The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มใหญ่สรุปผลการดำเนินงานจัดการเรียนรู้หลักสูตรกศต่อเนื่องฯ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yanaphat4761, 2022-09-21 02:49:59

เล่มใหญ่สรุปผลการดำเนินงานจัดการเรียนรู้หลักสูตรกศต่อเนื่องฯ

เล่มใหญ่สรุปผลการดำเนินงานจัดการเรียนรู้หลักสูตรกศต่อเนื่องฯ



คำนำ
กลุ่มงานส่งเสริมปฏิบัติการ ได้รับอนุมัติความเห็นชอบหลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะวิทยากรการศึกษา
ต่อเนื่องด้านอาชีพ จากผู้บริหารสถานศึกษา และได้ดาเนินการจัดการเรียนรู้หลักสูตรดังกล่าวเสร็จสิ้นไปแล้ว ซึ่งในหลักสูตร
กาหนดกลุ่มเป้าหมายเป็นวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องด้านอาชีพ จากสานักงาน กศน.จังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดยวิธีเรียน
แบบออนไลน์ การจัดอบรมมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และมีองค์ความรู้เบื้องต้นในการเป็น
วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องด้านอาชีพ อีกทั้งสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการถ่ายทอดให้ กับผู้เรียนได้อย่างถูกต้อง
ตามกระบวนการ
จึงไดจ้ ัดทาสรปุ ผลการดาเนนิ งานเพอ่ื เป็นหลกั ฐานร่องรอ่ ยของการดาเนนิ งาน และอาจเปน็ ประโยชน์กบั ผ้ทู ่ี
สนใจ และหากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดตอ้ งขออภยั ไวใ้ นโอกาสน้ดี ว้ ย

ผู้รับผิดชอบ
29 สิงหาคม 2565

ข ก

สำรบญั 1
4
คานา
สารบญั 16
ความเปน็ มาและความสาคัญ
ผลการดาเนินงาน
ภาคผนวก

ภาคผนวก ก บันทึกขออนุมตั ิจดั และเอกสารประกอบ
ภาคผนวก ข ภาพประกอบการจดั อบรม

สรปุ ผล การดำเนินการจดั การเรียนรู
หลกั สูตร “เสริมสรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศึกษาตอเน่ืองดานอาชีพ”

ความเปนมา และความสำคัญของการดำเนินการ

1.ชื่อหลักสูตร “เสริมสรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศกึ ษาตอเน่อื งดานอาชพี ” จำนวน 58 ชั่วโมง
2. หลักการ

หลักสูตรเสริมสรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศกึ ษาตอ เนอ่ื งดา นอาชีพ มแี นวคดิ สำคัญ ดงั นี้
1. มุงตอบสนองความตองการในการเรียนรูเ พื่อพัฒนาความรู ความเขาใจและองคความรูเบื้องตน
ทักษะ ทัศนคติทด่ี ีตอ วิชาชีพ และความรบั ผิดชอบ หรือจะประกอบอาชีพวิทยากรการศึกษาตอเนอ่ื งดา นอาชพี
2. มุงจัดการเรียนรู โดยใชหลักการจัดการเรียนโดยวิธีเรียนแบบออนไลนและแบบออนแฮนด
และการสัมมนา
3. จดุ มุง หมาย
เพอ่ื ใหก ลุมเปา หมายสามารถทำหนา ที่เปน วิทยากรการศึกษาตอ เน่ืองดา นอาชพี ไดอ ยา งมีคุณภาพ
4. วัตถปุ ระสงค
1. เพื่อใหกลุมเปาหมาย มีความรู ความเขาใจและองคความรูเบื้องตน ในการเปนวิทยากรการศึกษา
ตอเนอื่ ง
2. เพื่อใหกลุมเปาหมาย สามารถนำความรูไปประยุกตใชในการถายทอดองคความรูใหกับผูเรียน
ไดอยา งถูกตองตามกระบวนการ
5. กลุมเปาหมาย

1. วทิ ยากรวชิ าชีพ
2. ประชาชนทมี่ ีความสนใจ
6. คณุ สมบัติผูเรียน
ผเู รยี นหลกั สูตรเสริมสรา งสมรรถนะวิทยากรการศกึ ษาตอ เนือ่ งดานอาชีพ ตองมีคุณสมบัติ ดงั นี้
1. อายุ 20 ปข น้ึ ไปและมีสัญชาตไิ ทย
2. เปนวทิ ยากรวชิ าชีพหรอื ผูท่มี ีความสนใจเปน วทิ ยากรวิชาชพี
7. ระยะเวลาเรยี น
หลักสูตรเสริมสรางสมรรถนะวิทยากรการศึกษาตอเนื่องดานอาชีพ ใชระยะเวลาเรียนรวม 58 ชั่วโมง
ประกอบดวย
2. ระยะเวลาเรียนภาคทฤษฎี 38 ช่วั โมง
3. ระยะเวลาการสมั มนา 20 ช่วั โมง

2
8. กระบวนการเรียนรู

ผูเรยี นหลักสตู รเสริมสรางสมรรถนะวิทยากรการศึกษาตอเนือ่ งดา นอาชพี เรียนรดู ว ยวธิ กี าร ดงั น้ี
1. การเรยี นรูโดยวิธเี รียนแบบออนไลนแ ละออนแฮนด

การเรียนรูดวยตนเอง เปนกระบวนการเรียนรูที่ผูเรียนศึกษาเนื้อหาภาคทฤษฎีจากสื่อ
อยางใดอยางหนง่ึ ใน 2 ลกั ษณะ ไดแก

1. บทเรียนออนไลนรายวิชาตาง ๆ ตามที่กำหนดไวในหลักสูตร สำหรับผูเรียนที่มีทักษะ
ในการใชเทคโนโลยดี ิจทิ ัล

2. เอกสารชุดการเรียนรดู วยตนเองตามทก่ี ำหนดไวในหลักสูตร สำหรับผูเรียนทไ่ี มม ีทกั ษะในการ
ใชเ ทคโนโลยีดิจิทลั

2. การสัมมนา เปนกระบวนการเรียนรูจากวิทยากรรายวิชาตาง ๆ ตามที่กำหนดไว
ในหลกั สูตร โดยผเู รียนตอ งเขา รบั การสัมมนาตามกำหนดการและสถานที่ท่กี ำหนด
9. สอ่ื การเรยี นรู

สื่อการเรียนรูห ลักสตู รเสริมสรางสมรรถนะวทิ ยากรการศกึ ษาตอ เนื่องดา นอาชพี ประกอบดว ย
1. บทเรียนออนไลนหลักสูตรเสริมสรางสมรรถนะวิทยากรการศึกษาตอเนื่องดานอาชีพ

ประกอบดวยเน้ือหาสาระ สื่อดิจิทัลเสริมความรู เชน คลิปวิดีโอ ใบความรูอินโฟกราฟฟก เปนตน และกิจกรรม
ประเมินความรู ความเขา ใจ

2. เอกสารชุดการเรียนรูเสริมสรางสมรรถนะวิทยากรการศึกษาตอเนื่องดานอาชีพ ประกอบดวย
เนื้อหาสาระ และกจิ กรรมประเมนิ ความรู ความเขา ใจ

3. สือ่ บคุ คล คอื วทิ ยากรผใู หความรภู าคทฤษฏที ม่ี ีวุฒกิ ารศกึ ษาไมตำ่ กวา ปรญิ ญาตรี ในรายวชิ าที่ให
ความรู และมปี ระสบการณ

4. คมู อื การเรียนรโู ดยวิธีเรยี นแบบออนไลนและออนแฮนด และบนั ทกึ กิจกรรม หลักสูตรเสรมิ สราง
สมรรถนะวิทยากรการศึกษาตอเนื่องดานอาชพี เปนเอกสารที่จะสราง ความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับแนวทางการ
เรียนรูหลักสูตร และใหผูเรียนใชบันทึกกิจกรรมการเรียนรู งานที่มอบหมายเพื่อตรวจสอบความรู ความเขาใจ
จากการเรียนรูของตนเอง
10. การวัดและประเมินผล

หลักสูตรเสริมสรางสมรรถนะวิทยากรการศึกษาตอเนื่องดานอาชีพ มีวิธีการวัดและประเมินผล
การเรียนรู และสัดสวนคะแนน ดงั นี้

1. การประเมนิ ผลการทำกจิ กรรมการเรียนรูท า ยรายวชิ า 60 คะแนน
- กจิ กรรมการเรยี นรู 30 คะแนน
- กจิ กรรมท่มี อบหมาย 30 คะแนน

2. การทดสอบภาคความรู 20 คะแนน
3. การเขารวมสัมมนาเสรมิ สรา งประสบการณแ ละประเมนิ ผลกอ นจบ 20 คะแนน

สรุปผลการดำเนินงานจดั การเรยี นรู หลกั สูตร “เสรมิ สรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศึกษาตอ เนื่องดานอาชพี ”

3
11. เกณฑการจบหลักสูตร

ผเู รยี นตอ งผา นเกณฑก ารประเมินผลตา ง ๆ ครบตามท่หี ลักสตู รกำหนดการจบหลกั สตู รมหี ลักเกณฑ ดังน้ี
1. ภาคทฤษฎี ผเู รียนตองไดค ะแนนไมน อ ยกวา รอยละ 70
2. เขา รบั การสัมมนาไมนอยกวารอยละ 80 ของระยะเวลาท่หี ลกั สูตรกำหนด

12. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาท่ไี ดรับหลังจบหลักสตู ร
วุฒิบัตร

สรปุ ผลการดำเนนิ งานจดั การเรยี นรู หลกั สตู ร “เสรมิ สรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศึกษาตอ เนื่องดา นอาชพี ”

4

ผลการดำเนนิ งาน

ตอนที่ 1 การดำเนินการจัดการเรียนรู

1. สรปุ จำนวนผเู รยี นและผูจบหลกั สูตร
จากการดำเนินการจัดการเรียนรู หลักสูตร “เสริมสรางสมรรถนะวิทยากรการศึกษาตอเนื่องดานอาชีพ”

วิธเี รียนแบบออนไลน สามารถสรปุ ผลการดำเนินงานไดต ามตาราง ดังนี้

ที่ ช่อื ครปู ระจำกลมุ กลุมท่ี จำนวน วันทีด่ ำเนนิ การ ผจู บ
ผูเรียน หลักสูตร
1 นางสาวศิวพร ยศบรรดาศักด์ิ 1 14 9 - 11 มีนาคม 2565 14
นางสาวอารญี า เทศย้ิม 2 26 23 - 25 มีนาคม 2565 26
2 นางสาวปยะพร ทองสขุ 3 19 20 - 22 เมษายน 2565 17
5 17 10 -12 พฤษภาคม 2565 16
3 นางสาวอรุณโรจน ทองงาม 4 29 27 - 29 เมษายน 2565 29
7 7 25 - 27 พฤษภาคม 2565 7
4 นางสาวญาณภทั ร รีวรรณ 6 21 10 -12 พฤษภาคม 2565 21
10 21 15 – 17 มิถุนายน 2565 17
5 นางสาวกาญจนาวดี หงษท อง 8 19 30 พฤษภาคม – 1 มถิ นุ ายน 2565 19
นางสาวกาญจนาวดี หงษทอง 9 23 8 - 10 มถิ นุ ายน 2565 23
6 นางสาวอารญี า เทศยิ้ม 11 21 22 – 24 มถิ ุนายน 2565 21
นางสาวศวิ พร ยศบรรดาศกั ดิ์
รวมจำนวนผูเรยี น 217 รวมผูจ บหลกั สูตร 210

2. ครูผสู อน/วทิ ยากร นางสาวอรุณโรจน ทองงาม
1. รายวชิ าท่ี 1 การวิเคราะหเ นื้อหา/การจัดทำหลกั สตู ร นางสาวอารญี า เทศย้ิม
2. รายวชิ าที่ 2 การออกแบบการสอน (กระบวนการสอน นางสาวปย ะพร ทองสขุ
3. รายวชิ าท่ี 3 การเขียนแผนการจัดการเรียนรู นางสาวศิวพร ยศบรรดาศักดิ์
4. รายวิชาที่ 4 การจดั ทำสือ่ การเรียนรู นางสาวญาณภทั ร รีวรรณ
5. รายวชิ าที่ 5 การวดั และประเมนิ ผล นางสาวกาญจนาวดี หงษท อง
6. รายวชิ าที่ 6 การใชแบบฟอรมตา ง ๆ

สรุปผลการดำเนินงานจัดการเรยี นรู หลกั สูตร “เสริมสรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศกึ ษาตอเนอ่ื งดานอาชีพ”

ตอนที่ 2 ขอมลู ทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 5

2.1 เพศ ªÒÂ
Ëญ§Ô
16%
84% รอยละ
16
เพศ จำนวน (คน 84
ชาย 29 100
หญงิ 147
รวม 176

สรุปผลการดำเนนิ งานจัดการเรยี นรู หลกั สูตร “เสริมสรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศึกษาตอ เน่อื งดา นอาชพี ”

2.2 อายุ 6

ÍÒÂØ 20-30 »‚
31-40 »‚
10% 2% 10% 41-50 »‚
19% 51-60 »‚
61-70 »‚
25% 70 »‚¢¹éÖ ä»
34%

อายุ จำนวน (คน รอ ยละ
20-30 ป 17 10
31-40 ป 34 19
41-50 ป 60 34
51- 60 ป 44 25
61- 70 ป 18 10
71 ปข้นึ ไป 3 2
176 100
รวม

สรุปผลการดำเนนิ งานจัดการเรียนรู หลกั สตู ร “เสริมสรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศกึ ษาตอเนอ่ื งดา นอาชพี ”

2.3 การศึกษา 7

¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ
Á.µ¹Œ
6% 7% 4% Á.»ÅÒÂ
22% »Çª./»ÇÊ.
»ÃÔญญÒµÃÕ
57% 4% »ÃÔญญÒâ·

การศกึ ษา จำนวน (คน รอยละ
ประถม 13 7
ม.ตน 7 4
ม.ปลาย 38 22
ปวช./ปวส. 8 4
ปรญิ ญาตรี 100 57
ปรญิ ญาโท 10 6
รวม 176 100

สรปุ ผลการดำเนินงานจดั การเรียนรู หลักสตู ร “เสริมสรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศกึ ษาตอ เนอื่ งดา นอาชพี ”

8

ตอนท่ี 3 ระดบั ความพงึ พอใจในดานตาง ๆ

ตารางแสดงระดับคาเฉลี่ยความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู หลักสูตร “เสริมสรางสมรรถนะวิทยากร
การศกึ ษาตอ เนื่องดา นอาชีพ”

การกำหนดเกณฑการพิจารณา ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู หลักสูตร “เสริมสรางสมรรถนะ
วทิ ยากรการศกึ ษาตอเน่ืองดา นอาชพี ” มีดงั น้ี

เกณฑก ารใหค ะแนน
กำหนดเกณฑการใหคะแนนไว 5 ระดับ ดังนี้
5 คะแนน หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ/ความรูความเขา ใจดีมาก
4 คะแนน หมายถึง ระดับความพึงพอใจ/ความรูค วามเขา ใจดี
3 คะแนน หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ/ความรูค วามเขาใจปานกลาง
2 คะแนน หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ/ความรคู วามเขาใจนอย
1 คะแนน หมายถึง ระดับความพึงพอใจ/ความรคู วามเขาใจนอ ยท่ีสดุ

เกณฑก ารแบงชว งคะแนนคาเฉลย่ี
เกณฑการแบง ชว งคะแนนคาเฉล่ยี ไดกำหนดเกณฑประเมนิ ไว ดงั นี้
คา เฉลยี่ 4.51 – 5.00 หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรูค วามเขาใจในระดับดีมาก
คา เฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจ/ความรูความเขาใจในระดับดี
คา เฉลย่ี 2.51 – 3.50 หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรูความเขาใจในระดับปานกลาง
คาเฉลย่ี 1.51 – 2.50 หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจระดบั /ความรคู วามเขา ใจในระดับนอย
คา เฉลยี่ 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรคู วามเขา ใจในระดับนอ ยทส่ี ดุ

สรุปผลการดำเนนิ งานจดั การเรียนรู หลักสตู ร “เสรมิ สรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศึกษาตอ เน่อื งดา นอาชพี ”

9

ตารางแสดงระดบั คา เฉลีย่ ความพงึ พอใจตอ การจดั การเรียนรู
หลกั สูตร “เสรมิ สรางสมรรถนะวิทยากรการศกึ ษาตอ เนอ่ื งดา นอาชีพ” วธิ เี รียนแบบออนไลน

ระดบั ความพึงพอใจ คา ระดบั คิด
รายงานการประเมิน มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง นอ ย นอ ยมาก เฉลี่ย ความพงึ เปน
5 4 3 21 พอใจ รอยละ
ดา นการอบรม
1. เนอื้ หาในการฝกอบรมตรงกับ 97 75 4 0 0 4.53 ดมี าก 90.57
วตั ถปุ ระสงค (55.11%) (42.61%) (2.27%)
2. ระยะเวลาในการอบรมมีความ 72 91 12 1 0
เหมาะสม (40.91%) (51.70%) (6.82%) (0.57%) 4.33 ดี 86.59

3. รูปแบบและวิธีการอบรมมคี วาม 96 69 11 0 0 4.48 ดี 89.66

เหมาะสมกบั สถานการณปจจบุ นั (54.91%) (39.20%) (6.25%) 0 4.43 ดี 88.52
4. คณุ ภาพของเอกสาร 86 79 11 0
ประกอบการอบรม
(48.86%) (44.89%) (6.25%)
5. หลกั สตู รเอื้ออำนวยตอการ 84 83 8 1 0
เรยี นรูแ ละพฒั นาความสามารถของ (47.73%) (47.16%) (4.55%) (0.57%) 4.42 ดี 88.41
ทาน
6. ทานสามารถนำส่ิงทไี่ ดรบั จาก 96 73 7 0 0 4.51 ดมี าก 90.11
การอบรมนีไ้ ปใชใ นการปฏิบตั งิ าน (54.55%) (41.48%) (3.98%)
7. ทานตองการใหปรบั เนือ้ หาใน 60 68 31 8 9
การอบรม 3.92 ดี 78.41
(34.09%) (38.64%) (17.61%) (4.55%) (5.11%)
สรปุ ภาพรวม 47.97% 43.67% 6.82% 0.81% 0.73% 4.37 ดี 87.47

สรุปผลการดำเนนิ งานจดั การเรียนรู หลักสูตร “เสริมสรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศึกษาตอ เนอื่ งดา นอาชพี ”

10

ตารางแสดงระดับคาเฉล่ยี ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู (ตอ

รายงานการประเมิน มากที่สุด ระดบั ความพึงพอใจ นอยมาก คา ระดบั คดิ เปน
1 เฉลี่ย ความพึง รอ ยละ
มาก ปานกลาง นอ ย พอใจ
5 4 32 0 89.43
ดานวทิ ยากร 0 89.09
1. ความสามารถในการ 86 87 3 0 0 90.91
ถา ยทอด/ส่ือสาร/ความเขาใจ (48.86%) (49.43%) (1.70%) 0 4.47 ดี 89.77
2. การเรียงลำดบั บรรยาย 88 80 8 0 0 4.45 ดี 86.48
เน้อื หาไดครบถวน (50.00%) (45.45%) (4.55%) 0 4.55 ดมี าก 89.14
3. การเปด โอกาสใหซักถามและ 100 72 4 0 4.49 ดี
แสดงความคดิ เหน็ (56.82%) (40.91%) (2.27%) 1 4.32 ดี 75.45
4. การตอบคำถามไดต รง 91 80 5 0 (0.57%) 4.46 ดี 87.73
ประเด็นและชดั เจน (51.70%) (45.45%) (2.84%) 89.55
5. ใชเ วลาเหมาะสมมาก/นอ ย 75 85 14 2 0 84.24
เพียงใด (42.61%) (48.30%) (7.95%) (1.14%) 0
สรุปภาพรวม 50.00% 45.91% 3.86% 0.23% 0.19 87.38
ดานความรคู วามเขา ใจที่ไดรบั จากการอบรม
44 65 51 15 0.38%
1. ความรูกอ นฝกอบรม (25.00%) (36.93%) (28.89%) (8.52%) 3.77 ดี

2. ความรูหลงั การฝกอบรม 77 91 7 1 4.39 ดี
(43.75%) (51.70%) (3.98%) (0.57%) 4.48 ดี
3. ระดบั ความพงึ พอใจตอ 90 80 6 0 4.21 ดี
หลักสตู รในภาพรวม (51.14%) (45.45%) (3.41%)
สรุปภาพรวม 39.96% 44.70% 12.12% 3.03% 4.37 ดี
สรปุ ภาพรวม 3 ดา น 47.05% 44.62% 6.89% 1.06%

จากตาราง พบวา ผูที่เขารวมอบรมสวนใหญมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู หลักสูตรเสริมสราง
สมรรถนะวทิ ยากรการศึกษาตอเน่ืองดานอาชีพ โดย ภาพรวมอยูใ นเกณฑป ระเมินระดับดี คิดเปนรอยละ 87.38
ซ่ึงมีคา เฉล่ยี เทา กบั 4.37 และเม่อื แยกตามราย ดา นและหัวขอการประเมนิ ตา งๆ สามารถสรุปผลขอมูลได ดงั น้ี

สรปุ ผลการดำเนินงานจดั การเรียนรู หลักสตู ร “เสรมิ สรางสมรรถนะวทิ ยากรการศกึ ษาตอ เนอื่ งดา นอาชพี ”

11

1. ดา นการอบรม

พบวา ผูท่ีเขารวมโครงการมีความพึงพอใจตอการเรียนรูหลักสูตรเสริมสรางสมรรถนะวิทยากร
การศึกษาตอเนื่องดานอาชีพโดยรวมอยูในเกณฑประเมินระดับดี คิดเปนรอยละ 88.40 ซึ่งมีคาเฉล่ีย
เทา กบั 4.42 และเมอ่ื แยกตามหัวขอ การประเมนิ พบวา

1.1 เนื้อหาในการฝกอบรมตรงกับวตั ถปุ ระสงค ผูเขารวมอบรมมคี วามพงึ พอใจอยูในเกณฑการประเมิน
ระดับดีมาก คิดเปนรอยละ 90.57 ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากบั 4.53 โดยแยกตามระดับความพึงพอใจในแตละระดับได
ดงั นี้
- ระดับดมี าก คดิ เปนรอยละ 55.11
- ระดบั ดี คิดเปน รอยละ 42.61
- ระดบั ปานกลาง คดิ เปน รอยละ 2.27
- ระดับนอย คิดเปน รอ ยละ 0
- ระดับนอ ยท่สี ดุ คิดเปนรอ ยละ 0

1.2 ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม ผูเขารวมอบรมมีความพึงพอใจอยูในเกณฑการประเมิน
ระดับดี คิดเปน รอ ยละ 86.59 ซึ่งมีคา เฉล่ยี เทา กับ 4.33 โดยแยกตามระดับความพงึ พอใจในแตละระดับได ดงั นี้
- ระดับดมี าก คดิ เปนรอ ยละ 40.91
- ระดบั ดี คดิ เปนรอ ยละ 50.70
- ระดับปานกลาง คิดเปนรอ ยละ 6.82
- ระดบั นอ ย คิดเปน รอยละ 0057
- ระดับนอ ยทส่ี ุด คดิ เปน รอ ยละ 0

1.3 รูปแบบและวิธีการอบรมมีความเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน ผูเขารวมอบรมมีความพึงพอใจ
อยูใ นเกณฑการประเมินระดับดี คดิ เปน รอ ยละ 89.66 ซึง่ มคี าเฉลี่ยเทากับ 4.48 โดยแยกตามระดบั ความพงึ พอใจ
ในแตล ะระดบั ได ดงั น้ี
- ระดับดีมาก คดิ เปน รอยละ 54.55
- ระดบั ดี คดิ เปน รอ ยละ 39.20
- ระดบั ปานกลาง คิดเปน รอ ยละ 6.25
- ระดับนอย คดิ เปน รอ ยละ 0
- ระดับนอ ยท่ีสดุ คิดเปนรอ ยละ 0

1.4 คุณภาพของเอกสารประกอบการอบรม ผูเขารวมอบรมมีความพึงพอใจอยูในเกณฑการประเมิน
ระดบั ดี คิดเปนรอ ยละ 88.52 ซ่งึ มีคา เฉล่ยี เทากบั 4.43 โดยแยกตามระดบั ความพงึ พอใจในแตละระดับได ดังนี้
- ระดบั ดีมาก คิดเปนรอยละ 48.86
- ระดบั ดี คดิ เปนรอยละ 44.89
- ระดับปานกลาง คดิ เปน รอ ยละ 6.25
- ระดบั นอ ย คดิ เปนรอยละ 0
- ระดบั นอยทสี่ ุด คิดเปน รอ ยละ 0

สรุปผลการดำเนินงานจัดการเรยี นรู หลกั สูตร “เสรมิ สรางสมรรถนะวทิ ยากรการศกึ ษาตอเนื่องดานอาชพี ”

12

1.5 หลกั สตู รเอือ้ อำนวยตอการเรยี นรแู ละพัฒนาความสามารถของทา น ผูเขา รวมอบรมมคี วามพงึ พอใจอยู
ในเกณฑการประเมนิ ระดบั ดี คดิ เปน รอยละ 88.41 ซึ่งมคี า เฉลย่ี เทา กบั 4.42 โดยแยกตามระดับความพึงพอใจใน
แตละระดบั ได ดังน้ี
- ระดบั ดมี าก คิดเปน รอ ยละ 47.73
- ระดับดี คิดเปนรอ ยละ 47.16
- ระดับปานกลาง คิดเปน รอยละ 4.55
- ระดบั นอ ย คดิ เปน รอ ยละ 0.57
- ระดบั นอ ยที่สุด คิดเปนรอ ยละ 0

1.6 ทานสามารถนำสิ่งที่ไดรับจากการอบรมนี้ไปใชในการปฏิบัติงาน ผูเขารวมอบรมมีความพึงพอใจ
อยูในเกณฑการประเมินระดับดีมาก คิดเปนรอยละ 90.11 ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.51 โดยแยกตามระดับ
ความพึงพอใจในแตละระดบั ได ดงั นี้
- ระดบั ดีมาก คดิ เปน รอ ยละ 54.55
- ระดบั ดี คดิ เปน รอ ยละ 41.48
- ระดับปานกลาง คดิ เปนรอ ยละ 3.98
- ระดับนอย คิดเปน รอ ยละ 0
- ระดับนอ ยที่สดุ คิดเปนรอ ยละ 0

1.7 ทานตองการใหปรับเนื้อหาสวนใหนในการอบรม ผูเขารวมอบรมมีความพึงพอใจอยูในเกณฑ
การประเมินระดับดี คิดเปนรอยละ 78.41 ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.92 โดยแยกตามระดับความพึงพอใจในแตละ
ระดบั ได ดงั น้ี
- ระดับดมี าก คิดเปนรอยละ 34.09
- ระดับดี คดิ เปน รอ ยละ 38.64
- ระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 17.61
- ระดับนอย คดิ เปน รอยละ 4.55
- ระดับนอยทส่ี ุด คิดเปน รอ ยละ 5.11

2. ดานวิทยากร
พบวา ผทู ี่เขารวมโครงการมคี วามพงึ พอใจตอ การเรียนรฯู โดยรวมอยูในเกณฑประเมินระดับ ดี

คดิ เปนรอยละ 89.14 ซงึ่ มคี า เฉลี่ยเทา กบั 4.46 และเมือ่ แยกตามหวั ขอการประเมิน พบวา

2.1 ความสามารถในการถายทอด/สื่อสาร/ความเขาใจ ผูเขารวมอบรมมีความพึงพอใจอยูในเกณฑ
การประเมนิ ระดับดี คิดเปนรอยละ 89.43 ซึ่งมีคาเฉล่ียเทากับ 4.47 โดยแยกตามระดับความพงึ พอใจในแตล ะ
ระดับได ดังนี้
- ระดับดมี าก คดิ เปนรอยละ 48.86
- ระดับดี คิดเปนรอยละ 49.43
- ระดับปานกลาง คิดเปน รอ ยละ 1.70
- ระดับนอย คิดเปน รอยละ 0

สรปุ ผลการดำเนนิ งานจัดการเรยี นรู หลักสูตร “เสริมสรางสมรรถนะวทิ ยากรการศกึ ษาตอ เนื่องดานอาชีพ”

13

- ระดบั นอ ยที่สดุ คดิ เปนรอ ยละ 0

2.2 การเรียงลำดับบรรยายเนื้อหาไดครบถวน ผูเขารว มอบรมมีความพึงพอใจอยูในเกณฑการประเมนิ
ระดบั ดี คดิ เปน รอยละ 89.09 ซ่ึงมีคา เฉล่ยี เทา กับ 4.45 โดยแยกตามระดบั ความพงึ พอใจในแตล ะระดบั ได ดังนี้
- ระดับดมี าก คดิ เปนรอยละ 50.00
- ระดับดี คดิ เปน รอยละ 45.45
- ระดับปานกลาง คดิ เปน รอ ยละ 4.55
- ระดบั นอ ย คดิ เปนรอ ยละ 0
- ระดับนอ ยทสี่ ุด คิดเปน รอยละ 0

2.3 การเปดโอกาสใหซักถามและแสดงความคิดเห็น ผูเขารวมอบรมมีความพึงพอใจอยูในเกณฑการ
ประเมนิ ระดบั ดีมาก คิดเปนรอยละ 90.91 ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.55 โดยแยกตามระดับความพึงพอใจในแตล ะ
ระดบั ได ดังน้ี
- ระดับดีมาก คิดเปนรอยละ 56.82
- ระดับดี คิดเปนรอ ยละ 40.91
- ระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 2.27
- ระดับนอย คดิ เปน รอ ยละ 0
- ระดับนอ ยที่สดุ คดิ เปนรอ ยละ 0

2.4 การเปดโอกาสใหซักถามและแสดงความคิดเห็น ผูเขารวมอบรมมีความพึงพอใจอยูในเกณฑการ
ประเมินระดบั ดี คดิ เปนรอยละ 89.77 ซง่ึ มีคา เฉล่ียเทา กบั 4.49 โดยแยกตามระดบั ความพงึ พอใจในแตล ะระดบั ได
ดงั นี้
- ระดบั ดมี าก คิดเปน รอ ยละ 51.70
- ระดบั ดี คดิ เปนรอยละ 45.45
- ระดบั ปานกลาง คิดเปน รอ ยละ 2.84
- ระดับนอ ย คดิ เปนรอ ยละ 0
- ระดบั นอ ยทีส่ ดุ คิดเปน รอยละ 0

2.5 ใชเ วลาเหมาะสมมาก/นอย เพียงใด ผเู ขา รว มอบรมมีความพงึ พอใจอยูในเกณฑก ารประเมินระดับดี
คดิ เปนรอ ยละ 86.48 ซึ่งมีคา เฉลีย่ เทากับ 4.32 โดยแยกตามระดบั ความพึงพอใจในแตละระดับได ดงั น้ี
- ระดบั ดีมาก คิดเปน รอยละ 42.61
- ระดับดี คิดเปนรอ ยละ 48.30
- ระดบั ปานกลาง คดิ เปนรอ ยละ 7.95
- ระดับนอย คิดเปน รอยละ 1.14
- ระดบั นอ ยทีส่ ดุ คิดเปนรอยละ 0

สรปุ ผลการดำเนินงานจัดการเรียนรู หลักสตู ร “เสรมิ สรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศึกษาตอ เนื่องดา นอาชีพ”

14

3. ดานความรูความเขาใจท่ีไดรับจากการอบรม

พบวา ผูทีเ่ ขารว มโครงการมีความพึงพอใจตอการเรียนรูหลกั สูตรเสริมสรา งสมรรถนะวิทยากรการศกึ ษา
ตอเนื่องดานอาชีพ โดยรวมอยูในเกณฑประเมินระดับดี คิดเปนรอยละ 84.24 ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.21
และเมื่อแยกตามหวั ขอการประเมิน พบวา

3.1 ความรูกอนฝกอบรม ผูเขารวมอบรมมีความรูความเขาใจกอนฝกอบรมอยูในเกณฑการประเมิน
ระดับดี คดิ เปนรอ ยละ 75.45 ซง่ึ มคี า เฉลยี่ เทา กับ 3.77 โดยแยกตามระดบั ความพึงพอใจในแตล ะระดบั ได ดงั นี้
- ระดับดีมาก คิดเปนรอ ยละ 25.00
- ระดับดี คิดเปนรอยละ 36.93
- ระดับปานกลาง คิดเปนรอ ยละ 28.98
- ระดับนอ ย คิดเปน รอ ยละ 8.52
- ระดับนอ ยทส่ี ุด คิดเปน รอ ยละ 0.57

3.2 ความรูหลังการฝกอบรม ผูเขารวมอบรมมีความรูความเขาใจหลังการฝกอบรม อยูในเกณฑ
การประเมินระดับดี คิดเปนรอยละ 87.73 ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.39 โดยแยกตามระดับความพึงพอใจในแตละ
ระดบั ได ดงั น้ี
- ระดับดมี าก คิดเปน รอ ยละ 43.75
- ระดบั ดี คดิ เปนรอยละ 51.70
- ระดับปานกลาง คิดเปนรอ ยละ 3.98
- ระดบั นอย คิดเปนรอ ยละ 0.57
- ระดับนอ ยที่สุด คิดเปน รอ ยละ 0

3.3 ระดบั ความพึงพอใจตอหลกั สูตรในภาพรวม ผเู ขารว มอบรมมคี วามพงึ พอใจตอหลกั สูตรในภาพรวม
อยใู นเกณฑก ารประเมนิ ระดับดี คดิ เปนรอยละ 89.55 ซึ่งมีคาเฉลยี่ เทากบั 4.48 โดยแยกตามระดบั ความพึงพอใจ
ในแตล ะระดบั ได ดังน้ี
- ระดับดีมาก คดิ เปนรอยละ 51.14
- ระดบั ดี คิดเปนรอ ยละ 45.45
- ระดับปานกลาง คดิ เปนรอยละ 3.41
- ระดับนอ ย คิดเปนรอยละ 0
- ระดบั นอ ยท่สี ุด คิดเปนรอ ยละ 0

สรุปผลการดำเนินงานจัดการเรยี นรู หลกั สูตร “เสริมสรางสมรรถนะวทิ ยากรการศกึ ษาตอ เนือ่ งดา นอาชพี ”

15
ตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม

พบวาผเู ขา รวมการอบรมมีขอ เสนอแนะตอการจดั อบรม ดังน้ี
- อยากใหแ บบทดสอบเปนแบบกาถกู ผดิ ในการอบรมแบบออนไลน เพราะผูเ รียนไมมีเครอื่ งมอื
หรืออปุ กรณใ นการพิมพเอกสารประกอบการเรยี น
- อยากใหม กี ารยกตวั อยา งเพมิ่ เติมเพือ่ ใหสามารถเห็นภาพทีช่ ดั เจนและเขาใจไดง า ยขึน้
- อยากใหม ีการจัดฝก อบรมณออนไลนแบบน้อี ยา งตอเนื่อง
- ควรจัดอบรมแบบ ปกติ และมีการสอนเขียนปฏิบัติจริง เพื่อใหเกิดความรูและความเขาใจไป
ในแนวทางเดียวกัน
- อยากใหอบรมสมั มนาแบบปฎิบัตจิ รงิ
- ควรมีการอบรมแบบปกตเิ พราะจะไดมีการฝก ปฏิบัติจรงิ เนอ่ื งจากการอบรมออนไลนผูท ่มี ภี าระ
งานไมไดเ ขารว มอบรมตอ เน่ือง
ปญ หาและอุปสรรค
1. ปญหาทีพ่ บขณะดำเนินการจัดการเรียนการสอน คอื สัญญาณอินเทอรเนต็ ไมเ สถยี ร
2. การไมช ำนาญในการใชเ ทคโนโลยขี องผูเขารับการอบรมในการทำกิจกรรมทา ยรายวิชา
3. ผเู รียนบางทา นไมมี G-mail ทำใหม ีปญหาในการเขาระบบ และการทำแบบทดสอบใน Google from
4.ในระหวางเรียนผูเรียนปดกลอง ทำใหระหวางการจัดการเรียนรู การสื่อสาร การโตตอบระหวางครู
กับผูเ รยี น ไมเห็นหนา กนั
5. ผเู รียนบางคน ไมส ามารถเขา ชัน้ เรยี นออนไลน ไดอ ยา งตอ เนอ่ื ง
แนวทางแกไข
ครูประจำกลมุ ดำเนินการแกไ ขปญหา
1. ประสานผูเกย่ี วของตรวจสอบสญั ญาณอินเทอรเนต็ วา มปี ญหามาจากสาเหตใุ ด
2. ใชสัญญาณมือถือของครูผูส อนแตล ะทา น
3. สงภาพคำถามทายรายวิชาใหผเู ขา รบั การอบรมและใหตอบคำถามในกระดาษเปลาโดยใช
วิธีการสง งานดวยการถายภาพสงใหครปู ระจำกลุม รวบรวมสง ครปู ระจำรายวิชาตรวจใหค ะแนน
4. สง แบบทดสอบทเ่ี ปน File เอกสารใหผ เู รยี นทำ และสง กลับมาใหครูผูสอน เพื่อตรวจใหค ะแนน
5. แจงใหผูเรียนทราบ และหากิจกรรมท่ีผูเรียนมีสวนรว มในชั้นเรียน และกระตุนดว ยการใหผูเรียนตอบ
คำถาม และแสดงความคิดเหน็

สรุปผลการดำเนินงานจดั การเรียนรู หลกั สตู ร “เสริมสรา งสมรรถนะวทิ ยากรการศกึ ษาตอ เนือ่ งดานอาชพี ”



54 3

1.1 55.11 97 485 42.61 75 300 2.27 4 12.00 0.

1.2 40.91 72 360 51.70 91 364 6.82 12 36.00 0

1.3 54.55 96 480 39.20 69 276 6.25 11 33.00 0.

1.4 48.86 86 430 44.89 79 316 6.25 11 33.00 0.

1.5 47.73 84 420 47.16 83 332 4.55 8 24.00 0

1.6 54.55 96 480 41.48 73 292 3.98 7 21.00 0.

1.7 34.09 60 300 38.64 68 272 17.61 31 93.00 4.

47.97 591 2955 43.67 538 2152 6.82 84 252.00 0

2.1 48.86 86 430 49.43 87 348 1.70 3 9.00 0.

2.2 50.00 88 440 45.45 80 320 4.55 8 24.00 0.

2.3 56.82 100 500 40.91 72 288 2.27 4 12.00 0.

2.4 51.70 91 455 45.45 80 320 2.84 5 15.00 0.

2.5 42.61 75 375 48.30 85 340 7.95 14 42.00 1

50.00 440 2200 45.91 404 1616 3.86 34 102.00 0

3.1 25.00 44 220 36.93 65 260 28.98 51 153.00 8

3.2 43.75 77 385 51.70 91 364 3.98 7 21.00 0

3.3 51.14 90 450 45.45 80 320 3.41 6 18.00 0.

39.96 211 1055 44.70 236 944 12.12 64 192.00 3.

3 47.05 1,242 6,210 44.62 1178 4,712 6.89 182 546.00 1.

. 0 176 100 797.00 4.53 90.57
0 176 100 762.00 4.33 86.59
21 0 176 100 789.00 4.48 89.66
.00 0 0.00 0.00 0 0 176 100 779.00 4.43 88.52
0.57 1 2.00 0.00 0 0 176 100 778.00 4.42 88.41
.00 0 0.00 0.00 0 0 176 100 793.00 4.51 90.11
.00 0 0.00 0.00 0 9 176 100 690.00 3.92 78.41
0.57 1 2.00 0.00 0 9 1,232 100 5388.00 4.37 87.47
.00 0 0.00 0.00 0 0 176 100 787.00 4.47 89.43
.55 8 16.00 5.11 9 0 176 100 784.00 4.45 89.09
0.81 10 20.00 0.73 9 0 176 100 800.00 4.55 90.91
.00 0 0.00 0.00 0 0 176 100 790.00 4.49 89.77
.00 0 0.00 0.00 0 0 176 100 761.00 4.32 86.48
.00 0 0.00 0.00 0 0 880 100 3922.00 4.46 89.14
.00 0 0.00 0.00 0 1 176 100 664.00 3.77 75.45
1.14 2 4.00 0.00 0 0 176 100 772.00 4.39 87.73
0.23 2 4.00 0.00 0 0 176 100 788.00 4.48 89.55
8.52 15 30.00 0.57 1 1 528 100 2224.00 4.21 84.24
0.57 1 2.00 0.00 0 10 2,640 100 11534.00 4.369 87.38
.00 0 0.00 0.00 0
.03 16 32.00 0.19 1
.06 28 56.00 0.38 10



สรุปขอ้ มูลกำรดำเนินงำน

หลักสูตรเสริมสร้ำงสมรรถนะวิทยำกรกำรศกึ ษำต่อเนื่องด้ำนอำชีพ
สถำบัน กศน.ภำคกลำง ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

ที่ ชื่อครูประจำกลุ่ม กลุ่มท่ี จำนวนผู้เรียน วันท่ีดำเนินกำร ผู้จบหลักสูตร

1 นางสาวศิวพร ยศบรรดาศักดิ์ 1 14 9 - 11 มีนาคม 2565 14

2 26 23 - 25 มีนาคม 2565 26

2 นางสาวปิยะพร ทองสุข 3 19 20 - 22 เมษายน 2565 17

5 17 10 -12 พฤษภาคม 2565 16

3 นางสาวอรุณโรจน์ ทองงาม 4 29 27 - 29 เมษายน 2565 29

7 7 25 - 27 พฤษภาคม 2565 7

4 นางสาวญาณภัทร รีวรรณ 6 21 10 -12 พฤษภาคม 2565 21

10 21 15 – 17 มิถุนายน 2565 17

5 นางสาวกาญจนาวดี หงษ์ทอง 8 19 30 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2565 19

นางสาวกาญจนาวดี หงษ์ทอง 9 23 8 - 10 มิถุนายน 2565 23

6 นางสาวอารีญา เทศยิ้ม 11 21 22 – 24 มิถุนายน 2565 21

รวมผู้เรียนทงั้ หมด 217 รวมผู้จบหลักสูตร 210





















=E-LE6(o-N6r-=E i F = cC
q (C-
'F 5o= F+
Erg:I - < . h ocP
qd o g
134toLEo\==tP )) JD
e
?tr" F.F
(G6
J ilr!P rJ (-
= -=d(D (- G
5 !'E))i-:oL lCro E
C tG
d :F
E CT
tro (-
pr, ))d-ceo c (d-)_r
uo \EG\ n=ir). rDe
((--
G la(G-7
-{cFa a
egJ < =D
tGtdrroie F o7
-
lro (c
lro )8"

IGt-

.F otd7 -I
5.8
(lIEroGt=-{
e
IEE,c.E: -
G C(-

>b- e C e) ))

-s e G(- 6 c.dDEr = ? r(6
d rqoe .dG(E-
co @
ra a IE lr" \: : 6
dc! =) ca CCA lrD
eE E (G lc=J (-
(4=q, F lG r ep =u7g treb= ?tr" 6 \\ tpr"
l(rer iro a G(-T
G- tro CP C.6"- (GtrD t>p) (- c(o- G(- E
C p6 ' trD =
(6 |rr @ lro (c=" ff D
(Ec' (EcD dl((D-- (Fc-! G(c-!
G )) E (- F a7 CJ =(- i(dc-7 c(-! lra i/!e
(;D- (cD- tr" 6D 6a(-7
7a(- ic ro G
c(c-! (- (qF-
d7 Gar tc Ic C- (G
I(oG7- (- tG o(7- ((=E-G
a o(-7 (c-!
(-
a
= == =
-[F I(oG-7
,E -dCFJ

OCG d7

(G

r\oo (lr-.
Nro (G6

DC= (Gd

?e

(lrD
(G

-G
(-

-E." 4

(A= E=CFa?E)
lu-(<
%)3b\r-o== .d:_
E
or.rr c \.I:,,h"eI: e)
F=
EE==euoe ^ '/uV:\;i:idzGk-ca "h=:,
.5Fru€
-. ? -1CFJ=
(di

FFR B

l,r=Ee.t''EEh-rr R€G Z (G

(-

(G

,qtH=XkFr4cPOF-aEFGL.Ec..Nori-rGsEh1StE?=E iUr g

[rot FC

r=Dq o

tCro o\ o\ O -O O o O o\ o\ O o o. o O O O O O
C
td" (c6 d

+ 9lta:-Fk dc" rG lr3 F

e\ a C
aJ dc! c
)) -(! Ca o

=-< d a IC o o o O O Os{ o o o o o O Oo
Gla -
)t , o\ o\ O O H
1"t(r )FC

nI-quG(! =hd3 o o. o O o O o\ @ o\ o\ o

,EG.NE -nlI"e o o o. o o O O o

c!
G

tro 'trS G 1CFJ
- -(5
E,_A- ->) ((G- l tro (- EG FD 66 E rp @Fa; (-
cIG (<? ,gc a F
-dC(6G E G G ='lrD G =) (IdE
FbF riI a ?(GFrp G d7 )D= = G
--(cFo E(e(--
#F(G (- ,cFe d=cr (- c! I6 C ICA (- ceo e (- IF(- e F p D))
r.TF (l6rr IG I(G- aI/r rs =)
ra NG CtrD ((-- ,p F ?= (G= G G ((-- C (-
G (J I(r6o- =) )= ic D
(ogcaea (- TG' (- ((-- d7 (- IG ((J ((-- llrr (- )66 6(-
= d= 6 G F ce D G (G
I(lc/D! il )ro (- F lG((--) (- (d (- = =
tr" ?;3 a d=c) CP ,(G G(- I6 (((c--'
)6e(6- F = trD 6 (- a lc t(rD-
F F tcCcD- (G (- )CE C(-- EX lro
(- (- (=;o- C- (c? ca D6(-r; G
CJ ,c! G G(D- D=
"l a (- G (- (- a
(- (- ( (- = (- C- (-
a
== .l F a a

o)oB((6-
N co sf Lr) \o F.- @ o\ O N cl') <l' Lr) \o It*. 00 N

- -rCr)-5lr! ,-=t n
(-
F{du -L
Ec- -(=a- -;(a3- a -E(a- 1
)n(- E?=,ad -=(- -(=- -3(- -(a- .E E (- (- (- (- .B(- -EC- -E(- -E(-
F E -E(-
l)/)oroacc -ts

\lro) A.
s \a $l/o
Nro S cO Oul LN rOl c{) \$o r.- NLo O LN $N l.r) sl o, \o Erot Lr) N$ O t-*
c{) F.- f.-
=$9;; d + +r-o Lr) Ln LO
N
F oo t.- f..- o\ o<.i to-\ \oC\i $o\ <o\i f..- N \oo\ co.\i o\ \oo\ oO\ Ca; No\ \oo\
CT\
dC @ @

G

v (=e ea.j F oq oq Oo qO oo Oo oo odo oo oO o O<> qo oo ood oo oq ood OOd ood
AIG d oi
.")a=F\o'.d[FSr i-! o\ @ oc; 00 oCJ oci oc; oci o\ o\ oci oci @
@roc
R
E4f
nroa ^.r
e-F 16
EFFTRE qo oq s oq a- oq qqo qo qoo qo o ot-tdrci|\-o..coOO \t.o* t\-o- co et) \f-q.- ({) cl")
G--@I dIG \o N N O c-l
ca) N .C, cr1 @ co
O f- o\ c{ H
"FU \o N ON oi O @ NO

C\l

"-
IiFtr)A
euoe -!a(9LrN-: PseeC P4
3rE-"(5> oc{") @ \o f.* Lr) @ f-- \+ \o \o <N: Nst
A= tz .Ee>ct O,1 t-: cO <- NoCJ Lr) oq Lr) Nocj Ef @N oo \o N f-- d
F'rA q \ qe.) o\ oNi c..l ra) N'.rj oo N |t--
+ d (+\ + s dN@ N@ N oNci Lr) c\l Noci
\o N N
N

iF E(- \ss (-
qFC CG
oc;, \,8,8\d\=="
G(q-
))

E=4J o ?
lcr!"-
Ct/o ,Q-.\.\::F:;t:i::.E(a\-r3S5P E' Ni 'E Ec
Y{)o o. o\ o o\ O- \\\\\i\\.)-SrFJ -=
Ce (C6 o\ o\ o\ -7cFa.d v
o o\ o G (-
lro
clro G
t(ce = iE

o l(ro-
C
pti iG D

rSc c!

.q (-

o o o\ o\ o\ o\ o -?(dF -D o(a

eu"e ,(G )8"

ccC.

=

Fir'J

r(c (- =;; ((c- (c b==" r(6
6 ?q
(c rF;p?; e d-(cE-
eI
(trD- 6
'Ie-I@F
r=p fFa e) 1 NF CD ro
l/c
(- D )C irJ (Gq 6(- E;t7r)D
GG
ca EtrD S rY
c(- )=c )a C-
llE((E-- c(-. 6 ir.J
G lC (G=' lrD u!"
G F
,.TF (- (- ((((=E--- c
F (c=-!"
=
(c

cF- (- C- (-
F
=

-d;6l N Nc! NcA rNt N'r) \o -(CFJ I(aG-7
Oc(G- N
o7

(G =

FcaNcrr-g E (3=- ;(3r- -3C- F -3(- =(- (c-r6!
-= (?Ge{
(- 'u=)-;.-or\.rd(.o-:*0 -Bi.
(lrD
)n

F

a-

S oN\ \o IG
+ q d +=;it/o cr) lJ.t @ cr) q
c.) co co -IG
F-
\:f (-
c=8 o\ c.i |.'.- F* o\
co oo a7

E"F
CiE07FbA a
eerJ = oo o qO qO <q) oo -iFlub-(<

i-! ocj O. o\ o\ o. oi

)tcR x.i h\4 i,Y-
,/i
EEeEe o d Ed'-
,-F: ,R4 -
refo;o-i = "J oo osO qo +\to- doo
\f-o- '/lt-vl{)r@p:i:(I-Ii-G or=ple
B N<) N
+

o7

(- (G
EF
e4=-74
ooN. c{") o\o\ @ c{)
.idEc 3 6 d \N N c.i NCa; F-- Nf- c.)
c.) e

(

,FF,.BPNEE rsu (c
C C

!--r= ;D o O o O O O O o o O o LO O o O o rr) o o o b5 Gcq-
-
E"C R E (- e F= a

,= 'E nE ,= Ce (C6 .dGD Ec

ii=J7FIG)f- L !.D G- = C_

C l,/a G

="akP.S CCP O o O O O O -O O O O O ro o o o O ro o O O (- G
i3 n)) (-
d-lGr-iC lro .E H H H ro
d .c! G(a-
E,= O l(- (-
oFE'6
co eC o\ o\ o\ o\ o. o, o\ o\ o\ o\ o\ o\ o\ o\ o\ o o\ O o )B;

G

uE oE
6Ytr" '(c"
C "p (- e
lce b=
,- c"E (6 b l/J' G (C-
'EF=S -c! d.rc;- -d=F ,IrJ ,G ,6 (e (eF t6r" .)?)
ra G(- = )= (-
(DrFqa (G -d6C ,= o7 ? :l r6D eF I6 lrD"
I(|err dG7 ,lG o7
G -F CP e= ro a c. ,II lEFr! (- S (- Fe t-
(=-l ? tFr" @F
I )lE 6 .7 S r(6- d(7 (G
- , "v?qrE( lro )G (- .dCE tCro .>: rD (-
-7-CJ D)) NF r=p G (F= (==-; (- tlcea G(- FCJ (C07 (Gca -J6r(D- t6 q(=- F;3t
S'(- (o7- r= )(6ro- =ca 6a ,6 IC(-- eF\). d'
E(- n6 ro lrD -l?ro ( lro ((-- trD rG= G (- trD pa a(- ((-- I(G((---
C = (- CJ ll; trD (- l-=a ((? iG G >- ob
((r(=(ED-- c! (c-. (- (C-. = (C- C- GCc! (- (- -7-@ ((,7(-;G ro"
? LiF(- lro -dc@P G ee lc (- (Ec'
G lC (- lrD (- E D (- (G
r(-a Go7 C(-- ICO D
c- G (-
(EEG Ia(c- (- (- c-
ssi(-
= == = ==
-(F ,N cr) st LN \o |t,* oo o\ O
N c{) st LO \o f-- @ o\
)(=a-

i)r)"-==5^,4 3Cp n n a(- a(- t(rD-
l(/-' --.t-\ (- (6G
r6taro?) -(3- (-6?{
(- -E(- -;3 (- -E(- (- --Ee(- (- -E(- (- (a- --;(e<- -(3- -=3 -(3a-

e
a (lr!

lL\roO) \- o oc! :3 oO\ o\ o\ @ \o t-- oO\ o\ O$ orr\ col\) G
N o\ o, o\ @ cr) c{') c{') @ o\ co{\) -G
=cJ))Ogco @ @ @ eA @
@ @ (-

q= ro= -4" *
Cn a.027
EFE
#)b- (- :l
AL
EP - o@ oo @ @ @ @ @ @ @ @ @@@@ Vi F@ @rr @
03" i u- 0<,

\o d-grcO E

:TE N rlo- : d d'

@L6::F-ac. llr"? Q Lr) g Lr) @ o\ t.- ON o\ NO o(\ .tvzh:t\s;:ilGv(c@--"" ^=-

e FFocaE>c )D o\ o\ o\ o\ t-- F-- t.* -n(FJJ
r C\l
I

=(-(G'sJ (c
ro
De-
OEo'5FHN
'r'5?blr.==(- D a
ca= oro ro r) (lr\) lr)
45 E = N NLn NLn Lr) Lr) NLn LO LNn N LO NLn LO LO Lr)
))i6-o s N N O
N N N N N c\l C!

(-

hrc N E F o
r5
5 P,F(i=ElFr=EG'rFN,5Eq IeCCF e
O OO OOoOoOoOOoOoOOOO
IF (c6

t/o 6
G
(Gc =
FE33dod dF
o
etroF;^ O @ O @ @ @ @ co @ @ oo @ @ @ O @ @ @ @ @
IqGc ), O @ @ @ @ @ @ @ @ oo @ @ @ @ O @ @ oo @ @
ni- (eF
IG= h

agF='br :ct

Er= o

Cc=.

lG, -6
EC(G G

FbF

(G 6

tr

Gl )Cg
ra rG "t-?lrE-
e (-
ca lr" e @ =) D
rg'q,. (6 x((G-
Ce(- "p ;D -ceo e pCP IA(co- (=-a Ic=c- -;De (-
Fe 0co7
ICA ()c! c" IUa F
lCJ FCJ
IG C 07 ((clre"-" co ,(F- )- rEer 0G6 E (1GA (- (17- G ,Ge'
G );SD G .FtrE
i(lcroJ I a rF r==) Fe@ (- (- G lG ((6? ,IG 1C. FG e= @ Ce G))
d= rCd :f ((G(i(r--o c(-! .6=.
-ilcpo x6 )6 G' 6 (G D G F6 (- 1tn6C ?ro
)-CP (C(O-- CaJ @ G
?I lrD t=(e- 7 G (( lEro r(- rD=q (-
F (- D (=- rGF
((G-- =p) IC6J G )G (-
c=(-" (F- )ce D ((C-- Fa c((-- )a = Gtro
GD (- G c! lro
(C-o llrD ?G rG
(- (n- G(d7- ca C- C
F (-
G
(- (- (- (n- (- (- (-
=F F F F C- (- (- (-
;3 =
'IF = = = F

rd.P6 N c.) \j- ro \o t-- @ o\ O N c.) sl Lr) \o f.- @ o\ NO

o(G

Ct/o (;Ar C=
ta
-;=< F F
- - - - - - -)E ?lr" -Ca
-;5 uDa! -C3 .B -;C3 C -B -3C -=C= -3C -43 -BC C -BC -3= -Ca -;< -C==

tC/o -=B
G

F e= ;3
e c) o. \o sl
rLN\ooO str. @ dl-.l- @ @ oo I..* O oL\l |t.* o. c() @ o\ oo
,l o q \ q q o;3a) oo co Lr) oq @
d G No, La) f.- oq
4 + + ri dqaa
(d - oo fo.-\ l.r) 'f--.-- cri o\ \o o\ @ Oo\ o. \o Ln c.i \o @ f-* Ca; LO O
F @ @ @ o\
@ @ oo @ @ @ @
(e
- ;r oF
o? Fe o NO <N) No o o o ON oN o(\ o ON o NO ON ON oN
d-IeG 6aa N N N
N N N N N N
o
N

'')a=b\o'-i[lSFa ;l eC == O o ot- oo qo o +Oo OO oO o Odl o C) o O() qo o o+o qo Oo
ON df-- o\ c.) 6f-- O+
@tf) c Ic6co c" )i c.l \o $ NO (O\ .:r c{) co O. \o LO a:f
F G G o\
;Fl 4)E= oi oi F.-
CG oN
"EB G
t-

,E€efoa e!Lgr|Nr)g;

rF5TAA-=5 s sb
(eFpD- F3 Lr) @ \f.o* @ oo o\ @ f.- Lr) oN\ \o sr l.- Oo\ c.) $ o' @ rr) $
e)a N co f-'- ,rj \o NO NO @ N<t N
o i q "l qcepoN Lr) f.-- \o N ENT N N LO ca) @ Ca; c.i
+ d ol)6lro N N
Nt.- N Nca; N cN.i

)qkE6to-rF\Gj *lr! a IF CO

Eq! iuie qCF

lHrcF Nr ic F :\g

E N,5oH rq o -(F

:dP,,#P)^-L- -aL, i==a"a'ud-CFZ)-! lCr3 e oOOoooOOO G (-

q e (6 co oo @ @ @ @ @ @ @ (c6

\b tt,/.! o o@ @ @ O co @ @ "6q
G(" = t?n --P
IC o
Je< )cd;5gcts
FrroPJi- t=rJ-Fdil-
pta e
1qot6- C f,&
:Fc C(-
5, ca-
ei- (eF o )) )o<@C-"
e
16= ?rco"
ogFs"rb C("

)I1cEFG5..roF-=(-G66" G
lrGr
:
el
i;iae(-
ra i,
ca E*rV[4,dr:,i-L::e:,c7,an?l)F=
16 ,.GC' (e- : iro- (5F
a o7 )Gc! ce lV=F)
(G )=c!) CA "E G((-- i
rd5 ctceaCF-eTE G
I(ucJ IG ec. c- (- i(a-
,e FCJ .@D
I 6P e((?- F = )SG .(dd
FCA(c 6 EnV-D lIl=Ero =: =,
'u@p IC (- .::l-oi(o-7qxrtG
on7F ) tro ir"
llrD ::C= rDa
Cd)co DF
cD 1((16-- I6{ F((-. =)trJ )((c=o--l )(CG -{cFa
(D- G
rTG (- +t
r(-
G GG
(- (- (- (-
=F= =F== (G

'IF N NN Nc.) \f Lr) \o f-- @ oN.
N N N N
-,E N

o(G

clC/o tFe =C
)e

- -lro
{ ?'Etilr Cl/o =r -;C< -r= -;r3 -EC -C3 -C3 -B=C
,! G
F
e q o otr.
\tro) TF cO Ln N\q t'- cO (") \\oo l.r) @
Nro sl- co
te @
d 4 s s +JG \o O
d oo @ @ c,'i 00 @ @
(aaI oo @ @ f.- @
c- @

Gl FCe p (-
-dIeG (6G
.'Era;.?3b\'o.1[SF= 4 NO NO oN <N) oN oN o (o\ (o\ d(-q{
J-
@lr)C it N ?e
:l
oNG s( trD
.HFF)AuE
p re F +oo o+o ood o +OO oq o tO- o+o -Et7
=)) +f..- (j F(-
ca LO f--
(t oG .cj e
I6G
F (Gl N )nE(-

C
G
F=
-e(o- s (o-+
3 "-q:.:.CFAPo7
iule _(!!drg-FrtNru| \-1(oL-:
drL

uF[rez: 5 \-q(5>
FDC7e= \o :.8
Lr) N\o N LO @ /,rUv*diE.it:i(i(=F-E-uF=:-
q qecpo)e cO N cNo co lr) ttr
+rtl6FG N @ N c{')
z N<i oci e;
b (oo ,r;
N

tdrqdG)ca!_ IT
CFv
qtrotboh\j ltt , i:tGoF,7 F"e

-"6F(-cFN=hs i=J (G

I ir"" ;Cl C

:-Y=Prl-r; CftO G raq o q! -ln (-
t7
FF
(=Aft! ErF=r 'i (- e o OOO o Ooo Oo O oO o O O O E
Ce .dGD
(c6 C
itrro!
E E'Fdi-a? K C G' F )=)
(-
P-F IcCe OooooOooOO o O O orr O IrJ G
H G
==(cecr"Catt/no (-
tGr,o Cc-
GI,'E- (ed p)) 'lqcJ- (tr-o
ogF!o'6 J
d.Gs aC(-

o (a-

a- o\ o\ o\ CT\ o. o\ o\ o. o\ o\ o\ o\ O o. o\ o\ o\ )=p

G

(gEe'[F e
(c-
6IFC .(G"
IGe oce
b= (c-'= r r(FlrD- luF)
-'Ec =g e a (F- d7 GE6 rt;G) xd ))
trj
d (c G (G t7 ?e ?
lrD eF CJ qlro" P
co G lro6" G e ,;3 U-J SVr F (aF u69
ra t/D "ae @F
I =(-=(- trD ((=G F IElr" @ 6 6" llCrD t6 \L- o7
=eJ e CJ (- c(-! (c' d.C3 ((c CJ
-1CFJ G'JccarJ 'cCaJ (ca G E(trD S
uq =r. 5 -,SE6 roq
i(lcrJo d=c.G JN (;D ) 6i(ar-! D )lk iE" G lvF=)' a 5\L(a::iii
(c-. =a ? ((-- (= (5a-;-rr e)
(-tc (- trD ,=e )b rF (o7- (- x= IrJ =J tr!
(- 0F ((-- ((6-- [c D (- =
(;63" cC-- =((-- ,CJ a(tJFr-o )) GG (- ((-- p=
= G (- (- trD G G- r=p
(- lDp (cD- ?(D- G (D-
(- a xe
= n iG IG (-
(- (-
(- da:ca la(G-7C IroP
a
= = = =
-1S q
N cr) ET Ln \o F-- @ o\ - N () sf lr) \o |.-
d-(p6- H (G

o(G

cF)()4=,E C ; -;(r- (-
)?6 -l)r" n (- -B(- -E(- (n- (a- -3r -3=(- -'Ee(- -(=- -=(- -(l- -(=- (6C
=3 (6{
i)r)D (lr-! --F=- (- -(a- -;c<- .E(-
C ?e
q(lro

ea -lG
o o\rtNfoo)
lar!:? I O Nr.- st O \to* (a-
AG
LO @ @ @|.- f.- f.- tl.-r) f.- f-- c.) @ _4_
f-- f-r @ |-- f.- |t- l-- cq((D- "4

qI-(FD- -

G

,)ts leE = -@ @ oo @ Lr) @ O @ @ s@l @ E=cF;)?E)
H
\o e)r O O @ co @ ii>r!"= .(=
'(F arG R
,\1rlu./brt ::. G G-
irS Ecr (
6Ln':.e-
-- p4r;rrr"a Q ioTG = o=L

e F",

oEdi7G'Sr r6(dGAF:c)) f.* |..- Lr) \o Lr) H Lo o Lr) O o. -?p

H

GN rC

ro
E-6 BE> \c,
DepFC=
o^, oF R oaJ=
b==(oeA o\ NN @ @ \o o. N |-- @ cO \o cr) cO Ir-{* cN>
r+
7'*I,n' 6C GC i 9-"rJo c

(-

\F \d Fa o o o o o o O o o ror o o\ o O o O O O -O o G
e
\=69oPF rtE!L H E=a E
(CE
"= trs'F-d{F9rr (- G- - (g_

-i::a r/" a-=C. G eC = t=r-j-F 6
o C-G
C 16 tr"
))
G O O o o O o o o O o\ (J O O O (J o o O O O
+r
IF?=j;alDcoiC"?<)r -eFaa CP o. o\ o\ o. o\ o\ o\ o\ o\ o\ o\ o\ o\ o, o\ o\ o\ o\ o\ o\ o\ rCo! lrD
tElr/ro L! .dCs
rC
o
(-u
e-
=D
GCD (-

E,$ iR"

q=

tL. "6
(eG \o
,c
oE oE
qr5c-(.4c"
{7 -Ge
(6e
G (- (C-
'(lrr
'96-lh b- !D oc?
,- tr -{6 tro E t=r" (6
iP F ca o7 (c (TG .C ?\))=
S lr" B
(cao (G r r rnDF(Cce 1F ((rr- E(Fe- o7 C C etrD =F
D ,= co @ CP r(GF-
r4=cJ G (-Fa p )G, CA IE : :(-rle l/D
(E= a d (0-7 IeF (- r! I6 oS7 a7 8ro @ (F
Ifr I ,(- (a Gc! rF rF -6 (G bin G ir"
e (;a(l- il =(- l-G F G cD- d (trco (- CJ
(co -{(pa F d, F llE(orD-7 r= =F e =) : ?U-
(cD- = '((-- G (- (IG lC OE 6" Fa (-
l(oc-7 lrD (- ((-- (- 1=
6 G.(7- D e a e (6c (c(6-" .D -rto
Fe t(rD- )=((G--) a Go(e-7 G((-- (- qA e
c(-" Fo(-7 9- e) F ((G G =) -6 Fe e
lG l0(C7- r(((!-- 0(7- a=(-
iro C((--A Fo(-7 .F =) )rr" (- (=-
(- dc(ao- G(0-7 (D@- C- u=
Io(G7- ic ((Fa(--; IG =F iG !(='-)
(07- (d-7 6-
(- (- (- G
a a F=a a
-nCFJ c-
-nF oN co sf Lr) \o f-- @ o\ -N cl') sf l.r) \o |t.- @ o\ N N o7 J
G
)(la-

^,4 3,IC6?\lrrr.-J5 -(a=- (a- -B(a- *;(3- :;r3 -B(- (- (=- (- -E(- -B(- -B(- -B(a- a '3c- -(E- (a- -EJ(- -B(- -E(- -(a- (-
-BC- (6C
sd(()6{
trD - -:-
?e
NLn @ f..- \o @ oLO! $t-- \to- @ cq oN\ oN\ oo\ $O |.- @ \cor)
LO c{') ( irb
q \ q q 9.4= cr') \|t-q $ cO
+ s s +r\oo .oo. G
t- t* l.r; o. c'; e.i -tac7
r{) @ @ f-- @
=;3ec) of- \ f- 6oci o. eoO\ Lt*r) oo @ cO f-- n* 00 f-r oar.; coa\; f.- ra
@
f--

N G;)oJ Co7 r=

d FIFcgra

Aq 1=FdC (- Frt o qO oq oO doO Oq q qo <q) oO Od a oo o <q) Oq Oq qo qo O o U: F/UAV04t9(t:.rkiir.:!:"Z=-lr'(="FCFJ
oi i:oTGlE
a'- O. o\ o\ oi @ o. o. o\ oi o\ oci ocJ o\ o\ o. o\ o. oi
=))
,l-r)JcFo \o dGO ,
oro::d-\te=F N
i=)
e q oq q + 9 + q oq 6 9 q +;r""OO O O OO O<)
ei) cO \|.q.- f.* cO \f-o- F-- F\o- cl|t.- N cdOl \Af-o- (cral f.- "r
ctl eO N NO "lSr!"
(-') N LO r{ @
. d ON LO r-- @ NO N NO
@ lr)
. ..5

d qEG -7-@;3

ar6 d7

c=o )) G

of=(-?(3E Lr) $ o\ \o No, O O O cf) o\ Lr) o. $ D rO{ @q 9cf)
DeC q \ q o d q q 9 e s q(\Lr)cNO \o F.- N rNo NCa;
..o jN f-- \o oq e(l N N C@\ ?r) N
cac N! N N
=3nrD;t)lE3P-rr@aarrIGFFc-ehNo L=d'_=d N $N N c{'') o\ @N Lr)
1,#6oc -oN.
,EEN-H=N=qF N
(SU
rF (_
(6

C
b-O"7 (G-

bH[c FNF- tE rg o -1@F F E;c3

C (G

5O=c*r=E R'E -l/o e oOooooo n
o o @ o t- r.- f-- d(p-
C o o F- co t- F.r f.-
4 (6C
P,qe-hPPaEo-q?" )t" E G
t/o
clro G
l(rD-
CA = (- C
IC o (D-
EErlr/oo> D
p!t aC_
ee
d.Ct (-
e.
li- L o (G- ,-(CFJ )oc=D"
IG(F= (6
-rlera ))
uE .t
c. ?trD
lE5 F- G ctr"?

-c=16a'[S -=o7

d(G -(G" o(o7 ?|

FG

si{
d

d(o (G IEc! lao, (FA F)) p ((rEceo ()a- B b:a l=
ro Fq i- irb
Ic Fe3 f e) C' FF(- G G,
!goar -(=6E- (6 d-o(76 "etro !-
I DF((-- dC? tro D) 6 -(F@ e(-)
(l/D tro F G CJF (-
(co -(cFa G (I=G (G(a FG (G2 (- tc-co7Ct !-e
(- (G- TG
c.DEf "- (- C(oO-2 C
= C(-! (:D- F
G Cq )) = =
(- F E(GA
-uF F (D-
F F@
-,E
CF-
O(G
N crl E- LO \o t-


Click to View FlipBook Version