The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by areeyada.n2562, 2021-11-08 04:18:03

รายงานผลโครงการประวัติศาสตร์ชาติไทย

บันทึกข้อความ

ส่วนราชการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส

ที่ ศธ ๐๒๑๐.๔๐๐๑/ วันที่ 23 มิถุนายน 2564

เรื่อง รายงานผลโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ


เรียน ผู้อำนวยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส

1.เรื่องเดิม ตามที่สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัยจังหวัดนราธิวาสได้
จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ ๒๕64 แผนงาน : บูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาในจังหวัด

ชายแดนใต้ โครงการการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันเพอสันติสุขในพนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมการศึกษาเพอ
ื้
ื่
ื่
พฒนาความมั่นคง งบรายจ่ายอน รหัสงบประมาณ 20002040D1700001 โครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
ื่

ในสถาบันศึกษาปอเนาะ นั้น
2. ข้อเท็จจริง ในการนี้ ข้าพเจ้านางสาวไฮฟะห์ หะยีดือเร๊ะ ตำแหน่งครูอาสาประจำสถาบันศึกษาปอเนาะ
นัฮดอตุลซุบบานียะฮ ตำบลบางปอ ได้จัดโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบัน

ศึกษาปอเนาะ เพื่อใหนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ มีคุณธรรม จริยธรรม การสร้างวินัย การมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อ

สังคม ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ
สถาบันศึกษาปอเนาะ จำนวน 10 คน ดำเนินการจัดอบรม ระหว่างวันที่ 16 มิถุนายน 2564 ณ สถาบันศึกษา
ปอเนาะนัฮดอตุลซุบบานียะฮ์ ตำบลบางปอ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส
บัดนี้ โครงการดังกล่าวได้ดำเนินการเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว จึงได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงาน

โครงการฯ จำนวน 2 เล่ม เพื่อมอบให้ผู้ที่ได้รับมอบหมายต่อไป
๓. ข้อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ตามคำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ๔๘๙/๒๕๕๑
ลงวันที่ ๒๑ เดือน เมษายน พ.ศ.๒๕๕๑ เรื่องการมอบหมายอำนาจให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอก

ระบบและการศึกษาตามอธยาศัยอำเภอ และผู้อำนวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยเขต ปฏิบัติราชการแทน ข้อ ๑๐
๔. ข้อเสนอแนะ -

ื่
จึงเรียนมาเพอโปรดทราบ

(นางสาวไฮฟะห์ หะยีดือเร๊ะ)
ครูอาสาฯปอเนาะ


ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..


ลงชื่อ………………………………………………………….
(นายจิรวัฒน์ ไทยเกื้อ)

ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส

รายงานสรุปผลกิจกรรมโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ

โครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ

กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ปีงบประมาณ 2564




































สถาบันศึกษาปอเนาะนัฮดอตุลซุบบานียะฮ์

ตำบลบางปอ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส












ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนราธิวาส

คำนำ



เอกสารสรุปผลการดำเนินงานฉบับนี้ ได้จัดทำขึ้นโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับ
นักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ปีงบประมาณ 2564 และใช้เป็นข้อมูลประกอบการ
พิจารณาจัดทำแผนดำเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ในปีต่อไป


การดำเนินงาน และการจัดทำเอกสารฉบับนี้ สำเร็จและเป็นรูปเล่มได้ด้วยความร่วมมอจากบุคลากรศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส ขอขอบคุณบุคลากร ทุกท่าน โดยเฉพาะ

อย่างยิ่ง ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส ที่ได้ให้คำแนะนำ

จนการจัดกิจกรรมดังกล่าวสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังว่าเอกสารฉบับนี้ จะใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงต่อไป

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส

มิถุนายน 2564

สารบัญ




หน้า

บทที่ ๑ บทนำ

- ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ 1
- วัตถุประสงค์ 2
- เป้าหมาย 2
- งบประมาณ 2

- ผู้รับผิดชอบโครงการ 3
- เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 3
- โครงการที่เกี่ยวข้อง 3

- ผลลัพธ์ 3
บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4 - 10
บทที่ ๓ วิธีดำเนินการ 11 – 12
บทที่ ๔ ผลการศึกษา 13 - 15
บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษา 16

บรรณานุกรม
ภาคผนวก

- บันทึกขออนุญาตดำเนินโครงการ
- รายละเอียดโครงการ

- คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน
- บัญชีผู้เข้าร่วมโครงการฯ

- ภาพถ่ายกิจกรรม






*******************************************

บทที่ ๑

บทนำ

1. ความเป็นมาและความสำคัญ

สถาบันหลักสำคัญของชาติ ประกอบด้วย ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจที่นำพา
ประเทศชาติไปสู่ความมั่นคงปลอดภัย และความเจริญก้าวหน้า ชาติไทยเป็นชาติที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง ได้แก่


วัฒนธรรมที่ดีงาม มีศลปกรรม สถาปัตยกรรมที่น่าภาคภูมิใจ มีศาสนาเป็นหลักใจ และ มีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบัน
หลักที่สร้างชาติบ้านเมือง และปกครองดูแลให้อาณาประชาราษฎร์ มีความร่มเย็นผาสุกมาตั้งแต่เริ่มความเป็นชาติ



ไทย ให้ดำรงคงอยู่จนถึงพวกเราคนไทยในทุกวันนี้ ดังนั้นการถวายความจงรักภักดี และพทักษรักษาสถาบันหลักของ
ชาติ จึงเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่ต้องช่วยกันรักษาไว้ด้วยชีวิต ซึ่งได้ยึดถือปฏิบัติสืบเนื่องกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ
กาลจวบจนปัจจุบันจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกและความขัดแย้งทางการเมืองได้ก่อให้เกิดความแตกแยกขึ้น

ในกลุ่มบุคคลบางกลุ่มของสังคมไทย ซึ่งยังหาแนวทางสร้างความสามัคคีกันได้ยาก ซึ่งเป็นการบั่นทอนความ
เจริญก้าวหน้าของประเทศ และมีผลกระทบต่อวิถีการดำรงชีวิตของคนไทยทั่วทั้งประเทศ โดยเฉพาะในสามจังหวัด

ชายแดนภาคใต้ซึ่งมีการเรียนการสอนแบบสถาบันศึกษาปอเนาะมาเป็นเวลาอนยาวนานและได้รับการยอมรับของ

คนในชุมชน ปัจจุบันสถาบันศึกษาปอเนาะได้มีการจดทะเบียนเป็นสถาบันศึกษาปอเนาะโดยกำเนิดจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนวิชาด้านศาสนาควบคู่กับวิชาสามัญภายใต้หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนสำหรับสถาบันศึกษา


ปอเนาะ ดังนั้นสถาบันศึกษาปอเนาะเป็นสถาบันแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในการพฒนาศักยภาพของมนุษย์ให้มี
คุณภาพมีคุณธรรมและจริยธรรมอีกสถาบันหนึ่งที่มีความสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติ

อีกทั้งกระทรวงศึกษาธิการได้มีนโยบายเกี่ยวกับการปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน และการบริหารจัด

การศึกษา เรื่อง การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การสร้างวินัย การมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม ยึดมั่นในสถาบันชาติ
ศาสนา พระมหากษตริย์ และมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และนักศกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ บางส่วนยังขาด


ความรู้ความเข้าใจในสถาบันชาติ ศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์
สถาบันศึกษาปอเนาะในอำเภอเมืองนราธิวาส มีอยู่ 3 สถาบัน คือ 1.สถาบันปอเนาะนัฮดอตุลซุบบานียะฮ ์

2.สถาบันปอเนาะวะอซุฎดีน 3.สถาบันศึกษาปอเนาะดารุสซอลีฮน เป็นสถาบันการศึกษาที่สร้างเสริมคุณธรรม


ื้
จริยธรรม แก่เยาวชนและประชาชนที่นับถือศาสนาอสลาม ในพนที่อำเภอเมืองนราธิวาส โดยมีบาบอ โต๊ะครูเป็น
ผู้บริหารสถาบันศึกษาปอเนาะ รวมทั้งจัดการศึกษาด้านศาสนาแก่เยาวชนและประชาชน ซึ่งผู้เรียนในสถาบันศึกษา
ปอเนาะจะมีความรู้ด้านศาสนา และ กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ได้เข้าไปมีบทบาทเสริมในเรื่องของการจัด
การศึกษาระดับกาศึกษาขั้นพนฐาน ทักษะอาชีพ และการจัดกิจกรรมทักษะชีวิต รวมทั้งการสร้างและพฒนาแหล่ง

ื้
เรียนรู้มุมส่งเสริมการเรียนรู้ ซึ่งเป็นการเสริมสถาบันศึกษาปอเนาะให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งทางโลกและศาสนาไป

ควบคู่กัน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส ได้ตระหนักและเล็งเห็นปัญหา

ความสำคัญของสถาบันหลักจึงได้ให้นักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ ได้รับความรู้ ความเข้าใจเสริมสร้างความรัก

ความสามัคคี และร่วมกันแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์จึงได้จัดโครงการอบรมให้ความรู้
ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ ตลอดจนนำไปสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

2. วัตถุประสงค์

ื่
2.๑ เพอให้นักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ มีความรู้ เห็นความสำคัญของชาติ ศาสนาและ
พระมหากษัตริย์ที่เป็นเสาหลักของประเทศ


ื่
ื่
2.2 เพอให้นักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนา น้อมนำความรู้สู่การดำเนินชีวิตอย่างมีคุณค่า เสียสละเพอ
ส่วนร่วม ขยันหมั่นเพียรในการดำรงชีพ รักสามัคคี พร้อมปกป้องรักษาประเทศชาติ

3. เป้าหมาย

เชิงปริมาณ

- นักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะนัฮดอตุลซุบบานียะฮ์ จำนวน 10 คน
- นักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะวะอซุฎดีน จำนวน 10 คน
- นักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะดารุสซอลีฮีน จำนวน 10 คน

เชิงคุณภาพ
นักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ มีความรู้ความเข้าใจในความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน



4. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ



ุ้
แผนงาน : บูรณาการขับเคลื่อนการแกไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการเสริมสร้างภูมิคมกน
ื่
ื้
ื่
ื่
เพอสันติสุขพนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมการศึกษาเพอความมั่งคง งบรายจ่ายอน รหัสงบประมาณ
20002040D1700001 โครงการจักการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ จำนวน 4,350 บาท
(สี่พันสามร้อยห้าสิบบาทถ้วน) ตามรายละเอียดดังนี้
4.1 กิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ
4.2.1 กิจกรรมสถาบันปอเนาะนัฮดอตุลซุบบานียะฮ ตำบลบางปอ

- ค่าตอบแทนวิทยากรชั่วโมงละ 200 บาท หลักสูตร 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 800 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ × 1 แห่ง × 10 คน × 45 บาท เป็นเงิน 450 บาท

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อ × 1 แห่ง × 10 คน × 20 บาท เป็นเงิน 200 บาท
รวมเป็นเงิน 1,450 บาท (หนึ่งพันสี่ร้อยห้าสิบบาทถ้วน)
4.2.2 กิจกรรมสถาบันปอเนาะวะอซุฎดีน ตำบลกะลุวอ

- ค่าตอบแทนวิทยากรชั่วโมงละ 200 บาท หลักสูตร 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 800 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ × 1 แห่ง × 10 คน × 45 บาท เป็นเงิน 450 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อ × 1 แห่ง × 10 คน × 20 บาท เป็นเงิน 200 บาท
รวมเป็นเงิน 1,450 บาท (หนึ่งพันสี่ร้อยห้าสิบบาทถ้วน)

4.2.3 กิจกรรมสถาบันปอเนาะดารุสซอลีฮีน ตำบลกะลุวอเหนือ
- ค่าตอบแทนวิทยากรชั่วโมงละ 200 บาท หลักสูตร 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 800 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ × 1 แห่ง × 10 คน × 45 บาท เป็นเงิน 450 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อ × 1 แห่ง × 10 คน * 20 บาท เป็นเงิน 200 บาท

รวมเป็นเงิน 1,450 บาท (หนึ่งพันสี่ร้อยห้าสิบบาทถ้วน)
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 4,350 บาท (สี่พันสามร้อยห้าสิบบาทถ้วน)

หมายเหตุ ทุกรายการถัวเฉลี่ยจ่ายตามความเป็นจริง

5. ผู้รับผิดชอบโครงการ
นางสาวไฮฟะห์ หะยีดือเร๊ะ ครูอาสา ฯ ปอเนาะ โทร. 084-9126880 ,๐๗๓-514843

นางสาวฮามีด๊ะ ซูเล็ง ครูอาสา ฯ ปอเนาะ โทร. 093-6976214 ,๐๗๓-514843
ว่าที่ร้อยตรีหญิงสโรชา ยอดรัก ครูอาสา ฯ ปอเนาะ โทร. 092-6219686 ,๐๗๓-514843
6. เครือข่าย
6.1. กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส

6.2. องค์การบริหารส่วนตำบลบางปอ/กะลุวอ/กะลุวอเหนือ
6.3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปอ/กะลุวอ/กะลุวอเหนือ
6.4. โรงเรียนบ้านยารอ/โรงเรียนบ้านไร่พญา/โรงเรียนบ้านเขาตันหยง

7. โครงการที่เกี่ยวข้อง
7.๑ โครงการพัฒนาทักษะชีวิต
7.๒ โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

8. ผลลัพธ์
นักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ มีความรู้ความเข้าใจในความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และ

พระมหากษตริย์ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

9. ดัชนีชี้วัดความสำเร็จของโครงการ

9.๑ ตัวชี้วัดผลผลิต (output)

ร้อยละ 98 ของนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ ที่ได้เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้

ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ
9.๒ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ ๘5 ของนักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ มีความรู้ความเข้าใจในความจงรักภักดีต่อ
สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

บทที่ ๒

เอกสารที่เกี่ยวข้อง














พระราชประวัติ ในหลวงรัชกาลที่ 10 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณฯ

พระราชประวัติ ในหลวงรัชกาลที่ 10 – สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เป็น
พระราชโอรสพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) และสมเด็จพระนาง
เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์ที่ 3 ของไทย และเมื่อเวลาประมาณ 10.20 น.

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 คณะรัฐมนตรี (ครม.) และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้จัดประชุมร่วมกัน
ในวาระพิเศษเรื่อง การมีพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ และมีมติแจ้งไปยังประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ให้
อญเชิญองค์พระรัชทายาท (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร) ขึ้นครองราชสมบัติ สืบเป็นรัชกาล

ที่ 10


พระราชประวติ ในหลวงรัชกาลที่ 10


















พระราชประวัติ

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า “สมเด็จพระเจ้า
ลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรมจักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธำรงสุบริบาล อภิคุณูประการมหิตลาดุลเดช

ภูมพลนเรศวรางกูร กิตติสิริสมบูรณ์สวางควฒน์ บรมขัตติยราชกุมาร” เป็นพระราชโอรสพระองค์เดียวใน


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
เสด็จพระราชสมภพ ณ พระที่นั่งอมพรสถาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันจันทร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 เวลา

17:45 น.

ซึ่งพระนาม “วชิราลงกรณ” นั้น สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ทรงตั้งถวาย มาจาก “วชิร
ญาณ” พระนามฉายาขณะผนวชในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6)

ผนวกกับ ”อลงกรณ์”Ž จากพระนามในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่ 5)




















พี่น้อง


มีพระเชษฐภคินี 1 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟาอบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี และ
พระขนิษฐภคินี 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยาม


บรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี
















การศึกษา

ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ทรงสำเร็จการศึกษาขั้นต้นในระดับอนุบาล รุ่นที่ 2
จากโรงเรียนจิตรลดา แล้วจึงเสด็จฯ ไปทรงศึกษาต่อในระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนคิงส์มีด แคว้นซัสเซกส์ และ
ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนมิลฟิลด์ แคว้นซอมเมอร์เซทประเทศองกฤษ


หลังจากนั้น ทรงศึกษาต่อวิชาทหารที่โรงเรียนคิงส์สกูล ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย เสร็จแล้ว ทรง

การศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีสาขาอกษรศาสตร์ (ด้านการทหาร) จากมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศ
ออสเตรเลีย เมื่อ พ.ศ. 2519

โรงเรียนเสนาธิการทหารบก รุ่นที่ 46
นอกจากนี้ ยังทรงศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบก รุ่นที่ 46 เมื่อปี พ.ศ. 2520 ทรงเข้าศึกษาใน

สาขาวิชานิติศาสตร์ รุ่นที่ 2 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เมื่อ พ.ศ.2525 ทรงสำเร็จการศึกษานิติศาสตร

บัณฑิต (เกียรตินิยมอนดับ 2) และปี พ.ศ. 2533 ทรงได้รับการศึกษา ณ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรแห่งส
หราชอาณาจักร



















พระราชพิธีสถาปนาเฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระยุพราช
เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ได้
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งการพระราชพิธีสถาปนาเฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ

เจ้าฟาวชิราลงกรณ ให้ดำรงพระอสริยยศ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ตาม

ื่
โบราณขัตติยราชประเพณี เพอรับราชสมบัติปกครองราชอาณาจักรสืบสนองพระองค์ โดยมีพระนามตามจารึกใน
พระสุพรรณบัฏว่า ..


“สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟามหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สิริกิติยสมบูรณสวางควัฒน์
วรขัตติยราชสันตติวงศ์ มหิตลพงศอดุลยเดช จักรีนเรศยุพราชวิสุทธ สยามมกุฎราชกุมาร”

พระโอรส-พระธิดา
พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา

1. หม่อมเจ้าจุฑาวัชร มหิดล หรือ จุฑาวัชร วิวัชรวงศ์
2. หม่อมเจ้าวัชรเรศร มหิดล หรือ วัชรเรศร วิวัชรวงศ์
3. หม่อมเจ้าจักรีวัชร มหิดล หรือ จักรีวัชร วิวัชรวงศ์
4. หม่อมเจ้าวัชรวีร์ มหิดล หรือ วัชรวีร์ วิวัชรวงศ์

5. พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์
6. พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ



























พระราชกรณียกิจ


1. ด้านการบิน


เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ทรงปฏิบัติหน้าที่ครูการบินเครื่องบินขับไล่แบบเอฟ-5 อ/เอฟ และ

ิ้
พ.ศ. 2552 ทรงปฏิบัติหน้าที่นักบินที่ 1 เครื่องบินโบอง 737 – 400 ในเที่ยวบินสายใยรักแห่งครอบครัว
ช่วยเหลือผู้ประสบอทกภัย และจัดหาอปกรณ์ด้านการแพทย์ สำหรับโรงพยาบาลใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้


(เที่ยวบินที่ ทีจี 8870 กรุงเทพมหานครถึงจังหวัดเชียงใหม่ และเที่ยวบินที่ ทีจี 8871 จังหวัดเชียงใหม่ถึง
กรุงเทพมหานคร)


2. ด้านการทหาร

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมที่ตั้งกองทหาร

หน่วยต่างๆ อยู่เสมอ จากการที่ได้ทรงศึกษาด้านวิชาทหารมานาน ทรงมีความรู้เชี่ยวชาญอย่างมาก และได้
พระราชทานความรู้เหล่านั้นให้แก่ทหาร 3 เหล่าทัพ ทรงปฏิบัติพระองค์เป็นแบบอย่างแก่นายทหาร เอาพระทัยใส่
ในความเป็นอยู่ทุกข์สุขของทหารผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาอย่างทั่วถึง รวมทั้งพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์

เป็นทุนการศึกษาแก่บุตรของทหาร สิ่งเหล่านี้ล้วนก่อให้เกิดความเทดทูนและความจงรักภักดีแก่เหล่าทหารเป็นอย่าง
ยิ่ง

ซึ่งในปัจจุบันทรงดำรงพระยศทางทหารของ 3 เหล่าทัพ ได้แก่ พลเอก พลเรือเอก และพลอากาศเอก ทรง
ปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้านการทหาร และทรงเข้าร่วมปฏิบัติการรบในการต่อต้านการก่อการร้ายในภาคเหนือและ


ื้
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย รวมทั้งการคุ้มกันพนที่ในบริเวณรอบค่ายผู้อพยพชาวกัมพชา ที่เขาล้าน
จังหวัดตราด อีกด้วย

3. ด้านการศึกษา


พระองค์พระราชทานพระราชานุญาตให้ใช้อาคารของกรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ เป็นที่ตั้ง
ของโรงเรียนอนุบาลชื่อว่า โรงเรียนอนุบาลทหารมหาดเล็กราชวัลลภ โดยในระยะแรกได้จัดการเรียนการสอนเฉพาะ

ชั้นอนุบาล ต่อมาโรงเรียนได้ย้ายไปที่จังหวัดนนทบุรี และได้รับพระราชทานชื่อใหม่ว่า “โรงเรียนอนุราชประสิทธิ์”


นอกจากนี้ ยังพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์สมทบเป็นค่าก่อสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาที่ตั้งอยู่ใน
ชนบทห่างไกลคมนาคมไม่สะดวก กระทรวงศึกษาธิการได้สนองพระราชประสงค์ด้วยการน้อมเกล้าฯ ถวายโรงเรียน
ในระดับมัธยมศึกษาจำนวน 6 โรงเรียน เป็นโรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ ได้แก ่


1. โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา อ.ปลาปาก จ.นครพนม (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 1)

2. โรงเรียนมัธยมจุฑาวัชร อ.ลานกระลือ จ.กำแพงเพชร (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา
2)
3. โรงเรียนมัธยมวัชเรศร อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3)
4. โรงเรียนมัธยมจักรีวัชร อ.รัตนภูมิ จ.สงขลา (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี 2)

5. โรงเรียนมัธยมวัชรวีร์ อ.ท่าตะเกียบ จ.ฉะเชิงเทรา (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี 3)
6. โรงเรียนมัธยมบุษย์น้ำเพชร อ.เมือง จ.อุดรธานี (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี 1)


สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยาวชนในตำบล
ต่างๆ ทรงสนับสนุนการจัดตั้งศูนย์เยาวชนตำบล รวมทั้งได้ทรงเป็นประธานงานวันเยาวชนแห่งชาติ วันที่ 20

กันยายน ของทุกปี และทรงเป็นประธานในพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามของลูกเสือและเนตรนารี และสมาชิกผู้ทำ
ประโยชน์



ทั้งนี้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ได้อปการะเด็กกำพร้า คือ จักรกฤษณ์ และ
อนุเดช ชูศรี ที่ครอบครัวเสียชีวิตจากภูเขาถล่มเมื่อปี พ.ศ. 2554 รวมทั้งครอบครัวของบูรฮาน และบุศรินทร์ หร่า

ยมณี ซึ่งบิดาถูกลอบสังหารจากเหตุความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยจะทรงอปการะจนกว่าจะสำเร็จ
การศึกษาปริญญาตรีหรือจนกว่าจะมีอาชีพสามารถเลี้ยงครอบครัวได้ เป็นต้น

4. ด้านการแพทย์และสาธารณสุข


สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้สร้างโรงพยาบาล

สมเด็จพระยุพราชขึ้น เพื่อให้การรักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วยในถิ่นทุรกันดาร พระองค์ทรงเป็นองค์นายกกิตติมศักดิ์ของ
มูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช พระองค์มีพระราชปณิธานให้เอาใจใส่รักษาพยาบาลพสกนิกรของพระองค์ให้
ปลอดภัยจากความเจ็บไข้โดยทั่วหน้าเสมอกัน


5. ด้านศาสนา



สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์


ทรงประเคนผ้าไตร ประกาศนียบัตร และพดยศ ในการตั้งภิกษุ และ สามเณรเปรียญ เนื่องในการพระราชพธีทรง
บำเพ็ญพระราชกุศล วิสาขบูชา ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรม มหาราชวัง พ.ศ. 2551

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงแสดงพระองค์เป็นพุทธมามกะที่วัดพระศรี
รัตนศาสดาราม เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2509 ก่อนเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ


นอกจากนี้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชศรัทธาทรงผนวชใน


พระพทธศาสนา โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดฯ ให้จัดการพระราชพธีผนวช ณ พทธ

สีมาวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จ

พระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) เป็นพระอปัชฌาย์ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) เป็นพระกรรมวาจาจารย์
สมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณโก) ถวายอนุศาสน์ ได้รับถวายพระสมณนามว่า “วชิราลงฺกรโณ” และได้ประทับอยู่

ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ตลอดจนทรงลาสิกขาในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521


สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ไปปฏิบัติ
พระราชกิจทางพระพทธศาสนาอย่างสม่ำเสมอ เช่น เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ไปทรงเปลี่ยนเครื่องทรงพระ



พทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตามฤดูกาล เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ไปทรง


บำเพญพระราชกุศลในวันสำคัญทางพระพทธศาสนา อาทิ วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และการ
ถวายผ้าพระกฐินหลวงตามวัดต่างๆ เป็นต้น


6. ด้านการเกษตร


สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินไปทรงทำปุ๋ยหมักจาก


ผักตบชวาและวัชพชอื่นๆ เป็นปฐมฤกษ เพอพระราชทานแก่เกษตรกร สำหรับนำไปใช้ในการเพาะปลูกเป็นการเพม
ื่
ิ่
ผลผลิต ที่บ้านแหลมสะแก ต.เดิมบาง อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2528
7. ด้านการต่างประเทศ



วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2554 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และพระเจ้าว
รวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ โปรดให้ พล.อ.ท.ภักดี แสงชูโต นำผ้าห่มกันหนาว 20,000 ผืน ไป

ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 ที่ประเทศญี่ปุ่น โดยมีนายก
ษิต ภิรมย์ เป็นผู้รับมอบ

บทที่ ๓

วิธีดำเนินการ

โครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ ได้จัดทำขึ้นเพื่อให ้
นักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ มีคุณธรรม จริยธรรม การสร้างวินัย การมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม ยึดมั่นใน
สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงาน ดังนี้

ขั้นที่ ๑ ขั้นการเตรียมการ
๑.๑ สำรวจสภาพ ปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย

๑.๒ ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ
๑.๓ เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติงบประมาณในการดำเนินโครงการ
1.4 ประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง/วิทยากร

ขั้นที่ ๒ ขั้นดำเนินการ
ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบัน

ศึกษาปอเนาะ

ขั้นที่ ๓ นิเทศติดตามผล และรายงานผล / ประเมินผล
๓.๑ การนิเทศติดตามผลการดำเนินโครงการ
๓.๒ การประเมินผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ

๓.๓ การรายงานและเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ

ดัชนีชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ (Key Performance Indicator: KPI)

สอดคล้องกับ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
มาตรฐาน กศน.ที่

ผลผลิต (outputs) ร้อยละ 98 ของนักศึกษา
สถาบันศึกษาปอเนาะ ที่ได้เข้าร่วมโครงการอบรมให้

ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษา ๑,๒,3 การสังเกต แบบบันทึกการสังเกต

สถาบันศึกษาปอเนาะ


ผลลัพธ์ (outcomes) ร้อยละ ๘5 ของนักศึกษาใน
สถาบันศึกษาปอเนาะ มีความรู้ความเข้าใจในความ ประเมินความพึง แบบประเมินความพึง
จงรักภั กดีต่ อส ถาบั น ช าติ ศาส น า แล ะ ๑,๒,3 พอใจของผู้เข้าร่วม พอใจ
พระมหากษัตริย์ และสามารถนำความรู้ไปใช้ใน กิจกรรม
ชีวิตประจำวัน


สำหรับเกณฑ์การให้คะแนนสำหรับแบบสอบถามในการสรุปผลการดำเนินงานของโครงการอบรมให้ความรู้

ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ โดยแบ่งค่าในการประเมินออกเป็น 5 ระดับ
ตามแบบของ ลิเคิร์ต (Likert’s five point rating scale) ดังนี้
น้ำหนักคะแนน ๕ หมายถึง มีความเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด

น้ำหนักคะแนน ๔ หมายถึง มีความเห็นอยู่ในระดับมาก
น้ำหนักคะแนน ๓ หมายถึง มีความเห็นอยู่ในระดับปานกลาง
น้ำหนักคะแนน ๒ หมายถึง มีความเห็นอยู่ในระดับน้อย

น้ำหนักคะแนน ๑ หมายถึง มีความเห็นอยู่ในระดับน้อยที่สุด

ในส่วนของการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานในโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย
สำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ และระดับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการถือว่าเป็นค่าเฉลี่ยของ

คะแนนที่ได้จากการตอบแบบสอบถาม ทั้งนี้ผู้จัดกิจกรรมได้กำหนดการวิเคราะห์ตามแนวคิดของ เบสท์
(อ้างถึงใน พวงรัตน์ ทวีรัตน์, ๒๕๔๓ : ๓๐๓) ดังนี้
ค่าเฉลี่ย ความหมาย

๑.๐๐ – ๑.๔๙ น้อยที่สุด
๑.๕๐ – ๒.๔๙ น้อย
๒.๕๐ – ๓.๔๙ ปานกลาง
๓.๕๐ – ๔.๔๙ มาก
๔.๕๐ – ๕.๐๐ มากที่สุด

บทที่ ๔

ผลการศึกษา

ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับ

นักศกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ แต่ละสถาบันศึกษาปอเนาะ จำนวน 10 คน ผู้ศึกษาแบ่ง
ผลการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้

ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ ผลการศึกษาในแต่ละส่วนจะนำเสนอข้อมูลในรูปแบบ
ตารางแจกแจงเป็นค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละจากข้อมูลที่ได้เป็นสำคัญ ซึ่งมีรายละเอียดของผลการศึกษา ดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม





บทที่ ๕

บทสรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ

จากการจัดโครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ มี

วัตถุประสงค์ เพอให้นักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ มีความรู้ เห็นความสำคัญของชาติ ศาสนาและ
ื่
พระมหากษัตริย์ที่เป็นเสาหลักของประเทศ เพอให้นักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนา น้อมนำความรู้สู่การดำเนินชีวิต
ื่

อย่างมีคุณค่า เสียสละเพอส่วนร่วม ขยันหมั่นเพยรในการดำรงชีพ รักสามัคคี พร้อมปกป้องรักษาประเทศชาติ
ื่
พบว่า มีนักศึกษาเข้าร่วมอบรมสถาบันศึกษาปอเนาะ ปอเนาะละ จำนวน 10 คน มีผู้ตอบแบบประเมินความพง

พอใจหลังการอบรม จำนวน 12 คน โดยแยกเป็นเพศหญิง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 33.30 และเพศชาย

จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 66.70 ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 16 - 39 ปี จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ
91.70 และอายุระหว่าง 40 – 59 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.30 มีการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษา

ตอนต้น จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 58.30 การศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3 คน
คิดเป็นร้อยละ 25.00 และการศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 16.70 มีผู้ตอบแบบ

ประเมินความพงพอใจหลังการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ จำนวน


12 คน มีความพงพอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้าน

หลักสูตร/ด้านการจัดกิจกรรม/โครงการ /ผลที่ได้รับจากการเรียนรู้หรือการเข้าร่วมกิจกรรม ทักษะที่ได้รับจากการ

อบรมสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป


ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้เข้าร่วมการอบรม
๑. ควรเพิ่มระยะเวลาในการฝึกอบรม
๒. ควรมีการติดตามและให้คำแนะนำเพิ่มเติมหลังการผ่านการฝึกอบรม

๓. ควรมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องทุกภาคเรียน

บรรณานุกรม



ข้อมูล : วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี และ thaigoodview


ภาพประกอบ : หนังสือ “๗๐ สัมพจฉร์ฉลองรัชธรรมราชา” กวีนิพนธ์เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ


ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๗๐ ปี พมพครั้งที่ 1 พทธศักราช


2559 โดยกรมศิลปากร

ภาคผนวก

แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจของผู้เรียน
โครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ

วันที่ 16 มิถุนายน ๒๕๖4

ณ สถาบันศึกษาปอเนาะนัฮดอตุลซบบานียะฮ์ ตำบลบางปอ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส
.....................................................................
ตอนที่ ๑ ข้อมลทั่วไป

คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย  ลงในช่อง  ที่ตรงกับข้อมูลของท่านเพียงช่องเดียว
๑. เพศ ชาย หญิง
๒. อายุ 15-39 ปี 40 ปีขึ้นไป

๓. ระดับการศึกษา ต่ำกว่าประถม ประถม ม.ต้น ม.ปลาย ปริญญาตรี
4. อาชีพ รับจ้าง  เกษตร  ค้าขาย  อื่นๆ โปรดระบุ.............................
ตอนที่ ๒ ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมและความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รับบริการ

คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย  ลงในช่อง  ที่ตรงกบความคิดเห็นของท่านเพียงช่องเดียว
ระดับการประเมิน
ที่ รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง

๕ ๔ ๓ ๒ ๑
ด้านหลักสูตร

๑ กิจกรรมที่จัดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
๒ เนื้อหาของหลักสูตรตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ
๓ การจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้รับบริการสามารถคิดเป็น ทำเป็น

แก้ปัญหาเป็น
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๔ การประชาสัมพันธ์กิจกรรม/โครงการ

๕ รูปแบบการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม
๖ สิ่งอำนวยความสะดวกมีความเหมาะสม
๗ เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม

๘ สถานที่จัดมีความเหมาะสม
ด้านผลที่ได้รับจากการเรียนรู้หรือการเข้าร่วมกิจกรรม
9 ความรู้ ความคิด

10 จิตสำนึก ทัศนคติ ความตระหนัก ความยุติธรรม
๑1 ทักษะในการปฏิบัติ
๑2 การมีส่วนร่วมและในการทำงานเป็นทีม

๑3 ความสนุกสนานเพลิดเพลิน ความบันเทิง
ข้อเสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมอในการตอบแบบสอบถามเพื่อการพัฒนาต่อไป

กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส

ภาพกิจกรรม

โครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ
วันที่ 16 มิถุนายน ๒๕๖4

ณ สถาบันศึกษาปอเนาะนัฮดอตุลซบบานียะฮ์ ตำบางปอ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส
......................................................................

ภาพกิจกรรม

โครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ
วันที่ 16 มิถุนายน ๒๕๖4

ณ สถาบันศึกษาปอเนาะนัฮดอตุลซบบานียะฮ์ ตำบางปอ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส
......................................................................

ภาพกิจกรรม

โครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ
วันที่ 16 มิถุนายน ๒๕๖4

ณ สถาบันศึกษาปอเนาะนัฮดอตุลซบบานียะฮ์ ตำบางปอ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส
......................................................................

ภาพกิจกรรม

โครงการอบรมให้ความรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยสำหรับนักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ
วันที่ 16 มิถุนายน ๒๕๖4
ณ สถาบันศึกษาปอเนาะนัฮดอตุลซบบานียะฮ์ ตำบางปอ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส

......................................................................


Click to View FlipBook Version