The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khuantungku_2553, 2021-03-29 02:54:25

ข้อมูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ข้อมูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Keywords: ศรร.



แบบกรอกข้อมูลประกอบการคดั กรอง ศรร.ของโรงเรยี น ศรร.02

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศกึ ษา

ช่ือสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกู สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต ๒

สถานทตี่ ัง้ เลขที่ 50/1 หม่ทู ่ี 3 ตำบลบางสกั อำเภอกันตงั จังหวดั ตรงั รหัสไปรษณีย์ 92110

โทรศัพท์ 084-8417543 โทรสาร …………..-……………………. Website ………………..-……………………….

ช่อื -สกุลผู้อำนวยการสถานศกึ ษา นางจริ าภรณ์ บวั เพช็ ร โทรศพั ท์ 084-8417543

ชื่อ-สกุลครูแกนนำ นางสุคนธ์ คีรีรัตน์ โทรศัพท์ 087-8818910

ช่อื -สกุลครูแกนนำ นางสาวยภุ าพิศ ดอกรักษ์ โทรศัพท์ 084-6990153

ชอ่ื -สกลุ ครูแกนนำ นางสาวสุกญั ญา จับปลั่ง โทรศัพท์ 098-4484642

ชื่อ-สกุลครูแกนนำ นายนรุตม์ ย่งั ยืน โทรศพั ท์ 089-4697964

ช่อื -สกลุ ครแู กนนำ นางสาวอตินชุ บุญนวล โทรศัพท์ 095-2572812

ชอ่ื -สกลุ ครูแกนนำ นายกิตติ หลา้ หลน่ั โทรศพั ท์ 086-2700917

ชอ่ื -สกลุ ครูแกนนำ นางสาวปาริชาต ทะเลลกึ โทรศัพท์ 065-8128876

ช่ือ-สกุลครแู กนนำ นายวชั ระ กูมดุ า โทรศัพท์ 061-2579554

๑. เหตผุ ลทส่ี ถานศึกษาขอรบั การประเมินเป็นศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ น
การศกึ ษา

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ฉบับที่ 20 หมวด ๖ มาตรา ๗๕ ได้
อัญเชิญหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช มาใช้เพ่อื บรรจใุ น

รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันความว่า รัฐพึงจัดระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนมีโอกาสได้รับประโยชน์จากความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไปพร้อมกันอย่างทั่วถึง เป็นธรรม และยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔) ได้นอ้ มนำหลัก

“ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปน็ ปรัชญานำทางในการพัฒนาประเทศตอ่ เนื่อง เพื่อเสริมสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั และ
ช่วยให้สังคมไทยสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน การพัฒนาตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ประกาศนโยบายการจดั ตง้ั
ศนู ย์ขบั เคลื่อนการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ว่า หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทไ่ี ด้พระราชทานใหแ้ ก่ปวงชนชาวไทย เปน็ หลักการสำคญั ทีท่ ุกภาคสว่ นในสังคม

ควรนอ้ มนำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ เพอ่ื ความเจริญงอกงามและความมน่ั คงยงั่ ยนื ซงึ่ รฐั บาลใหค้ วามสำคัญ
และส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคสว่ นนำหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้อยา่ งต่อเนอื่ ง โดยยึดหลักการสำคญั คือ รจู้ กั พอประมาณ

มีเหตมุ ีผล และมีภมู คิ ุม้ กนั บนพื้นฐานความถกู ต้อง อกี ทัง้ ยังจัดทำแผนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ทุกส่วนราชการนำไปใช้เป็นแนวทางขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้
เกดิ ขน้ึ เปน็ รูปธรรม

โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู เล็งเห็นถึงความสำคัญของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงได้น้อมนำหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา ดว้ ยการพฒั นาฝา่ ยบรหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน คณะกรรมการ
สถานศึกษาโรงเรยี นบ้านควนตุ้งกู ได้นำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในวิถีชวี ิตและจัดการเรียนร้เู พือ่
ยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรู้ ยกระดับอุปนิสัยพอเพียงของนักเรียน จากการบรหิ ารการศกึ ษาดังกล่าวส่งผล

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบ้านควนตุง้ กู


ให้มีครูแกนนำ นักเรียนแกนนำ เพื่อการขยายผลการขับเคลื่อนให้ครูและนักเรียนในโรงเรียน ตลอดจนโรงเรียน
และหน่วยงานตา่ ง ๆ อยา่ งมีจติ อาสา มฐี านการเรียนรบู้ รู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมรับการ
เยี่ยมชมเพ่อื พฒั นาโรงเรยี น เปน็ สถานศึกษาแบบอย่างและศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ดา้ นการศึกษาไดอ้ ยา่ งม่นั คง สมดุลและย่งั ยืน

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบ้านควนตุง้ กู



แบบกรอกข้อมูลประกอบการคดั กรอง ศรร.ของโรงเรยี น ศรร.02

๒. ขอ้ มลู ทว่ั ไป ประกอบดว้ ย

๒.๑ จำนวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา (รวมครูอตั ราจ้าง) ปกี ารศึกษา ๒๕63

จำนวนจำแนกตามระดบั การศึกษา/กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ตำ่ กวา่ ปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท สงู กว่า รวม

ปริญญาโท

ภาษาไทย - 2 - -2

วทิ ยาศาสตร์ - 2 - -1

คณิตศาสตร์ - - 1 -2

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - 1 - -1

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา - - - --

ศลิ ปะ - - - - -

การงานอาชีพและเทคโนโลยี - - - --

ภาษาต่างประเทศ - 2 - -2

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน - - - --

บคุ ลกรทางการศึกษา 1 1 - -2

รวมทั้งส้ิน 1 8 1 - 10

2.2 จำนวนนกั เรียนจำแนกตามระดับช้ัน ปีการศกึ ษา 2563

จำนวนนักเรยี น

นกั เรียนทีม่ ีคณุ ลกั ษณะอยู่อยา่ ง

ระดับชนั้ ทั้งหมด พอเพยี ง จำนวนนกั เรยี นแกนนำขบั เคลอื่ น
(จำนวนคน/ร้อยละ)

ระดับปฐมวัย - - -
ชน้ั เตรียมอนบุ าล 12 12 -
ชั้นอนุบาลปที ี่ 1 6 6 -
ชั้นอนุบาลปที ี่ 2 3 3 -
ชั้นอนุบาลปที ่ี 3 21 21 -

รวม 13 13 3
ระดับประถมศึกษา 17 17 3
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 13 13 3
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 2 9 9 3
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 8 8 8
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 6 6 4
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5 66 66 24
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 87 87 24

รวม
รวมทงั้ สิ้น

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกู



2.3 บริบทของสถานศกึ ษา/ลักษณะชุมชน/ภูมิสังคม

โรงเรยี นบา้ นควนตงุ้ กู ได้เริม่ ทำการปลูกสร้าง เมอื่ วันท่ี 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2510 ซึ่งมีโดยการ

นำของขุนพินจิ ไพรวัน นายวรรณแสง ณ นคร และดว้ ยความร่วมมือของราษฎรณ์ หมู่ท่ี 3 ได้จัดสร้างอาคารเรียน

ชว่ั คราวแบบชัน้ เดยี ว ซ่งึ มขี นาดกว้าง 8 เมตร ยาว 10 เมตร ฝากน้ั ด้วยไมไ้ ผส่ าน หลังคามุงดว้ ยสังกะสี คร้งั แรกมี

วสั ดุอุปกรณ์ในการสอนดังน้ี โตะ๊ ครู 2 ชุด โตะ๊ นัดเรยี น 23 ชดุ กระดานดำ 5 แผ่น โรงเรยี นนี้มีเนอ้ื ท่ีท้ังหมด 6 ไร่

มีอาณาเขตตดิ ตอ่ ดงั น้ี

ทศิ เหนือ จดปา่ ไมโ้ กงกาง

ทศิ ใต้ จดทดี่ นิ ของนายวรรณแสง ณ นคร

ทศิ ตะวันออก จดทีด่ ินของนายวรรณแสง ณ นคร

ทิศตะวันตก จดที่ดนิ ของนายวรรณแสง ณ นคร

ทีด่ นิ ดงั กล่าวน้ีได้รับบรจิ ากจากคุณพนิ จิ ไพรวนั

ตอ่ มาอาคารเรียนหลงั ใหมไ่ ด้สร้างขนึ้ เมือ่ วันท่ี 29 เดือนเมษายน พ.ศ.2515 โดยทางโรงเรียน

ได้รับเงนิ จากกองสลากกนิ แบง่ รฐั บาลในวงเงิน 115,000 บาท จัดสรา้ งอาคารเรียนหลังใหม่ขนาดกวา้ ง 9 เมตร

ยาว 27 เมตร มี 3หอ้ งเรยี น พรอ้ มด้วยอุปกรณค์ รบชุด มีตเู้ ก็บเอกสาร 3 ใบ โตะ๊ ครู 3 ชุด โต๊ะนกั เรียน 75 ชุด

ในปี 2515 ทางโรงเรยี นได้รบั เงินจากงบประมาณ 25,000 บาท จดั สร้างบา้ นพกั ครูและได้รับ

เงนิ จากกองสลากกนิ แบง่ รัฐบาล จำนวน 5,000 บาท สร้างซอ้ มซึมสองทพี่ ร้อมที่ปสั สาวะของผู้ชาย

ในปี 2521 ทางโรงเรียนได้รับเงินจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง ได้จัดสร้างที่พักของครู

เพม่ิ ขึ้นอีกหนงึ่ หลัง

ชุมชนที่โรงเรยี นตง้ั อยู่ มีจำนวนประชากรประมาณ 1,300 คน จำนวน 356 ครัวเรือน จำนวน

ประชากรชาย 596 คน และจำนวนประชากรผู้หญิง 592 คน นบั ถือศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลาม ประกอบ

อาชีพการประมง ทำสวนยางพารา รับจ้างกรีดยาง สวนปาล์มน้ำมันและรับจ้างทั่วไป สภาพเศรษฐกิจค่อนข้าง

ยากจน ประชาชนส่วนใหญ่ประชากรมีรายได้เฉลี่ย ประมาณ 54,728.85 บาท /ปี ชุมชนให้ความร่วมมือ

ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ดา้ นต่าง ๆ ด้วยดี และมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา

ปจั จุบัน มหี ้องเรยี นทั้งหมด 8 หอ้ งเรยี น มนี ักเรยี นทง้ั หมด 87 คน แยกเปน็ นักเรยี นชาย 46 คน

เป็นนกั เรียนหญิง 41 คน ผูบ้ ริหารตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน 1 คน คอื นางจริ าภรณ์ บัวเพช็ ร ครูประจำการ

ในโรงเรียนมีจำนวน 5 คน ครูอัตราจ้างเงินงบประมาณโรงเรียน จำนวน 3 คน รวมครูทั้งหมด 8 คน ครูมีวุฒิ

การศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน 1 คน มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 7 คน ลูกจ้างประจำ

ตำแหน่ง ชา่ งปูน ช้ัน 3 จำนวน 1 คน เจา้ หน้าท่ีธุรการ จำนวน ๑ คน

โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู มีห้องวิทยาศาสตร์ 1 ห้อง ห้องสมุด 1 ห้อง ห้องพยาบาล 1 ห้อง

ห้องสหกรณ์ 1 ห้อง ห้องพักครู 1 ห้อง ห้องคอมพิวเตอร์ 1 ห้อง ห้องเศรษฐกิจพอเพียง 1 ห้อง มีเครื่อง

คอมพวิ เตอร์สำหรับใชก้ ารเรียนการสอน 5 เครอ่ื ง และใช้งานธรุ การ จำนวน 2 เคร่ือง

สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน

ไดแ้ ก่ ทา่ เทยี บเรือบ้านควนตงุ้ กู วดั ควนตงุ้ กู มัสยดิ บา้ นควนตุ้งกู สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านควนตุ้งกู สหกรณ์

บ้านควนตุ้งกู ศูนย์อนรุ ักษ์ทางทะเลบ้านควนตงุ้ กู อกี ทัง้ มรี ้านขายของ มรี า้ นคา้ ทกุ ประเภทที่สามารถหาซื้อสินค้า

ได้ครบ ประเพณีท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ประเพณีชักพระ ทอดกฐิน ประเพณีทำบุญสารทเดือนสิบ

ศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่น ได้แก่ รำกลองยาว ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษาปีท่ี 6

ประกอบอาชีพทำการประมง คิดเป็นร้อยละ 70 รองลงมาคือเกษตรกร ร้อยละ 15 ค้าขาย และธุรกิจสว่ นตัว

ร้อยละ 5 รับจา้ งทั่วไป ร้อยละ 10 ผ้ปู กครองนับถอื ศาสนาพุทธ 81.61 เปอรเ์ ซน็ ต์ รองลงมาคอื นับถอื ศาสนา

ข้อมูลประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู



อิสลาม 18.39 เปอร์เซ็นต์ โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน โอกาส โรงเรียนอยู่ใกล้วัดซึ่งเป็นการเอ้ือต่อการ
เรยี นรู้เกย่ี วกับวันสำคัญทางศาสนา

สภาพครอบครวั มีปัญหาแยกกนั อยู่ และหย่ารา้ ง ทำใหน้ ักเรียนขาดความอบอุ่นในครอบครัว ถูก
ปล่อยปละละเลย และอาชีพที่ไม่มั่นคงทำให้บางครอบครวั มีการโยกยา้ ยบ่อย ทำให้นักเรียนบางสว่ นต้องย้ายท่ี
เรียนไปมา บอ่ ยครัง้ สภาพสงั คมเสอื่ มโทรมมีปญั หายาเสพติด และการพนนั ค่อนข้างมาก ทำให้นักเรียนมีความ
เสี่ยงในเรอ่ื งเหลา่ นี้

2.4 เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา/เอกลักษณ์ของนกั เรยี น
ปฏิบตั ติ ามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง มีจติ สาธารณะ ส่งเสริมการปกครองระบบประชาธิปไตยและ

ภมู ใิ จในความเป็นไทย

2.5 แหลง่ เรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง(มอี ะไรบ้าง/ใช้ประโยชนอ์ ยา่ งไร)
แหลง่ เรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งโรงเรียนไดพ้ จิ ารณาทางเลอื กพฒั นาแหล่งเรียนรู้ให้กับ

นกั เรียนโดยมีการจัดเป็นฐานการเรยี นรู้
(1)แหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรยี น
- หอ้ งสมดุ มชี ีวิต
ใชใ้ นการศึกษาคน้ คว้าหาความร้ขู องครูและนักเรียนตลอดจนชุมชนสามารถเข้ามาใชป้ ระโยชน์ได้
และบม่ เพาะผเู้ รยี นให้มี อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง
- แปลงเกษตร
ใชใ้ นการเรยี นรฝู้ กึ ปฏบิ ัติการการปลกู ผกั และบม่ เพาะผู้เรียนใหม้ อี ุปนิสยั อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
- โรงเพาะเหด็
ใช้ในการเรียนรู้ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารการเพาะเห็ดนางฟา้ และบ่มเพาะผูเ้ รียนใหม้ อี ปุ นสิ ัยอยูอ่ ย่าง
พอเพยี ง
- โรงอาหาร
ใช้ในการเรยี นรฝู้ ึกปฏิบัติการแปรรปู อาหารและบ่มเพาะผู้เรียนใหม้ ีอปุ นิสยั อยอู่ ย่างพอเพยี ง
- สหกรณ์
ใชใ้ นการเรยี นรหู้ ลกั การของสหกรณ์ร้านค้าและบ่มเพาะผูเ้ รียนใหม้ อี ปุ นิสยั อยอู่ ยา่ งพอเพียง
- โรงเรือนเลีย้ งไก่
ใชใ้ นการเรียนรฝู้ กึ ปฏบิ ัติการการเลย้ี งไข่และบม่ เพาะผ้เู รียนใหม้ ีอุปนสิ ัยอยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
- หอ้ งคอมพวิ เตอร์
ใชใ้ นการเรยี นรูฝ้ กึ ปฏิบัตกิ ารการคน้ หาข้อมลู ความรเู้ กย่ี วกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- ฐานงานเกษตร
เป็นฐานท่ีให้นักเรียนได้เรยี นรเู้ กยี่ วกับการปลูกผักสวนครวั ต้งั แต่การเลือกเมลด็ การเตรยี มแปลง
การเลือกใช้เครื่องมอื การดูแลรักษาเคร่อื งมือ การดแู ลผัก การเกบ็ ผลผลิต เปน็ ต้น
- ฐานกจิ กรรมสภานักเรยี น
เป็นกิจกรรมท่เี น้นความเป็นประชาธปิ ไตยในโรงเรยี นซ่งึ จะใหน้ กั เรียนดำเนินกจิ กรรมตาม
สามารถความถนดั และความสนใจของนักเรียนโดยฝึกความเปน็ ผนู้ ำและผู้ตามที่ดตี ามหลักการ
ของประชาธิปไตย

ข้อมูลประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา โรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู


แหล่งเรียนรู้นอกในโรงเรียน

- วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยตี รงั
เป็นสถานศึกษาทีใ่ ห้คำแนะนำในการเลี้ยงไก่ การเพาะเห็ดและการปลกู พืช

- ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาอาชพี การเกษตร จังหวดั ตรัง
ให้ความรเู้ ก่ียวกบั การขยายพนั ธพุ์ ชื ชนดิ ต่าง ๆ

- ศนู ยศ์ ลิ ปะวิถบี ้านคลองคุ้ย
ใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั การดำเนนิ ชวี ิตแบบวิถีชาวบา้ น การเลยี้ งปลาดุก ปลานลิ เปน็ ตน้

- ศูนย์การเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง ตำบลป่าคลอก จังหวัดภเู ก็ต
ให้ความรเู้ ก่ียวกับวธิ กี ารปลกู พชื ชนดิ ต่าง ๆ และวธิ กี ารทำกระถางต้นไมจ้ ากยางรถยนต์ การทำ
ไม้กวาดทางมะพร้าว

- สหกรณก์ องทนุ สวนยางบา้ นควนตงุ้ กู
ให้ความรเู้ ก่ยี วกับการจดั ทำบญั ชีครวั เรอื น

- องค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก
ใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั การคดั แยกขยะ และการทำน้ำหมกั ชวี ภาพ

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู



๓. แนวทางในการดำเนนิ การในดา้ นตา่ ง ๆซงึ่ สมควรไดร้ ับการประเมนิ ผ่านเป็นศูนยก์ ารเรียนรูต้ ามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นสถานศกึ ษา

๓.๑ การบริหารจดั การ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ฉบับที่ 20 หมวด ๖ มาตรา ๗๕ ได้

อญั เชญิ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช มาใชเ้ พ่อื บรรจใุ น
รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันความว่า รัฐพึงจัดระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนมีโอกาสได้รับประโยชน์จากความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไปพร้อมกันอย่างทั่วถึง เป็นธรรม และยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔) ได้น้อมนำหลัก
“ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” มาเป็นปรชั ญานำทางในการพัฒนาประเทศต่อเน่ือง เพ่ือเสริมสร้างภมู คิ ้มุ กันและ
ช่วยให้สังคมไทยสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน การพัฒนาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สอดคลอ้ งกบั พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 ฉบับที่ 4 มาตรา 6
กล่าวถึงความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่
สมบูรณท์ ้ังร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา ความรู้ และคุณธรรม มจี ริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชวี ิต สามารถอยู่
รว่ มกับผูอ้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ มาตรา ๗ ในกระบวนการเรยี นรู้ตอ้ งมงุ่ ปลูกฝังจิตสำนึกทถี่ กู ต้องเก่ียวกับการเมือง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่
เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
รจู้ กั รักษาผลประโยชน์สว่ นรวมและของประเทศชาติ รวมทง้ั ส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของชาติ การกฬี า ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี
ความสามารถในการประกอบอาชพี รู้จกั พ่ึงตนเอง มคี วามรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ ใฝร่ แู้ ละเรยี นรดู้ ้วยตนเองอยา่ งต่อเนื่อง
ตลอดจนมุ่งพัฒนานักเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และ 2560
ให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ความสามารถมาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชว้ี ัดของทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้เกิดการเรียนรู้ในกจิ กรรม
พัฒนาผู้เรียน เกิดสมรรถสำคัญของผู้เรียนทั้ง 5 ประการคือ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา
การใช้เทคโนโลยี ตลอดจนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต
มวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ อยู่อย่างพอเพยี ง มุง่ ม่ันในการทำงาน รักความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ

โรงเรียนบ้านควนต้งุ กู ได้นอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการการบริหารการศึกษาใน
โรงเรยี นเพ่อื ใหก้ ารศึกษาของโรงเรียนเปน็ ไปตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 ฉบบั ท่ี 4 และ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และ 2560 โดยแบ่งการบริหารจัดการออกเป็น
4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายการบริหารวชิ าการ ฝ่ายการบริหารงบประมาณ ฝ่ายการบริหารทั่วไปและฝ่ายการบริหารงาน
บุคคล โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู มุ่งพัฒนาหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยการเรียนรู้บูรณาการหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และยกระดับอุปนิสัยพอเพียงตามกรอบ
แนวคิดการขับเคลื่อนโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรแู้ ละยกระดับอปุ นิสัยพอเพยี งของนักเรียนภายใต้
ความร่วมมือจากนกั เรียน ผู้ปกครอง ชมุ ชน โรงเรียนในเครอื ข่ายและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๓.๒ บุคลากร
โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู ได้รับความกรุณาจาก นางจรวยพรรณ เย่าเฉื้อ ครูชำนาญการพิเศษ

โรงเรียนห้วยยอดเป็นวิทยากร ในการจัดการอบรมให้ความรู้และเป็นพี่เลี้ยงในการส่งเสริมพฒั นาครูแกนนำและ
บุคลากรทางการศกึ ษาของโรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู ใหม้ ีความรูใ้ นการจัดฐานกจิ กรรมการเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง การจดั ทำแผนการเรยี นรูโ้ ดยบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยทางโรงเรยี นได้ส่ง
ครูแกนนำจำนวน 8 คนไปอบรมแนวทางการเข้ารับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ในวันที่ 27-30 มีนาคม 2561 โดยการอบรมเกี่ยวข้องกับการถอดบทเรียนและการจัดทำแผนการ

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู



จัดการเรียนรู้ทีเ่ กี่ยวข้องกับเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อให้ครูแกนนำขยายผลต่อที่โรงเรียน และวันที่ 14 พฤศจิกายน
2563 ทางโรงเรียนได้เชิญวิทยากร คือ นางจรวยพรรณ เย่าเฉื้อ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนห้วยยอดมาเปน็
วิทยากรเพอ่ื ถา่ ยทอดความรู้เก่ยี วกับการอบรมเพื่อเตรยี มความพร้อมเข้าร่วมประเมินเป็นศูนย์การเรยี นรู้ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยให้คุณครูของโรงเรยี นบา้ นควนตงุ้ กู จำนวน 8 คน และครจู ากโรงเรียนเครือขา่ ย
อีก 3 โรงเรยี น คือ โรงเรียนบ้านหาดยาว โรงเรียนบ้านน้ำราบ โรงเรยี นบ้านพระมว่ ง เข้ารว่ มการอบรมดังกล่าว
เพื่อถอดบทเรยี น และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้พรอ้ มกนั ใหเ้ กดิ การเรียนรู้และมีความเข้าใจมากยงิ่ ขน้ึ เพ่ือมาใช้
ในการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนต่อไป

ครู คอื เป้าหมายแรกในการพัฒนา เพราะครูคือตน้ แบบหรือเปน็ แบบอย่างที่ดีสำหรับนักเรียนและชุมชน
จึงต้องให้ครูมีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างความ
พอเพียง ครูเปน็ ฟันเฟอื งสำคัญทจ่ี ะทำใหภ้ ารกจิ “สร้างคน” ใหม้ ชี ีวติ ทีด่ ีงาม มีคณุ ธรรมจริยธรรม ใชช้ ีวิตอย่าง
พอเพยี ง เพอ่ื การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน ก่อนท่ีจะพฒั นานักเรียนให้มีความสมดุลทัง้ ดา้ นความรู้ ความคดิ ความสามารถ
และความดีที่มีคุณลักษณะอย่างพอเพยี งต่อไปการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ของบุคลากร
โรงเรียนบ้านควนตุ้งกูได้ดำเนนิ การโดยการทีจ่ ะต้องเริ่มที่ “ตัวเราคือตัวครู” ก่อน โดยเริ่มจากใจ จากภายในที่
เปิดรับมีมุมมองที่ดี วางแผน ศึกษา ปฏิบัติในวิถีชีวิตจนเกิดความเคยชิน การนำการใช้ชีวิตตามหลักพอเพียง
หรือชีวิตพอเพียง ต้องมีความเข้าใจองค์ประกอบพื้นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถูกต้อง
ชดั เจน กจ็ ะทำให้สามารถนำไปปรบั ใช้ได้ ในสถานการณต์ ่างๆ เพื่อให้เกดิ ประโยชนแ์ ละความสขุ ทีย่ ง่ั ยนื นน่ั คือ
หลักการแต่ไม่สามารถปฏิบัติได้ การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นของครูแกนนำ จากการได้รับความรู้ ความเข้าใจ
ทั้งจากการได้รับการอบรม และการพัฒนาตนเอง โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักคิด
หลักปฏิบัติในการดำเนินชีวติ วิถีการทำงาน พบว่า มีการเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ้นทัง้ ในวิถชี ีวิตตนเอง ครอบครวั
และการทำงาน เริ่มจากการมีวินัยในตนเอง ดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น ทำงานอย่างพอดี และสร้างสรรค์
การวางแผนการใช้จ่ายดา้ นการเงิน มคี วามสขุ ในการทำงาน เกิดการแบ่งปนั ต่อผู้ร่วมงาน และการเออ้ื เฟอ้ื เผ่ือแผ่
แกผ่ อู้ ืน่ มากขึ้น การมีจิตสาธารณะ และเป็นแบบอยา่ งท่ีดีใหแ้ ก่นักเรียนได้ .

3.3 งบประมาณ
โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู มีแผนงานการบริหารจัดการงบประมาณของสถานศึกษาที่พอเพียงและ

สอดคล้องกับหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมีการดำเนนิ งานตามแผนงานงบประมาณพร้อมตดิ ตามประเมินผลการ
ดำเนินโครงการและปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการงบประมาณให้เหมาะสมในปีต่อไปมีการวางแผนการ
ดำเนินงานบรหิ ารจดั การงบประมาณในการดำเนนิ การ/โครงการ/กิจกรรม โดยคำนงึ ถึงผลที่จะเกิดข้ึนกับผู้เรียน
สถานศึกษาและชุมชนอย่างคุ้มค่าและผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในทักษะชีวิตได้มีการประชุมชี้แจงการจัดสรร
งบประมาณ/การเบิกจ่ายงบประมาณทำความเขา้ ใจในการจัดซือ้ วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่าและเหมาะสมด้วยความ
ซื่อสัตย์สุจริตคำนึงถึงผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ชุมชนและสถานศึกษา สามารถตรวจสอบได้ทุกงาน
ทกุ โครงการและทุกกจิ กรรม

เมอื่ ดำเนินการเรียบรอ้ ยแล้วมีการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนงบประมาณตรวจสอบการ
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ติดตามการใช้ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน สถานศึกษาและชุมชนจากการดำเนินงานบริหาร
งบประมาณ ได้นำผลการดำเนินงานมาปรับปรงุ แก้ไขและวางแผนการดำเนินงานโดยนำข้อบกพร่องหรือปัญหา
ต่างๆท่เี กดิ ขน้ึ มาพฒั นาใหก้ า้ วหน้าและพรอ้ มรับต่อการเปลี่ยนแปลงท่จี ะเกิดข้ึนในอนาคตตอ่ โดยมีแผนปฏิบัติการ
ประจำปใี นการจัดสรรและใช้งบประมาณ ดังนี้

ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา โรงเรยี นบ้านควนตุ้งกู



งบประมาณจากหน่วยงานภายนอก
- โครงการเลี้ยงไก่ไขเ่ พอื่ อาหารกลางวนั นกั เรียน

งบประมาณจากโรงเรียน
ปฐมวยั

1.โครงการพฒั นาการศึกษาปฐมวัย
ประถมศกึ ษา

1.โครงการน้อมนำปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสสู่ ถานศึกษา
2.โครงการส่งเสริมการใชแ้ หล่งเรียนรู้และภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ เพ่อื พฒั นาคุณภาพการศึกษา
3.โครงการส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานศกึ ษา
4.โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
5.โครงการสง่ เสริมกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
6.โครงการพัฒนาครูผสู้ อนและสง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
7.โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นรู้
8.โครงการสถานศึกษาสขี าว

3.4 แหล่งเรยี นรู้
ด้านแหล่งเรยี นรู้มีแนวทางในการดำเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดงั นี้
๑. โรงเรียนบ้านควนตุ้งกูได้ดำเนินกาจัดอบรมการเขียนแผนการจัดกรเรียนกาสอนบูรณาการตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีนางจรวยพรรณ เย่าเฉื้อ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนห้วยยอดมาเป็น
วทิ ยากร

๒. โรงเรียนบ้านควนตุ้งกูได้ดำเนินการสำรวจ ศึกษา และเลือกสถานที่ที่เหมาะสมภายในและภายนอก
บริเวณโรงเรียนมาจัดการเป็นแหล่งเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรยี นและชมุ ชนครู

๓. ครูแกนนำและนกั เรยี นแกนนำในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรูจ้ ดั เตรียมฐานกจิ กรรมการเรียนรู้ตาม
กิจกรรมในแผนการจัดการเรียนการสอน

4. ดำเนินการบริหารจัดการ จัดสรรพื้นที่ต่าง ๆมาใช้ให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ จากความร่วมมือร่วมใจของ
ผู้บริหารครู นักเรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษา และชุมชน โดยใช้กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนเป็นแนวทาง
ในการจัดฐานการเรียนรตู้ า่ ง ๆโดยจดั ให้มีประกอบในแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน

๕ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบฐานการเรียนรู้ ครูแกนนำ นักเรียนแกนนำ ในการดูแล พัฒนาฐานการเรียนรู้
สภาพแวดลอ้ มโดยรอบอยา่ งสมำ่ เสมอ ตอ่ เน่ืองมกี ารดำเนินการจัดทำปา้ ยบอกชื่อฐานการเรียนรู้ การถอดบทเรียน
แผนการจัดการเรียนการสอน มีสื่อ เอกสารประกอบ และมีการจัดทำชุดกิจกรรมประจำฐานการเรียนรู้ภายใน
แหล่งเรยี นรทู้ ่ีเหมาะสม

ทางโรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู มีแหล่งเรียนรใู้ นโรงเรียนดังต่อไปนี้
- หอ้ งสมดุ มีชีวิต
ใช้ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ของครูและนักเรียนตลอดจนชุมชนสามารถเข้ามาใช้ประโยชน์

ไดแ้ ละบ่มเพาะผเู้ รยี นใหม้ ี อปุ นสิ ยั อย่อู ย่างพอเพียง
- แปลงเกษตร
ใช้ในการเรียนรฝู้ กึ ปฏบิ ตั ิการการปลูกผัก และบ่มเพาะผเู้ รยี นให้มีอุปนสิ ยั อยู่อยา่ งพอเพยี ง

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านควนต้งุ กู

๑๐

- โรงเพาะเหด็
ใช้ในการเรียนรู้ฝึกปฏิบัติการการเพาะเห็ดนางฟ้า และบ่มเพาะผู้เรียนให้มีอุปนิสัยอยู่อย่าง
พอเพียง

- โรงอาหาร
ใช้ในการเรยี นรฝู้ ึกปฏบิ ตั ิการแปรรูปอาหารและบ่มเพาะผู้เรยี นให้มอี ปุ นสิ ยั อยู่อย่างพอเพียง

- สหกรณ์
ใช้ในการเรียนรู้หลักการของสหกรณ์ร้านค้าและบ่มเพาะผ้เู รยี นใหม้ ีอปุ นิสยั อยูอ่ ยา่ งพอเพียง

- โรงเรือนเลย้ี งไก่
ใช้ในการเรยี นรู้ฝกึ ปฏิบัติการการเล้ียงไขแ่ ละบม่ เพาะผูเ้ รียนให้มีอุปนสิ ัยอยู่อยา่ งพอเพียง

- หอ้ งคอมพวิ เตอร์
ใช้ในการเรยี นรู้ฝกึ ปฏิบตั ิการการคน้ หาขอ้ มลู ความร้เู กี่ยวกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

- ฐานงานเกษตร
เปน็ ฐานทใ่ี ห้นักเรยี นได้เรียนรูเ้ ก่ยี วกับการปลูกผกั สวนครัวตัง้ แตก่ ารเลือกเมล็ด การเตรียมแปลง
การเลือกใชเ้ ครื่องมอื การดูแลรักษาเคร่อื งมือ การดูแลผกั การเก็บผลผลิต เป็นตน้

- ฐานกิจกรรมสภานักเรียน
เปน็ กิจกรรมทเ่ี น้นความเป็นประชาธิปไตยในโรงเรยี น ซ่งึ จะใหน้ กั เรียนดำเนินกิจกรรมตาม
สามารถความถนดั และความสนใจของนกั เรียนโดยฝกึ ความเปน็ ผนู้ ำและผู้ตามท่ดี ีตามหลกั การ
ของประชาธปิ ไตย

แหล่งเรียนรู้นอกในโรงเรยี นดังตอ่ ไปน้ี
- วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรงั
เปน็ สถานศึกษาท่ีใหค้ ำแนะนำในการเลย้ี งไก่ การเพาะเหด็ และการปลูกพชื
- ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดตรัง
ใหค้ วามรเู้ ก่ยี วกบั การขยายพันธ์พุ ชื ชนิดต่าง ๆ
- ศนู ย์ศิลปะวิถีบา้ นคลองคุ้ย
ใหค้ วามรู้เกย่ี วกบั การดำเนินชีวติ แบบวถิ ีชาวบ้าน การเลยี้ งปลาดุก ปลานลิ เปน็ ต้น
- ศนู ย์การเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง ตำบลปา่ คลอก จังหวดั ภเู กต็
ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการปลูกพืชชนิดต่าง ๆ และวิธีการทำกระถางต้นไม้จากยางรถยนต์
การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
- สหกรณก์ องทุนสวนยางบ้านควนตงุ้ กู
ให้ความรู้เกย่ี วกบั การจดั ทำบญั ชีครัวเรอื น
- องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลบางสกั
ใหค้ วามร้เู ก่ยี วกับการคัดแยกขยะ และการทำน้ำหมักชีวภาพ

ทางโรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู ไดแ้ บ่งฐานเปน็ 8 กลุ่มสาระ และ 1 กิจกรรมการเรียนรู้ ดงั นี้
1. กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ
ฐานงานเกษตร การปลูกผักบุง้ เกี่ยวกับการปลูกผักบุ้ง ศึกษาความรู้ในเร่ืองของวธิ กี ารเตรียมดนิ

การเพาะปลูก การบำรุงรักษา การเก็บเกี่ยวผลผลิต วัสดุ-อุปกรณ์ที่จำเป็นในการปลูกผักบุ้ง เทคนิคและวิธีการ
ปลกู โดยฝกึ ทกั ษะการเตรยี มดิน การเพาะปลกู การบำรงุ รกั ษา การเก็บเก่ียวผลผลิต เพอื่ ให้มีความรู้ความเข้าใจ
และมีทกั ษะในการปลูกพืชผกั สวนครัวเพอื่ การยังชีพ สามารถนำไปใชใ้ นการดำเนินชวี ิตได้อยา่ งมคี วามสขุ
โดยมคี รูแกนนำคอื นางสาวสกุ ัญญ จบั ปล่ัง และนางสคุ นธ์ ครี รี ตั น์

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนตงุ้ กู

๑๑

2. กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ฐานการเงินพอเพียง ใหผ้ ู้เรยี นรู้คุณค่าของเงนิ ท่พี อ่ แม่ ผ้ปู กครองตอ้ งทำงานเพอ่ื รายได้ ร่วมรับรู้รายจ่าย
มากมายของครอบครวั จดบันทกึ รายรับ รายจ่ายของตนเอง มอี อมเงนิ กอ่ นใชเ้ งิน มีเป้าหมายการออมเงนิ ท่ีดี รู้จัก
คดิ ร้จู กั เปรยี บเทียบก่อนซื้อโดยมีครูแกนนำคอื นางสาวอตนิ ุช บุญนวล และนายนรตุ ม์ ย่ังยนื
3. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ฐานการเขยี นสะกดคำในไก่แจ้แซ่เสียง นักเรียนคน้ หาคำจากห้องสมุด และใหน้ ักเรียนจัดทำบัตรคำ ท่ีได้
จากการไปค้นหาคำ แล้วนำคำเหล่านั้นมาฝกึ อ่าน ฝึกเขยี น นักเรียนสลับกันอ่านเขียนกับเพ่อื นๆ โดยมีครูแกนนำ
คือ นางสคุ นธ์ ครี รี ัตน์ และนายวชั ระ กมู ุดา
4. กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ฐานการวิเคราะหส์ ารอาหารในอาหารที่มีผักสวนครัวเป็นสว่ นประกอบ เป็นการจดั การเรยี นการสอนท่ี
เน้นนักเรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม แบบ Active Learning โดยให้นักเรียนวิเคราะห์สารอาหารที่มีอยู่ใน
อาหารได้อย่างถูกต้อง สามารถนำความรู้ที่ได้จากการถอดบทเรียน ไปใช้ในการเลือกรับประทานอาหารได้อย่าง
ปลอดภัย และมีสารอาหารครบถ้วน รวมไปถึงนักเรยี นสามารถลำดับกระบวนการคิด สร้างเป็นแผนผังความคดิ
เพ่อื สอื่ ถงึ ความเขา้ ใจในการบอกประเภทของสารอาหาร
โดยมีครแู กนนำคอื นางสาวอตนิ ุช บุญนวล และนายกติ ติ หล้าหลนั่
5. กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์
ฐานจำนวนนับ ศึกษาการบอกจำนวนของสิ่งต่างๆ ตามจำนวนที่กำหนดให้ วิธีการนับจำนวนของส่ิง
ต่างๆ ประโยชน์ของการนับจำนวนของสิ่งของต่างๆในชีวิตประจำวัน โดยมีครูแกนนำคือ นายนรุตม์ ยั่งยืน และ
นางสาวอตินชุ บุญนวล
6. กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ฐาน survey around school เป็นฐานกิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ โดยการศึกษา
คำศัพท์เกย่ี วกับสิ่งของภายในโรงเรียนท่ีสามารถนำกลบั มาใชไ้ ด้ใหม่เพอ่ื นำมาเขียนผังความคิด (Mind Mapping)
ฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งงานกันทำ ฝึกการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ช่วยเหลือพึ่งพากันภายในกลุ่มร่วมกันวาง
แผนการปฏิบัติกิจกรรมการสำรวจสิง่ ของตา่ ง ๆ ภายในโรงเรียนทสี่ ามารถนำกลับมาใชไ้ ด้ใหม่อยา่ งรอบคอบ โดย
แบง่ หน้าทก่ี ารทำงานให้สมาชิกภายในกลุ่มตามความสามารถของแต่ละบุคคล สมาชิกในกลุ่มชว่ ยกันสรุปคำศัพท์
เกยี่ วกับสงิ่ ของตา่ ง ๆ ในโรงเรยี นทส่ี ามารถนำกลับมาใช้ได้ใหม่เป็นภาษาอังกฤษในใบงาน เรื่อง Survey around
school แต่ละกลมุ่ นำการบนั ทกึ คำศัพท์เกี่ยวกับสงิ่ ของตา่ ง ๆ ในโรงเรยี นที่สามารถนำกลับมาใช้ได้ใหม่ในใบงาน
มาจัดทำผังความคิด (My Mapping) มีการเตรียมอุปกรณ์ในการทำผังความคิด การออกแบบตามความต้องการ
และความสามารถของกลุ่ม โดยใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนการนำเสนอแลว้ นำเสนอผงั
ความคิดในการสะกดคำ อ่านออกเสียงและบอกความหมายหน้าชั้นเรียน โดยใช้เวลาไม่เกิน 5 นาที และสรุป
ปญั หาในการทำกิจกรรม โดยมคี รแู กนนำคือ นางสาวยุภาพิศ ดอกรักษ์ และนางสาวสุกัญญา จบั ปล่งั
7. กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ
ฐานภาพแขวนจากเปลือกไข่ ภาพแขวนจากเปลอื กไข่ คอื การนำเปลือกไขไ่ ก่ทเี่ ป็นเศษวัสดุธรรมชาติ
และกระดาษลงั ที่ไมใ่ ชแ้ ล้ว นำมาประดิษฐ์สร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะรปู แบบโครงสร้างเคล่ือนไหว โดยมคี รแู กน
นำคือ นางสาวสุกัญญา จับปลง่ั และนางสุคนธ์ คีรีรตั น์
8. กลมุ่ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น (สภานักเรียน) สภานักเรียนจะแบง่ หนา้ ทีต่ ามความถนัดแบะความชอบของงาน
ในแตล่ ะฝา่ ย หลงั จากน้ันสภานักเรียนจะปฏบิ ัติหน้าที่ของตนเองในแต่ละวนั โดยมีการแบ่งเวรประจำวัน วันละ 6 คน

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู

๑๒

โดยมกี ารแบง่ เวรประจำวนั เพือ่ ใหร้ ับผดิ ชอบการปฏิบตั งิ านตั้งแต่ เชา้ เท่ียง และเย็น โดยมีครแู กนนำคือ นางสาว
ยุภาพศิ ดอกรักษ์ และนางสาวปารชิ าต ทะเลลกึ

9. กลมุ่ ปฐมวัย
ฐานไข่เจยี วหรรษา ใหน้ ักเรียนรปู้ ระโยชนข์ องไข่และผกั โดยมคี รูแกนนำคือ นายนรุตม์ ยั่งยนื และ
นางสาวปารชิ าต ทะเลลกึ

3.5 วิธกี ารพฒั นาสถานศึกษาพอเพียงใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา
โรงเรียนบ้านควนตงุ้ กู มีการขบั เคล่อื นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยการให้ครูและบุคลากร

ของโรงเรียนน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักคิดและบูรณาการในกระบวนการเรียนการสอน
เรียนรู้สง่ เสริมให้ครูจดั ทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยมกี ารส่งครูแกนนำเพื่อไปอบรมเกยี่ วกับการเตรยี มความพร้อม
เพื่อเข้าร่วมประเมนิ เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและได้มีการขยายผลกบั โรงเรียน
เครือข่ายอกี จำนวน 3 โรงเรยี น คือ โรงเรยี นบา้ นหาดยาว โรงเรยี นบา้ นน้ำราบ โรงเรียนบา้ นพระม่วง เก่ียวกบั การ
จัดทำหนว่ ยการเรยี นรู้แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งโดยให้ครมู ีความเข้าใจ
ที่ถูกต้อง และทางโรงเรียนมีการจัดหาสื่อ ผลิตสื่อและใช้สื่อ สนับสนุนให้ครูจัดกิจกรรมแบบบูรณาการในกลุ่ม
สาระต่างๆให้เด็กได้เรียนรู้จากการปฏบิ ตั ิจริงอย่างหลากหลายตามความถนัดของตนเองและสามารถนำไปใชเ้ ป็น
แนวทางในการสรา้ งงานสร้างรายได้ให้กับครอบครวั เอง ไม่วา่ จะเปน็ ดา้ นการเกษตรเช่น การปลกู ผกั สวนครวั การ
เพาะเห็ดนางฟา้ การเล้ยี งไก่ การเล้ยี งปลาดุก มนี โยบายน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาขับเคลื่อนใน
สถานศึกษาและบูรณาการในแผนปฏิบัติงานประจำปี มีแผนงานโครงการต่างๆที่ทางผู้อำนวยการ คณะครู
คณะกรรมการสถานศึกษาร่วมกันจัดทำและแสดงความคิดเห็น กิจกรรมด้านวิชาการที่ส่งเสริมบูรณาการหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มกี ารดำเนินการติดตามผลและนำผลมาพัฒนาสถานศกึ ษา มีอาคารสถานทแ่ี ละจัด
แหลง่ เรียนร้ใู ห้มีความเหมาะสมเพียงพอ มีการประสานความร่วมมือกับชุมชนเพื่อเสรมิ สร้างคุณลักษณะอยู่อย่าง
พอเพียงของผู้เรียนสนับสนุนการดำเนินชีวิตที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีระบบดูแล
ช่วยเหลือนกั เรยี นให้สามารถแก้ปัญหาและพัฒนาตนเองไดอ้ ย่างสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
จัดกิจกรรมลูกเสือมีผู้บริหารที่มีคุณลักษณะของผู้บริหารและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสังคมสาธารณประโยชน์
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงทำใหน้ ักเรียนมภี มู คิ ุ้มกนั ในตนเองหลงั การดำเนินงานตามโครงการจะมีการ
รายงานผลการดำเนินงานระหว่างดำเนินกิจกรรมและดำเนินกจิ กรรม

จากการขบั เคลอื่ นการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องส่งผลให้โรงเรียนบ้านควนตุง้ กูของเรามีระบบการ
บริหารจัดการที่ดี ใช้ทรัพยากรอย่างประหยดั คุ้มคา่ และเกิดประโยชนส์ ูงสดุ ใหม้ ีใจรกั และจิตอาสาทกุ คนเร่ิมการ
พัฒนาและเห็นคุณค่า ประเมินผลงานตน เกดิ การรว่ มชน่ื ชมผลของการทำงาน ทส่ี ามารถสานตอ่ ลงไปถึงชุมชน
สร้างเครือขา่ ยให้เขม้ แขง็ นำผลมาพัฒนาปรับปรุง สรา้ งเด็ก สรา้ งคน สร้างชมุ ชน คณะครทู ุกคนมีส่วนร่วมคิด
ร่วมทำด้วยใจ พวกเรานอ้ มนำปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ ห้นกั เรียนได้ปฏิบัติ โดยครทู กุ คนต้องมีความรู้
ความเข้าใจในหลักพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันที่ดี โดยอาศัยเงื่อนไขความรู้ และคุณธรรมที่ดี การ
พฒั นาสิ่งเหล่านต้ี ง้ั อยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาทโดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมี
เหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน
การตัดสินใจและการกระทำ

ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกู

๑๓

4 ขอ้ มูลด้านบุคลากร

4.1 ผ้บู รหิ าร
4.1.1 ผู้บรหิ ารนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันอยา่ งไรบา้ ง เกิดผล
อยา่ งไร ยกตัวอย่างประกอบ
ข้าพเจ้านางจิราภรณ์ บัวเพ็ชร ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านควนตุ้งกู สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต ๒ ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตนอกจากการใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารสถานศึกษาตามบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาแล้ว ข้าพเจ้ายังใช้
หลกั ปรัชญาดงั กล่าวในการปรับใช้ในการดำรงตน ใหม้ คี วามพอเพียง มีความพอประมาณ มีเหตุผล และภูมิคุ้มกัน
กล่าวคือ ข้าพเจ้าโดยกำเนิดเป็นครอบครัวเกษตรกรรม ถูกปลูกฝังให้มีการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ข้าพเจ้ามีที่ดินทำกนิ โดยประมาณ ทำสวนปาล์มน้ำมัน สวนยางพารา อีกทั้งปลูกพืชเศรษฐกิจ
หมนุ เวียน เช่น กล้วย ผลไมต้ า่ ง ๆ ผักสวนครวั ปลูกพชื สมุนไพรเพ่ือใช้ในการรักษาโรคเบื้องต้น และเลีย้ งไก่ เลีย้ ง
ปลา ภายในครอบครวั รจู้ กั การใช้จ่ายที่เหมาะสม ไม่เกินตัว ตามแนววิถขี องเกษตรกรรม ข้าพเจา้ ยงั ปลกู ฝังให้ลูกๆ
รจู้ ักการประหยดั โดยการรูจ้ ักใช้ของทีเ่ หลอื ใช้มาทำให้เกดิ ประโยชน์ เช่น การปลูกผกั ในตะกร้าที่ชำรดุ ลอ้ รถยนต์
การใชว้ ัสดใุ นท้องถ่ิน เช่นกาบมะพร้าวมาสบั ผสมกบั ดนิ และการทำปุ๋ยคอก เพอื่ ใชใ้ นการปลกู และบำรงุ พชื การเผา
ถ่านจากไม้ยางพารา เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในการประกอบอาหาร ออมเงินแบ่งเป็นส่วน ๆ เช่น แบ่งใช้จ่ายค่า
สาธารณูปโภค ค่าไฟ ค่าน้ำ ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในบ้าน และที่เหลือจะเข้าบัญชีธนาคาร โดยมีบัญชีเงิน
ฝากของธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารเพ่อื การเกษตรฯ และสะสมเงนิ ออมทรพั ย์
กับกองทนุ หมู่บ้าน มีการบันทกึ บัญชรี ายรับ รายจ่ายในครวั เรือน ปรบั เปลยี่ นการบรโิ ภคเพือ่ ลดความฟุ่มเฟือย ลด
ละ เลิก อบายมุข ข้าพเจ้ารู้จักอดออมจนสามารถสร้างบ้านเรือนด้วยตนเอง ซื้อรถยนต์เพื่อใช้เป็นปัจจัยในการ
ดำรงชีพและการทำงาน โดยไมต่ อ้ งกู้หนยี้ มื สนิ สง่ เสียใหล้ กู ๆ เรียนจนจบปริญญาตรี และสามารถทำงานได้ แม้ใน
ยามที่ประทศชาติเจอวกิ ฤติ การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรน่า Covid 19 ครอบครัวของข้าพเจ้าก็สามารถอยู่
ได้โดยไม่ไดร้ ับผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ในชวี ิตประจำวนั แตอ่ ย่างใด อีกทงั้ ยงั สามารถแบ่งปัน
และแนะนำแนวทางเปน็ ตัวอย่างให้เพื่อนบา้ นที่อยู่บรเิ วณใกล้เคยี งได้นำแนวทางการใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันอีกด้วย นอกจากนั้นข้าพเจ้าปฏิบัตติ นเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี ปลูกฝังให้
บุคคลในครอบครัวสืบสานวัฒนธรรมไทยและส่งเสริมทางด้านศาสนา เช่น มารยาทไทย สืบสานประเพณีสารท
เดือนสิบ ร่วมทอดผ้าป่าสามัคคี ทอดกฐินสามัคคี วันสงกรานต์ ประเพณีลากเรือพระ และวันสำคัญทางพุทธ
ศาสนา สง่ ผลให้บุคคลในครอบครัวของข้าพเจ้ามคี วามประพฤติ ปฏิบตั ติ นเป็นพลเมอื งทดี่ ีของประเทศชาติ
จากการดำเนินชวี ติ ตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดังกล่าว เมื่อข้าพเจ้าได้มาดำรงตำแหน่ง
ผู้อำนวยการสถานศึกษา ได้นำแนวทางดังกล่าวมาปฏิบัติใช้ในสถานศึกษา โดยต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็น
แบบอย่างที่ดี แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา นักเรียน เช่น การมีบุคลิกภาพที่ดี การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย การพูดจา
สุภาพ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ขยัน อดทน การรู้จักเอาชนะอารมณท์ ั้งปวง การยอมรับความคิดเหน็ ของทุกฝ่าย มี
ความยุตธิ รรม การมีวนิ ยั การตรงตอ่ เวลา การประหยัดอดออม และได้ดำเนนิ โครงการตามแนวหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในสถานศึกษาถึงแม้โรงเรียนบา้ นควนตุ้งกูจะมีพน้ื ทเี่ พียงไม่กีไ่ ร่ แตก่ ใ็ ชป้ ระโยชน์จากพื้นที่
ได้อยา่ งคุ้มค่า โดยดำเนนิ กิจกรรมดังน้ี เช่น การออมทรัพย์ สหกรณ์โรงเรียน การประกนั สุขภาพในโรงเรียน การ
คัดแยกขยะ การปลูกพืชผักสวนครัว พืชสมุนไพร การปลูกปาล์มน้ำมัน การเลี้ยงไข่ไก่ในโรงเรยี น การเลี้ยงปลา
การเพาะเห็ด การประหยัดใชพ้ ลังงาน การจัดกิจกรรมลด ละ เลิกอบายมุข เข้าค่ายคุณธรรม จริยธรรม ร่วมกับ
หน่วยงานต่าง ๆ เพอ่ื อนุรักษท์ รัพยากรทางธรรมชาติ เช่น ร่วมกับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย ร่วมทำ
หลกั สตู รท้องถ่ินอนรุ กั ษ์ปลาพะยูนและหญา้ ทะเล เขา้ ร่วมโครงการอนุรักษ์ผกั แหลมหญา้ เบีย้ เปน็ ตน้ สง่ ผลให้ ครู
และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ได้ดำเนินชีวิต ประพฤติ ปฏิบัติตนอย่างมีเหตุผล ความ

ขอ้ มลู ประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกู

๑๔

พอประมาณ เพื่อเป็นภูมิคมุ้ กันทีด่ ี โดยใช้ความรู้ควบคูค่ ุณธรรม ตามหลักปรชั ญาชองเศรษฐกจิ พอเพยี ง สง่ ผลดตี ่อ
องค์กรอย่างยัง่ ยืนตอ่ ไป

4.1.2 ผบู้ รหิ ารนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชก้ ับการบริหารจัดการศึกษาท้ัง 4 ด้าน
อยา่ งไร(งานบรหิ ารท่วั ไป/งานบริหารวิชาการ/การบริหารบคุ คล/การบรหิ ารงานงบประมาณ)และจากการ
ดำเนนิ งานดังกล่าวสง่ ผลใหเ้ กิดขน้ึ ตอ่ การศกึ ษาและบุคลาการทางการศึกษาอยา่ งไรบา้ ง

ข้าพเจา้ นางจริ าภรณ์ บัวเพ็ชร ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านควนตุ้งกู สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาตรัง เขต ๒ ในฐานะทีเ่ ปน็ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาไดน้ อ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็น
แนวทางในการบริหารสถานศึกษานิติบุคคล ตามภาระงานของสถานศึกษาทั้ง ๔ ฝ่ายงาน ได้แก่ งานบริหาร
วิชาการ งานบริหารบุคคล งานบริหารงบประมาณ และงานบริหารทั่วไป ข้าพเจ้าได้นำหลกั การบริหารทส่ี อดคล้อง
กบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พอสังเขปดังน้ี

ด้านวิชาการ ได้มีการกำกับติดตามดูแลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา โดยเริ่มจากการจัดทำ
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านควนตุง้ กูทสี่ อดคล้องกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและบูรณาการเข้ากับ
8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการเรยี นการสอนของครู คู่มือการวัดและประเมินผล
ของสถานศกึ ษา ตลอดจนกระบวนการเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ มีการกำหนดปฏิทินงานวิชาการ และ
กำกับติดตามการเรียนการสอนซงึ่ เป็นงานหลักของสถานศึกษา เป็นระยะๆ อย่างต่อเนอ่ื ง มกี ารนเิ ทศงานวิชาการ
อยา่ งเป็นกลั ยาณมติ ร โดยใช้ศาสตร์พระราชา “ การเข้าใจ เข้าถึง พฒั นา ” ในการสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจในการ
จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนของครู เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายของหลกั สูตร ตลอดจนประชุมวางแผนการดำเนินการ
จัดการเรียนการสอนของนักเรียนร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครู บุคลากรทางการศึกษา
ผปู้ กครอง นกั เรียน และผู้ทีเ่ กย่ี วขอ้ งฯ เพ่อื พฒั นานักเรียนอย่างเตม็ ศกั ยภาพ

ด้านบุคลากร มอบหมายภารกิจงานให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา ตามความรู้ ความสามารถของแต่ละ
คน ความถนัดของคนกับงานที่จะมอบหมาย โดยดูจากการศึกษาที่เขาได้ศึกษามาในแต่ละระดับ หรือ
ประสบการณ์ด้านการอบรม ประชุมสัมมนาในเรื่องงานที่เขาจะต้องรับผิดชอบ นอกจากนั้นได้พิจารณาจาก
ประสบการณ์การทำงานที่ผ่านมาว่าเคยมีประสบการณ์ในเรื่องนั้น ๆ มากน้อยเพียงได้ ถ้าหากมอบหมายงานที่
ถนัดให้กบั แต่ละคนหรือมอบหมายงานท่ีเขาเคยมปี ระสบการณ์จะทำใหเ้ ขาสามารถปฏิบัตงิ านได้เป็นอย่างดี งาน
ที่ได้ดำเนินการนั้นก็จะสำเร็จลุล่วงไปได้ตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่กำหนดไว้ นอกจากนั้นภูมิคุ้มกันที่
เกิดข้ึนในองค์กรหรือโรงเรียน คอื ความรัก ความศรทั ธาท่ีมตี ่อโรงเรียน ต่อผบู้ ริหารโรงเรยี น ตอ่ ผู้ร่วมงาน และ
ต่องานทรี่ ับผิดชอบ สง่ ผลใหท้ ำงานอย่างมีความสุข เกดิ สามัคคแี ละชว่ ยเหลอื เกื้อกูลกนั เงื่อนไขด้านความรู้ คือ
ความรู้ในเรื่องระเบียบ แนวปฏิบัติที่ถูกต้องของแต่ละงานเพื่อให้การปฏิบัติงานถูกต้ องตามระเบียบ
กฎหมาย เงื่อนไขด้านคุณธรรม คือ การใช้หลักความยุติธรรมและคุณธรรมในการแบ่งภารกิจงาน การส่งเสริม
ขวัญและกำลังใจในการทำงานทำให้ครูและบุคลากรปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มศักยภาพก็จะทำให้
ผลลัพธ์ของงานนั้นเปน็ ไปตามเป้าหมายทีต่ ้องการ และสนับสนุนให้คณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ได้พัฒนา
ตนเองตามวชิ าชีพของตน ในการเขา้ ร่วมอบรม หรอื รว่ มศึกษาดูงานกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ อาทิ เชน่ ศกึ ษาดูงาน ณ
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ตำบลป่าคลอก จังหวัดภูเก็ต การจัดทำบัญชีครัวเรือน ณ สหกรณ์กองทุนสวนยาง
บ้านควนตุ้งกู และการเรียนรเู้ กีย่ วกับการเล้ียงไก่ไข่ การเพาะเหด็ การปลูกพชื ชนิดต่าง ๆ เปน็ ต้น

การบริหารงานงบประมาณ โดยเงินงบประมาณที่โรงเรียนได้รับจัดสรรนำมาใช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน รวมถึงกจิ กรรมสนับสนุนต่าง ๆ ดังนี้ จัดสรรแบ่งงบประมาณตามหลักการบรหิ ารสถานศกึ ษานิติ
บุคคล การมีเหตุผล ในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณจะใช้เหตุผลที่สำคัญ คือ สามารถที่จะลงสู่ตัวเด็ก
นกั เรียนใหไ้ ดม้ ากทส่ี ุดอยา่ งเพียงพอตลอดปกี ารศึกษา ทำให้การขับเคลอื่ นงานทกุ ภาคสว่ นในโรงเรียนเป็นไปตาม
แผนปฏิบัติการที่โรงเรียนกำหนดไว้ พร้อมทั้งมีการบริหารงานงบประมาณ ด้วยความซื่อสัตย์ ความ

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา โรงเรยี นบ้านควนตุ้งกู

๑๕

โปร่งใส และมีความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารงานงบประมาณคอื ระเบียบการเงนิ พัสดทุ โี่ รงเรียนต้องปฏิบัติให้
ถูกตอ้ ง ดังน้ัน การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการบริหารงานงบประมาณจึงเกดิ ผลดีต่อโรงเรยี น ทำ
ใหร้ ู้ลว่ งหน้าว่าจะใช้จ่ายเงนิ ทีไ่ หน เม่ือไหร่ เท่าไหร่ หรอื แม้กระท่งั ยามเกดิ กรณฉี ุกเฉิน สามารถมงี บประมาณทจ่ี ะ
จา่ ยได้

ดา้ นบรหิ ารทัว่ ไป เปน็ ภารกิจของสถานศึกษาทีม่ ีความสำคญั คือ เปน็ ภารกิจท่ีชว่ ยสนับสนุนกจิ กรรมการ
เรียนการสอน โดยเฉพาะเรอื่ งระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน การศึกษานกั เรียนเปน็ รายบุคคลอยา่ งทว่ั ถงึ เช่น การ
เยี่ยมบ้าน การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบคุ คล เพื่อสอดคล้องการกับการจัดการศึกษาทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั อีก
ทั้งการพัฒนาส่ิงแวดล้อมด้านอาคารสถานทีเ่ อื้อต่อการจดั การเรียนการสอน โดยยึดมั่นวา่ โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู
จะต้องมีสภาพแวดล้อมที่ “ร่มรื่น น่าอยู่ สวยงาม สะอาด และปลอดภัย” เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้อย่างมี
ความสุขและปลอดภยั

4.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษา
๔.๒.๑ ข้าพเจ้า นางสุคนธ์ คีรีรัตน์ ตำแหน่งครูโรงเรียนบ้านควนตุ้งกู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาตรังเขต ๒ ได้น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการดำเนินชวี ิต ซง่ึ ประกอบไปดว้ ย ๓
ห่วง ๒ เงื่อนไข คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน และอยู่ภายใต้เงื่อนไขความรู้ผนวกกับ
คุณธรรม ข้าพเจ้าได้มาปฏิบัติหน้าที่ครูโรงเรียนบ้านควนตุ้งกู ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ ซึ่งในสมัยนั้นความเจริญในด้าน
ตา่ งๆ ยงั มีนอ้ ย เช่น ถนนในสมยั นน้ั ยังอยใู่ นสภาพธรุ กนั ดาร และพน้ื ดนิ ในบริเวณท่ีตง้ั ของโรงเรียนจะมีสภาพดิน
เปร้ียว ในชว่ งฤดแู ลง้ ดนิ จะแขง็ ต้นไม้จะทยอยตายเพราะขาดน้ำ ไมเ่ พียงแต่ต้นไมท้ ีข่ าดน้ำยังหมายรวมไปถึงการ
อุปโภคบรโิ ภคในโรงเรียน บางครั้งอย่ใู นภาวะท่ีติดขัด เพราะน้ำท่ีจะนำมาใชใ้ นการอปุ โภคและบรโิ ภคในโรงเรียน
จะอาศัยน้ำท่ีมาจากฝนเป็นหลัก ดังนั้น ผู้ปกครอง ครู นักเรียน รวมถึงคณะกรรมการสถานศกึ ษา จึงต้องช่วยกนั
แก้ปัญหาเรือ่ งนำ้ ซึ่งเปน็ ปัจจยั สำคญั ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ ทง้ั ในด้านน้ำใช้ภายในโรงเรยี น น้ำบรโิ ภค และน้ำ
ในการทำเกษตรกรรมของชุมชนชายทะเลรวมถงึ กจิ กรรมการทำเกษตรภายในโรงเรียน
ด้วยเหตนุ ้ี ทกุ ฝ่ายท่ีมีสว่ นเก่ียวขอ้ ง จึงต้องช่วยกนั ระดมจดั หาแหลง่ น้ำ โดยเฉพาะการขุดสระเพื่อเก็บน้ำ
ไว้ใช้ และจัดทำถังซีเมนต์เพื่อกับเก็บน้ำฝนไว้ใช้เพื่อการอุปโภคและบริโภคในฤดูแล้ง เมื่อเกิดการแก้ปัญหาที่มี
ประสิทธิภาพของทกุ ฝา่ ย ปญั หาการขาดแคลนน้ำในฤดแู ล้ง จึงได้คลคี่ ลายลง ทางโรงเรยี นบา้ นควนตุง้ กจู ึงไดร้ ับผล
พลอยได้จากการมีน้ำที่เพียงพอ จึงริเริ่มการสร้างรายได้ให้กับโรงเรยี นโดยการปลูกปาล์มน้ำมันบรเิ วณที่ดินของ
โรงเรยี นที่มนี ำ้ ทะเลทว่ มถงึ ในช่วงข้างข้ึน รวมถงึ มีคลองเลก็ ๆ หรือ ชาวบา้ นเรียกว่า “บาง” นอกจากปาล์มน้ำมัน
แลว้ ทางโรงเรยี นยังได้รบั ความรว่ มมือจากชาวบ้าน ในการปลูกต้นโกงกางเพ่อื เป็นแหลง่ อนุบาลสตั วน์ ้ำชนิดอื่น ๆ
และบริเวณที่เหลือจากการปลูกปาล์มน้ำมันและปลูกต้นโกงกาง ทางโรงเรียนได้ดำเนนิ การขุดสระนำ้ และปล่อย
พันธุ์ปลา อาธิ เช่น ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลานิล โดยเศษอาหารที่เหลือจากอาหารกลางวันของนักเรียนยังได้
นำไปใช้ประโยชน์โดยการนำไปใช้เป็นอาหารปลาอกี ด้วย เป็นการเพ่ิมผลผลติ ทางการเกษตรให้กับโรงเรยี น และยัง
เปน็ แหลง่ อาหารใหก้ ับโรงเรียนรวมถงึ ชุมชนบรเิ วณรอบโรงเรียน
นอกจากที่กล่าวมาในข้างต้นแล้ว ทางโรงเรียนบ้านควนตุ้งกูยังได้รับโครงการเลี้ยงไก่ไข่เพื่อเป็นอาหาร
กลางวันสำหรับนักเรียน จากสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
โดยได้รบั การสนบั สนุนจากเครือเจรญิ โภคภณั ฑ์ (CP) ในการเลี้ยงไก่ไขเ่ พื่อโครงการอาหารกลางวัน ทางโรงเรยี น
จะแบ่งกลุ่มให้นักเรียนฝึกการเลี้ยงไก่ไข่ และมีการสร้างรายได้ให้กับคนพิการในชุมชนซึ่งได้รับการจ้างงานใน
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ดูแลไก่ไข่ จากเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP) จำนวนไก่ไข่ทั้งหมด ๑๐๐ ตัว ในแต่ละวันจะได้รับ
ผลผลิตจากไข่จากแม่ไกป่ ระมาณวันละ ๙๕ – ๙๘ ฟอง ทางโรงเรียนจะจัดจำหน่ายไข่ไก่ราคาถูกเขา้ ในโครงการ
อาหารกลางวนั ในราคาแผงละ ๘๐ บาท และจัดจำหน่ายขไ่ ก่ทเ่ี หลือจากโครงการอาหารกลางวนั แลว้ ให้ครูรวมถึง
ผู้ปกครอง ในราคาแผงละ ๙๐ บาท นอกจากกลุ่มเลยี้ งไก่ไขแ่ ลว้ ทางโรงเรยี นยงั ได้จดั ตงั้ กลมุ่ เพาะเห็ดนางรมและ

ข้อมูลประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู

๑๖

เหด็ นางฟ้า ผลผลิตทไ่ี ดก้ ็จะจัดจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวัน ครู รวมถึงผู้ปกครอง และยังขยายฐานผู้ซ้ือ
ไปยงั โรงเรียนทีอ่ ยใู่ นบรเิ วณใกลเ้ คียง เชน่ โรงเรียนบา้ นบางสัก โรงเรียนบ้านน้ำราบ

ทั้งนี้ ทางโรงเรียนบ้านควนตุ้งกูยังมีการจัดตั้งกลุ่มปลูกผักขึ้น โดยสมาชิกในกลุ่มนี้ จะมีการปลูกพืชผัก
ตา่ งๆ เชน่ พรกิ มะเขอื ผักบ้งุ ฯลฯ หมุนเวียนกนั ไปตามฤดกู าล โดยปยุ๋ ท่ใี ชใ้ นการปลกู ผักจะไดจ้ ากการทำปุ๋ยหมัก
โดยปุ๋ยหมกั จะนำเอาขไี้ ก่จากไกไ่ ข่อาหารกลางวันหมกั รวมกับเศษใบไม้ในบริเวณโรงเรียนมาหมักรวมกันกลายเป็น
ปุ๋ยหมักเพื่อใช้เป้นปุ๋ยในการปลูกผักหมุนเวียนของกลุ่มแทนการใช้ปุ๋ยเคมี เมื่อมีผลผลิตแล้ว ทางโรงเรียนยังได้
จดั ต้ังกล่มุ แปลรปู ผลผลติ เป็นผลติ ภัณฑ์ต่างๆสำหรับจัดจำหน่าย อาทิ เชน่ ผลผลิตจากเห็ดนำมาแปรรูปเป็นเห็ด
ทอด เนื้อปูจากชาวบ้านนำมาแปรรูปเป็นน้ำพริกปูสวรรค์ เปลือกหอยที่นักเรียนหาได้จากบริเวณชายหาดของ
ชมุ ชนมาผลิตเป็นเปลือกหอยเรซน่ิ เพอ่ื เปน็ การเพมิ่ รายไดใ้ ห้กับกลุ่มต่างๆอย่างพง่ึ พาอาศยั กนั

๔.๒.๒ ในการออกแบบการเรียนรู้ที่ข้าพเจ้าเห็นว่าน่าจะปรับใช้กับบริบทนักเรียนของโรงเรียน และได้
นำมาใช้ คอื กระบวนการเรียนร้แู บบ Active Learning โดยการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้จะจดั ให้แต่ละกลุ่มได้พูดคุย
กันและแสดงความคิดเห็น และกลั่นกรองสรุปความจากการพูดคุยตกลงกันในกลุ่มมาลงมอื ปฏิบัติจริงตามความ
สนใจ และความตอ้ งการของผเู้ รียน ในการจดั การเรียนรู้จะเน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั โดยครูผูส้ อนจะทำหน้าทีเ่ ป็นผู้ให้
คำปรึกษา แนะนำ ชี้ให้นักเรียนบูรณาการกับวิชาที่เรียนได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และส่งเสริมใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนรู้
จากประสบการณ์ตรง เพราะนักเรียนได้ลงมอื ปฏิบัติจริงตามความต้องการของผู้เรยี นเอง และสามารถนำความรู้
รวมถึงประสบการณ์ที่ได้รับนำไปต่อยอดและไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันต่อไป ในการเรียนและการ
ทำงานของนักเรียน ข้าพเจ้าจะเนน้ เรือ่ งความรับรับผิดชอบ ความซื่อสัตยส์ ุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน และมีนำ้ ใจ
จากการสังเกตจะพบว่าหากวันไหน นักเรียนในกลุ่มอืน่ ขาดเรียน นักเรียนทีเ่ สร็จงานแลว้ จะได้ช่วยเหลือกล่มุ อื่น
โดยทันทโี ดยครจู ะไม่ต้องส่งั การ

4.3 นักเรียน
จำนวนนักเรียนแกนนำ ป.1 - ป.6 จำนวน 23 คน ในกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน โรงเรียนบ้าน
ควนตงุ้ กไู ด้ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในชีวติ ประจำวันของนกั เรยี น เช่นเด็กชายเสฎฐวฒุ ิ ยกทวน (น้องแมน)
กำลังเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านควนตุ้กู เขาได้นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั
เรอ่ื งที่ 1 เรือ่ งการวางแผนการใช้เงนิ เมือ่ เขาได้รบั เงินมาโรงเรียนเขาจะใช้จ่ายอย่างประหยัด และเหลือ
เงนิ สว่ นหนง่ึ เกบ็ สะสมไว้ใช้ในยามจำเปน็
เรอื่ งท่ี 2 เขาไดร้ บั มอบหมายให้ดูแลไก่ไข่ท่ีโรงเรียน เขาเรียนรู้วิธีการเลย่ี งไกไ่ ข่ เรอ่ื งการให้อาหารกับไก่
ไข่ และการทำบญั ชี รายรับ รายจา่ ย จากการเลีย้ งไก่ไข่ อีกด้วย และเขาเปน็ นักเรยี นแกนนำในการขับเคล่ือนหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ว่าไม่จำเป็นต้องเรียนเฉพาะในหนังสือ แต่สามาร๔สอดแทรกวิชาต่างๆ เช่น
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ การงานอาชีพ ศิลปะ และทกุ ครงั้ ท่มี ีวันหยดุ เขาจะทำงานและกิจกรรมต่าง กบั ผู้ปกครอง
และคุณครูอยูส่ ม่ำเสมอ
จากการเป็นนักเรียนแกนนำ คุณครูจะให้นำเขาเข้าร่วมประชุมวางแผนและจัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ทุก
คร้ังในการจดั ทำกิจกรรม ทำใหเ้ ขามีความประทับใจ สามารถนำไปตอ่ ยอดใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ รู้จักวางแผนใน
การใช้จ่ายมีความต่อเนื่อง รู้จักประมาณตน และนำไปบอกพ่อแม่และญาติพี่น้องในชุมชน ว่าสามารถนำหลัก
ปรัชญาของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์

ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนตุง้ กู

๑๗
4.4 คณะกรรมการสถานศกึ ษา
4.4.1. ความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
คณะกรรมการสถานศึกษา เข้ามามีส่วนร่วมในการวางกลยธุ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และมี
ส่วนร่วม ในการจัดทำ แผนกลยุทธแผนปฏิบัติติการ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู้ความเข้าใจจดั ขยะ
โดยในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาทกุ ครั้ง เม่ือโรงเรียนมกี จิ กรรมพอเพียงและคณะกรรมการ
สถานศึกษา ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชน และร่วมสร้างแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พร้อมทง้ั เสียสละกำลังทรพั ย์ในการทำแหล่งเรยี นรู้ ซงึ่ จะเปน็ แบบอย่างทด่ี ใี นการใชช้ วี ิต อยา่ งพอเพยี ง
4.4.2 บทบาทในการให้การสนับสนุน ส่งเสริมสถานศึกษา ในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
รว่ มจดั ทำแผนปฏิบัติการ กำหนดนโยบาย วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ พจิ ารณาโครงการ/กิจกรรมร่วมกับครู และ
ผู้บริหาร ในการทำโครงการเลีย้ งไก่ไข่ เพื่ออาหารกลางวัน ได้ร่วมกันวางแผนจดั สรา้ งเล้าไก่ และดำเนินกิจกรรม
เลี้ยงไก่ไข่ เพื่ออาหารกลางวัน และได้จัดทำโรงเรือนเพาะเห็ด และบ่อเลี้ยงปลาดุก และได้รวมมือในการปลูก
มะนาวในบอ่ ไดม้ าเป็นวทิ ยากร รว่ มกบั ครูใหค้ วามรู้เกีย่ วกับการปลูกพชื การทำน้ำหมกั ชีวภาพและการกำจัดขยะ
โดยใช้โรงเรยี นเป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ในการทำปุ๋ยหมัก และนำหมักชีวภาพจากโครงการคัดแยกขยะในชุมชน อย่าง
ถูกวิธีและได้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเน้นการขับเคลื่อนโครงการท่ตี อ้ ง
ร่วมมือกบั ทกุ ฝา่ ย

ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกู

๑๘

๕. ขอ้ มูลด้านอาคารสถานท่ี / แหล่งเรยี นรู้ / ส่ิงแวดล้อม

โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู มีคณะกรรมการฝ่ายบริหารวิชาการจัดทำโครงการฐานการเรียนรู้เพื่อสร้างนิสยั
พอเพียง ฝ่ายบริหารงานทั่วไปร่วมกันจัดทำโครงการพัฒนาปรับปรุงบริการอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมใน
โรงเรียนให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มอบหมายครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ดูแลฐาน
กิจกรรมการเรียนรู้และห้องปฏบิ ัติการตา่ งๆ มีการพัฒนาฐานการเรยี นรู้ตลอดจนให้กลุม่ สาระการเรียนรู้จัดสว่ น
หนึ่งของห้องเป็นฐานการเรยี นรู้โดยมอบหมายครูแกนนำและนักเรียนแกนนำพัฒนาฐานการเรยี นรู้ที่เอื้อต่อการ
เรียนรูข้ องบุคคลและหน่วยงานภายนอก

ด้วยข้อจำกัดในการขาดแคลนบุคลากรดูแลความสะอาดในโรงเรียน จึงแบ่งเขตรับผิดชอบให้นักเรียน
รับผดิ ชอบตามแต่ละบรเิ วณ ดังน้ี

หนา้ อาคารเรียน ๑ ใหน้ กั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เป็นผ้ดู แู ลรับผดิ ชอบทำความสะอาด
บรเิ วณสนาม ใหน้ กั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๒ เปน็ ผดู้ แู ลรับผิดชอบทำความสะอาด
อาคารเรียนอนบุ าล ให้นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เป็นผู้ดแู ลรับผิดชอบทำความสะอาด
หน้าโรงอาหารถงึ หน้าห้องประชมุ ให้นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เป็นผ้ดู แู ลรับผิดชอบทำความสะอาด
บริเวณหลังอาคารเรียน ๑ และหอ้ งนำ้ ให้นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ และ ๖ เปน็ ผู้ดแู ลรบั ผิดชอบทำ
ความสะอาด
โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อสร้างเสริมอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงและเหมาะสมกับจำนวน
นักเรียน โรงเรยี นจัดอาคารสถานที่เพื่อให้เปน็ ฐานการเรียนรู้ของโรงเรียน มแี ผนผงั ปา้ ยแสดงฐานการเรียนรู้เพ่ือ
อำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่เข้ามาศึกษาดงู าน โรงเรียนมนี โยบายให้ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ใช้แหล่งเรียนรู้
ในกลุม่ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ตลอดจนมคี รูแกนนำ นกั เรยี นแกนนำ สื่อท่ีให้ประโยชน์กับผู้ท่ีเข้า
มาศึกษาดงู านเพื่อมงุ่ เนน้ การเสริมสร้างอุปนิสยั อยอู่ ย่างพอเพียงไดอ้ ย่างเหมาะสมและเพียงพอตอ่ จำนวนนักเรียน
แหลง่ เรียนรมู้ ีดังต่อไปน้ี
- ห้องสมุดมีชีวติ ใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้ของครแู ละนักเรียน ตลอดจนชุมชนสามารถเข้ามาใช้

ประโยชนไ์ ด้ และบ่มเพาะใหผ้ ู้เรียนมอี ุปนสิ ยั อย่อู ยา่ งพอเพียง
- แปลงเกษตร ใช้ในการเรียนรู้ฝึกปฏิบัติการการปลูกผัก และบ่มเพาะผู้เรียนให้มีอุปนิสัยอยู่อย่าง

พอเพียง
- โรงเพาะเห็ด ใช้ในการเรียนรู้ฝึกปฏิบัติการการเพาะเห็ดนางฟ้า และบ่มเพาะผู้เรียนให้มีอุปนิสัย

อยู่อย่างพอเพียง
- โรงอาหาร ใช้ในการเรียนรู้ฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร และบ่มเพาะผู้เรียนให้มีอุปนิสัยอยู่อย่าง

พอเพียง
- สหกรณ์ ใชใ้ นการเรียนรู้หลักการของสหกรณ์รา้ นค้าและบ่มเพาะผู้เรยี นให้มีอุปนิสัยอย่อู ย่างพอเพียง
- โรงเรือนเลี้ยงไก่ ใช้ในการเรียนรู้ฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก่ไข่และบ่มเพาะผู้เรียนให้มีอุปนิสัยอยู่อย่าง

พอเพียง
- ห้องคอมพิวเตอร์ ใช้ในการเรียนรู้ฝึกปฏิบัติการการค้นหาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง
- ฐานงานเกษตร เปน็ ฐานที่ให้นักเรียนได้เรยี นรู้เก่ียวกับการปลูกผักสวนครัวต้ังแตก่ ารเลือกเมล็ด การ

เตรยี มแปลง การเลอื กใชเ้ คร่อื งมือ การดูแลรักษาเคร่ืองมอื การดูแลฝกั การเกบ็ ผลผลติ เปน็ ต้น

ขอ้ มลู ประกอบการคัดกรองศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู

๑๙

- ฐานกิจกรรมสภานักเรียน เป็นกิจกรรมที่เน้นความเป็นประชาธิปไตยในโรงเรียนซึ่งจะให้นักเรียน
ดำเนินกิจกรรมตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจของนกั เรียน โดยฝกึ ความเป็นผู้นำและผู้
ตามทีด่ ตี ามหลกั การของประชาธิปไตย

แหลง่ เรียนรนู้ อกโรงเรยี น
- วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง เป็นสถานศึกษาท่ีให้คำแนะนำในการเพาะเหด็ และการปลูกพชื
- มูลนิธิเจริญโภคภัณฑ์พัฒนาชีวิตชนบท ร่วมกับ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน)
เปน็ ผูส้ นบั สนนุ และให้คำแนะนำในการเล้ียงไก่ในโครงการเล้ียงไกไ่ ขเ่ พื่ออาหารกลางวนั นักเรียน
- ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดตรัง ให้ความรู้เกี่ยวกับการขยายพันธุ์พืชชนิด
ต่างๆ
- ศูนย์ศิลปะวิถีบ้านคลองคุ้ย ให้ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตแบบวิถีชาวบ้าน การเลี้ยงปลาดุก
ปลานิล เปน็ ตน้
- ศูนยก์ ารเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียง ตำบลป่าคลอก จังหวดั ภูเก็ต ให้ความรเู้ กยี่ วกับวิธีการปลูกพืชชนิด
ตา่ งๆ และวธิ กี ารทำกระถางตน้ ไม้จากยางรถยนต์ การทำไมก้ วาดทางมะพร้าว
- สหกรณก์ องทนุ สวนยางบ้านควนต้งุ กู ให้ความรูเ้ กีย่ วกบั การจัดทำบัญชคี รัวเรือน
- องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลบางสัก ให้ความรู้เกย่ี วกับการคดั แยกขยะและการทำน้ำหมกั ชวี ภาพ
- ครูและนักเรียนเขา้ ร่วมอบรมเกีย่ วกับการจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง รว่ มกบั โรงเรียนบา้ นบางสกั
สงิ่ แวดล้อมเอื้ออำนวยต่อการจดั การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนภายใต้ความ

ร่วมมือของผู้บริหาร ครู นักเรียน บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานต่างๆ
ให้การสนับสนุนและพัฒนาอาคารสถานที่ตามบริบท ศักยภาพที่โรงเรียนมีอยู่ พยายามพัฒนาปรับปรุงภายใต้
ข้อจำกัดของคนและงบประมาณที่มีไม่เพียงพอโดยคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน
ต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาทำให้มีสภาพแวดล้อมที่ร่วมรื่น สะอาด ปลอดภัย เอื้ออำนวยต่อการจัดการ
เรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

5.1 ความพร้อมของอาคารสถานท่ีที่เอื้ออำนวยต่อการจัดการเรยี นรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตาม
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู มีอาคารสถานที่ที่สะอาด ร่มรื่น ปลอดภัย เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
มีผู้รับผิดชอบการใช้ ปรับปรุง พัฒนา ดูแลรักษาอาคารสถานที่อย่างชัดเจน มีแผนการปฏิบัติงาน โครงการ
งบประมาณ มีศูนย์รวมข้อมูลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา รวมถึงแผนผั ง
แสดงแหล่งเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้ โครงการต่างๆ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ครูและ
นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในเรื่อง อาคาร สถานที่ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

5.2 มแี หล่งเรียนรู้หลากหลายเพือ่ สรา้ งเสรมิ อุปนสิ ัยอยอู่ ย่างพอเพียงอย่างเหมาะสมและเพียงพอกับ
จำนวนนกั เรียน

โรงเรียนบา้ นควนตุ้งกู มีแหลง่ เรียนรูท้ ห่ี ลากหลายเพ่ือสรา้ งเสริมอปุ นิสัยอยู่อย่างพอเพยี ง ท้ังภายในและ
ภายนอกสถานศกึ ษา ท่ีสอดคลอ้ งกบั ภูมิสงั คมของสถานศกึ ษาและมกี ารจัดการอยา่ งพอเพียง มวี ทิ ยากรรับผิดชอบ
ฐานกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่สามารถอธิบายความหมายได้อย่างถูกต้องและ
มีแผนการจัดการเรียนรูข้ องแหล่งเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้องและชัดเจน มีการ

ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกู

๒๐
ประเมินผลการใช้แหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็นรูปธรรมและมีการพัฒนาแหล่ง
เรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอย่างต่อเนอื่ ง

5.3 ส่งิ แวดล้อมทเี่ อื้ออำนวยตอ่ การจดั การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู มีแผนงาน/โครงการ งบประมาณ มีผู้รับผิดชอบในการปรับใช้อาคารสถานที่ให้
เอื้ออำนวยต่อสภาพแวดล้อม โดยคำนึงถึงการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ จนทำให้ชุมชน
หน่วยงานอื่นๆ ได้ใช้ประโยชน์ มีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการดูแลรักษาและพัฒนาอาคารสถานท่ี
สภาพแวดล้อมของสถานศกึ ษาอย่างสม่ำเสมอ นักเรียนใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ จากแปลงเกษตร โดยมีการ
ปลูกพืชผกั สวนครวั หลายชนิดและพันธ์ุไม้หลากหลายตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงได้อย่างเหมาะสม

ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๒๑

6. ด้านความสมั พันธก์ ับชมุ ชนและหน่วยงานภายนอก

6.1 การวางแผนและการดำเนนิ การสร้างเครอื ข่ายการขบั เคลอ่ื นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของสถานศกึ ษา

โรงเรยี นบา้ นควนตงุ้ กูมกี ารวางแผนในการสร้างเครือข่ายโดยเป็นแบบอย่างให้กับโรงเรียนอน่ื เป็นฐานการ
เรียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหก้ ับโรงเรียนในเครือข่ายได้ศึกษาเปน็ แบบอย่าง ได้แก่ โรงเรยี นบ้านน้ำ
ราบ โรงเรียนบา้ นหาดยาว และโรงเรียนบ้านพระมว่ ง โดยคณะครแู กนนำจากโรงเรียนดงั กลา่ วข้างต้นได้มาเข้ารับ
การอบรมเพื่อขยายผลต่อ เกยี่ วกบั การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรแู้ ละการจัดทำหนว่ ยการเรยี นรู้ เป็นต้น

6.2 ชุมชนให้ความไว้วางใจในการสนับสนุน ส่งเสริม และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ส่สู ถานศึกษา

โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู มีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนและหน่วยงานภายนอก สามารถบริหารจัดการ
ความสัมพันธ์กับหน่วยงานต่างๆ ในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสมและมี
ประสิทธภิ าพ ทำให้ชมุ ชนให้ความไวว้ างใจ ใหก้ ารสนับสนนุ ส่งเสริมโดยโรงเรยี น ซ่ึงทางโรงเรียนมีการเลี้ยงไก่ไข่
ทีป่ ระสบความสำเรจ็ โดยคนในชมุ ชนจะชว่ ยเหลอื ซือ้ ไข่ในช่วงที่มีปริมาณไข่มาก ในช่วงท่ีมีเหด็ และพชื ผักสวนครัว
ออกมาเป็นปรมิ าณมาก นกั เรียนกจ็ ะนำไปขายคนในชมุ ชนหรือฝากไว้ท่รี ้านของชำในชมุ ชน เพือ่ ให้คนในชุมนชน
ได้บริโภคผลิตภัณฑ์จากโรงเรียน อีกทั้งชุมชนยังมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่สถานศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง เชน่ การเชิญคนในชมุ ชนท่ีมีประสบการณม์ าถา่ ยทอดความรูใ้ หก้ บั นักเรยี น เปน็ ต้น

6.3 สถานศึกษามีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนชุมชน และหน่วยงานอื่นในการขับเคลื่อนหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู เปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบางสัก
องค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก มูลนิธิเจริญโภคภัณฑ์พัฒนาชีวิตชนบท บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด
(มหาชน) สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 2 หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนประสานสมั พันธ์
อันดีในการขับเคลื่อนและขยายผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาสู่ชุมชน จัดบรรยายให้
ความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการดำเนินชีวติ แกช่ าวบา้ นในชมุ ชน

6.4 สถานศึกษาบริหารจัดการศกึ ษาและจดั การเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จนสามารถเปน็ แบบอย่างแกส่ ถานศกึ ษาและหนว่ ยงานอื่นได้

โรงเรียนบ้านควนตุ้งกูโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน มีการจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงตามกลุ่มสาระวิชาและมีการสอดแทรกระหว่างการทำกิจกรรมต่างๆ ภายในโรงเรียน โดย
โรงเรยี นบ้านควนตุง้ กมู ีโรงเรียนเครอื ขา่ ยทที่ างโรงเรียนช่วยเป็นวิทยากรพี่เล้ยี งในการดูแลช่วยเหลือเก่ียวกับหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรยี นในเครือข่ายมาศกึ ษาดูงานในแต่ละฐานนักเรียนและครแู กนนำเป็นวิทยากรได้

6.5 ผลความสำเรจ็ ที่เกิดจากความรว่ มมอื กนั ระหวา่ งสถานศกึ ษากับชมุ ชนหรอื หน่วยงานอ่นื
6.5.1 ความรว่ มมอื กนั ระหว่างสถานศึกษากบั ชุมชนและหนว่ ยงานอนื่
- กิจกรรมลดอุบัติเหตุทางท้องถนน โดยมี พ.ต.ท.เสถียร เผ่าน้อย สารวัตร สายงานปฏิบัติการป้องกัน
ปราบปราม สถานีตำรวจภูธรกันตงั จงั หวัดตรัง
- กิจกรรมทำหนา้ กากอนามยั เพือ่ ปอ้ งกนั โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โดยองคก์ ารบริหาร
สว่ นตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จงั หวัดตรัง
- โครงการเคลือบฟัน โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบางสัก ได้มาเคลือบฟลูออไรด์ให้กับ
นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๒๒

- โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การบริหารจัดการ การจัดการเรียนการสอน
ทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-19) โดย สำนักงานเขตพืน้ ท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต ๒

- สืบสานงานประเพณีลากพระ ประจำปี 2563 โดยการนำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ณ อำเภอกันตัง
จงั หวัดตรงั

- โรงเรียนบ้านควนตุ้งกูได้รับรางวัล “ระดับพอใช้” ตามกิจกรรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียน
ตามแนวพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จงั หวดั ตรงั ประจำปีงบประมาณ 2561

6.5.2 ชุมชนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 และปรับปรุงพุทธศกั ราช 2560

6.5.3 การพัฒนาอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนด้วยความร่วมมือจากชุมชนและหน่วยงาน
ต่างๆ ดังนี้

- การไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าคอำเภอกนั ตัง ให้ความอนุเคราะห์รถกระเช้าตดั แต่งกง่ิ ไมใ้ ห้แก่โรงเรียน
- ได้รับความอนุเคราะห์หินขาวเพื่อปรับภูมิทัศนบ์ ริเวณด้านหน้าอาคารเรียนอนุบาลและโรงอาหาร จาก
โรงโม่หนิ ภทู อง บา้ นเขาเพดาน ตำบลนาเมืองเพช็ ร อำเภอสเิ กา จังหวัดตรัง
- ได้รับความอนุเคราะหร์ ถ ๖ ล้อ จำนวน ๓ คัน บรรทุกหินขาวเพื่อปรับภูมทิ ัศน์บริเวณด้านหน้าอาคาร
เรียนอนุบาลและโรงอาหาร จากนายกสมชาย สงรักษ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา
จงั หวัดตรัง
- ได้รับความร่วมมือจากชุมชนบา้ นควนตุ้งกู งานวางท่อไม่ให้น้ำท่วมขงั โดยนำรถแมคโครมาชว่ ยชุดวาง
ท่อ
- ไดร้ ับความร่วมมือจากผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา ชมุ ชน พัฒนาบริเวณโดยรอบและปรับปรุง
สนามเด็กเล่น
- ได้รับความร่วมมือจากองคก์ ารบริหารส่วนตำบลบางสัก ให้ความอนุเคราะห์รถน้ำ เพื่อทำความสะอาด
บริเวณโรงเรยี น
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบางสักร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลบางสักได้พ่นยาเพื่อ
กำจดั ยงุ ลายปอ้ งกันไขเ้ ลอื ดออกใหก้ ับทางโรงเรยี น

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกู

๒๓

ภาคผนวก

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา โรงเรยี นบ้านควนตุ้งกู

๒๔

7.1 วธิ กี ารพัฒนาสถานศกึ ษาพอเพียงใหเ้ ปน็ ศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้าน
การศึกษา(มาจากขอ้ 3.5)

3.5 วธิ ีการพฒั นาสถานศกึ ษาพอเพียงใหเ้ ปน็ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านการศกึ ษา

โรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกูมกี ารขับเคลอ่ื นหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยการให้ครูและบุคลากร
ของโรงเรียนน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักคิดและบูรณาการในกระบวนการเรียนการสอน
เรยี นรสู้ ่งเสรมิ ใหค้ รูจดั ทำหลักสูตรสถานศกึ ษา โดยมีการส่งครูแกนนำเพ่ือไปอบรมเก่ียวกับการเตรียมความพร้อม
เพื่อเข้าร่วมประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและได้มีการขยายผลกบั โรงเรียน
เครือขา่ ยอกี จำนวน 3 โรงเรียนคือ โรงเรียนบ้านหาดยาว โรงเรยี นบ้านนำ้ ราบ และโรงเรียนบา้ นพระมว่ ง เกย่ี วกับ
การจัดทำหน่วยการเรียนรูแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยให้ครูมีความ
เขา้ ใจท่ีถูกตอ้ ง และทางโรงเรียนมีการจัดหาสอ่ื ผลิตสอ่ื และใช้สือ่ สนบั สนนุ ใหค้ รูจัดกิจกรรมแบบบูรณาการใน
กลุ่มสาระต่างๆให้เด็กได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจรงิ อย่างหลากหลายตามความถนัดของตนเองและสามารถนำไปใช้
เป็นแนวทางในการสรา้ งงานสร้างรายได้ใหก้ ับครอบครัวเอง ไมว่ ่าจะเปน็ ด้านการเกษตรเช่น การปลูกผักสวนครัว
การเพาะเหด็ นางฟา้ การเลยี้ งไก่ มนี โยบายน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคลอื่ นในสถานศึกษา
และบูรณาการในแผนปฏิบัติงานประจำปี มีแผนงานโครงการต่างๆที่ทางผู้อำนวยการ คณะครู คณะกรรมการ
สถานศึกษาร่วมกันจัดทำและแสดงความคิดเห็น กิจกรรมด้านวิชาการที่ส่งเสริมบูรณาการหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง มีการดำเนินการติดตามผลและนำผลมาพัฒนาสถานศึกษา มีการวางแผนสนับสนุน
งบประมาณที่สอดคล้องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการประสานความร่วมมือกับชุมชนเพื่อเสริมสร้าง
คณุ ลกั ษณะอยู่อยา่ งพอเพียงของผู้เรยี นสนับสนนุ การดำเนนิ ชวี ติ ทสี่ อดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้สามารถแก้ปัญหาและพัฒนาตนเองได้อย่างสอดคล้องกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงจัดกิจกรรมลูกเสือมีผู้บริหารที่มีคุณลักษณะของผู้บริหารและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่ อสังคม
สาธารณประโยชน์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทำให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในตนเองหลังการดำเนินงาน
ตามโครงการจะมกี ารรายงานผลการดำเนนิ งานระหว่างดำเนินกิจกรรมและดำเนินกิจกรรม

จากการขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องส่งผลให้โรงเรียนบ้าน ควนตุ้งกูของเรามีระบบบริหาร
จัดการที่ดี ใช้ทรัพยากรอยา่ งประหยัดคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สงู สดุ ให้มีใจรักและจิตอาสาทุกคนเริม่ การพัฒนา
และเหน็ คุณคา่ ประเมนิ ผลงานตน เกิดการรว่ มชืน่ ชมผลของการทำงาน ที่สามารถสานต่อลงไปถึงชมุ ชน สร้าง
เครือข่ายให้เข้มแข็ง นำผลมาพัฒนาปรบั ปรุง สร้างเด็ก สร้างคน สร้างชุมชน คณะครูทุกคนมสี ่วนร่วมคิดรว่ ม
ทำด้วยใจ พวกเราน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ให้นักเรียนได้ปฏิบัติ โดยครูทุกคนต้องมีความรู้
ความเข้าใจในหลักพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันที่ดี โดยอาศัยเงื่อนไขความรู้ และคุณธรรมที่ดี การ
พฒั นาส่ิงเหล่านี้ต้งั อยูบ่ นพ้นื ฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาทโดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมี
เหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน
การตดั สินใจและการกระทำ

7.2 เรือ่ งเล่าของครเู กี่ยวกบั เรอ่ื งการออกแบบการเรียนรู้เพอื่ เสรมิ สรา้ งอุปนิสัยพอเพียง(มาจากข้อ4.2.6)
ผเู้ ขียน/ผูเ้ ล่า นางสุคนธ์ คีรรี ตั น์ ตำแหนง่ ครโู รงเรยี นบ้านควนต้งุ กู สพป. ตรัง เขต 2
ข้าพเจ้านางสุคนธ์ คีรีรัตน์ ตำแหน่ง ครูโรงเรียนบ้านควนตุ้งกู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศกึ ษาตรัง เขต 2 วชิ าเอกภาษาไทย รบั ผิดชอบสอนในรายวิชาประถมศกึ ษาปีที่ 4,5และ ๖ วชิ าภาษาไทย
ประถมศึกษาปีที่ ๔-6 วิชาศิลปะ การจัดการเรียนการสอนข้าพเจ้าจะศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 และหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2560 ฉบบั ปรับปรุง และ
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านควนตุ้งกู จากนั้นจะจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ในแต่ละปีการศึกษา โดย

ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู

๒๕

รายวิชาที่ข้าพเจ้าได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้
นกั เรยี นเกดิ คุณลกั ษณะอยอู่ ยา่ งพอเพียงทีเ่ ห็นได้ดที ่ีสดุ คือ รายวิชาภาษาไทยเป็นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ที่ชว่ ยพฒั นา
ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการดำรงชีวิต และมีเจตคติที่ดีต่อการทำงานสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่าง
พอเพียงและมีความสุข

การออกแบบการเรยี นร้ทู ่ขี ้าพเจ้าเลือกใช้คอื กระบวนการเรียนรูแ้ บบ Active Learning ไดแ้ ก่ การพูดคุย
แสดงความคดิ เห็น และการลงมอื ปฏบิ ตั ิ และการประยุกตใ์ ช้ ซ่ึงกระบวนการเรียนรแู้ บบ Active Learning น้ัน จะ
เน้นใหผ้ ู้เรยี น เรียนรู้และสร้างองค์ความรูไ้ ด้ด้วยตัวเอง และให้ผู้เรยี นไดล้ งมอื ปฏิบัติจรงิ ตามความสนใจและความ
ต้องการของผู้เรียน ในการเรียนรู้จะเน้นที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยครูผู้สอนจะคอยแนะนำและชี้แนะให้นักเรียน
บูรณาการกบั วิชาท่ีเรียนได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และไดเ้ รยี นรจู้ ากประสบการณต์ รง เพราะผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ
จรงิ ตามความตอ้ งการของผู้เรียน ทัง้ ยังสามารถนำประสบการณ์ท่ไี ด้รับไปตอ่ ยอดและปรับใช้ในชวี ติ ประจำวันได้
ตอ่ ไป

ในการเรียนและการทำงานของนกั เรยี นจะเน้นเรือ่ งความรับผดิ ชอบ ความซอื่ สตั ย์ ขยนั อดทน แบ่งปนั
และความมีนำ้ ใจ จากการสงั เกตพบว่า หากวันไหนนักเรียนในกลุ่มอื่นขาดเรียน นักเรยี นคนที่เสรจ็ งานจากกลุ่ม
ตวั เองจะไปชว่ ยอีกกลมุ่ ทันทโี ดยครูไมต่ อ้ งสัง่

ผู้เขยี น/ผู้เล่า นายนรุตม์ ยั่งยนื ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ยโรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู สพป. ตรงั เขต 2
การดำเนนิ ชวี ิตตามแนวพระราชดำริพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเขา้ ใจถงึ สภาพสังคมไทย
ดังนั้น เมื่อได้พระราชทานแนวพระราชดำริ หรือพระบรมราโชวาทในด้านต่างๆ จะทรงคำนึงถึงวิถีชีวิต สภาพ
สงั คมของประชาชนด้วย เพื่อไมใ่ ห้เกิดความขดั แย้งทางความคิด ท่ีอาจนำไปสู่ความขัดแยง้ ในทางปฏิบัตไิ ด้
เม่ือได้มีโอกาสมาเปน็ บุคคลท่ไี ด้ชอ่ื ว่า “ครู” ข้าพเจ้ามีความตัง้ ใจที่จะนำความรูค้ วามสามารถทม่ี ีอยู่ มา
ใชใ้ นการท่ีจะสั่งสอนศิษย์ทกุ คนให้ได้มีความรู้ เพ่อื เป็นพื้นฐานในการวางอนาคตให้กับนักเรยี น และหวังไว้ว่าศิษย์
จะตอ้ งเป็นผู้ทมี่ ีความรู้ มีคุณธรรม ใชช้ วี ิตดว้ ยความไม่ประมาท ไมเ่ ป็นภาระของสังคม และสามารถอยู่ในสังคมได้
อย่างปลอดภัยและมีความสุข ได้มีโอกาสเข้ามาบรรจุอยู่ที่โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู เริ่มสัมผัสคำว่า “ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นคำที่ผู้อำนวยการเอ่ยถึงบ่อยครั้ง เนื่องจากท่านได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้ในการบริหารงาน มีการกำหนดวิสัยทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ในการดำเนนิ งานที่ชัดเจน
โดยเปา้ หมายทส่ี ำคัญประการหนึ่ง คือ ให้ครูทกุ คนนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ต์ใช้ในกิจกรรม
การเรียนการสอน การทำงาน โดยการบูรณาการหรอื สอดแทรกเขา้ ไปในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ท่ีตนเองสอน ใหค้ รบ
ท้งั 8 กลมุ่ สาระ พร้อมทั้งใชแ้ หล่งเรียนรู้ท่ีมอี ยู่ในโรงเรยี นซ่งึ จัดเปน็ ฐานการเรยี นรู้ ท่มี ีอย่อู ย่างหลากหลาย ไปใช้
ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การจัดการเรยี นรู้ให้มากท่สี ดุ
จากการที่ท่านผู้อำนวยการได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการบริหารงาน และให้
ความสำคัญกับเรื่องนี้อย่างจรงิ จัง ตลอดจนมีการส่งเสริมให้ครูผู้สอนได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ข้าพเจ้าในฐานะครูผู้สอน เริ่มมีความวิตกกังวลวา่ เราจะสามารถทำตาม
เป้าหมายที่กำหนดไว้ได้หรือไม่ และทำอย่างไร เนื่องจากเราไม่มีความรู้ทางด้านน้ีเลย รู้สึกสับสนไม่รู้จะเริ่มจาก
ตรงไหนก่อน จนกระทัง่ ได้มีโอกาสเข้ารับการอบรม ซึ่งการอบรมในครั้งนี้ทำใหไ้ ด้รับความรูเ้ พิ่มเติมอยูเ่ สมอ เริ่ม
รับรไู้ ด้ว่าหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ หลักคดิ หลกั ยดึ ที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวทรงพระราชทาน
ให้กับปวงชนชาวไทยในการนำไปใช้ในชีวิตให้สามารถพึ่งตนเองได้ ไม่เบียดเบียน ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือนร้อน ซ่ึง
ประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และจะต้องมีความรู้ควบคู่ไปกับคุณธรรม
แรกๆ ก็ไม่รู้ว่าจะนำหลักคิดหลักยึดนี้ไปใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างไร จนกระทั่งได้เข้ารับการประชุมเชิง
ปฏิบัตกิ ารเพื่อจัดทำแผนการขบั เคลื่อนการประยุกตห์ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการจัดการเรยี นการสอน

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู

๒๖

ของครูแกนนำ และครูเครือขา่ ยเรยี นรู้สู่ความพอเพียง ณ โรงเรียนบ้านควนตุ้งกู จากการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารใน
ครั้งนี้ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูผู้สอนต่างโรงเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน พร้อมทั้งได้รับ
คำแนะนำที่ดีจากวิทยากร เป็นการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข ทำให้มีความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น แต่
ธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ บางครั้งก็รู้สึกว่ายากอยู่เหมือนกันในการสอดแทรกหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งเข้าไปในเน้ือหาสาระ ซึง่ จำกดั ดว้ ยเน้ือหา แตข่ ้าพเจ้าก็มีความตั้งใจจริง จะพยายามทำให้ดี
ท่ีสดุ

หลังจากผ่านการอบรมมาได้สักระยะหนึ่ง จึงนำความรู้ท่ีไดร้ ับลงสู่กิจกรรมการเรียนการสอนโดยการให้
นักเรียนได้รู้ความหมายของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงก่อน ซึ่งประกอบด้วย 3 ห่วง ได้แก่ ความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน 2 เงื่อนไข ได้แก่ ความรู้ และคุณธรรม เริ่มแรกนักเรียนไม่ค่อยสนใจ
เท่าที่ควรเนื่องจากเป็นสิง่ ใหม่สำหรับนักเรียน และที่สำคัญนักเรียนไม่ชอบคดิ ตอนแรกกร็ ู้สึกกังวลมากเนือ่ งจาก
ไม่ได้รับความร่วมมอื จากนักเรียนเท่าท่ีควร เราเองก็ไมแ่ น่ใจว่าสิ่งที่เราบอกนกั เรียนไป นักเรียนเข้าใจในสิ่งท่เี รา
ส่ือสารออกไปหรือไม่แตก่ ท็ ำความเขา้ ใจว่าสว่ นหนง่ึ อาจจะเป็นเพราะธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตรซ์ ง่ึ ยากอยู่แล้ว
มาเพิ่มการคิดอีกหนึง่ จึงทำให้การบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในกิจกรรมการเรยี นการสอนกลมุ่
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่ประสบความสำเร็จเท่าท่ีควร จากเหตุการณ์ดังกล่าวเราในฐานะของความเป็นครู
จะต้องพยายามใหม่ให้นักเรียนได้ฝึกคิดให้ได้ ถึงจะได้ไม่มากแต่ก็ยังดีกว่าไม่คิดเลย จึงเริ่มต้นใหม่ด้วยการตั้ง
คำถามเพื่อให้นักเรยี นตอบหรือท่ีเราเรียกว่าถอดบทเรยี นนัน่ เอง พร้อมทั้งอธบิ ายเพ่ิมเติมหากนักเรียนมีข้อสงสัย
หรือไมเ่ ขา้ ใจ จนกว่านักเรียนจะสามารถเช่ือมโยงได้ถึงจะได้ไม่ท้ังหมด แต่ก็เป็นท่ีน่าพอใจ เพราะเป็นการเริ่มตน้
นนั่ เอง ถา้ จะเปรยี บ “ครู” กับ “นักเรียน” แรก ๆ กไ็ มแ่ ตกต่างกันเพราะตอนรับรูใ้ หม่ๆ ครกู ็คดิ ไม่ได้ บางคร้ังคิด
ได้ แต่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพดู ตามที่เราเข้าใจได้ เนื่องจากไมม่ ั่นใจในความคิดของตนเองเหมอื นกบั
นักเรียนเช่นเดียวกัน แต่เมื่อได้ฝึกคิด ฝึกปฏิบัติบ่อยๆ ก็จะสามารถรับรู้ และเข้าใจได้ไม่ยาก นอกจากการ
สอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในกลุ่มสาระการเรียนรูแ้ ล้ว ยังสามารถนำไปใช้ในกจิ กรรมฐานการ
เรียนรู้ของโรงเรียน ซึ่งแต่ละกิจกรรมสามารถเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปอย่างเห็นได้ชัด
เน่ืองจากในแตล่ ะกิจกรรมนกั เรียนได้ลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ ผ่านกิจกรรมทีต่ นเองรับผดิ ชอบ นกั เรยี นแต่ละฐานสามารถ
บอกไดว้ ่า มีความพอประมาณ มเี หตุผล มภี มู คิ ุม้ กนั อย่างไร ภายใต้เงือ่ นไขความรู้ คู่คุณธรรมอยา่ งไร ซึ่งกิจกรรม
ฐานการเรียนรู้นี้นักเรียนค่อนข้างทำได้ดี เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่สามารถเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งได้งา่ ยเหน็ ได้ชัด

การจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ควรจัดกิจกรรมให้ใกล้เคียงกับการนำไปใช้จริงในชีวิต เปลี่ยน
ความเป็นนามธรรมจากเนื้อหามาสู่การเรียนรู้ที่เข้าใจง่ายและเป็นรูปธรรม แทรกสิ่งที่ดีมีประโยชน์เข้ากับทุก
ขั้นตอนของแผนการจัดการเรียนรู้ เช่น การบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับเนื้อหาคณิตศาสตร์เรือ่ ง
จำนวนนบั ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น เล่าเร่ืองปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรยี นฟังและบอกว่าวิชาคณิตศาสตร์เร่ือง
จำนวนนับ เข้าไปมีบทบาทอยา่ งไร

การจดั การเรยี นการสอนของกลุม่ สาระวิชาคณิตศาสตร์ในทกุ ชว่ งชนั้ จะเชือ่ มโยงสาระวิชาคณติ ศาสตร์กับ
หลักสูตรท้องถ่ินในเรือ่ งต่างๆ อาทิ การศึกษา อายุ อาชีพ จำนวน ระบบเศรษฐกิจ สภาพสังคม และสิ่งแวดล้อม
ต่างๆ การทคี่ รูบูรณาการและออกแบบกจิ กรรมให้เด็กเข้าใจในวชิ าคณติ ศาสตร์ สามารถวเิ คราะห์และนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันได้ เช่น ครูจะสร้างโจทย์ปัญหาจำนวนนับ พร้อมทั้งแสดงการแก้ปัญหา หรือการพัฒนาชุมชนใน
ทอ้ งถิ่น เป็นต้น ขณะเดียวกันมีการออกแบบกิจกรรมท่ใี ห้เด็กสนุกกับการเรียนรู้ การวิเคราะห์ชีวิตประจำวันตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการนำเสนอข้อมูล รายงานการสำรวจอาชพี ของชุมชนควนตุ้งกู การสร้าง
จิตอาสาและบำเพ็ญประโยชน์ ครูเน้นสอนให้เด็กเกิดจิตอาสาในตวั เองก่อน รู้ว่าจะช่วยเหลือตนเอง พ่อแม่ และ

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๒๗

ครอบครัวอย่างไร จากน้นั จงึ เขา้ สโู่ รงเรียนและชมุ ชน โดยการสอนจะเป็นการชวนคิด ชวนคุย ชวนกนั ทำ ทำใหเ้ กดิ
การซมึ ซบั จนกระทง่ั เด็กไปแสวงหาเอง เชน่ เดก็ ไปมจี ิตอาสากบั หน่วยงาน องคก์ รภายนอก

สำหรับครูนั้น “เศรษฐกิจพอเพียง” ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นสิ่งที่ปลูกฝังเด็กมาโดยตลอด โดยเฉพาะการ
สอนให้เด็กบันทกึ รายรับ รายจ่าย บันทึกการออม และมุ่งเน้นนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาสูก่ าร
เรยี นการสอน โดยให้ครวู เิ คราะหแ์ ผนงานของโรงเรยี น แผนงานของกลุ่มสาระ ซึ่งพบวา่ มีผลงานมากมายท่ีจะต่อ
ยอดไปสู่การนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาสู่การเรียนการสอนแบบเต็มรูปแบบได้ โดยเฉพาะสาระ
คณิตศาสตร์เน้นให้ผู้เรยี นได้มีทักษะในการคิด วิเคราะห์โดยใช้เครื่องมอื ทางคณิตศาสตรจ์ ากโจทยช์ ีวิตจริงท่บี า้ น
โรงเรียน และชุมชน อาทิ การประหยัด หมายถึงการมีความเป็นอยู่พอควรแก่ฐานะ รู้จักหา ไม่ฟุ่มเฟือยหรือ
ตระหน่ี คิดก่อนจ่าย จา่ ยเทา่ ท่ีจำเป็น ใช้ทรพั ยากร เวลา พลงั งานให้เปน็ ประโยชน์มากท่ีสุด การออม เป็นวิธีการ
เกบ็ เงินส่วนที่ เหลืออยจู่ ากรายจ่ายอืน่ ๆ มาสะสมเพื่อไว้ใช้ประโยชน์ในอนาคตซ่ึงเปน็ เรือ่ งใกลต้ ัวเด็กทเ่ี ราสามารถ
ดึงเข้าสบู่ ทเรยี นได้

จากการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่กิจกรรมการเรียนการสอน ส่วนหนึ่งถือได้ว่าประสบ
ผลสำเร็จในระดับหนึ่ง ถึงจะไม่มากเท่าที่ควรแต่ก็สามารถสร้างความภูมใิ จให้กับข้าพเจา้ เนื่องจากไดป้ ฏิบัติการ
สอนให้นักเรียนเกดิ ทักษะด้านการคิดในการน้อมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ซึ่งนักเรยี นสว่ นใหญ่
ทำได้ดี สามารถเช่ือมโยงกจิ กรรมที่นกั เรียนปฏิบัตไิ ด้ พรอ้ มทั้งถา่ ยทอดความร้ทู ตี่ นเองได้รับให้กับผ้มู าศึกษาดูงาน
จากโรงเรียนต่างๆ ได้เป็นอย่างดี นอกจากการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่กิจกรรมการเรียนการสอน
แล้ว ข้าพเจ้ายังยึดถือ หลักคิด หลักยึดนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง โดยเฉพาะในเรื่องของการใช้จ่ายเงนิ
จะต้องมีการวางแผนการใช้จ่ายของตนเองให้เหมาะสมกับรายรับ จะใช้อย่างไร มีความจำเป็นมากน้อยแคไ่ หนใน
การซื้อของสักชิ้น เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง โดยใช้ความรู้คู่คุณธรรมประกอบการตัดสินใจ
นอกเหนอื จากเรื่องการใช้จ่ายเงินแลว้ เรือ่ งของการทำงานก็สามารถนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ได้
อีกดว้ ย

ผู้เขยี น/ผูเ้ ลา่ นางสาวสกุ ัญญา จับปลงั่ ตำแหน่ง ครูโรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกู สพป. ตรัง เขต 2
ข้าพเจ้านางสาวสุกัญญา จับปลั่ง ตำแหน่ง ครูโรงเรียนบ้านควนตุ้งกู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาตรัง เขต 2 วิชาเอกภาษาอังกฤษ รับผิดชอบสอนในรายวิชาประถมศึกษาปีที่ 1-6 วิชาการงาน
อาชีพ ประถมศึกษาปีท่ี ๔-6 วิชาภาษาอังกฤษ การจัดการเรียนการสอนข้าพเจ้าจะศึกษาหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 และหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2560 ฉบับ
ปรับปรุง และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านควนตุ้งกู จากนั้นจะจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ในแต่ละปี
การศึกษา โดยรายวิชาที่ข้าพเจ้าได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้เพ่ือให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงที่เหน็ ได้ดีทีส่ ุดคือ รายวิชาการงานอาชีพซ่ึงกลุ่มสาระการ
เรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยีเป็นกลุ่มสาระทช่ี ่วยพัฒนาใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มที ักษะพื้นฐานที่
จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการดำรงชีวิต การอาชีพ
และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชนใ์ นการทำงานอย่างมีความคิดสรา้ งสรรค์ และแข่งขนั ในสังคมไทยและสากล เห็น
แนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทำงาน และมีเจตคติที่ดีต่อการทำงานสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้
อย่างพอเพยี งและมีความสขุ

การออกแบบการเรยี นรทู้ ี่ขา้ พเจา้ เลือกใชค้ อื กระบวนการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ได้แก่ การพูดคุย
แสดงความคิดเห็น และการลงมือปฏบิ ตั ิ และการประยกุ ตใ์ ช้ ซง่ึ กระบวนการเรียนร้แู บบ Active Learning นั้น จะ
เน้นให้ผู้เรียน เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง จากการประสานงานร่วมกันระหว่างผู้เรียน โดยมีผู้สอน
คอยชี้แนะและใหค้ ำแนะนำ โดยได้นำมาปรับใช้ในรายวชิ าการงานอาชีพ ซึ่งนกั เรยี นได้เรียนเกี่ยวกับงานเกษตร
คือกจิ กรรมสวนผักกระสอบ ทางคณุ ครไู ดใ้ ห้นกั เรยี นเลือกตน้ กล้าที่จะมาปลูกเองโดยไม่ได้บงั คับ ให้นกั เรียนเลือก

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู

๒๘

ต้นอะไรก็ได้ ซ่งึ ปรากฏวา่ พอถึงคาบมีนักเรยี นบางคน ไมไ่ ดน้ ำต้นกล้ามาแต่นักเรียนบางคนเอาตน้ กล้ามาหลายต้น
ซง่ึ นกั เรียนก็แบง่ ปันใหก้ ับเพื่อนเองด้วยความยินดีนี่คอื คุณลกั ษณะทไี่ ดจ้ ากเศรษฐกิจพอเพยี ง ซอ่ื สัตย์สุจริต ขยัน
อดทนและแบ่งปัน หลงั จากท่ีนกั เรียนนำต้นกลา้ มาแล้วคณุ ครูก็จะถามนักเรียนว่าทำไมนกั เรียนจงึ เลอื กตน้ กลา้ ของ
พืชชนิดนั้นมาปลูก นักเรียนบางคนก็ตอบว่าเพราะที่บ้านหนูมีพืชชนิดนั้นไม่ต้องซื้อค่ะ ประหยัด (ความ
พอประมาณ และความมีเหตุผล) หลังจากนั้นคุณครูและนักเรียนก็นำดินช่วยกันขุดไว้ให้ (การช่วยเหลือ การมี
น้ำใจ) มาใส่ในกระสอบปุ๋ยที่นักเรียนเตรียมมาจากบา้ น (ความพอประมาณ) และให้นักเรียนนำต้นกล้าลงไปปลูก
และรดน้ำดูแลตอ่ ไป ซึ่งนกั เรียนก็เอาใจใส่ดี หม่ันมารดนำ้ ดแู ลต้นกล้าของตัวเองที่โรงเรียนเปน็ อย่างดีมาก นี่คือ
ความประทับใจที่คุณครูได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสอดแทรกไปในการจัดการเรียนการสอนทำให้
นักเรียนมีความขยันและรบั ผดิ ชอบมากยงิ่ ขึน้ โดยใช้ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประกอบด้วย 3 หว่ ง 2 เงอ่ื นไข
ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การมีภูมคิ ุม้ กนั และอยูภ่ ายใต้เงอ่ื นไขความร้แู ละคุณธรรม

ผ้เู ขยี น/ผ้เู ลา่ นางสาวอตินุช บญุ นวล ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ยโรงเรยี นบ้านควนตุ้งกู สพป. ตรัง เขต 2
ข้าพเจ้านางสาวอตนิ ุช บญุ นวล ตำแหน่ง ครูผู้ช่วยโรงเรียนบา้ นควนต้งุ กู สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ประถมศึกษาตรงั เขต 2 วิชาเอกวิทยาศาสตร์ รับผิดชอบสอนในรายวิชาประถมศึกษาปที ี่ 4-6 วิชาสังคมศกึ ษา
ศาสนา และวัฒนธรรม ประถมศึกษาปีที่ ๔-6 วิชาวิทยาศาสตร์ การจัดการเรียนการสอนข้าพเจ้าจะศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2560 ฉบบั ปรับปรุง และหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านควนตงุ้ กู จากนั้นจะจัดทำแผนการจัดการ
เรยี นรู้ในแต่ละปกี ารศกึ ษา โดยรายวชิ าทข่ี ้าพเจ้าได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกต์ใช้ในการจัด
กิจกรรมการเรยี นร้เู พอ่ื ให้นักเรยี นเกิดคุณลกั ษณะอย่อู ยา่ งพอเพยี งทีเ่ ห็นได้ดีทส่ี ุดคอื รายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนา
และวฒั นธรรม ซ่งึ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเปน็ กลุ่มสาระทชี่ ว่ ยพฒั นาให้ผเู้ รียนมี
ความรู้ ความเขา้ ใจ มีทกั ษะพืน้ ฐานทีจ่ ำเปน็ ตอ่ การดำรงชวี ติ และร้เู ทา่ ทันการเปลี่ยนแปลงสามารถนำความรู้
เกี่ยวกบั การดำรงชวี ติ
มเี จตคติที่ดตี อ่ การทำงานสามารถดำรงชีวติ อยู่ในสังคมไดอ้ ยา่ งพอเพยี งและมคี วามสุข

การออกแบบการเรียนรู้ที่ขา้ พเจา้ เลือกใชค้ อื กระบวนการเรียนรแู้ บบ Active Learning ไดแ้ ก่ การพูดคุย
แสดงความคิดเหน็ และการลงมือปฏิบัติ และการประยกุ ต์ใช้ ซง่ึ กระบวนการเรยี นรแู้ บบ Active Learning น้นั จะ
เน้นให้ผู้เรียน เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ไดด้ ้วยตัวเอง จากการประสานงานร่วมกันระหว่างผู้เรียน โดยมีผู้สอน
คอยชี้แนะและให้คำแนะนำ โดยได้นำมาปรับใช้ในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซึ่งนักเรียนได้
เรียนเกี่ยวกับการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายในสาระเศรษฐศาสตร์ คือกิจกรรมการบันทึกรายรับรายจ่ายใน
ชีวิตประจำวัน โดยทางโรงเรียนได้รับความอนุเคราะห์จากสหกรณ์สวนยางบ้านควนตุ้งกู เข้ามาอบรมการจัดทำ
บัญชีรายรับ รายจ่ายให้กับครูและนักเรียน ทำให้สามารถนำความรู้ที่ได้นีไ้ ปใช้ในการจัดทำบญั ชีรายรับ รายจ่าย
ประจำวันของนกั เรียนทกุ คน เป็นการสะทอ้ นให้เห็นถึงการมีวินยั ในการใชจ้ า่ ย ไม่ฟมุ่ เฟือย สง่ ผลใหน้ กั เรียนทกุ คน
มีเงินเหลือเก็บและสามารถนำเงินทีเ่ หลือไปฝากกับสหกรณ์ออมทรัพย์ของโรงเรียน เป็นการปลูกฝังให้นกั เรียนมี
นิสยั อดออม น่คี ือความประทับใจที่คุณครูได้นำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสอดแทรกไปในการจัดการเรียน
การสอนทำใหน้ ักเรียนมีความขยันและรับผิดชอบมากยิง่ ขน้ึ โดยใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย 3
ห่วง 2 เงือ่ นไข ไดแ้ ก่ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมภี มู คิ มุ้ กัน และอยภู่ ายใตเ้ งือ่ นไขความรู้และคณุ ธรรม

ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านควนตุง้ กู

๒๙

๗.3 ภาพถ่ายมราเกย่ี วข้อง

เหตุผลท่ขี อรบั การประเมินเป็นศรร.

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๓๐

ข้อมูลทั่วไป จำนวนครู

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกู

๓๑

ข้อมลู ทั่วไป จำนวนนักเรยี น 87
คน

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านควนต้งุ กู

๓๒

ข้อมลู ทัว่ ไป บรบิ ทสถานศึกษา

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๓๓

ข้อมูลทวั่ ไป เอกลักษณ์ของสถานศึกษา/อัตลักษณข์ องนกั เรยี น

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๓๔

การบรหิ ารจดั การ

ขอ้ มลู ประกอบการคัดกรองศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๓๕

บุคลากร

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนตงุ้ กู

๓๖

งบประมาณ

ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนตงุ้ กู

๓๗

แหล่งเรยี นรู้

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๓๘

วิธีพฒั นาเป็น ศรร.

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๓๙

ผบู้ รหิ าร

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา โรงเรยี นบ้านควนตงุ้ กู

๔๐

ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๔๑

นักเรียน

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกู

๔๒

คณะกรรมการสถานศึกษา

ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา

ขอ้ มลู ประกอบการคัดกรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๔๓

ความพร้อมของอาคารสถานท่ี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนตุ้งกู

๔๔

แหล่งเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบ้านควนต้งุ กู

๔๕

ส่งิ แวดลอ้ มท่ีเออื้ อำนวย

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๔๖

การวางแผนและดำเนินการสรา้ งเครอื ขา่ ย

โรงเรียนในเครอื ข่ายรว่ มประชมุ จดั ทำแผนการจัดการเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและรว่ มจดั ฐาน
การเรียนรู้

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านควนต้งุ กู

๔๗

ชมุ ชน วางใจ สนบั สนนุ สง่ เสรมิ มสี ว่ นร่วม

ข้อมูลประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๔๘

มีส่วนรว่ ม สนบั สนนุ /หนว่ ยงานอ่นื

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู

๔๙

เปน็ แบบอย่างแก่สถานศึกษาและหนว่ ยงานอ่นื

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นควนต้งุ กู


Click to View FlipBook Version