ งส้าเรจ็ ในปี พ.ศ. 2530 แต่ต้องยา้ ยสถานทส่ี รา้ ง แตค่ งอยู่
ท่ีต้าบลเวียง อ้าเภอเมือง ศาลหลักเมืองพะเยา ตังอยู่ริมถนนท่ากว๊าน มีถนนล้อมรอบทังสีด้าน อยู่ไม่ไกล
จากริมกว๊านพะเยามากนัก และใกล้ๆ กันนัน คือ วัดศรีอุโมงค์ค้า และอีกด้านเป็นวัดราชคฤห์ จากถนน
ประตูชัยเลียวซ้ายไปจรดถนนท่ากว๊าน ก็สามารถเห็นศาลหลักเมืองได้อย่างชัดเจน ศาลหลักเมืองพะเยามี
ความสวยงามทังกลางวนั และกลางคืน

แหล่งเรยี นรู้บำ้ นดอกบวั ตำบลบ้ำนต่นุ อำเภอเมือง จังหวดั พะเยำ

ประวตั คิ วำมเปน็ มำของหมบู่ ้ำน
บ้านบัว (ดอกบัว) หมู่ที่ 4 ต้าบลบ้านตุ่น อ้าเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เดิมแรกบ้านดอกบัว

เป็นป่า โดยมีปู่ติ๊บกับย่าสมนา สองผัวเมีย และมีบ้านปู่อีกคนไม่ทราบช่ือ โดยเร่ิมแรกมีบ้านอยู่ 2 หลัง
เท่านัน ปู่ติ๊บกับย่าสมนา เดิมเป็นคนบ้านตุ่นกลางเป็นคนท้าไร่ใส่สวน เลียงสัตว์ เห็นพืนท่ีป่าแห่งนี
ซึ่งมคี วามอุดมสมบูรณเ์ หมาะกบั การประกอบอาชีพไดย้ ้ายเขา้ มาอยเู่ ป็นคนแรก ป่บู ัวกไ็ ดต้ ดิ ตามมาอยดู่ ้วย
จนเช้า อยู่มาวันหน่ึงในตอนเช้าของวันรุ่งขึนปู่บัวแกเป็นคนเคียวหมาก จึงลงไปเก็บใบพลูในขณะนัน
ยังเช้าตรู่อยู่ อยู่ๆ ก็มีเหตุการณ์ไม่คาดคิดมาก่อน คือ เสือ ได้ตระครุบและกัดจนตาย ณ ท่ีนัน ดังนัน
ชาวบ้านจงึ ตังชอ่ื ว่า บ้านบวั (ดอกบัว) มาตลอดทกุ วันนี

บ้านบัว (ดอกบัว) ยังเป็นหมู่บ้านหลักนักพัฒนา หมู่บ้านพึ่งตนเอง และยังอยู่ภาย ในการปกครอง
ของก้านันดีเด่นปี 2551 และเป็นหมู่บ้านที่ผ่าน ระบบ มชช. ปี 2551 โดยมีนายบาล บุญก้า
เปน็ ผใู้ หญบ่ ้าน

บ้านดอกบัว เป็นหมู่บ้านที่ชนะเลิศตามโครงการเชิดชูเกียรติผู้น้าเครือข่ายพัฒนาชุมชนดีเด่น
เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็นเป็นสุข”และหมู่บ้านพ่ึงตนเอง ระดับจังหวัดพะเยา ในปี 2551
และนายบาล บุญก้า ผู้ใหญ่บ้านได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้านดีเด่น (แหนบทองค้า) ประจ้าปี 2551
และปัจจุบันจากการประกวดผลงานฯ ครังที่ 2 ชุมชนบ้านดอกบัว ต้าบลบ้านตุ่น อ้าเภอเมืองพะเยา
จังหวัดพะเยา ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศถว้ ยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประเภทชุมชนเศรษฐกิจ
พอเพียง

ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านดอกบัวเปน็ การรวมกันของชุมชนลา้ นนา ส่วนใหญ่จะด้าเนินวถิ ีชีวิต
แบบดงั เดิม และอยู่กันแบบระบบเครือญาตมิ านาน มวี ัฒนธรรมการเคารพผู้อาวุโสกวา่ ใหเ้ ป็นผนู้ ้า โดยผ้นู ้า
สมัยก่อนจะเป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ชีวิตมากกว่าคนรุ่นหลังๆ ท้าให้ชาวบ้านเช่ือฟังและย้าเกรง
ซึ่งเป็นผลท้าใหส้ ังคมเกิดความสงบสขุ และหน้าท่ีของผู้น้าไม่ใช่คนส่ังแต่เปน็ การให้ค้าแนะน้าและท่ีปรึกษา
มากกว่าและยังมีความรู้ในเร่ืองของประเพณี วิถีการด้าเนินชีวิตของคนล้านนา คนในสมัยก่อนมีความคิดที่
จะดัดแปลง ปรับเปลี่ยน เสริมสร้างสภาพแวดล้อมของธรรมชาติท่ีมีอยู่ให้เหมาะสมต่อการด้ารงชีพ
โดยที่บรรพบุรุษสมัยก่อนได้สร้างระบบนิเวศน์ชุมชนขึนมาอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีเง่ือนไขและข้อจ้ากัด
ทางวัฒนธรรมของสังคมและเกษตรกรรม บรรพบุรุษล้านนาได้สร้างสภาพแวดล้อมให้เกิดระบบนิเวศน์ที่มี
ความผสมผสานกับระบบนิเวศน์ในธรรมชาติได้อย่างกลมกลืนและยังสามารถเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จาก
ธรรมชาติได้เตม็ ที่ตามศกั ยภาพและเทคนคิ วิธีการของท้องถน่ิ ดว้ ย

ศิลปวัฒนธรรมของบ้านดอกบัวที่เห็นได้ชัด คือ การเคารพ เช่ือฟังผู้อาวุโสกว่า และการปกครอง
แบบเครือญาติ มีภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เด่นมาก คือ การจักสานเข่ง สุ่มไก่ จากไม้ไผ่ และในด้านการพัฒนา
หมู่บ้าน ผู้น้าได้จัดให้มีการประกวดคุ้มเป็นประจ้า เพ่ือให้มีการต่ืนตัวช่วยกันรักษาความสะอาดเรียบร้อย
ของหมูบ่ ้าน

ประเพณีพืนบ้านของบ้านดอกบัว เป็นประเพณีที่เหมือนกับหมู่บ้านอื่นๆ ในจังหวัดพะเยา
เชน่ ประเพณฟี ังเทศน์เดือนยเ่ี ปง็ ประเพณีตานกว๋ ยสลากภตั ร ประเพณวี นั สงกรานต์ ประเพณีตานขา้ วใหม่
ประเพณบี วชนาค ประเพณที า้ บุญวันเข้าพรรษาและออกพรรษา

ผลงำนแหง่ ควำมภำคภมู ใิ จของชมุ ชนบำ้ นดอกบัว ได้รับรางวลั เกยี รตยิ ศจากหลายหนว่ ยงานและนา้ มาซ่ึง
ความภาคภูมใิ จ ดงั ต่อไปนี

- รางวลั คัดเลอื กตามโครงการเชดิ ชเู กยี รติผู้นา้ เครือข่ายพฒั นาชุมชนดเี ด่น ปี พ.ศ. 2551
- ไดร้ บั คดั เลอื กใหเ้ ป็นหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงอยเู่ ย็นเป็นสขุ ปี พ.ศ. 2551
- หมู่บา้ นพึง่ ตนเองระดับอา้ เภอและระดับจังหวัด ปี พ.ศ. 2551
- รางวัลชนะเลิศระดับประเทศตามประกวดผลงานตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประเภท
ชุมชน ปี พ.ศ. 2552 โดย ส้านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชด้าริ (กปร.) ระดับประเทศ
- ผู้ใหญ่บา้ นแหนบทองคา้ (นายบาล บญุ ก้า) ประจา้ ปี พ.ศ. 2551
- ผใู้ หญ่บา้ น (นายบาล บุญก้า) ได้รางวัลแทนคุณแผ่นดินของจังหวัดพะเยา ประจ้าปี พ.ศ. 2553
โดยหนังสือพิมพเ์ ดอะเนชน่ั
- หมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งต้นแบบ “ม่ังมี ศรี” ปี พ.ศ. 2552
- ชนะเลิศกลุ่มเกษตรกรเลียงสัตว์เด่น (โคเนือ) ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง พ่อหลวงไทย ระดับ
ภาค ปี พ.ศ. 2554
- หมู่บ้านบัวได้รับรางวัลแทนคุณแผ่นดิน (ชุมชนเข้มแข็ง) ระดับประเทศ ประจ้าปี พ.ศ. 2555
โดยหนงั สือเดอะเนชั่น
- หมบู่ ้านบวั ไดร้ บั รางวลั ลกู โลกสเี ขยี ว อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ประจา้ ปี พ.ศ. 2555 (ป.ต.ท)

ฐำนเรยี นรู้กำรอนรุ ักษแ์ ละเพำะพันธก์ุ ว่ำง
ตงั อยบู่ ้านเลขท่ี 65/1 มนี ายบรรพต ปัถวี เป็นผ้ดู า้ เนนิ การ เม่อื นายบรรพตกลบั สู่บ้านเกิดตังแต่ปี

พ.ศ. 2540 ได้มีความคิดที่ว่าหมู่บ้านดอกบัวจะมีความสุข ความร่มเย็น มีสิ่งแวดล้อมที่ดี และมีระบบ
นิเวศน์ที่สมบูรณ์ คนในชุมชนจะต้องเริ่มต้นด้วยการส้ารวจชุมชนของตนก่อน แล้วเริ่มลงมือปฏิบัติ
ในการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมและทรัพยากรของชุมชน ในตอนนันนายบรรพต เห็นว่า “กว่าง” ซ่ึงเป็นแมลง
ที่เคยมีอย่างชุกชุม สมัยเด็ก มีจ้านวนลดลงไปอย่างมาก จึงได้ริ่เร่ิมท้าการศึกษาวิถีชีวิตของกว่าง เพื่อการ
อนุรักษ์พันธุ์และเร่ิมลงมือเพาะพันธ์ุกว่าง ซึ่งหลังจากการด้าเนินการไปได้ระยะหน่ึง พบว่าผลท่ีได้จากการ
เพาะพันธุก์ ว่างท้าให้ดนิ มีความอดุ มสมบรู ณ์และเพ่ิมอินทรียวัตถุในดนิ สามารถน้าดินนันไปปลูกพชื ผักสวน
ครัว และตน้ ไม้ได้เป็นอย่างดี เนือ่ งจากกว่างมีวิถีการเจริญเติบโตสว่ นใหญ่ในดิน มูลของกวา่ งเป็นประโยชน์
ต่อการสร้างความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดิน นอกจากนียังท้าให้ดินร่วนซุยเป็นการเพิ่มช่องอากาศให้กับดิน
ซึง่ เหมาะแก่การเพาะปลกู ตน้ ไม้ได้

จากนันจึงได้พัฒนาวิธกี ารเพาะพันธุท์ ้าให้สามารถเพาะพันธุก์ วา่ งได้ถึง 3 สายพันธ์ุ ได้แก่ กว่าง 5
เขา กว่าง 3 เขา และกว่าง 2 เขา หรือกว่างชน ซ่ึงเป็นชนิดที่เพาะได้มากที่สุด และยังมีอีกชนิด คือ กว่าง
ดาว เป็นกว่างที่อาศัยอยู่ในป่าท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุด ไม่สามารถที่จะเพาะพันธ์ุในสภาพแวดล้อมปกติได้
ตอ้ งท้าการเพาะพันธุ์ในป่าเท่านัน ซึง่ ปจั จุบนั นายบรรพตได้ร่วมกับคนในชมุ ชนท้าการเพาะพนั ธุ์กว่างพันธุ์นี
ในพืนทปี่ า่ ละแวกหม่บู า้ น

จากเรื่องราวท่ีกล่าวมาได้ท้าให้นายบรรพตมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของคนในชุมชนและคนชุมชน
ข้างเคียง ประกอบกับกีฬาชนกว่างซึ่งเป็นกีฬาของคนเหนือ และเริ่มเป็นที่นิยมของชาวบ้าน มีคนต้องการ
กว่างสายพันธุ์ดี แข็งแรงสามารถน้าไปแข่งขันได้ จึงเริ่มมีผู้เข้ามาแสวงหาและสอบถามเพ่ือจะซือกว่าง
จากนายบรรพต จนกระทง่ั ในปี พ.ศ.2550 บริเวณบ้านของนายบรรพตได้กลายเป็นจุดเรียนรู้เก่ียวกับการ
อนุรักษ์เพาะพันธุ์กว่าง การอนุรักษ์ดิน ท่ีมีช่ือเสียง มีคณะกลุ่ม บุคคลต่างๆ เข้ามาศึกษาดูงานอยู่เป็นนิจ
เกดิ เปน็ ศูนย์อนุรักษแ์ ละเพาะพันธ์ุกวา่ งของจงั หวัดพะเยาทม่ี ีชื่อเสียงท่สี ุดในเขตภาคเหนือจนถงึ ปจั จุบนั

ฐำนกำรเรยี นรกู้ ลุ่มจักสำนเขง่ -สมุ่ ไก่
ตังอยู่บ้านเลขที่ 93 หมู่ที่ 4 ด้าเนินการโดยนายบาล บุญก้า มีต้าแหน่งเป็นผู้ใหญ่บ้านดอกบัว

ซ่ึงพืนท่ีโดยรอบหมูบ่ า้ นในสมัยก่อนเดมิ เปน็ ป่าชาวบา้ นไดใ้ ช้ประโยชน์จากพืนทปี่ ่าไม่มาก เพยี งเกบ็ หาของ
ป่าเท่านัน ในปี พ.ศ. 2505 ชาวบ้านเริ่มเข้าไปบุกรุกและเข้าไปครอบครองพืนที่มากขึน โดยมีการปลูกไผ่
รวก เพ่ือเป็นแนวปักปันเขตแดนพืนที่ครองครองของตนเอง จึงส่งผลให้พืนท่ีเต็มไปด้วยต้นไผ่เป็นจ้านวน
มาก ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2517 – 2518 ชาวบ้านจากจังหวัดสุโขทัย เร่ิมเข้ามาซือต้นไผ่จากบ้าน
ดอกบวั เปน็ จา้ นวนมาก โดยใหร้ าคาท่ี 50 สตางคต์ อ่ ต้นไผ่ 1 ตน้ ในสมยั นนั

ประมาณปี พ.ศ. 2528 ชาวบ้านดอกบัวมีการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากไผ่ ด้วยการท้า
หัตถกรรมจักสานเครอ่ื งใชใ้ นครวั เรอื น แต่ไม่ไดจ้ ้าหนา่ ย จนกระทัง่ มีตวั แทนจากหนว่ ยงานของรัฐ อาทิ จาก
กระทรวงอุตสาหกรรม พัฒนาชุมชน เกษตรต้าบล เข้ามาส้ารวจสภาพพืนที่ป่าท่ีมีไผ่เป็นจ้านวนมาก
จึงน้าวิทยากรมาให้ความรู้และส่งเสริมให้ชาวบ้านเกิดการพัฒนาฝีมือในการจักสาน การหัตกรรม
เพื่อน้าผลิตภัณฑ์ท่ีได้ออกขาย ต่อมาได้ตังกลุ่มจักสานขึน เมื่อปี พ.ศ. 2528 และมีสมาชิกเพ่ิมขึนเร่ือยๆ
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2530 เน่ืองจากสมาชิกมีจ้านวนเพิ่มมากขึน ประกอบกับไม่มีการบริหารจัดการกล่มุ ท่ีดี
พอ ท้าให้สมาชิกมีการขายตัดราคากันเอง ต่างคนต่างท้า จึงท้าให้กลุ่มไม่สามารถด้าเนินต่อไปได้และล่ม
สลายในทีส่ ดุ

ประมาณปี พ.ศ. 2545 นายบาล บุญก้า เกิดความคิดที่จะท้าอย่างไรจึงจะสามารถน้าผลิตภัณฑ์
จักสานซ่ึงเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินให้สามารถน้ากลับมาสร้างรายได้ให้กับชุมชนได้อีก จึงน้าผลิตภัณฑ์สุ่ม
เข่ง ท่ีได้ท้าไว้ ออกเร่ขายหาตลาดด้วยตนเอง ในบริเวณเขตจังหวัดสุโขทัยและพิษณุโลก ซ่ึงเป็นการเปิด
ตลาดที่น่าพอใจ สามารถมียอดส่ังจ้าหน่ายจากพ่อค้าได้ จากนันนายบาลจึงได้ชักชวนชาวบ้านที่มีฝีมือใน
การจักสานเข้ามาร่วมกันเพื่อจัดตังเป็นกลุ่มจักสานเข่ง-สุ่มไก่ขึน เมื่อปี พ.ศ. 2546ซ่ึงได้มีการก้าหนด
กฎระเบียบการบริหารกลุ่มให้มีความเข้มแข็งและสามารถด้าเนินการมาอย่างต่อเน่ืองจนปัจจุบันจากกลุ่ม
สานเข่ง-สุ่มไก่ ได้แบ่งแย่กออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ เป็นกลุ่มจักสานเข่งและกลุ่มจักสานสุ่มไก่ เพื่อสะดวก
ในการบริหารจัดการ และเพ่ือเทคนิคทางการตลาด ซ่ึงทัง 2 กลุ่ม ต่างมีสมาชิกเพิ่มขึนและสามารถสร้าง
รายไดใ้ ห้กับสมาชิกให้มคี ณุ ภาพชีวิตที่ดีขนึ ได้

ฐำนเรียนรูถ้ งั หมักกำ๊ สชีวภำพในครัวเรอื น

ตังอยู่บ้านเลขที่ 139 มีนายเสาร์แก้ว ใจบาล เป็นผู้เร่ิมด้าเนินการ เมื่อปี พ.ศ. 2550
โดยมีแนวคิดการหมักก๊าสชีวภาพมาจากการดูรายการโทรทัศน์ “กบนอกกะลา” ประกอบกับในหมู่บ้านมี
การเลียงวัวและมีมูลวัวจ้านวนมาก จึงมีแนวความคิดท่ีจะผลิตเตาแก๊ส โดยการลงทุนด้วยตนเอง ซือมา
ทดลองท้าเองลองผิดลองถูกจนกระท่ังสามารถใช้ได้จริง โดยในระยะแรกให้เติมมูลสัตว์ประมาณ 1 – 2
กิโลกรัม ต่อวัน ถัง 200 ลิตรเหมาะสมกับครัวเรอื น 2 – 3 คน ในเวลา 1 วัน สามารถผลิตแก๊สใช้ไดน้ าน
ประมาณ 40 นาที อยากใช้มากก็สามารถเพิ่มถังหมักและถังเก็บแก๊สอีก ถ้าถุงพลาสติกที่ครอบถังไม่มีการ
โปร่งพองตัวขึนแสดงว่ามีรอยรั่วบริเวณจุดใดจดุ หน่ึง ไม่ควรใส่อาหารเปรยี วหรือไขมันลงในถังเพราะเมื่อใช้
ไปนานๆ อาจจะเกดิ การผุกรอ่ นของถังได้
ฐำนกำรเรียนร้กู ลุ่มผกั ตบชวำ

กลุ่มผักตบชวา ก่อตังขึนในปี พ.ศ. 2542 เพ่ือเสริมสร้างรายได้ให้กับกลุ่มสตรีบ้านบัวที่ว่างเว้น
จากการท้านา ปัจจุบันมีสมาชิก 40 คน มีทุนหมุนเวียนภายในกลุ่มจากการออมของสมาชิกจ้านวนหน่ึง
และสมาชิกสามารถกู้ยืมไปลงทุนในการประกอบอาชีพ ในอัตราร้อยละ 1 บาทต่อปี ในระยะแรกได้รับ
งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนต้าบล มี ศูนย์ กศน.และกรมอุตสาหกรรมมาส่งเสริมให้ความรู้เพ่ิมเตมิ
ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และการด้าเนินงานของกลุ่ม โดยมี นางแสงแก้ว โกสินทร์ เป็นประธาน
ซึ่งสมาชิกกลุ่มสามารถสร้างรายได้เสริมจากการสานผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา ซึ่งเป็นวัสดุท่ีหาได้จากกว๊าน
พะเยา เปน็ แหล่งวตั ถุดบิ ในชมุ ชน

ครกหนิ
บ้ำนงิวใต้ หมู่ที่ 6
ตำบลบ้ำนสำง อำเภอเมือง จังหวดั พะเยำ

ประวตั ิควำมเป็นมำกำรทำครกหิน
คนแรกท่ีท้าครกหินในหมู่บ้านนี คือ นายจ๋อย สมเครือ หรือเรียกว่า สล่าจ๋อย (ได้ล่วงลับไปแล้ว)

ได้ย้ายถ่ินฐานจากบ้านหมาก บ้านแลง จังหวัดล้าปาง มาตังถ่ินฐานอยู่ที่บ้านงิวใต้ หมู่ท่ี 6 ต้าบลบ้านสาง
อ้าเภอเมือง จังหวัดพะเยา เดิมเป็นหมู่บ้านหมู่ที่ ๑๖ ต้าบลบ้านตุ่น อ้าเภอเมือง จังหวัดพะเยา
นายจ๋อย สมเครือ มีความคิดท่ีจะท้าครกหินแทนครกไม้และครกดินเผาใช้ในการประกอบอาหารแต่
เน่ืองจากครกไม้และครกดินเผานันต้าน้าพริกได้ละเอียดช้าจึงได้มีคนคิดริเร่ิมน้าหินมาแกะสลักท้าครก
เพื่อใช้โขลกท้าน้าพริกซึ่งสามารถต้าไดล้ ะเอียดและรวดเร็วกว่าเดิม คนแรกทีไ่ ด้มีการน้าหนิ ซึง่ เป็นหินทราย
มาจากห้วยแม่ตุ่นและห้วยแม่แฮ้ ซ่ึงอยู่ติดเชิงดอยหลวง ห่างจากตัวหมู่บ้านประมาณ 2 กิโลเมตร
มาท้าครกหินและแกะสลักพระพุทธรูป แต่การประกอบอาชีพพระพุทธรูปนีเป็นการยากท่ีจะพัฒนาตนเอง
ให้ทันต่อยุคสมัยและความต้องการของสังคมได้ ดังนันอาชีพการแกะสลักพระพุทธรูปจึงเป็นอาชีพท่ีอยู่ใน
วงแคบและจ้ากัดดว้ ยฝีมือสว่ นมากจึงหันมาประกอบอาชีพสกัดครกหนิ เพ่ือจ้าหน่ายเป็นสินค้าหลักซึ่งได้ผล
ประโยชน์ตอบแทนมากกว่าแกะสลักพระพุทธรูป รูปทรงของครกของสล่าจ๋อยสมัยแรกไม่เหมือนปัจจุบัน
ตัวครกจะมีฐานและมีหูจับคล้ายถ้วยรางวัล และมีการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถ่ินให้นายโป สมเครือ
ซึง่ เปน็ ลกู ชายของ นายจ๋อย สมเครือ อยู่ท่ี บา้ นงวิ หมู่ท่ี 6 ตา้ บลบา้ นสาง จดุ เริม่ ต้นของภูมิปญั ญาท้องถ่ิน
ของการท้าครกหินที่ได้การถ่ายทอดสืบต่อกันมา โดยมีท้าครกหินจากหินทรายมาเป็นหินแกรนิต
ท่ีได้มาจากต้าบลแม่กา อ้าเภอเมือง จังหวัดพะเยา มาท้าครกหินจนถึงปัจจุบัน บ้านงิวใต้ หมู่ที่ 6
ต้าบลบ้านสาง อ้าเภอเมือง จังหวัดพะเยา ได้สืบทอดสู่รุ่นลูกรุ่นหลานให้กับชุมชนบ้านงิว ในแต่ละ
ครอบครัวสืบต่อมาเร่ือยๆ แต่ละครอบครัวก็จะมีผู้สืบทอดเป็นรุ่นๆ เพ่ือสร้างรายได้กับตนเอง ครอบครัว
และชุมชน ดังนันลูกหลานชุมชนบ้านงิวแต่ละครอบครัวนอกเหนือจากการประกอบอาชีพเกษตรกรกรรม
แล้ว ก็จะมีอาชีพท้าครกหิน โดยเชื่อกันว่าท้ากันมาได้ประมาณ 100 กว่าปี เป็นอาชีพที่ต้องใช้แรงและ
ก้าลังจนได้ฉายาว่าหมู่บ้านเบาค้าหนัก (บ้านเบา คือ บ้านงิว ซ่ึงเป็นวัสดุท่ีมีน้าหนักเบา ค้าหนัก
คือ ชาวบ้านงิวจะมีอาชีพท้าครกขาย ซ่ึงครกมีน้าหนักมาก) และได้ขนานนามว่าดงแม่หม้าย เพราะผู้ชาย
ส่วนใหญ่เสียชีวิตด้วยโรคเก่ียวกับปอดจากการท้าครก เช่น โรค Silicosis โรคมะเร็งปอด เป็นต้น
ท้าให้ผู้หญิงส่วนใหญ่เป็นหม้าย บ้านงิว เป็นช่ือตามสัญลักษณ์ ที่เม่ืออดีตพืนท่ีส่วนใหญ่ของบ้านงิวจะเป็น
ป่าต้นงิวแดง มีต้นงิวใหญ่เรียงรายหลายต้น และบางส่วนเป็นป่าและทุ่งนา ชาวบ้าน จึงตังช่ือหมู่บ้าน
ตามต้นงิวที่ขึนอยู่มากมายในหมู่บ้าน ทางทิศใต้ถัดจากบ้านสางเหนือ หมู่ที่ 7 ต้าบลบ้านสาง อ้าเภอเมือง
จังหวัดพะเยา เมือ่ มีคนเรม่ิ ทยอยกนั มาอย่มู ากขนึ ชาวบ้านก็ไดช้ ว่ ยกนั สรา้ งอารามขึนมา และตอ่ มาได้สร้าง
เป็นวัด เรียกว่าวัดศรีดอนเมืองบ้านงิว เมื่อปี พ.ศ.2518 (ปัจจุบันเปลี่ยนช่ือเป็นวัดบ้านงิว) มีพืนที่ 1 ไร่
1 งาน 37 ตารางวา มเี จา้ อาวาสถึง 10 รุ่น ตอ่ มาประมาณ พ.ศ.2520 เม่อื ประชากรมีมากขนึ จึงได้แบ่ง
เขตการปกครองจากต้าบลบ้านตนุ่ หมู่ท่ี 16 มาเปน็ หมู่ที่ 6 ตา้ บลบ้านสาง ประชาชนมีการประกอบอาชีพ
ท่ีหลากหลายแต่ละอาชีพมีการปรับปรุงและพัฒนาตามแบบแผนนโยบายอย่างสร้างสรรค์โดยเทคโนโลยี
แบบพอเพียง มีความสามัคคีและซ่ือสัตย์ อยู่แบบพี่น้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยส่วนใหญ่นับถือศาสนา
พุทธ ยึดหลักธรรมและวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีในการปกครองมาหลายช่ัวคน และได้มีการ
เลือกผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้น้าของหมู่บ้าน โดยผู้ใหญ่บ้านคนแรกที่ชาวบ้านเลือก คือ นายเชียง หวานใจ
คนต่อมา คือ นายพุทธ กิ่งแก้ว, นายเลิศ สมเครือ, นายหมัว หวานใจ, นายแก้ว พรหมชัย, นายเรือน

เครือสาร, นายสงัด กิ่งแก้ว, นางประภัสสร เหล็กกล้า และผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน คือ นายประสงค์
เหล็กกล้า ท่ีมาจากการเลือกตังในปี พ.ศ. 2552 บ้านงิวใต้ตังอยู่ห่างจากท่ีว่าการอ้าเภอเมืองพะเยาและ
ศาลากลางจงั หวัดพะเยา เปน็ ระยะทาง 12 กิโลเมตร มพี นื ทหี่ มู่บา้ นประมาณ 720 ไร่ มคี รวั เรือนทังหมด
126 ครัวเรือน และในปี 2554 นีบ้านงิวใต้ได้สมัครเข้าสู่ระบบมาตรฐานงานชุมชน ความเป็นอยู่ของคน
ในชุมชน ส่วนใหญ่มีภูมิล้าเนาอยู่ท่ีเดียวกัน มีลักษณะความเป็นอยู่ท่ีไม่แตกต่างกัน มีครอบครัวเป็น
ครอบครัวท่ีอยู่กันแบบเครือญาติ พ่ึงพาอาศัยกัน การท้าครกหิน จึงได้รับการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
จากรนุ่ สู่รนุ่ จนมาถงึ ปจั จบุ ัน

วธิ ีคิดกำรทำครกหินจำกอดตี จนถึงปจั จบุ นั

สมัยก่อน การท้าครกนิยมครกไม้ เพราะว่าเป็นการท้าครกที่ง่ายสะดวก เพราะพืนท่ีทางภาคเหนือ
มีป่าไม้จ้านวนมาก จึงนิยมท้าครก ด้วยไม้ ประหยัดและไม่ต้องใช้เคร่ืองทุนแรงมากมายก็สามารถมีครก
ใช้ได้และมีการท้าครกดินเผาใช้ในการประกอบอาหารแต่เนื่องจากครกไม้และครกดินเผานันต้าน้า พริกได้
ละเอียดช้ากว่าครกหิน นายจ๋อย สมเครือ พ่อของ นายโป สมเครือ จึงได้มีคนคิดริเร่ิมน้าหินมาแกะสลักทา้
ครกเพื่อใช้โขลกท้าน้าพริกซ่ึงสามารถต้าได้ละเอียดและรวดเร็วกว่า มีการคิดท้าครกหินแบบมีหูสองข้าง
ปัจจุบันก็ได้มีการดัดแปลงรูปแบบแล้วก็ครกหินแบบไม่มีมีหูสองข้าง และมีการตกแต่งลวดลายให้สวยงาม
สร้างรายได้ให้กบั ครอบครวั และชมุ ชน

กำรพฒั นำกำรทำครกหิน
ความเป็นอยู่ของคนในชุมชน ส่วนใหญ่มีภูมิล้าเนาอยู่ที่เดียวกัน มีลักษณะความเป็นอยู่ท่ีไม่

แตกต่างกนั มีครอบครวั เปน็ ครอบครวั ท่ีอยู่กนั แบบเครือญาติ พง่ึ พาอาศัยกัน และคนในชุมชนรจู้ กั กันหมด
ทุกครัวเรือน การประกอบอาชีพส่วนใหญ่อดีตการท้าครกหินเป็นการท้าเพื่อใช้ในครัวเรือน เน่ืองจาก
ชาวบ้านมีความยากจนและบางคนก็ไม่มีอาชีพจึงท้าให้ไม่มีรายได้มาจุนเจือครอบครัว ชาวบ้านจึงรวมกลมุ่
กันโดยยดึ เอาอาชีพท้าครกหินที่ได้รบั การถา่ ยทอดจากบรรพบรุ ุษ เป็นอาชีพหลกั ในการรวมกลุ่มครังนี เพื่อ
เป็นการแก้ไขปัญหาความยากจนและเป็นการบูรณาการสังคมและเศรษฐกิจของชุมชน ก่อให้เกิดความ
เขม้ แขง็ ซงึ่ อาชพี ท้าครกหินเป็นอาชีพที่มีมาแต่เดิม และเปน็ อาชีพท่ีได้รับการสนบั สนุนให้เป็น OTOP ของ
ต้าบลบ้านสาง ซึ่งอาชีพนีเป็นอาชีพที่ได้รับการสืบทอดมาตังแต่รุ่นปู่ย่าตายาย กลุ่มคนสมัยใหม่จึงเล็งเห็น
ว่าอาชีพนีควรจะได้รบั การสืบทอดต่อไป จึงได้มีการรวมกลมุ่ และร่วมกันจดั ตังกลุ่มท้าครกหินขนึ มาตงั แต่ปี

พ.ศ. 2551 ซึ่งการท้าครกหินในสมัยก่อนนันจะใช้เวลานานมากในการเจาะหินให้เป็นครกหินได้ในแต่ละ
ลูก รวมไปถึงการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการท้าครกหินนันก็หาได้ยากมาก แต่ในปัจจุบันการท้าครกหินมี
ขันตอนการท้าที่สะดวกรวดเรว็ มากขึนกวา่ แต่ก่อนเป็นอย่างมาก เน่ืองจากกลุ่มครกหินได้นา้ เอาเทคโนโลยี
มาใช้ในการสกัดและเจาะครกหินในบางขันตอนจึงท้าให้ง่ายต่อการจัดท้าครกหินและกลุ่ มได้จดทะเบียน
เป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนของส้านักงานเกษตรอ้าเภอเมืองพะเยาครังแรกในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2551
และต่อทะเบียนครังท่ี 2 ในวันท่ี 1 มนี าคม 2554 ภายใตช้ อ่ื กลมุ่ อุตสาหกรรมครกหินและเกษตรกรท้านา
ปัจจุบันมีเงินฝากในบัญชีเงินฝากของ ธกส. สาขาพะเยา เป็นจ้านวนเงิน 29,705.81 บาท จากการที่
หมู่บ้านผลิตครกได้ประมาณ 300 ลูกต่อเดือน และจ้าหน่ายครกหินในราคาลูกละ 200 บาท ท้าให้มี
รายไดเ้ ข้าส่หู ม่บู า้ น ปีละ 21,600,000 บาท

กระบวนกำรผลติ ของกลุม่ อุตสำหกรรมครกหิน
1. วสั ดุและอุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการผลิต
1.1 หนิ แกรนติ / หนิ อ่อน
1.2 ฆ้อน
1.3 เหล็กสกัดหนิ
1.4 เหล็กหัวเพชร
1.5 เหล็กชะแลง
1.6 เคร่อื งกลึงครก
1.7 เครือ่ งเจาะหนิ ไฟฟา้
1.8 เครื่องตดั หิน
2. แหล่งท่มี าของวัสดุ
2.1 หินแกรนิต ได้มาจากพืนที่ ต้าบลจ้าป่าหวาย ต้าบลแม่กา อ้าเภอเมืองพะเยา และ

อ้าเภอพาน จงั หวดั เชยี งราย โดยทงั นหี มบู่ า้ นได้ซือแหลง่ หนิ เป็นของตนเองไวท้ ่ีตา้ บลจา้ ปา่ หวาย มีเนือท่ี 5
ไร่ ตังแต่ปี 2552

2.2 ค้อน/เหลก็ สกัดหิน/เหลก็ หัวเพชร/เคร่อื งกลึงครก/เครือ่ งเจาะหนิ ไฟฟา้ /เครื่องตัดหิน
หาซอื ไดท้ ่ัวไปตามร้านคา้ ตวั แทนจา้ หนา่ ยอปุ กรณ์ท้าครกหนิ

3. ขันตอนการผลติ
3.1 หินที่ใช้จะต้องเป็นหินอ่อน หรือหินแกรนิตเท่านันเพ่ือความคงทนของครกหินท่ีจะท้าขึน

โดยใชห้ นิ กอ้ นใหญข่ นาดประมาณ 12-25 นวิ
3.2 น้าหินที่ได้มาผ่าให้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 7-14นิวโดยใช้เคร่อื งมือ คือ เหล็ก

สกัด (สิว่ ) ทที่ า้ มาจากเหลก็ แหนบรถยนตก์ บั ฆอ้ นขนาด 3-12 ปอนดใ์ นการผ่าหนิ
3.3 เมอ่ื ผ่าหินเป็นก้อนแล้ว จะน้าหินนนั ไปแช่น้าก่อนเพ่ือใหห้ ินนันอิ่มตวั เพราะจะง่ายต่อการ

แตกและแกะตามรปู แบบ
3.4 หลังจากที่ได้หินมาเรียบร้อย จะต้องน้าหินนันมาท้าการตัดโดยให้เคร่ืองตัดหินเพ่ือให้ได้

รูปทรงส่ีเหลีย่ มตามขนาดของหินทตี่ ้องการ
3.5 จากนันจะใช้เครอ่ื งกลงึ ครกเพอื่ เป็นการท้าให้ครกเรียบและได้รปู ทรงสัดส่วนทส่ี วยงาม
3.6 เม่ือได้ขนาดแล้ว ขันตอนต่อไปจะต้องใช้เคร่ืองเจาะหินไฟฟ้า ท้าการเจาะบริเวณ

สว่ นกลางของครกหินเพอ่ื ใหเ้ กดิ เปน็ รอ่ งครกขึน

3.7 ตกแต่งลวดลายหรอื สสี นั ใหส้ วยงาม น้าออกจ้าหนา่ ย

1. ลกั ษณะหนิ ที่สกดั ดว้ ยเหล็กหวั เพชร/ค้อน/เหลก็ สกดั หิน

2 .ลกั ษณะของหนิ ท่ีตัดโดยใช้เครอ่ื งตดั หินมาตดั ให้เป็นรูปทรงเพอ่ื จะน้าไปส่ขู ันตอนตอ่ ไป

3. ลักษณะของหินที่ได้ผ่านกระบวนการตัดโดยให้เครื่องตัดหินแล้วและน้ามาเข้าเครื่องกลึงครกหินต่อ
เพื่อใหเ้ ปน็ รปู ร่างทไ่ี ด้สัดส่วน

เอกลกั ษณ์/จดุ เดน่ ของผลิตภัณฑ์
1. เนอื หนิ แกรนติ มคี วามคงทน เนอื เหนยี ว
2. มคี วามประณีต มีหลายรูปแบบ และหลายขนาดใหเ้ ลอื ก
3. ไม่เป็นเมด็ ทราย
4. รับประกนั ตลอดการใชง้ าน

มำตรฐำนและรำงวลั ที่ได้รับ
1. ได้รับมาตรฐานการรับรองคุณภาพ มผช.จากส้านักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม " ครกหิน"

มาตรฐานเลขที่ มผช.11/2546

มผช

2. ได้รับใบรับรองผ่านการคัดสรรสุดยอดหน่ึงต้าบล หน่ึงผลิตภัณฑ์ไทย ) OTOPProduct
Champion) ปี 2546 ระดับ 4 ดาว และในปี2547 ไดร้ ะดบั 5 ดาว

ใบรับรอง รับใบประกาศ

ควำมสมั พันธ์กับชมุ ชน
ฝีมือ แรงาน คือ คนในชุมชนในชุมชนอย่างแท้จริงโดยถ่ายทอดจากรุ่นต่อรุ่น ท้าให้คนในชุมชนมี

ความผูกพันกัน มีความรับผิดชอบ มีความตังใจสูงต้องใช้สมาธิสร้างความอดทนให้กับคนในชุมชน โดยใช้
วัสดุจากในพืนท่จี ังหวดั พะเยา

กำรจำหน่ำยผลิตภณั ฑ์ของกล่มุ
1. จดั จา้ หน่ายดว้ ยตนเอง
2. จดั จา้ หน่ายโดยสหกรณร์ ้านค้า
3. จดั จา้ หน่ายโดยพ่อคา้ คนกลาง

กำรบริหำรจัดกำรเพอ่ื สบื ทอดภมู ปิ ัญญำท้องถนิ่ ที่เปน็ แหล่งเรียนรู้ในชมุ ชน
การท้าครกหิน ชุมชนบ้านงิวใต้ หมู่ที่ 6 ต้าบลบ้านสาง อ้าเภอเมือง จังหวัดพะยา ได้รับการ

ถ่ายทอดการท้า ครกหินมาเป็นเวลานานแล้วจากรนุ่ สู่รุ่นจากบรรพบุรุพท่ีสืบทอดกันมา โดยเริ่มจากการใช้
หินทรายก่อน ต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้หินแกรนิต ด้วยเหตุผลในด้านความคงทน มีลักษณะการผลิตแบบ
อุตสาหกรรมในครัวเรือน โดยใชแ้ รงงานในชุมชนทังสนิ ผลิตภณั ฑข์ องหมู่บ้านนมี ีจุดเดน่ อยู่ที่ความประณีต
และความหลากหลาย สินค้าที่ผลิตมีมาตรฐาน ได้เป็นสินค้าโอทอป ประจ้าจังหวัดพะเยาซึ่งมีตลาดรองรับ
หลายแห่ง ทังนีจะมีพ่อค้ามารับไปจ้าหน่ายแถวภาคเหนือตอนล่างและสง่ ออกไปยังประเทศเพื่อนบ้านดว้ ย
ดังนันการบริหารการจัดการความรู้ของชุมชน ซึ่งบ้านงิวใต้ มีการส่งเสริมด้านความรู้ให้แก่ประชาชนใน
หมู่บ้านอย่างสม้่าเสมอ ต่อเน่ือง โดยจัดตังให้มีศูนย์เรียนรู้ชมุ ชนของหมู่บ้าน มีการจัดหาเอกสาร หนังสือ
และบันทึกข้อมูลภูมิปัญญาของหมู่บ้านไปติดไว้ที่ศูนย์เรียนรู้ชุมชน เพ่ือให้ประชาชนทังภายใน ภายนอก
หมู่บา้ นไดเ้ รียนรู้ รวมถึงเดก็ และเยาวชนในหมู่บา้ น ชมุ ชนมกี ารสืบทอดและใชภ้ ูมิปัญญาท้องถิ่น บ้านงิวใต้
ได้น้าภูมิปัญญาท้องถ่ินที่สืบทอดกันมาหลายรุ่นอายุคนด้านการท้าครกหิน การปั้นหม้อดิน มาบันทึกเป็น
ลายลักษณ์อักษรและเผยแพร่ไว้ที่ศูนย์เรียนรู้ชุมชนมีการส่งเสริมการขาย คือ การเพิ่มมูลค่าสินค้า คือ การ
ตกแต่งครกหินให้มีลวดลายท่ีสวยงามแตกต่างจากสมัยโบราณที่ไม่มีลวดลาย ถือเป็นการสร้างมูลค่าให้กับ
สินค้าให้มีราคาท่ีสูงขึน มีการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถ่ินสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน โดยการให้คนในครอบครัวมีส่วน
รว่ มในการทา้ ครกหนิ


Click to View FlipBook Version