ไตรภูมิพระร่วง
คณะผู้จัดทำ
๑. นางสาวนนั ทน์ ภสั ปูทอง เลขท่ี ๑๓
๒. นางสางบุญญารัตน์ บูรณะสุวรรณ์ เลขท่ี ๑๔
๓. นางสาวปณิตา ต้งั จกั รวรานนั ท์ เลขที่๑๗
๔. นางสาวรัญชิดา ยาสุกแสง เลขท่ี ๒๕
๕. นางสาววณิสรา อาการชี เลขที่ ๒๖
๖. นางสาวสิริวรรณ อ้ึงเจริญทรัพย์ เลขที่ ๓๓
๗. นางสาวอทิตา พลู ทะวงศ์ เลขที่ ๓๗
ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๖/๙
เสนอ
คุณครูชมยั พร แกว้ ปานกนั
วารสารน้ีเป็นส่วนหน่ึงของ วิชาภาษาไทย พ้ืนฐาน ๕ ท ๓๓๑๐๑
ภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๕
โรงเรียนสงวนหญิง
ก
คำนำ
วารสารอิเลก็ ทรอนิกส์ฉบบั น้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ าภาษาไทยพ้ืนฐาน ๕ ท๓๓๑๐๑ ช้นั มธั ยมศึกษา
ปี ที่ ๖ โดยมีจุดประสงคเ์ พือ่ ศึกษาความรู้ที่ไดจ้ ากวรรณคดี เร่ือง ไตรภมู ิพระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ซ่ึงรายงาน
น้ีมีเน้ือหาเกี่ยวกบั ความรู้จากวรรณคดี เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอนมนุสสภูมิ ความเป็นมาของเร่ือง ประวตั ิผู้
แต่ง จุดมุ่งหมายการแต่ง ลกั ษณะคาประพนั ธท์ ่ีใช้ รวมไปถึงการวเิ คราะห์คุณคา่ ท้งั ทางดา้ นเน้ือหา
วรรณศิลป์ และดา้ นสงั คม ท้งั น้ี เน้ือหาไดร้ วบรวมมาจากหนงั สือเรียน ร้ายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวิ
จกั ษข์ องช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๖ เวบ็ ไซตต์ ่างๆท่ีมีเน้ือหาเก่ียวขอ้ งกบั วรรณคดี เร่ือง ไตรภูมิพระร่วง ตอน
มนุสสภูมิจากหนงั สือเรียนและ บนระบบออนไลน์อีกหลายเวบ็ ไซต์
ขอขอบพระคุณอาจารยช์ มยั พร แกว้ ปานกนั อยา่ งสูงที่กรุณาตรวจ ใหค้ าแนะนาเพอื่ แกไ้ ข
ใหข้ อ้ เสนอแนะตลอดการทางาน ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานฉบบั น้ีคงมีประโยชนต์ ่อผทู้ ่ีนาไปใชใ้ หเ้ กิดผลตาม
จุดประสงค์
คณะผจู้ ดั ทา
๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๕
สำรบญั ข
เร่ือง หน้ำ
คานา ก
สารบญั ข
ความเป็ นมา ๑
ประวตั ิผแู้ ต่ง ๒
จุดมุ่งหมายในการแต่ง ๓
ลกั ษณะคาประพนั ธ์ ๓
เน้ือเร่ืองเตม็ (แบบยอ่ ) ๔
สรุปเน้ือเรื่องเตม็ (เฉพาะตอนท่ีเรียน) ๑๒
คุณคา่ ของเรื่องไตรภูมิพระร่วง ๑๔
คุณค่าดา้ นเน้ือหา ๑๔
คุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ ๑๔
คุณค่าดา้ นสงั คม ๑๙
บรรณานุกรม ๒๑
๑
ควำมเป็ นมำ
ไตรภูมิกภาหรือไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณกรรมสุโขทยั เป็นพระราชนิพนธข์ องพระมหาธรรมราชา
ลิไทแต่งข้ึนในปี พ.ศ. ๑๘๘๘ ในขณะท่ีทรงดารงตาแหน่งเป็นพระมหาอปุ ราช
เป็นวรรณคดีในพทุ ธศาสนาเรื่องแรกที่แต่งข้ึนในประเทศไทย มีลกั ษณะเป็นวิทยานิพนธ์เขียนโดย
การคน้ ควา้ รวบรวมคมั ภีร์ใพระพทุ ธศาสนากวา่ ๓๐ เลม่ ตีพมิ พค์ ร้ังแรกในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ โดยสมเด็จฯ กรม
พระยาดารงราชานุภาพ
ไตรภูมิพระร่วง เป็นหนงั สือสาคญั สมยั กรุงสุโขทยั ตกทอดมาถึงปัจจุบนั เป็นวรรณคดีทางศาสนาที่
มีอิทธิพลต่อคนไทยมาก เดิมเรียกว่า "เตภูมิกถา" หรือ "ไตรภูมิพระร่วง" ต่อมาสมเด็จกรมพระยาดารงรา
ชานุภาพทรงเปลี่ยนช่ือใหม่วา่ "ไตรภูมิพระร่วง" เพื่อเฉลิมพระเกียรติแก่พระร่วงเจา้ กษตั ริยแ์ ห่งกรุงสุโขทยั
(พระยาลิไท) ซ่ึงเป็ นผูพ้ ระราชนิพนธ์ นับว่าเป็ นหนังสือวรรณคดีเล่มแรกที่เกิดจากการคน้ ควา้ จากคมั ภีร์
พุทธศาสนาถึง ๓๐ คมั ภีร์ และมีลกั ษณะเป็นหนงั สือท่ีสมบูรณ์ คือ บอกชื่อ วนั เดือน ปี และความมุ่งหมาย
ในการแต่งไวอ้ ยา่ งครบถว้ น
หอพระสมุดวชิรญาณไดต้ น้ ฉบบั ไตรภูมิพระร่วงมาจากจงั หวดั เพชรบุรี เป็นใบลาน ๑- ผกู จารดว้ ย
อกั ษรขอม ในสมยั สมเด็จพระเจา้ กรุงธนบุรี โดยบอกไวใ้ นตอนจบวา่ "พระมหาช่วยจารพระไตรภูมิกถา วกั
ปากน้า ช่ือวดั กลาง แลว้ แต่ในเดือน ๔ ปี จอ วนั อาทิตย์ เม่ือเวลาตะวนั บ่าย สามโมงเศษ เมื่อพระพทุ ธศกั ราช
ลางไปได้ ๒๓๒๑ พระวรรษา เศษสังขยาเดือนได้ ๙ เดือน ๒๖วนั เป็นสาเร็จแลว้ แล" พระมหาช่วยผคู้ ดั ลอก
จะไดต้ น้ ฉบบั มาจากที่ใดไม่ปรากฏ หอพระสมุดวชิรญาณไดถ้ อดความออกเป็ นอกั ษรไทย โดยมีไดแ้ กไ้ ข
ถอ้ ยคาใหผ้ ิดไปจากตน้ ฉบบั เดิม
๒
ประวตั ผิ ู้แต่ง
หนงั สือไตรภูมิพระร่วง เป็นวรรณคดีทางศาสนาท่ีสาคญั เล่มหน่ึง ในสมยั สุโขทยั ซ่ึงมีอิทธิพลต่อ
คนไทยมาก พระมหาธรรมราชาที่ (พญาลิไท) ไดท้ รงพระราชนิพนธ์ข้ึนหลงั จากที่ทรงผนวชแลว้ และข้ึน
ครองราชยไ์ ด้ ๖ ปี ประมาณ พ.ศ. ๑๘๙๖
พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) เป็นกษตั ริยอ์ งคท์ ี่ ๖ แห่งกรุงสุโขทยั ข้ึนครองราชยต์ ่อจากพญา
งวั นาถม จากหลกั ฐานในศิลาจารึกวดั มหาธาตุ พ.ศ. ๑๙๓๕ หลกั ท่ี ๘ ข. คน้ พบเม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๙ เมื่อพญา
เลอไทสวรรคต ใน พ.ศ. ๑๘๘๔ พญางวั นาถมไดข้ ้ึนครองราชย์ ต่อมาพญาลิไทยกทพั มาแยง่ ชิงราชสมบตั ิ
และข้ึนครองราชยใ์ น พ.ศ. ๑๘๙๐ ทรงพระนามวา่ พระเจา้ ศรีสุริยพงสรามมหาธรรมราชาธิราช ในศิลาจารึก
มกั เรียกพระนามเดิมวา่ พญาลิไท หรือเรียกยอ่ วา่ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ เสดจ็ สวรรคตในปี พ.ศ. ๑๙๑๑
พญาลิไท ทรงเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา ทรงอาราธนาพระเถระชาวลงั กาเขา้ มาเป็ นสังฆราชใน
กรุงสุโขทยั ไดส้ ละราชสมบตั ิออกทรงผนวชท่ีวดั ป่ ามะม่วง นอกเมืองสุโขทยั ทางทิศตะวนั ตก พญาลิไท
ทรงมีความรู้แตกฉานในพระไตรปิ ฎก ทรงสนพระทยั ทานุบารุงพระพทุ ธศาสนาเป็นอนั มาก และทรงพฒั นา
บา้ นเมืองให้เจริญหลายประการ เช่น สร้างถนนพระร่วง ต้งั แต่เมืองศรีสัชนาลยั ผา่ นกรุงสุโขทยั ไปถึงเมือง
นครชุม(กาแพงเพชร บูรณะเมืองนครชุม สร้างเมืองสองแคว (พิษณุโลก) เป็ นเมืองลูกหลวง และสร้างพระ
พทุ ธชินราชพระพทุ ธชินสีห์ ท่ีฝีมือการช่างงดงามเป็นเยยี่ ม
งานพระราชนิพนธ์ของพญาลิไท ไดแ้ ก่ ไตรภูมิพระร่วงหรือเตภูมิกถาศิลาจารึกวดั ป่ ามะม่วงและ
ศิลาจากรีกวดั ศรีชุม เป็นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ กล่าวถึงเหตุการณ์และขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ
การสร้างวดั พระศรีรัตนมหาธาตุ การผนวชท่ีวดั ป่ ามะม่วง เป็นตน้
๓
จุดมุ่งหมำยในกำรแต่ง
๑.เพื่อเทศน์โปรดพระมารดา เป็นการเจริญธรรมความกตญั ญู
๒.เพื่อใชส้ งั่ สอนประชาชนใหม้ ีคุณธรรม และเขา้ ใจพทุ ธศาสนา จะไดช้ ่วยดารงพระพทุ ธศาสนา
ไวใ้ หย้ ง่ั ยนื
ลกั ษณะคำประพนั ธ์
ผูแ้ ต่งไดเ้ รียบเรียงเป็ นร้อยแกว้ โดยใช้โวหาร ไดแ้ ก่ เทศนาโวหาร พรรณนาโวหาร และบรรยาย
โวหาร การพรรณนาน้ันจะใช้ถอ้ ยคาที่แจ่มแจง้ จนสามารถโน้มน้าวใจผูอ้ ่านให้คลอ้ ยตามและเห็นภาพ
ชดั เจนข้ึน เช่น
“…เม่ือกมุ ารน้นั คลอดออกจากทอ้ งแม่ ออกแลไปบ่มิพน้ ตน ตนเยน็ น้นั แลเจบ็ เน้ือเจบ็ ตนนกั หนา ดงั่ ชา้ งสาร
อนั ท่านชกั ท่านเขน็ ออกจากประตูลกั ษอนั นอ้ ยน้นั …”
๔
เนื้อเร่ืองเตม็ (แบบย่อ)
ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ กล่าวถึงกล่าวถึงกาเนิดของมนุษยไ์ วอ้ ย่างละเอียดเป็ นข้นั ตอน
ต้งั แต่เริ่มปฏิสนธิจนกระทง่ั คลอดจากครรภ์มารดา โดยอธิบายว่าเม่ือแรกปฏิสนธิน้ันมนุษยท์ ่ีอยู่ในครรภ์
มารดาจะมีขนาดเท่ากลละ หลงั จากน้นั ทุก ๆ ๗ วนั ทารกจึงจะมีพฒั นาการ ใน ๙ วนั แรก ทารกจะมีขนาด
ใหญ่ข้ึนเป็นกอ้ นดงั ไขไ่ ก่ จากน้นั จะเกิด "เบญจสาขาหูด" คือ มีมือ ๒ อนั เทา้ ๒ อนั และหวั อีก ๑ หวั ต่อมา
จึงมีขนและเล็บ ซ่ึงเป็ นจานวนครบ ๓๒ ทารกจะนัง่ ยอง ๆ กามือท้งั สอง คูค้ อต่อหัวเข่าอย่ใู นครรภม์ ารดา
ประมาณ ๗-๑๑เดือน จึงจะคลอดออกมา
กมุ ารที่มีอายุ ๖ เดือน อาจไม่รอดได้ หากอายคุ รรภ์ ๗ เดือน กมุ ารมกั จะมีสุขภาพอ่อนแอ กมุ ารผมู้ า
จากนรกเมื่อคลอดออกมาจะส่งเสียงร้องไห้ ส่วนผูท้ ่ีมาจากสวรรค์ เม่ือคลอดออกมาจะหวั เราะ กุมารท่ีเพ่ิง
คลอดจะไม่สามารถจาส่ิงจดจาส่ิงต่าง ๆท่ีผา่ นมาไดย้ กเวน้ ผทู้ ่ีเป็นปัจเจก โพธิเจา้ และผทู้ ่ีเป็นอรหนั ตขีณาสพ
กาเนิดของมนุษยเ์ ป็นส่ิงที่ยากลาบาก ดงั น้นั เม่ือมีโอกาสไดถ้ ือกาเนิดอกมาและอยรู่ อดปลอดภยั แลว้
กค็ วรกระทาความดี เพื่อใหก้ ศุ ลผลแห่งการทาความดีน้นั ติดตวั ส่งใหไ้ ดไ้ ปเกิดในชาติภพที่ดีหรือบรรลุนิพ-
พาน
เนื้อเรื่องกล่ำวถึงโลกท้งั ๓ ดงั นี้
กำมภูมิ ๑๑
๑.นรกภูมิ นรกภูมิ เป็ นภูมิต่าาที่สุด ประกอบด้วย มหานรก ๘ ขุม, นรกบ่าว ๑๒๘ ขุม และยมโลก
นรก ๓๒๐ ขมุ
๑.๑ มหำนรก มี ๘ ขมุ มีกาแพงเหลก็ แดงลุกเป็นไฟอยเู่ สมอลอ้ มเป็นสี่เหลี่ยม พ้ืนบนและพ้ืนล่างกเ็ ป็นเหลก็
แดงท่ีลุกเป็ นไฟ กาแพงท้งั ๔ ดา้ น ยาวดา้ นละ ๑,๐๐๐ โยชน์ หนา 9โยชน์ มีประตูเขา้ 4 ประตู ส่วนพ้ืนบน
และพ้นื ล่างมีความหนา 9 โยชน์ มหานรกท้งั 8 มีดงั น้ี
๑.๑.๑.มหำอเวจีนรก หรือ นรกที่ทุกขท์ รมานมิเคยหยุดพกั เป็ นนรกขุมท่ีลึกท่ีสุด มีความทุกขม์ ากที่สุดใน
จกั รวาลไตรภูมิ ผูท้ ่ีอาศยั อยู่ท่ีนี่ในชาติก่อนน้ันไดท้ าใน อนันตริยกรรม หรือบาปหนัก ๕ ประการคือ ฆ่า
บิดา, ฆ่ามารดา, ฆ่าพระอรหนั ต,์ ทาให้พระพุทธเจา้ ห้อพระโลหิต, ยยุ งให้สงฆแ์ ตกแยกกนั ผทู้ ่ีอาศยั อยทู่ ่ีน่ี
จะถูกตรึงศีรษะ แขน ในอิริยาบถที่เป็นในขณะทาบาป(นงั่ ยนื นอน ฯลฯ) มีหลาวเหลก็ แทงทะลุลาตวั มีไฟ
นรกคลอกตลอดเวลา แต่จะไม่เสียชีวิต ผทู้ ี่อาศยั อยทู่ ี่นี่ ตอ้ งอาศยั อยจู่ นกวา่ จะครบวาระ ๑ กลั ป์
๑.๑.๒.มหำตำปนรก หรือ นรกที่มีแต่ความเร่าร้อนเหลือประมาณ ผูท้ ี่อาศยั อย่ทู ี่น่ี ชาติก่อนไดฆ้ ่าชีวิตสัตว์
และคนเป็นหมู่มากโดยไม่รู้สึกผิด ผอู้ ยอู่ าศยั จะถูกทาให้ตกจากภูเขาสูงลงมาท่ีพ้ืนท่ีเต็มไปดว้ ยเหล็กแหลม
ยาวถูกเหล็กเสียบทะลุลาตวั มีไฟนรกคลอกตลอดเวลา แต่ก็จะไม่เสียชีวิต ผูท้ ่ีอาศยั อยู่ท่ีน่ีตอ้ งอาศยั ไป
จนกวา่ จะครบวาระคร่ึงกลั ป์
๕
๑.๑.๓.ตำปนรก หรือ นรกแห่งความเร่าร้อน ผูท้ ี่อาศยั อยทู่ ่ีน่ีจะถูกไล่ให้ข้ึนไปที่ปลายหลาว ที่มีไฟนรกลุก
โชน ผอู้ ยอู่ าศยั จะถูกไฟคลอกจนพองสุก และจะกลายเป็นอาหารของสุนขั นรก หลงั จากน้นั จะมี “ลมกรรม”
พดั มาให้ร่างกายฟ้ื นข้ึนมา และก็ถูกไล่ข้ึนไปท่ีปลายหลาว ถูกไปนรกคลอก วนเวียนเช่นน้ีจนกว่าจะครบ
วาระ ๑๖,๐๐๐ ปี โดยท่ี ๑ วนั ๑ คืนในตาปนรก เทียบเท่า ๙,๒๑๖ ลา้ นปี มนุษย์
๑.๒.๔.มหำโรรุวนรก หรือ นรกท่ีเตม็ ไปดว้ ยเสียงครวญคราง ผทู้ ี่อาศยั อยทู่ ี่น่ี ชาติก่อนไดป้ ลน้ ขโมยของจาก
ผูท้ ่ีอยสู่ ูง เช่น สมณะ ครู บุพการี ฯลฯ ผูท้ ี่อาศยั จะตอ้ งยนื บนบวั เหล็กที่กลีบคม มีไฟนรกแผดเผา มียมบาล
ใช้กระบองกระหน่าตีร่าง แต่จะไม่เสียชีวิต ต้องอาศัยอยู่เช่นน้ีไปจนกว่าจะครบวาระ ๗,๐๐๐ ปี โดย
ที่ ๑ วนั ๑ คืนในมหาโรรุวนรก เทียบเท่า ๒,๓๐๕ ลา้ นปี มนุษย์
๑.๑.๕.โรรุวนรก หรือ นรกท่ีเตม็ ไปดว้ ยเสียงร้องไห้ ผทู้ ี่อาศยั อยทู่ ่ีนี่ ชาติก่อนเคยเผาสัตวท์ ้งั เป็นบ่อยๆ หรือ
เป็ นข้าราชการทุจริต ผูท้ ี่อาศัยอยู่ที่นี่จะถูกไฟนรกคลอกในบัวเหล็กในอิริยาบถนอนคว่า การอาศัย
ท่ีนี่ ๑ วาระ จะตอ้ งอาศยั อยนู่ าน ๔,๐๐๐ ปี นรก โดยท่ี ๑ วนั ๑ คืนในโรรุวนรก เทียบเท่า ๕๗๖ ลา้ นปี มนุษย์
๑.๑.๖.สังฆำฏนรก หรือ นรกบดขย้ีสัตว์ ผูท้ ี่อาศยั อยู่ที่น่ี ชาติก่อนได้กระทาทารุณสัตว์ เม่ืออาศยั อยู่ที่นี่
ยมบาลจะผูกล่ามผูอ้ าศยั หลายๆ คนเขา้ ดว้ ยกนั และใช้คอ้ นเหล็กยกั ษ์ทุบร่างกายจนแหลกไป และ “ลม
กรรม”กจ็ ะพดั ใหฟ้ ้ื นชีวติ มารับโทษใหม่ วนเวีบยเช่นน้ีจนกวา่ จะครบวาระ ๒,๐๐๐ ปี นรก โดยที่ ๑ วนั ๑ คืน
ในสงั ฆาฏนรก เทียบเท่า ๑๔๕ ลา้ นปี มนุษย์
๑.๑.๗.กำฬสุตตนรก หรือ นรกท่ีลงโทษดว้ ยดา้ ยดา ผทู้ ่ีอาศยั อยทู่ ี่น่ีจะถูกยมบาลฟาดดว้ ยดา้ ยนรก ซ่ึงมีขนาด
และความแข็งเท่าเหล็กเส้นโตๆ เส้นหน่ึง แลว้ ใชเ้ ลื่อยนรกเล่ือยให้ขาดเป็ นท่อนๆ ผูท้ ่ีหนีจะถูกเหล็กนรก
ปลิวออกมาตัดร่างกาย แลว้ ลมกรรม ก็จะพดั โชยให้ฟ้ื นคืนอีกคร้ัง จนกว่าจะครบวาระ ๑,๐๐๐ ปี นรก
โดย ๑ วนั ๑ คืนในกาฬสุตตนรก เทียบเท่า ๓๖ ลา้ นปี มนุษย์ ผูท้ ี่อาศยั อยู่ที่น่ี ชาติปางก่อนไดท้ รมาณสัตว์
เล่นๆ ทาร้ายบุพการี อาจารย์ สมณะ หรือผมู้ ีพระคุณ
๑.๑.๘.สัญชีวนรก หรือ นรกที่ไม่มีวนั ตาย ผูท้ ่ีอาศยั จะถูกยมบาลจบั นอนบนแผ่นเหล็กร้อนแดง และถูก
ยมบาลฟันร่างขาดเป็นท่อนๆ เฉีอนเน้ือหนงั จนเหลือแต่กระดูก แลว้ ลมกรรมกจ็ ะพดั มาให้ฟ้ื นมารับโทษต่อ
จนกวา่ จะครบวาระ ๕๐๐ ปี นรก โดยที่ ๑ วนั ๑ คืนในสญั ชีวนรก เทียบเท่า ๙ ลา้ นปี มนุษย์
๑.๒.นรกบ่ำว จะลอ้ มรอบมหานรก ๔ ดา้ น ดา้ นละ ๔ ขุม รวมแลว้ มหานรก ๑ ขุม จะมีนรกบ่าวลอ้ มรอบ
อยู่ ๑๖ ขมุ รวมจานวนนรกบ่าวท้งั หมดจึงได้ ๑๒๘ ขมุ เป็นโลกของผทู้ ่ีทาบาป(หรือ เหลือเศษบาป)อยนู่ อ้ ย
นอ้ ยเกินกวา่ ท่ีจะไปเกิดในมหานรก แต่มากเกินกวา่ ที่จะเกิดในภูมิท่ีสูงกวา่ เป็นขมุ ที่มีความทุกขท์ รมานนอ้ ย
กวา่ มหานรก แต่กย็ งั ห่างไกลความสุขอยอู่ ยา่ งยง่ิ ยวด
๑.๓.ยมโลกนรก จะลอ้ มรอบมหานรก ๔ ดา้ น ดา้ นละ ๑๐ ขุม รวมแลว้ มหานรก ๑ ขุม จะมียมโลกนรก
ลอ้ มรอบ ๔๐ ขมุ รวมจานวนยมโลกนรกท้งั หมดได้ ๓๒๐ ขมุ เป็นโลกของผทู้ ่ีมีเศษบาปเหลือนอ้ ยเกินกวา่
ท่ีจะไปเกิดในนรกบ่าว แต่ก็มากเกินกว่าที่จะไปเกิดในภูมิท่ีสูงกว่าน้ี การลงโทษเบากว่านรกบ่าว แต่ก็ยงั
ห่างไกลความสุขอยา่ งยง่ิ ยวดเช่นกนั
๖
ยมบาล หรือ นายนิรยบาล หรือผดู้ ูแลนรกเฝ้าประตูนรกไว้ มีพระยายมราชเป็นผทู้ รงธรรมเที่ยงตรงเป็นใหญ่
เหนือยมบาลท้งั หลาย หนา้ ที่ของพระยายมราชคือสอบสวนบุญบาปของมนุษยท์ ่ีตายไป หากทาบุญก็จะได้
ข้ึนสวรรคท์ าบาปกจ็ ะตกนรก
๒.เปรตวสิ ัยภูมิ
เปรตเป็นผเี ลวชนิดหน่ึง ในไตรภูมิบรรยายรูปร่างของเปรตไวว้ า่ เปรตบางชนิดมีตวั ใหญ่ ปากเท่ารูเขม็ เปรต
บางชนิดก็ตวั ผอมไม่มีเน้ือหนงั มงั สา ตาลึกกลวง และร้องไห้ตลอดเวลา แต่ก็มีเปรตบางชนิดท่ีตวั งามเป็ น
ทอง แต่ปากเป็นหมูและเหมน็ มาก มนุษยท์ ่ีทาบาปกบั บุพการี เช่น ด่าทอบุพการีและทุบตีบุพการีจะเกิดเป็น
เปรต สรุปรวมๆแลว้ กค็ ือเม่ือตอนเป็นคนแลว้ ทาบาปอยา่ งใดเม่ือตายไปกจ็ ะเป็นเปรตตามที่ทาบาปไว้
เปรตน้นั มีโอกาสดีกวา่ สตั วน์ รก เนื่องจากสามารถออกมาขอบุญกศุ ลจากการทาบุญของมนุษยไ์ ด้
3.อสุรกำยภูมิ
อสูร แปลตรงตวั ว่า ผูไ้ ม่ใช่สุระหรือไม่ใช่พวกเทวดาท่ีมีพระอินทร์เป็ นหัวหนา้ เดิมพวกอสูรมีเมืองอยบู่ น
เขาพระสุเมรุหรือสวรรคช์ ้นั ดาวดึงส์นนั่ เอง ภายหลงั พวกเทวดาคิดอุบายมอมเหลา้ พวกอสูรเมาจนไม่ไดส้ ติ
แลว้ พวกเทวดากช็ ่วยกนั ถีบอสูรใหต้ กเขาพระสุเมรุด่ิงจมลงใตด้ ิน เมื่ออสูรสร่างเมาไดส้ ติแลว้ ก็สานึกตวั ได้
วา่ เป็นเพราะกินเหลา้ มากจนเมามายจึงตอ้ งเสียบา้ นเมืองให้กบั พวกเทวดาจึงเลิกกินเหลา้ แลว้ ไปสร้างเมือง
ใหม่ใตบ้ าดาลเรียกวา่ อสูรภพ
พวกอสูรกายมีบา้ นเมืองเป็นของตนเอง เรียกวา่ อสูรภพ อยลู่ ึกใตด้ ินไป ๘๔,๐๐๐ โยชน์ เป็นบา้ นเมืองงดงาม
มากเตม็ ไปดว้ ยแผน่ ทองคา คือบา้ นเมืองของอสูรน้ีจะมีเหมือนสวรรคข์ องเทวดา เช่น กลางสวรรคม์ ีตน้ ปาริ
ชาติ กลางเมืองอสูรก็มีตน้ แคฝอย เมืองอสูรมีเมืองใหญ่อยู่ ๔ เมืองโดยมีพระยาอสูรปกครองอยทู่ ุกเมือง ใน
บรรดาอสูรมีอยตู่ นหน่ึงมีอานาจมากช่ือวา่ ราหู
อสูรราหูมีหนา้ ตาหวั หูที่ใหญ่โตมากกวา่ เหล่าเทวดาท้งั หลายในสวรรค์ ราหูมีความเกลียดชงั พระอาทิตยแ์ ละ
พระจนั ทร์มาก ในวนั พระจนั ทร์เตม็ ดวงหรือวนั เดือนงามและวนั เดือนดบั ราหูจะข้ึนไปนงั่ อยบู่ นเขายคุ นธร
อนั เป็ นทิวเขาทิวแรกที่ลอ้ มเขาพระสุเมรุซ่ึงเป็ นท่ีอยู่ของเทวดา ราหูจะคอยให้พระอาทิตยห์ รือพระจนั ทร์
ผา่ นมา เพ่ือที่จะคอยอา้ ปากอนั กวา้ งใหญ่อมเอาพระจนั ทร์หรือพระอาทิตยห์ ายลบั ไป บางคร้ังก็เอานิ้วมือบงั
ไวบ้ า้ ง เอาไวใ้ ตค้ างบา้ ง เหตุการณ์เหลา่ น้ีเรียกกนั วา่ สุริยคราสและจนั ทรคราส
เร่ืองราวที่เป็ นเหตุทาให้ราหูมีความเกลียดชงั พระอาทิตยแ์ ละพระจนั ทร์ก็คือ มีการกวนเกษียรสมุทรของ
เหล่าบรรดาเทวดาและอสูรเพือ่ ทานา้ อมฤต เมื่อกวนสาเร็จแลว้ เทวดากไ็ ม่ยอมใหเ้ หลา่ อสูรกิน แต่ราหูปลอม
เป็นเทวดาเขา้ ไปกินนา้ อมฤตกบั เทวดาดว้ ย พระอาทิตยแ์ ละพระจนั ทร์เห็นจึงไปฟ้องพระวิษณุวา่ ราหูปลอม
ตวั เป็นเทวดามากินนา้ อมฤต พระวษิ ณุทรงขวา้ งจกั รแกว้ ไปตดั ตวั ราหูออกเป็นสองท่อนแต่ราหูไม่ตายเพราะ
ไดก้ ินนา้ อมฤตไปแลว้ คร่ึงตวั ท่อนบนจึงเป็นราหูอยู่ แต่คร่ึงตวั ท่อนล่างกลายเป็นอสูรอีกตวั หน่ึงช่ือเกตุ
๔.ติรัจฉำนภูมิ
ติรัจฉำนติภูมิ หรือเดรัจฉานติภูมิ คือแดนของเดียรฉาน แปลว่าตามขวางหรือตามเส้นนอนตรงกนั ขา้ มกบั
คนซ่ึงไปตวั ตรง ดงั น้นั สตั วเ์ ดรัจฉานกห็ มายถึงสตั วท์ ่ีไปไหนมาไหนตอ้ งควา่ อก
๗
ในหนงั สือไตรภูมิตอนน้ีเริ่มตน้ กล่าวถึงสัตวอ์ นั เกิดมาในแดนเดรัจฉานว่า มีเกิดจากไข่ (อณั ฑชะ) จากมีรก
อนั ห่อหุ้ม(ชลาพุชะ) จากใบไมแ้ ละเหง่ือไคล(สังเสทชะ) เกิดเป็ นตวั ข้ึนเองและโตทนั ที(อุปปาติกะ) สัตว์
เดรัจฉานน้นั มีความเป็นอยู่ ๓ ประการ คือ รู้สืบพนั ธุ์ รู้กิน รู้ตาย เรียกเป็นศพั ทว์ า่ กามสญั ญา อาหารสัญญา
และมรณสญั ญา ส่วนคนน้นั เพ่มิ อีกสญั ญาหน่ึงคือ ธธมสญั ญา คือรู้จกั การทามาหากิน รู้บาปบุญ หรือตรงกบั
คาวา่ วฒั นธรรมน้นั เอง สตั วท์ ่ีกล่าวในแดนเดรัจฉานหลกั ๆกม็ ีดงั น้ี
-ราชสีห์ เป็นสตั วจ์ าพวกเดียวกบั สิงโต ไม่มีตวั ตนจริงอยใู่ นโลกน้ีแต่เป็นสตั วท์ ่ีอยใู่ นวรรณคดีเท่าน้นั
-ชา้ งแกว้ อาศยั อยทู่ ่ีถา้ ทองวา่ กนั วา่ พระพทุ ธเจา้ เคยเสวยพระชาติเคยไปเกิดเป็นชา้ งน้ีอยหู่ น่ึงชาติ
-ปลา ในแดนเดรัจฉานน้ีปลาที่อาศยั อยทู่ ่ีน้ีจะมีขนาดใหญ่มาก ตวั ท่ีเลก็ สุดก็ยงั ยาวถึง ๗๕ โยชน์ ตวั ที่ใหญ่ก็
ยาวถึง ๕,๐๐๐ โยชน์ ปลาที่รู้จกั กนั ดีคือ พญาปลาอานนท์ ซ่ึงหนุนชมพทู วปี อยู่
–ครุฑ อาศยั อยทู่ ่ีตามฝั่งสระใหญ่ชื่อสิมพลีสระท่ีตีนเขาพระสุเมรุหรือสระตน้ งิ้ว กวา้ งได้ ๕๐๐ โยชน์ พระ
ยาครุฑท่ีเป็นหวั หนา้ ตวั โต ๕๐ โยชน์ ปี กยาวอีก ๕๐ โยชน์ ปากยาว ๙ โยชน์ ตีนท้งั สองยาว ๑๒ โยชน์ ครุฑ
กินนาคเป็นอาหาร และเป็นพาหนะของพระนารายณ์
–นาค หรืองูมีหงอนและมีตีน นาคมีสองชนิด คือ ถลชะ หรือนาคท่ีเกิดบนบก และ ชลชะ หรือนาคที่เกิดใน
นา้ นาคถลชะจะเนรมิตตนเป็นคนหรือเทวดานางฟ้าไดแ้ ต่บนบก นาคชลชะจะเนรมิตตนเป็นคนหรือเทวดา
นางฟ้าไดแ้ ต่ในนา้ เท่าน้ัน เรื่องนาคเป็ นที่รู้จกั กนั ดีในประวตั ิศาสตร์เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ คือเป็ นบรรพ
บุรุษของชนชาติต่างๆ เช่น เขมร ลาว มอญ
–หงส์ อาศยั อยทู่ ี่ถา้ ทองบนเขาคิชฌกฏู หรือเขายอดนกแร้ง หงส์เป็นพาหนะของพระพรหม
๕.มนุสสำภูมิ
กลา่ วถึงฝงู สตั วอ์ นั เกิดในมนุสสาภูมิ มีกาเนิดดงั น้ี ต้งั แต่เร่ิมตน้ ปฏิสนธิในครรภม์ ารดากเ็ ร่ิมก่อตวั เป็นกลั ละ
กลั ละมีรูปร่างโปร่งเหลวเหมือนน้าหรือเหมือนเมือกตม เป็ นคาท่ีใช้เฉพาะสิ่งท่ีห่อหุ้มก่อกาเนิดเป็ นคน
เท่าน้นั กลั ละท่ีก่อเป็นตวั เด็กข้ึนมาน้ีตามวิทยาศาสตร์กล่าวเรียกวา่ ‘cell’ เม่ือเวลาผ่านไปก็เกิดกลายเป็นตวั
เดก็ ข้ึนนง่ั กลางทอ้ งแม่และเอาหลงั มาชนทอ้ งแม่ มีสายสะดือเป็นตวั ส่งอาหารท่ีแม่กินเขา้ ไปใหแ้ ก่เดก็ เดก็ ที่
นง่ั อยกู่ ลางทอ้ งแม่น้นั จะนงั่ อยเู่ วลาประมาณ ๘-๑๐ เดือน แลว้ จึงคลอดจากทอ้ งแม่
บุตรที่เกิดมาในไตรภูมิแบ่งไดเ้ ป็น ๓ ส่ิง คือ
-อภิชาตบุตร เป็นคนเฉลียวฉลาดมีรูปงามหรือมงั่ มียศยง่ิ กวา่ พอ่ แม่
-อนุชาตบุตร มีเพียงพอ่ แม่
-อวชาตบุตร ดอ้ ยกวา่ พอ่ แม่
คนท้งั หลายกแ็ บ่งเป็น ๔ ชนิด คือ
-ผูท้ ี่ทาบาปฆ่าสัตวต์ ดั ชีวิต และบาปน้ันตามทนั ตอ้ งถูกตดั ตีนสินมือและทุกข์โศกเวทนานักหนา พวกน้ี
เรียกวา่ “คนนรก”
-ผหู้ าบุญจะกระทาบ่มิได้ และเมื่อแต่ก่อนและเกิดมาเป็นคนเขญ็ ใจยากจนนกั หนา อดอยากไม่มีกิน รูปโฉมก็
ข้ีเหร่ พวกน้ีเรียกวา่ “คนเปรต”
๘
-คนท่ีไม่รู้จกั บาปและบุญ ไม่มีความเมตตากรุณา ไม่มีความยาเกรงผใู้ หญ่ ไม่รู้จกั ปฏิบตั ิพอ่ แม่ครูอาจารย์ ไม่
รักพรี่ ักนอ้ ง กระทาบาปอยรู่ ่าไป พวกน้ีท่านเรียกวา่ “คนเดรัจฉาน”
-คนที่รู้จกั บาปและบุญ รู้กลวั รู้ละอายแก่บาป รู้รักพ่ีรักนอ้ ง รู้กรุณาคนยากจนเขญ็ ใจ และรู้จกั ยาเกรงพ่อแม่ผู้
เฒ่าผแู้ ก่ครูอาจารย์ และรู้จกั คุณแกว้ ๓ ประการ คือ พระรัตนตรัย พวกน้ีท่านเรียกวา่ “มนุษย”์
ในไตรภูมิพระร่วงกลา่ ววา่ มนุสสาภูมิประกอบดว้ ย ๔ ทวีป ดงั น้ี
–ชมพทู วีป ต้งั อยใู่ นมหาสมุทรทางทิศใตข้ องเขาพระสุเมรุ มีสณั ฐานเป็นรูปไข่ดุจดงั ดุมเกวียน คนมีรูปหนา้
กลมดุจดงั ดุมเกวียน อายขุ องคนในชมพูทวีปน้นั หากเป็นผูท้ ี่เป็นคนดีมีศีลธรรมอายกุ จ็ ะยนื หากมีลกั ษณะ
ตรงกนั ขา้ มกจ็ ะอายสุ ้นั เป็นสถานที่ประสูติของพระพทุ ธเจา้ (ซ่ึงกค็ ือโลกที่เราๆ ท่านๆ อาศยั อย)ู่
–บุรพวิเทห ทวีป ต้ังอยู่ใน มห าสมุทรทางทิ ศตะวันออกของเขาพระสุ เมรุ เป็ นแผ่น ดินกว้าง
ได้ ๗,๐๐๐ โยชน์ มีสณั ฐานเป็นรูปแวน่ ที่กลม มีเกาะลอ้ มรอบเป็นบริวาร ๔๐๐ เกาะ มีแม่นา้ เลก็ ใหญ่ มีเมือง
ใหญ่เมืองนอ้ ย คนในทวีปน้ีหนา้ กลมดงั เดือนเพญ็ มีรูปกะโหลกส้ัน ทุกคนไม่เบียดเบียนกนั ไม่ทาชวั่ เม่ือ
ตายแลว้ จึงข้ึนสวรรคแ์ น่นอน ทาใหค้ นในทวีปน้ีไม่กลวั ตาย และผทู้ ่ีอาศยั ในทวีปน้ี มีอายุ ๑๐๐ ปี เท่ากนั ทุก
คน
–อมรโคยานทวีป ต้งั อยใู่ นมหาสมุทรทางทิศตะวนั ตกของเขาพระสุเมรุ เป็นแผน่ ดินกวา้ งได้ ๙,๐๐๐ โยชน์มี
สัณฐานเป็ นรูปพระจนั ทร์คร่ึงดวง มีเกาะเล็กเกาะน้อยเป็ นบริวารอยู่โดยรอบ คนในทวีปน้ีมีรูปหน้าดงั
พระจนั ทร์คร่ึงดวง ทุกคนไม่เบียดเบียนกนั ไม่ทาชวั่ เม่ือตายแลว้ จึงข้ึนสวรรคแ์ น่นอน ทาให้คนในทวีปน้ี
ไม่กลวั ตาย และผทู้ ่ีอาศยั ในทวปี น้ี มีอายุ ๔๐๐ ปี เท่ากนั ทุกคน
–อุตตรกุรุทวีป ต้งั อยู่ในมหาสมุทรทางทิศเหนือของเขาพระสุเมรุ เป็ นแผ่นดินกวา้ งได้ ๘,๐๐๐ โยชน์ มี
สณั ฐานเป็นรูปส่ีเหลี่ยม มีภูเขาทองลอ้ มรอบ มีเกาะลอ้ มรอบเป็นบริวาร ๕๐๐ เกาะ คนในทวีปน้ีหนา้ เป็นรูป
ส่ีเหล่ียมมีรูปร่างสมประกอบไม่สูงไม่ต่าดูงดงาม กลา่ วกนั วา่ คนท่ีอยทู่ วีปน้ีเป็นคนรักษาศีล จึงทาใหแ้ ผน่ ดิน
ราบเรียบ ตน้ ไมต้ ่างก็ออกดอดงดงามส่งกล่ินหอมขจรขจายไปทว่ั และเป็นแผ่นดินท่ีไม่มีโรคภยั เบียดเบียน
ในแผน่ ดินอุตตรกรุ ุทวปี น้ีมีตน้ กลั ปพฤกษต์ น้ หน่ึง สูง ๑๐๐ โยชน์ กวา้ ง ๑๐๐ โยชน์ ผใู้ ดปรารถนาจะไดแ้ กว้
แหวนเงินทองหรือส่ิงใดๆ ก็ให้ไปยืนนึกอยู่ใตต้ น้ กลั ปพฤกษน์ ้ี ผูห้ ญิงชาวอุตตรกุรุทวีปน้นั มีความงดงาม
มาก ส่วนผูช้ ายก็เช่นกนั มีความงามดงั เช่นหนุ่มอายุ ๒๐ ปี กนั ทุกคน ทุกคนไม่เบียดเบียนกนั ไม่ทาชวั่ เม่ือ
ตายแลว้ จึงข้ึนสวรรคแ์ น่นอน ทาให้คนในทวีปน้ีไม่กลวั ตาย และผทู้ ่ีอาศยั ในทวีปน้ี มีอายุ ๑,๐๐๐ ปี เท่ากนั
ทุกคน
พระยำจักรพรรดริ ำช
พระยำจักรพรรดริ ำช เป็นพระราชาผยู้ ง่ิ ใหญ่ยงิ่ กวา่ พระราชาท้งั ปวง คือเป็นพระราชาผมู้ ีจกั รหรือลอ้ แห่งรถ
เลื่อนแล่นไปไดร้ อบโลกโดยปราศจากการขดั ขวางหรือปราบปรามทว่ั โลก พระยาจกั รพรรดิราชน้นั เม่ือชาติ
ก่อนเป็นคนแต่ทาบุญไวม้ ากเมื่อตายไปจึงไปเกิดในสวรรค์ ในบางคร้ังกม็ าเกิดเป็นพระยาท่ีมีอานาจยง่ิ ใหญ่
ได้รับพระนามว่า พระยาจกั รพรรดิราช เป็ นพระยาท่ีทรงคุณธรรมทุกประการเป็ นเจา้ นายคนท้ังหลาย
พระองคท์ รงต้งั อยใู่ นทศพศิ ราชธรรม พระยาจกั รพรรดิราชมีแกว้ ๗ ประการเกิดคูบ่ ารมีมาดว้ ย ไดแ้ ก่
๙
๑. จกั รแกว้ คือแกว้ อย่างท่ีหน่ึง จกั รแกว้ หรือจกั รรัตน์จมอยู่ใตท้ อ้ งทะเลลึกได้ ๘๔,๐๐๐ โยชน์ เม่ือเกิด
จกั รพรรดิราชข้ึนในโลก จกั รแกว้ ซ่ึงเป็ นคู่บุญบารมีและจมอยใู่ นมหาสมุทรก็จะผุดข้ึนมาจากทอ้ งทะเลพุ่ง
ข้ึนไปในอากาศเกิดเป็นแสงส่องอนั งดงามมานอ้ มนบ เมื่อพระยาผคู้ รองเมืองน้นั ทราบวา่ พระองคจ์ ะไดเ้ ป็น
พระยาจกั รพรรดิราชปราบทวั่ จกั รวาลเพราะมีจกั รแกว้ มาสู่พระองค์ พระยาจกั รพรรดิราชก็จะเสด็จปราบ
ทวีปท้งั ส่ี แลว้ ประทานโอวาทให้ชาวทวีปเหล่าน้ันประพฤติและต้งั อยู่ในคุณงามความดีแลว้ จึงเสด็จกลบั
พระนคร
๒. ชา้ งแกว้ (หสั ดีรัตน์) คือแกว้ อยา่ งท่ีสอง ซ่ึงเป็นชา้ งที่มีความงดงาม ตวั เป็นสีขาว ตีนและงวงสีแดง เหาะ
ไดร้ วดเร็ว
๓. มา้ แกว้ (อศั วรัตน์) คือแกว้ อยา่ งท่ีสาม เป็นมา้ ท่ีมีขนงามดงั สีเมฆหมอก กีบเทา้ และหนา้ ผากแดงดงั่ นา้ ครั่ง
เหาะไดร้ วดเร็วเช่นเดียวกบั ชา้ งแกว้
๔. แกว้ ดวง (มณีรัตน)์ คือแกว้ อยา่ งท่ีสี่ เป็นแกว้ ท่ีมีขนาดยาวได้ ๔ ศอก ใหญเ่ ท่าดุมเกวยี นใหญ่ สองหวั แกว้
มีดอกบวั ทอง เม่ือมีความมืดแกว้ น้ีจะส่องสวา่ งใหเ้ ห็นทุกหนแห่งดงั เช่นเวลากลางวนั แกว้ น้ีจะอยกู่ บั พระยา
จกั รพรรดิราชจนตราบเท่าเสดจ็ สวรรคาลยั จึงจะคืนไปอยยู่ อดเขาพปิ ูลบรรพตตามเดิม
๕. นางแกว้ (อิตถีรัตน์) คือแกว้ อยา่ งท่ีห้า เป็ นหญิงที่จะมาเป็ นมเหสีคู่บารมีของพระยาจกั รพรรดิราช นาง
แกว้ น้ีจะตอ้ งเป็นหญิงที่ไดท้ าบุญมาแต่ชาติก่อน และมาเกิดในแผ่นดินของพระยาจกั รพรรดิราชในตระกูล
กษตั ริย์ นางแกว้ น้ีจะเป็นหญิงท่ีมีลกั ษณะงดงามไปทุกส่วน จะทาหนา้ ที่เป็นภรรยาที่ดีของพระยาจกั รพรรดิ
ราช
๖. ขนุ คลงั แกว้ คือแกว้ อยา่ งท่ีหก เกิดข้ึนเพ่ือบุญแห่งพระยาจกั รพรรดิราช และจะเป็ นมหาเศรษฐี ขุนคลงั
แกว้ จะสามารถกระทาไดท้ ุกอยา่ งท่ีพระยาจกั รพรรดิราชตอ้ งการเพราะขนุ คลงั แกว้ มีหูทิพยต์ าทิพยด์ งั เทวดา
ในสวรรค์ หากวา่ พระยาจกั รพรรดิราชตอ้ งการทรัพยส์ ินสิ่งใดขนุ คลงั กจ็ ะสามารถนามาถวายได้
๗. ขุนพลแกว้ คือแกว้ ประการสุดทา้ ยของพระยาจกั รพรรดิราช หรือโอรสของพระยาจกั รพรรดิราช มีรูป
โฉมอนั งดงาม กลา้ หาญ เฉลียวฉลาด สามารถบริหารกิจการบา้ นเมืองไดท้ ุกประการ บางตาราก็ว่าเป็ น
ขนุ พลแกว้
๖.จำตุมหำรำชิกำภูมิ
สวรรคช์ ้นั จาตุมหาราชิกภูมิ เป็นสวรรคช์ ้นั แรก สูงจากพ้ืนโลกได้ ๔๖,๐๐๐ โยชน์เป็นดินแดนของผมู้ ีจิตใจ
สูงส่ง แต่ยงั เก่ียวขอ้ งในกามคุณ จาตุมหาราชิกภูมิ แปลว่าแดนแห่ง ๔ มหาราช สวรรค์ช้นั น้ีต้งั อยู่เหนือ
เทือกเขายคุ นธรอนั เป็ นเทือกเขาแรกที่ลอ้ มรอบเขาพระสุเมรุ บนเทือกเขายุคนธรท้งั ๔ ทิศ มีเมืองใหญ่ ๔
เมือง เมืองท่ีอยู่ทางทิศตะวนั ออกของเขาพระสุเมรุมีทา้ วธตรฐเป็ นเจา้ เมือง เป็ นใหญ่เหนือคนธรรพ์ (เป็ น
อมนุษยจ์ าพวกหน่ึง คร่ึงเทวดาคร่ึงมนุษย์ เป็นนกั ดนตรีและชอบผหู้ ญิง) เมืองท่ีอยทู่ างทิศตะวนั ตกของเขา
พระสุเมรุมีทา้ ววิรูปักษเ์ ป็นเจา้ เมือง เป็ นใหญ่เหนือนาค เมืองท่ีอยทู่ างทิศใตข้ องเขาพระสุเมรุมีทา้ ววิรุฬหก
เป็นเจา้ เมือง เป็นใหญเ่ หนือพวกกมุ ภณั ฑ์ (เป็นยกั ษจ์ าพวกหน่ึง มีทอ้ งใหญแ่ ละมีอณั ฑะเหมือนหมอ้ ) เมืองที่
๑๐
อยทู่ างทิศเหนือของเขาพระสุเมรุมีทา้ วไพศรพเป็ นเจา้ เมือง เป็ นใหญ่เหนือพวกยกั ษ์ ทา้ วมหาราชท้งั ๔ น้ี
เรียกรวมๆวา่ จตุโลกบาลท้งั ๔ คือผดู้ ูแลรักษาโลกท้งั ๔ ทิศ
๗.ดำวดงึ สภูมิ เป็นสวรรคช์ ้นั ที่ ๒ อยเู่ หนือจาตุมหาราชิกาภูมิข้ึนไปอีก ๔๖,๐๐๐ โยชน์ มีพระอินทร์เป็นเจา้
แก่พระยาเทพยดาท้งั หลาย ท่ีรายลอ้ มออกไปท้งั ๔ ทิศ รวม ๓๒ พระองค์ เหล่าเทพยดามี ๒ จาพวก คอื
๑.สมมุติเทวดาคือฝูงทา้ วและพระยาในแผ่นดิน ผูร้ ู้หลกั แห่งบุญธรรม และกระทาโดยทศพิศราชธรรม
ท้งั ๑๐ ประการ
๒.อุปปัติเทวดาคือเหล่าเทพยดาในพรหมโลก – วิสุทธิเทวดาคือพระพุทธปัจเจกโพธิเจา้ และพระอรหันต
สาวกเจา้ ผเู้ สด็จเขา้ สู่นิพพาน
๘.ยำมำภูมิ สวรรคช์ ้นั ยามา เป็นสวรรคช์ ้นั ที่ ๓ อยสู่ ูงจากสวรรคช์ ้นั ดาวดึงส์ ๘๔,๐๐๐ โยชน์ มีพระยาสยาม
เทวราชครองอยู่ สวรรคช์ ้นั น้ีสูงกว่าวิถีการโคจรของพระอาทิตย์ แต่ก็ไม่มืดเน่ืองจากรัศมีแกว้ และรัศมีตวั
เทวดาส่องสวา่ งอยเู่ สมอ
๙.ดุสิตำภูมิ สวรรคช์ ้นั ดุสิต เป็นสวรรคช์ ้นั ที่ ๔ อยสู่ ูงจากสวรรคช์ ้นั ยามา ๑๖๘,๐๐๐ โยชน์ มีพระยาสันดุสิต
เทวราช พระโพธิสัตวซ์ ่ึงจะเสด็จลงมาตรัสรู้เป็ นพระพุทธเจา้ มีพระศรีอาริยโ์ พธิสัตวซ์ ่ึงจะมาตรัสรู้เป็ น
พระพทุ ธเจา้ ในภายภาคหนา้
๑๐.นิมมำนรดภี ูมิ สวรรคช์ ้นั นิมมานรดี เป็นสวรรคช์ ้นั ท่ี ๕ อยสู่ ูงจากสวรรคช์ ้นั ดุสิต ๓๓๖,๐๐๐ โยชน์
๑๑.ปรนิมิตวสวัตติภูมิ สวรรค์ช้ันปรนิมมิตวสวตั ตี เป็ นสวรรค์ช้ันที่ ๖ อยู่สูงจากสวรรค์ช้ันนิมมานรดี
๖๗๒๐๐๐ โยชน์ มีพระยาปรนิมมิตวสวตั ตีครองอยู่
รูปภูมิ ๑๖
อยเู่ หนือสวรรคช์ ้นั สูงสุด
๑๒.พรหมปำริสัชชำภูมิ ดินแดนของผสู้ าเร็จปฐมฌาณข้นั ตน้
๑๓.พรหมปโุ รหิตำภูมิ ดินแดนของผสู้ าเร็จปฐมฌาณข้นั กลาง
๑๔.มหำพรหมำภูมิ ดินแดนของผสู้ าเร็จปฐมฌาณข้นั สูง
๑๕.ปริตตำภำภูมิ ดินแดนของผสู้ าเร็จทุติยฌาณข้นั ตน้
๑๖.อปั ปมำณำภำภูมิ ดินแดนของผสู้ าเร็จทุติยฌาณข้นั กลาง
๑๗.อำภสั สรำภูมิ ดินแดนของผสู้ าเร็จทุติยฌาณข้นั สูง
๑๘.ปริตตสุภำภูมิ ดินแดนของผสู้ าเร็จตติยฌาณข้นั ตน้
๑๙.อปั ปมำณสุภำภูมิ ดินแดนของผสู้ าเร็จตติยฌาณข้นั กลาง
๒๐.สุภกณิ หำภูมิ ดินแดนของผสู้ าเร็จตติยฌาณข้นั สูง
๒๑.เวหัปปผลำภูมิ ดินแดนของผสู้ าเร็จจตุตฌาณ มีผลไพบูลย์ พน้ จากการทาลายของนา้ ลม ไฟ
๒๒.อสัญญีสัตตำภูมิ ดินแดนของพรหมไร้นาม มีร่างกายสง่างาม
๑๑
๒๓.อวหิ ำภูมิ ดินแดนของพระอรหนั ตข์ ้นั อนาคามี เคยเป็นสาวกของพระพทุ ธเจา้
๒๔.อตัปปำภูมิ ดินแดนของพรหมผไู้ ม่เดือดร้อนท้งั กาย วาจา ใจ เพราะสามารถระงบั นิวรณ์ได้
๒๕.สุทัสสำภูมิ แดนของผเู้ ห็นสภาวธรรมแจง้ ชดั
๒๖.สุทัสสีภูมิ แดนของพรหมผเู้ ห็นธรรมแจ่มแจง้
๒๗.อกนิฎฐำภูมิ แดนของพรหมท่ีมีคุณสมบตั ิมากพอจะนิพพานได้
อรูปภูมิ ๔
แดนของพรหมท่ีมีแต่จิต ดว้ ยไม่พอใจที่รูปกายเป็นสาเหตุแห่งความทุกขน์ านปั การ
๒๘.อำกำสำนญั จำยตนภูมิ แดนของพรหมที่มีแต่จิต เขา้ ถึง ภาวะมีอากาศไม่มีท่ีสุด
๒๙.วญิ ญำณญั จำยตนภูมิ แดนของผทู้ ่ีเขา้ ถึง ภาวะวิญญาณไม่มีที่สุด
๓๐.อำกญิ จญั ญำยตนภูมิ แดนของผทู้ ี่เขา้ ถึง ภาวะไม่มีอะไร
๓๑.เนวสัญญำนำสัญญำยตนภูมิ แดนของผทู้ ่ีเขา้ ถึง ภาวะไม่มีสญั ญากไ็ ม่ใช่ มีสญั ญากไ็ ม่ใช่
นิพพำน ความสุขใดๆ ในเทวโลกหรือพรหมโลก จะเทียบเท่านิพพานสุขน้นั หาไม่ เปรียบไดด้ งั่ แสงห่ิงหอ้ ย
หรือจะสู้แสงตะวนั หยดนา้ อนั ติดอยปู่ ลายผม หรือจะเท่าน้าในมหาสมุทร เพราะหยดุ เหตุแห่งการเกิดและ
ดบั นิพพานมี ๒ จาพวกคือ กิเลสปรินิพพำน นิพพานของพระอรหนั ตผ์ ยู้ งั เสวยอารมณ์ที่ น่าชอบใจและไม่
น่าชอบใจทางอินทรีย์ ๕ รับรู้สุขทุกข์ คือดบั กิเลสแต่ยงั มีเบญจขนั ธ์เหลือ ขันธปรินิพพำน ดบั กิเลสไม่มี
เบญจขนั ธ์เหลือ คือนิพพานของพระอรหนั ต์ ผรู้ ะงบั การเสวยอารมณ์ท้งั ปวงแลว้ ในไตรภูมิกถาน้ีแสดงให้
เห็นว่า แมจ้ ะไดม้ รรคผลจนสูงถึงท่ีสุดแห่งภูมิ คือเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ ในอรูปภูมิ แต่จิตน้ันยงั มี
สัญญาอยใู่ นสภาวะที่ยงั ไม่แน่นอน จึงมีดบั และเกิด แต่ถา้ ไดพ้ ิจารณาอริยะสัจ ๔ สามารถดบั เบญจขนั ธ์คือ
ขนั ธ์ ๕ ( รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ) เท่ากบั ไดด้ บั กิเลสและกองทุกข์ เข้ำสู่สภำวะที่เป็ นสุขสูงสุด
คือ นิพพำน เพรำะไร้กเิ ลสไร้ทุกข์ เป็ นอสิ รภำพอนั สมบูรณ์
๑๒
สรุปเนื้อเร่ืองเต็ม (เฉพำะตอนทเ่ี รียน)
ผริ ูปอนั จะเกิดเป็นชายกด็ ีเป็นหญิงกด็ ี เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็นกลละน้นั โดยใหญ่แต่ละวนั แลนอ้ ย คร้ัน
ถึง๗ วนั เป็นดง่ั น้าลา้ งเน้ือน้นั เรียกวา่ อมั พทุ ะ อมั พุทะน้นั โดยใหญ่ไปทุกวารไสร้ คร้ันไดถ้ ึง ๗ วาร ขน้ เป็น
ดงั่ ตะกว่ั อนั เช่ือมอยใู่ นหมอ้ เรียกชื่อวา่ เปสิ เปสิน้นั ค่อยใหญ่ไปทุกวนั คร้ันถึง ๗ วนั แขง็ เป็นกอ้ นดง่ั ไข่ไก่
เรียกวา่ ฆนะฆนะ น้นั ค่อยใหญ่ไปทุกวนั คร้ันถึง ๗ วนั เป็นตุ่มออกได้ ๕ แห่งดง่ั หูดน้นั เรียกว่าเบญจสาขา
หูด เบญจสาขาหูดน้นั เป็นมือ ๒ อนั เป็นตีน ๒ อนั หูดเป็นหวั น้นั อนั หน่ึง แลแต่น้นั ค่อยไปเบ้ืองหนา้ ทุกวนั
คร้ันถึง ๗ วนั เป็ นฝ่ ามือเป็ นนิ้วมือ แต่น้นั ไปถึง ๗ วนั คารบ ๔๒ จึงเป็ นขน เป็ นเล็บตีน เล็บมือ เป็นเครื่อง
สาหรับเป็นมนุษยถ์ ว้ นทุกอนั แล แต่รูปอนั มีกลางคนไสร้ ๕· แต่รูปอนั มีหวั ได้ ๘๔ แต่รูปอนั มีเบ้ืองต่าได้ ๕0
ผสมรูปท้งั หลายอนั เกิดเป็นสตั วอ์ นั อยใู่ นทอ้ งแม่ได้ ๑๘๔ แลกมุ ารน้นั นงั่ กลางทอ้ งแม่ แลเอาหลงั มาต่อหนงั
ทอ้ งแม่ อาหารอนั แม่กินเขา้ ไปแต่ก่อนน้นั อยใู่ ตก้ ุมารน้นั อาหารอนั แม่กินเขา้ ไปใหม่น้นั อยเู่ หนือกุมารน้นั
เม่ือกุมารอยใู่ นทอ้ งแม่น้นั ลาบากนกั หนา พึงเกลียดพึงหน่ายพนั ประมาณนกั ก็ข้ึนแลเหม็นกลิ่นตึดแลเอือน
อนั ได้ ๘0 ครอก ซ่ึงอยู่ในท้องแม่อนั เป็ นท่ีเหม็นแลที่ออกลูกออกเต้า ท่ีเถา้ ท่ีตายที่เร่ว ฝูงตืดแลเอือน
ท้งั หลายน้ันคนกนั อยู่ในทอ้ งแม่ ตืดแลเอือนฝูงน้ันเริมตวั กุมารน้ันไสร้ ดุจดง่ั หนอนอนั อยู่ในปลาเน่า แล
หนอนอนั อยใู่ นลามกอาจมน้นั แล อนั วา่ สายสะดือแห่งกุมารน้นั กลวงดงั่ สายกา้ นบวั อนั มีชื่อวา่ อุบลจะงอย
ไส้ดีอน้นั กลวงข้ึนไปเบ้ืองบนติดหลงั ทอ้ งแม่แลขา้ วน้าอาหารอนั ใดแม่กินไสร้ แลโอชารสน้นั ก็เป็ นน้าชุ่ม
เขา้ ไปในไส้ดีอน้นั แลเขา้ ไปในทอ้ งกุมารน้นั แล สะหน่อยๆ แลผนู้ อ้ ยน้นั ก็ไดก้ ินทุกค่าเชา้ ทุกวนั แม่จะพึง
กินเขา้ ไปอยเู่ หนือกระหม่อมทบั หวั กมุ ารอยนู่ ้นั แล แลลาบากนกั หนา แต่อาหารอนั แม่กินก่อนไสร้ แลกมุ าร
น้นั อยเู่ หนืออาหารน้นั เบ้ืองหลงั กุมารน้นั ต่อหลงั ทอ้ งแม่ แลนงั่ ยองอยู่ในทอ้ งแม่ แลกามือท้งั สอง อูค้ อต่อ
หัวเข่าท้งั สอง เอาหวั ไวเ้ หนือหวั เข่าเมื่อนง่ั อยนู่ ้นั ดงั่ น้นั เลือดแลน้าเหลืองยอ้ ย ลงเต็มตนยะหยดทุกเม่ือแล
ดุจดงั่ ลิงเมื่อฝนตก แลนงั่ กามือเซาเจ่าอยใู่ นโพรงไมน้ ้นั แลในทอ้ งแม่น้นั ร้อนนกั หนา ดุจดงั่ เราเอาใบตองเขา้
จ่อตน แลตม้ ในหมอ้ น้นั สร้ สิ่งอาหารอนั แม่กินเขา้ ไปในทอ้ งน้นั ไหมแ้ ละยอ่ ยลง ดว้ ยอานาจแห่งไฟธาตุอนั
ร้อนน้นั ส่วนตวั กุมารน้นั บมิไหม้ เพราะว่าเป็นธรรมดาดว้ ยบุญกุมารน้นั จะเป็นคนแลจึงใหบ้ มิไหมบ้ มิตาย
เพ่ือดงั่ น้ันแล แต่กุมารน้ันอยูใ่ นทอ้ งแม่ บ่ห่อนไดห้ ายใจเขา้ ออกเสียเลย บ่ห่อนไดเ้ หยียดตีนมือออกดงั่ เรา
ท่านท้งั หลายน้ีสักคาบหน่ึงเลย แลกมารน้ันเจ็บเน้ือเจ็บตนดง่ั คนอนั ท่านขงั ไว้ ในไหอนั คบั แคบนักหนา
แคน้ เน้ือแคน้ ใจ แลเดือดเน้ือเดือดใจนกั หนา เหยยี ดตีนมือบ่มิไดด้ งั่ ท่านเอาใส่ไวใ้ นที่คบั ผิแลวา่ เมื่อแม่เดิน
ไปกด็ ี นอนกด็ ี ฟ้ื นตนกด็ ี กมุ ารอยใู่ นทอ้ งแม่น้นั ใหเ้ จบ็ เพยี งจะตายแล ดุจดงั่ ลูกทรายอนั พ่งึ ออกแล อยธู่ ร
ห้อย ผิบมิดุจดงั่ คนอนั เมาเหลา้ ผิบ่มิดุจดง่ั ลูกงูอนั หมองูเอาไปเล่นน้ันแล อนั อยู่ลาบากยากใจดุจดง่ั น้ัน บ่
มิไดล้ าบากแต่ ๒ วาร ๗ วารแลจะพน้ ไดเ้ ลย อยู่ยากแล ๗ เดือน ลางคาบ ๘ เดือน ลางคน ๙ เดือน ลางคน
๑๐ เดือน ลางคน ๑๑ เดือน ลางคนคารบปี หน่ึงจึงคลอดกม็ ีแล
๑๓
คนผูใ้ ดอยู่ในทอ้ งแม่ ๖ เดือนแลคลอดน้ัน บ่ห่อนจะไดส้ ักคาบ คนผูใ้ ดอยู่ในทอ้ งแม่ ๗ เดือนแล
คลอดน้ัน แมเ้ ล้ียงเป็ นคนก็ดี บ่มิไดก้ ลา้ แข็ง บ่มิทนแดดทนฝนไดแ้ ล คนผูใ้ ดจากแต่นรกมาเกิดน้ัน เม่ือ
คลอดออกตน กุมารน้นั ร้อน เมื่อมนั อยใู่ นทอ้ งแม่น้นั ยอ่ มเดือดเน้ือร้อนใจแลกระหนกระหาย อีกเน้ือแม่น้นั
ก็พลอยร้อนดว้ ยโสด คนผูจ้ ากแต่สวรรคล์ งมาเกิดน้นั เม่ือจะคลอดออก ตนกุมารน้นั เยน็ เยน็ เน้ือเยน็ ใจ เมื่อ
ยงั อยใู่ นทอ้ งแม่น้นั อยเู่ ยน็ เป็นสุขสาราญบานใจ แลเน้ือแม่น้นั กเ็ ยน็ ดว้ ยโสด คนผอู้ ยใู่ นทอ้ งแม่กด็ ี เมื่อถึงจกั
คลอดน้นั ก็ดีดว้ ยกรรมน้นั กลายเป็ นลมในทอ้ งแม่ส่ิงหน่ึง พดั ให้ตวั กุมารน้ันข้ึนหนบน ให้หัวลงมาสู่ท่ีจะ
ออกน้นั ดุจดงั่ ฝูงนรกอนั ยมบาลกุมตีนแลหย่อนหัวลงในขมุ นรกน้นั อนั ลีกไดแ้ ลร้อยวาน้นั เม่ือกุมารน้ัน
คลอดออกจากทอ้ งแม่ ออกแลไปบ่มิพนั ตน ตนเยน็ น้นั แลเจบ็ เน้ือเจ็บตนนกั หนา ดง่ั ชา้ งสารอนั ท่านชกั ท่าน
เขน็ ออกจากประตูลกั ษอนั นอ้ ยน้นั แลคบั ตวั ออกยากลาบากน้นั ผบิ ่มิดง่ั น้นั ดงั่ คนผอู้ ยใู่ นนรกแล แลภูเขาอนั
ชื่อคงั ไคยบรรพตหีบแลเหงแลบดบ้ีน้นั แล คร้ันออกจากทอ้ งแม่ไสร้ ลมอนั มีในทอ้ งผนู้ อ้ ยค่อยพดั ออกก่อน
ลมอนั มีภายนอกน้นั จึงพดั เขา้ น้นั นกั หนา พดั เขา้ ถึงตน้ ลิ้นผูน้ อ้ ยจึงอยา่ คร้ันออกจากทอ้ งแม่ แต่น้นั ไปเมือ
หนา้ กุมารน้นั จึงรู้หายใจเขา้ ออกแล ผิแลคนอนั มาแต่นรกก็ดี แลมาแต่เปรตก็ดี มนั คานึงถึงความอนั ลาบาก
น้นั คร้ันวา่ ออกมากร็ ้องไหแ้ ล ผดิ แลคนผมู้ าแต่สวรรค์ แลคานึงถึงความสุขแต่ก่อนน้นั คร้ันวา่ ออกมาไสร้ ก็
ยอ่ มหวั ร่อก่อนแล แต่คนผมู้ าอยใู่ นแผน่ ดินน้ีทวั่ ท้งั จกั รวาลอนั ใดอนั อ่ืนกด็ ี เมื่อแรกมาเกิดในทอ้ งแม่กด็ ี เมื่อ
อยู่ในทอ้ งแม่ก็ดี เมื่อออกจากทอ้ งแม่ก็ดี ในกาลท้งั ๓ น้ันย่อมหลงบ่มิไดค้ านึงรู้อนั ใดสักส่ิง ฝูงอนั มาเกิด
เป็นพระปัจเจกโพธิเจา้ กด็ ี แลเป็นพระอรหนั ตาขีณาสพเจา้ กด็ ี แลมาเป็นพระองคอ์ คั รสาวกเจา้ กด็ ี เมื่อ ธ แรก
มาเอาปฏิสนธิน้ันก็ดี เม่ือ ธ อยู่ในทอ้ งแม่น้ันก็ดี และสองสิ่งน้ีเมื่ออยู่ในทอ้ งแม่น้ันบ่ห่อนจะรู้หลง แลยงั
คานึงรู้อยทู่ ุกอนั เม่ือจะออกจากทอ้ งแม่วนั น้นั ไสร้ จึงลมกรรมชวาตก็พดั ให้หัวผูน้ อ้ ยน้นั ลงมาสู่ท่ีจะออก
แลคบั แคบแอนยนั นกั หนา เจ็บเน้ือเจ็บตนลาบากนกั ดงั่ กล่าวมาแต่ก่อน แลพลิกหวั ลงบ่มิรู้ไดร้ ู้สึกสักอนั บ่
เร่ิมดงั่ ท่านผจู้ ะออกมาเป็นพระปัจเจกโพธิเจา้ กด็ ี ผจู้ ะมาเกิดเป็นลูกพระพุทธเจา้ ก็ดี คานึงรู้สึกตนแลบมิหลง
แต่สองสิ่งน้ีคือ เมื่อจะเอาปฏิสนธิแลอยู่ในทอ้ งแม่น้ันไดแ้ ล เมื่อจะออกจากทอ้ งแม่น้ันย่อมหลงดุจคน
ท้งั หลายน้ีแลส่วนวา่ คนท้งั หลายน้ีไสร้ยอ่ มหลงท้งั ๓ เม่ือ ควรอ่ิมสงสารแล
๑๔
คุณค่ำของเรื่องไตรภูมิพระร่วง
๑. ด้ำนเนื้อหำ
รูปแบบ
ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิซ่ึงเกี่ยวกบั การเกิดของมนุษยท์ ้งั ชายหญิงต้งั แต่เกิดจนถึงคลอดเป็นไป
ด้วยความเจ็บปวดและทรมาน มีลกั ษณะการแต่งคาประพนั ธ์เป็ นร้อยแก้วท่ีมีสัมผสั คลอ้ งจองกัน เพ่ือ
บรรยายและพรรณนาใหเ้ ห็นความเป็นอยขู่ องมนุษยแ์ ละโลกท้งั สาม ไดแ้ ก่ กายภมู ิ รูปภูมิและอรูปภมู ิ โดยมี
การลาดบั ความเป็ นไปตามลาดบั เร่ิมต้งั แต่แรกเกิดเป็ นกลละหรือเซลล์ท่ีมีขนาดเล็กมากจนเติบใหญ่เป็ น
เบญจสาขาหูดหรือหูดหา้ กิ่งจากน้นั เจริญข้ึนเป็นตวั คนอยใู่ นทอ้ งแม่จนกระทงั่ ถึงเวลาคลอด
โครงเร่ือง
ไตรภูมิพระร่วงมีเน้ือเรื่องเริ่มดว้ ยคาถานมสั การเป็ นภาษาบาลีแบ่งออกเป็ นคมั ภีร์ต่างๆเรียงตามลาดบั
การเวยี นวา่ ยตายเกิด และมีจุดประสงคใ์ นการแต่งและกล่าวถึงภูมิท้งั สาม
กลวธิ ีการแต่ง
ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ มีการแต่งบทประพนั ธ์โดยการใชพ้ รรณนาโวหารซ่ึงการพรรณนาน้นั
จะใชถ้ อ้ ยคาที่แจ่มแจง้ จนสามารถโนม้ นา้ วใจผอู้ า่ นใหค้ ลอ้ ยตามและเห็นภาพท่ีชดั เจนข้ึน
๒.คุณค่ำด้ำนวรรณศิลป์
๑.ภาษาและสานวนโวหาร
ในหนังสือไตรภูมิพระร่วงแม้ว่าจะเป็ นวรรณคดีโบราณท่ีใช้ภาษาไทยแบบเก่าและมีศพั ท์ทาง
พระพุทธศาสนาปะปนอยมู่ าก ทาให้อ่านยากสาหรับผูท้ ่ีไม่มีพ้ืนฐานทางพุทธศาสนามาก่อน แต่ในการใช้
สานวนพรรณนามีความแจ่มแจง้ ไพเราะ ช่วยใหเ้ กิดจินตภาพหลายตอนและทาใหเ้ กิดความรู้สึกคลอ้ ยตาม
ไปดว้ ย เช่น ตอนพรรณนาถึงความน่ากลวั ในนรกภูมิและความสุขสบายในสวรรค์ เป็นตน้
๒.การใชภ้ าษาหรือคาในการเรียบเรียง
หนงั สือไตรภูมิพระร่วงมีลกั ษณะคาประพนั ธค์ ือร้อยแกว้ ประเภทความเรียงดงั น้นั
๒.๑ มีคาสัมผสั คลอ้ งจอง เช่น
๑๕
“…ดุจดง่ั ลงิ เม่ือฝนตก และนำงกำมือเชำเจ่ำอยู่ในโพรงไม้น้ันแล ในท้องแม่น้ันร้อน
นักหนำดจุ ดงั่ เรำเอำใบตองเข้ำจ่อตน…”
สมั ผสั พยญั ชนะ ไดแ้ ก่ ดุจ-ดง่ั , ตอง-ตน
สมั ผสั สระ ไดแ้ ก่ เชา-เจ่า , ใน-ไม้ , แล-แม่ , เรา-เอา-เขา้
๒.๒ ใชภ้ าพพจน์เชิงอุปมา เช่น
“…ตืดแลเอือนฝงู น้ันเริมตวั กมุ ำรน้ันไซร้ ดจุ ดง่ั หนอนอนั อยู่ในปลำเน่ำ…”
เปรียบวา่ พยาธิฝงู น้นั ดุนเน้ือตวั ของเดก็ เหมือนกบั หนอนท่ีกาลงั ชอนไชในเน้ือปลาเน่า
“…เมื่อกมุ ำรน้ันคลอดออกจำกท้องแม่ ออกแลไปบ่มพิ ้นตน ตนเยน็ น้ันแลเจบ็ เนื้อเจบ็ ตนนกั หนำ
ดง่ั ช้ำงสำรอนั ท่ำนชักท่ำนเขน็ ออกจำกประตูลกั ษอนั น้อยน้ัน…”
เปรียบวา่ เมื่อคลอดลูกเสร็จ ความเจบ็ ปวดกม็ ิไดห้ ายไป เหมือนเอาชา้ งมาดึงมาลากตนออกจากรูกญุ แจ
นอ้ ยๆ
“…คร้ังถงึ ๗ วนั เป็ นดงั นำ้ ล้ำงเนื้อน้ันเรียกว่ำอมั พุทะ อมั พุทะน้ันใหญ่ไปทุกวำรไสร้ คร้ันได้ถงึ ๗ วำร
ข้นเป็ นดงั่ ตะกวั่ อนั เชื่อมอยู่ในหม้อเรียกชื่อว่ำเปสิ เปสิน้นั ค่อยใหญ่ไปทุกวนั คร้ังถงึ ๗ วนั แขง็ เป็ นก้อนดง่ั
ไข่ไก่เรียกว่ำฆณะ ฆณะน้ันค่อยใหญ่ไปทุกวนั คร้ันถึง ๗ วนั เป็ นตุ่มออกได้ ๕ แห่งดงั่ หูดน้ัน
เรียกว่ำเบญจสำขำหูด…”
เปรียบวา่ อยใู่ นครรภแ์ ม่ได้ ๗ วนั เป็นเหมือนน้าเรียกวา่ อมั พทุ ะ อีก ๗ วนั ชิ้นเน้ือในครรภม์ ารดาซ่ึงมี
ลกั ษณะขน้ เหมือนตะกวั่ เชื่อมเรียกวา่ เปสิ อีก ๗ วนั จะแขง็ เป็นกอ้ นเหมือนไข่ไก่เรียกวา่ ฆณะ และจะค่อยๆ
ใหญข่ ้ึนทุกวนั หลงั จากน้นั ๗ วนั กจ็ ะเป็นเบญจสาขาหูด หมายถึง หูดท่ีมี ๕ ตุ่ม ไดแ้ ก่ หวั ๑ ตุ่ม แขน ๒
ตุ่ม และขา ๒ ตุ่ม
“…อ่ำนว่ำสำยสะดือแห่งกมุ ำรน้ัน กลวงดงั่ สำยก้ำนบัวอนั มชี ่ือว่ำอุบล…”
เปรียบวา่ สายสะดือกลวงเหมือนกา้ นบวั
“…เหยยี ดตนี มือบ่มิได้ ดงั่ ท่ำนเอำใส่ไว้ในทีค่ บั …”
เปรียบวา่ ในครรภม์ ารดาเหมือนอยใู่ นท่ีคบั แคบ
“…กมุ ำรอยู่ในท้องแม่น้ันให้เจบ็ เพยี งจะตำยแล ดุจดง่ั ลกู ทรำยอนั เพง่ิ ออกแล อยู่ธรห้อย…”
๑๖
เปรียบวา่ เดก็ กจ็ ะเจบ็ ปวดประหน่ึงวา่ จะตาย เปรียบไดก้ บั ลูกเน้ือทราย
“…ผบิ ่มิดจุ ดงั่ คนอนั เมำเหล้ำ ผบิ ่มิดุจดงั่ ลกู งูอนั หมองูเอำไปเล่นน้ันแล…”
เปรียบวา่ เหมือนลูกเน้ือทรายที่อยใู่ นมือของคนเมาเหลา้ หรือลูกงูที่หมองูเอาไปเล่น
“…แลคบั ตัวออกยำกลำบำกน้ัน ผบิ ่มดิ งั น้นั ดง่ั คนผู้อยู่ในนรกแล
แลภูเขำอนั ช่ือคงั ไคยบรรพตหีบแลเหงแลบดบนี้ ้ันแล…”
เปรียบวา่ การคลอดออกยากลาบาก เหมือนอยใู่ นนรก
๒.๓ จินตภาพดา้ นภาพ
“… แลน่ังยองอยู่ในท้องแม่ แลกำมือท้ังสอง คู้คอต่อหัวเข่ำท้งั สอง เอำหัวไว้เหนือหัวเข่ำเมื่อน่ังอย่นู ้ัน
ดงั น้นั …”
ใหเ้ ห็นภาพวา่ เมื่อลูกอยใู่ นทอ้ งแม่ จะอยใู่ นลกั ษณะกามือ ขดตวั หวั ชนเขา่
“… แลกมุ ำรน้ันเจบ็ เนื้อเจ็บตนดงั คนอนั ท่ำนขงั ไว้ในไหอนั คบั แคบนักหนำ…”
ใหเ้ ห็นภาพวา่ ลูกเจบ็ เน้ือเจบ็ ตวั เหมือนถูกขงั ไวใ้ นไห
“… แลภูเขำอนั ชื่อคงั ไคยบรรพตหีบแลเหงแลบดบนี้ ้ันแล…”
ใหเ้ ห็นภาพวา่ เหมือนถูกบีบ ทบั และบดบ้ี
๒.๔ นาฏการ
“…ดจุ ดง่ั ลกู ทรำยอนั เพง่ิ ออกแล อยู่ธรห้อย ผบิ ่มีดจุ ดง่ั คนอนั เมำเหล้ำ
ผบิ ่มิดจุ ดง่ั ลกู งูอนั หมองูเอำไปเล่นน้ันแล…”
นาฏการ คือ ลูกเน้ือทรายถูกคลอดออกมาอยา่ งโคลงเคลง
“… เลือดแลนำ้ เหลืองย้อยลงเต็มตนยะหยดทุกเม่ือแล…”
นาฏการ คือ เลือดและน้าเหลืองหยดลง
“… บ่ห่อนได้เหยยี ดตนี เหยียดมือออกดงั่ เรำท่ำนท้งั หลำยนีส้ ักคำบหนง่ึ เลย…”
นาฏการ คือ ไม่ไดเ้ หยยี ดเทา้ เหยยี ดมือออก
๑๗
“… แลคับแคบแอ่นยนั นักหนำ…”
นาฏการ คือ ภายในครรภแ์ มค่ บั แคบเมื่อแอน่ ตวั
๒.๕ คาอพั ภาส
“…เลือดแลนำ้ เหลืองย้อยลงเตม็ ตนยะหยดทุกเมื่อแล…”
๒.๖ ใชค้ าซอ้ น
-คาซอ้ นเสียงและพยญั ชนะเดียวกนั เช่น ดุจดงั หนกั หนา คบั แคบ
-คาซอ้ นที่ใชเ้ สียงตรงกนั ขา้ ม เช่น เขา้ ออก
-คาซอ้ น ๔ คา ท่ีมีคาที่ ๑ และคาที่ ๓ เป็นคาๆเดียวกนั เช่น พึงเกลียดพงึ หน่าย ออกลูกออกเตา้
แคน้ เน้ือแคน้ ใจ ท่านชกั ท่านเขน็ เดือดเน้ือเดือดใจ กระหนกระหาย เยน็ เน้ือเยน็ ใจ เจบ็ เน้ือเจบ็ ตน
เช่น
“… เมื่อมนั อยู่ในท้องแม่น้นั ย่อมเดือดเนื้อร้อนใจและกระหนกระหำย…”
“… เมื่อจะคลอดออก ตนกมุ ำรน้ันเยน็ เย็นเนื้อเยน็ ใจ…”
“… ตนเยน็ น้นั แลเจบ็ เนื้อเจ็บตนนักหนำ…”
๒.๗ การสรรคา
• การเลือกใชค้ าไดถ้ ูกตอ้ งตรงตามความหมายท่ีตอ้ งการ
“…อำหำรอนั แม่กนิ เข้ำไปใหม่น้ันอยู่เหนือกมุ ำรน้ัน เมื่อกมุ ำรอยู่ในท้องแม่น้ันลำบำกนักหนำ พงึ
เกลยี ดพงึ หน่ำยพ้นประมำณนัก กช็ ื้นแลเหม็นกลน่ิ ตืดและเอือนอนั ได้ ๘๐ ครอก ซ่ึงอยู่ในท้องแม่อนั
เป็ นที่เหมน็ แลทีอ่ อกลูกออกเต้ำ ทีเ่ ถ้ำ ท่ตี ำยเร่ว ฝูงตืดแลเอือนท้งั หลำยน้ันคนกนั อยู่ในท้องแม่ ตืดแล
เอือนฝูงน้นั เริมตัวกมุ ำรน้ันไสร้ ดจุ ดงั่ หนอนอนั อยู่ในปลำเน่ำ แลหนอนอนั อยู่ในลำมกอำจมน้ันแล...”
• การเลือกใชค้ าท่ีเหมาะแก่เน้ือเร่ืองและฐานะของบุคคลในเรื่อง
“…คนผู้ใดอยู่ในท้องแม่ ๖ เดือนแลคลอดน้ัน บ่ห่อนจะได้สักคำบ คนผู้ใดอยู่ในท้องแม่ ๗ เดือนแลคลอดน้ัน
แม้เลยี้ งเป็ นคนกด็ ี บ่มไิ ด้กล้ำแขง็ บ่มทิ นแดดทนฝนได้แล...”
• การเลือกใชค้ าใหเ้ หมาะแก่ลกั ษณะคาประพนั ธ์
๑๘
“…ผริ ูปอนั จะเกดิ เป็ นชำยกด็ เี ป็ นหญงิ กด็ เี กดิ มีอำทิแต่เกดิ เป็ นกลละน้ันโดยใหญ่แต่ละวนั แลน้อย คร้ันถึง ๗
วนั เป็ นดงั่ นำ้ ล้ำงเนื้อน้ันเรียกว่ำอมั พทุ ะ อมั พุทะน้ันโดยใหญ่ไปทุกวำรไสร้…”
• การเลือกใชค้ าโดยคานึงถึงเสียง
o การเล่นสมั ผสั คลอ้ งจอง
“...แลนั่งยองอยู่ในท้องแม่ แลกำมือท้งั สอง คู้คอต่อหัวเข่ำท้งั สอง เอำหวั ไว้เหนือหัวเข่ำเม่ือนั่งอยู่ น้ัน…”
o การใชค้ าซอ้ นเพอ่ื เนน้ ความ
“…แลกมุ ำรน้ันเจ็บเนื้อเจบ็ ตนดงั่ คนอนั ท่ำนขงั ไว้ ในไหอนั คบั แคบนกั หนำ แค้นเนื้อแค้นใจ แลเดือด
เนื้อเดือดใจนักหนำ…”
o การย้าคาท่ีมีความหมายเหมือนกนั หรือใกลเ้ คียงกนั
“…แลภูเขำอนั ช่ือคงั ไคยบรรพตหีบแลเหงแลบดบนี้ ้ันแล...”
“…แลผู้น้อยน้ันกไ็ ด้กนิ ทุกคำ่ เช้ำทุกวนั ...”
o การเลน่ อกั ษร เสียงสมั ผสั สระ และสมั ผสั พยญั ชนะ
“ผริ ูปอนั จะเกดิ เป็ นชำยกด็ เี ป็ นหญงิ กด็ .ี ..”
“…ออกลกู ออกเต้ำ ทเ่ี ถ้ำ ทตี่ ำยทเี่ ร็ว...”
“…ด้วยบุญกมุ ำรน้ันจะเป็ นคนแลจึงให้บมิไหม้บมติ ำย…”
๒.๘ การใชโ้ วหาร
• บรรยายโวหาร
“…สิ่งอำหำรอนั แม่กนิ เข้ำไปในท้องน้ันไหม้และย่อยลง ด้วยอำนำจแห่งไฟธำตุอนั ร้อนน้ัน ส่วนตัวกมุ ำร
น้ันบมไิ หม้ เพรำะว่ำเป็ นธรรมดำด้วยบุญกมุ ำรน้ันจะเป็ นคนแลจึงให้บมิไหม้บมิตำยเพ่ือดงั่ น้ันแล แต่กมุ ำร
น้ันอยู่ในท้องแม่ บ่ห่อนได้หำยใจเข้ำออกเสียเลย บ่ห่อนได้เหยยี ดตนี มือออกดง่ั เรำท่ำนท้งั หลำยนีส้ ักคำบ
หน่ึงเลย…”
• พรรณนาโวหาร
“…เบื้องหลงั กมุ ำรน้ันต่อหลงั ท้องแม่ แลนั่งยองอยู่ในท้องแม่ แลกำมือท้ังสอง คู้คอต่อหัวเข่ำท้งั สองเอำหัว
ไว้เหนือหัวเข่ำเมื่อน่ังอยู่น้ันดงั่ น้ัน เลือดแลนำ้ เหลืองย้อยลงเตม็ ตนยะหยดทุกเมื่อแล...”
๑๙
• อปุ มาโวหาร
“…ฝูงตืดแลเอือนท้ังหลำยน้ันคนกนั อยู่ในท้องแม่ ตืดแลเอือนฝูงน้ันเริมตัวกมุ ำรน้นั ไสร้ ดจุ ดงั่ หนอนอนั อยู่
ในปลำเน่ำ แลหนอนอนั อยู่ในลำมกอำจมน้ันแล อนั ว่ำสำยสะดือแห่งกมุ ำรน้ันกลวงดงั่ สำยก้ำนบวั อนั มชี ื่อว่ำ
อบุ ล…”
“…แลกมุ ำรน้ันเจบ็ เนื้อเจบ็ ตนดงั่ คนอนั ท่ำนขังไว้ ในไหอนั คบั แคบนกั หนำ แค้นเนื้อแค้นใจ แลเดือดเนื้อ
เดือดใจนักหนำ เหยยี ดตนี มือบ่มไิ ด้ดง่ั ท่ำนเอำใส่ไว้ในทค่ี บั ผแิ ลว่ำเม่ือแม่เดนิ ไปกด็ ี นอนกด็ ี ฟื้ น ตนกด็ ี
กมุ ำรอยู่ในท้องแม่น้ันให้เจบ็ เพยี งจะตำยแล ดุจดงั่ ลูกทรำยอนั พง่ึ ออกแล อยู่ธรห้อย ผบิ ่มดิ จุ ดงั่ คนอนั เมำ
เหล้ำ ผบิ ่มดิ จุ ดง่ั ลกู งูอนั หมองูเอำไปเล่นน้ันแล…”
๓. ด้ำนสังคม
๑.คุณค่าดา้ นศาสนา
-ความเช่ือเร่ืองนรก สวรรค์ ยมบาล
“...นรกบ่าวอนั ดบั น้นั เป็ นคารบ ชื่อวา่ อโยทกนรกแล คนผู้ ใดอนั ฆ่าสัตวซ์ ่ึงมีชีวิต เชือดคสัตวน์ ้นั
ให้ตายไสร้ คนฝงู น้นั คร้ันว่าตายไปเกิดในนรกน้นั แล สัตวน์ รกน้นั มีตวั อนั ใหญ่แลสูงได้ ๖,000 วา ในนรก
น้นั มีหมอ้ เหลก็ แดงอนั ใหญ่เท่าภูเขาอนั ใหญ่ แลฝงู ยมบาลเอาเชือกเหลก็ แดง อนั ลูกเป็นเปลวไฟไส่กระหวดั
รัดตวั เขา แลว้ ตระบิดใหค้ อเขาน้นั ขาดออกแลว้ เอาหวั เขาทอดลงในหมอ้ เหลก็ แดงน้นั เม่ือแลหวั เขาดว้ นอยู่
ดงั น้นั ไสร้ บดั เดี๋ยวก็บงั เกิดหัวอนั หน่ึงข้ึนมาแทนเล่า ฝูงยมบาลจึงเอาเชือกเหล็กแดงบิดคอให้ขาดแลว้ เอา
หวั ทอดลงในหมอ้ เหลก็ แดงอีกเล่า แต่ทาอยดู่ งั่ น้ีหลายคาบหลายครานกั ตราบเท่าสิ้นอายแุ ลบาปกรรมแห่ง
เขาในที่น้นั แล…”
การทาบาปจะตกนรก แนวความคิดน้ีมีอิทธิพลเหนือจิตใจของคนไทยมาชา้ นาน เป็ นเสมือนแนว
การสอนศีลธรรมของสงั คม ใหค้ นปฏิบตั ิชอบซ่ึงเป็นประโยชนต์ ่อการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คม
-ประชาชน, จกั รพรรดิ, พระอินทร์ มีสิทธิเวยี นวา่ ยตายเกิดและตกนรก
“ฝงู สตั วท์ ้งั หลายอนั เกิดในไดรภพน้ี แมน้ วา่ มียศศกั ด์ิสมบตั ิกด็ ี คือดงั่ วา่ พระญามหาจกั รพรรดิราช
น้นั กด็ ี ดง่ั พระอินทร์เจา้ ไตรตรึงษพ์ ิภพกด็ ี ดงั่ พระพรหมกด็ ี ท้งั น้ีมีห่อนจะยนื อยมู่ น่ั คงในยศศกั ด์ิสมบตั ิน้ี ใต้
เลยสกั คาบ เทียรยอ่ มรู้ฉิบหาย รู้ตายจาก รู้พลดั พรากจากสมบตั ิน้นั แล อนั วา่ พระอินทร์กด็ ี พระพรหมกด็ ี
คร้ันวา่ ถึงเม่ือสิ้นแก่อายแุ ลว้ กเ็ ทียรยอ่ มท่องเท่ียวเวยี นไปมาในไตรภพน้ีบ่มิรู้แลว้ เลยสกั คาบ บวงคามเลา่ ไป
เกิดในจตุราบาย แลวา่ ไดท้ นทุกขเวทนามากนกั หนากม็ ี แลยอ่ มวา่ บม่ ิเที่ยงในสงสารน้ี...”
-สะทอ้ นสัจธรรมของชีวิต หรือ การเวียนวา่ ยตายเกิด
๒๐
“...เมื่อถึงจกั คลอกน้นั กด็ ีดว้ ยกรรมน้นั กลายเป็นลมในทอ้ งแม่สิ่งหน่ึง พดั ใหต้ วั กุมารน้นั ข้ึนหนบน
ให้หัวลงมาสู่ท่ีจะออกน้ัน ดุจดง่ั ฝูงนรกอนั ยมบาลกุมตีนแลหยอ่ นหัวลงในชุมนรกน้ัน อนั ลึกใดแ้ ลร้อยวา
น้นั เมื่อกมุ ารน้นั คลอดออกจากทอ้ งแม่ ออกแลไปบ่มิพน้ ตน ตนเยน็ น้นั แลเจบ็ เน้ือเจบ็ ตนหนกั หนา...”
“...ผิแลวา่ เม่ือแม่เดินไปก็ดี นอนก็ดี ฟ้ื นตนก็ดี กุมารในทอ้ งแม่น้นั ให้เจ็บเพียงจะตายแล ดุจดงั่ ลูกทรายอนั
พ่งึ ออกแล อยธู่ รหอ้ ย ผบิ ่มิดุจดงั่ คนอนั เมาเหลา้ ผบิ ่มิดุจดงั่ ลูกงูอนั หมองูเอาไปเล่นน้นั แล…”
๒.คุณคา่ ดา้ นจริยธรรม
ไตรภูมิพระร่วงกาหนดกรอบแห่งการประพฤติปฏิบตั ิใหแ้ ก่คนในสงั คมท้งั ฝ่ ายผปู้ กครองและฝ่ ายผู้
ถูกปกครอง อนั เป็นความพยายามสงั คมใหม้ ีความเป็นอยทู่ ี่สงบสุข ปราศจากความวนุ่ วายต่าง ๆ เช่น
-เรื่องอาเพศบา้ นเมือง หากษตั ริยไ์ ม่มีคุณธรรมจะทาใหป้ ระชาชนเดือดร้อน
“...ผิแลวา่ ทา้ วพระญองคใ์ ด แลเสวยราชสมบตั ิแลว้ แลทาความชอบธรมไสร้ ไพร่ฟ้าขา้ ไทท้งั หลายกอ็ ยเู่ ยน็
เป็ นสุข ไดห้ ลกั ขาคดีในศรีสมบตั ิเพราะดว้ ยบุญสมการของท่านผูเ้ ป็ นเจา้ เป็ นจอม แลขา้ วน้าซาปลาอาหาร
แกว้ แหวนแสนสดั เนาวรัตนเงินทองผา้ ผอ่ นแพรพรรณน้นั กบ็ ริบูรณ์ อีกฝงู เทวาฟ้าฝนน้นั กต็ กชอบฤดูกาล บ่
มินอ้ ยบ่มิมาก ท้งั ขา้ วในนาท้งั ปลาในน้ากป็ ห่อนรู้ร่วงโรยเสียไปดว้ ยฝนแลง้ เลย...”
“...แลทา้ วพระญาองคใ์ ดกระทาความอนั บ่มิชอบคลองธรรมไสร้เทวาฟ้าฝนน้นั ก็พิปริต แมน้ ทาไร่ไถนาก็
บนั ดาลใหเ้ สียหายตายดว้ ยแลง้ แลฝนแล...”
๓.ดา้ นวิทยาศาสตร์
มีการอธิบายการเกิดของมนุษยต์ ามหลกั การทางวิทยาศาสตร์ เช่น การกาเนิดมนุษย์ กลละ หมายถึง
การปฏิสนธิ ๗ วนั คือ อมั พุทะ(น้าลา้ งเน้ือ) ๑๔ วนั คือ เปสิ(ชิ้นเน้ือ) ๒๑ วนั คือ ฆนะ(กอ้ นเน้ือ,แท่งเน้ือ
ขนาดเท่าไข่ไก่) ๒๘ วนั คือ เบจญสาขาหูด(มีหวั แขน๒ ขา๒)ครบ๑เดือน ๓๕ วนั มีฝ่ ามือ นิ้วมือ ลายนิ้วมือ
๔๒ วนั มีขนเล็บมือ เล็บเทา้ (เป็ นมนุษยโ์ ดยสมบูรณ์) ๕๐ วนั ท่อนล่างสมบูรณ์ ๘๔ วนั ท่อนบนสมบูรณ์
๑๘๔ วนั เป็ นเด็กสมบูรณ์ น่ังกลางทอ้ งแม่(๖เดือน) การคลอด ทอ้ ง๖เดือน คลอดไม่รอด (บ่ห่อนไดส้ ัก
คาบ) ทอ้ ง๗เดือน คลอดไม่แขง็ แรง(บ่มิไดก้ ลา้ แขง็ )
๒๑
บรรณำนุกรม
๑.http://www.kr.ac.th/ict642/content/16-3.pdf
๒.Mongkol. ๒๕๕๓. ไตรภูมิพระร่วง. [ระบบออนไลน]์ . แหล่งท่ีมา
๓.https://www.mtk.ac.th/ebook/forum_posts.asp?TID=1754. (๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๕)
อรศิริ. ๒๕๖๒. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา ไตรภูมิพระร่วง. [ระบบออนไลน]์ . แหล่งที่มา
๔.http://ornsirinwk.blogspot.com/2019/08/blog-post_29.html. (๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๕)
นาง kanjana pom bintavihok. ๒๕๕๓. ไตรภูมิพระร่วง. [ระบบออนไลน]์ . แหล่งท่ีมา
๕.https://www.gotoknow.org/posts/408054. (๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๕)
วาทิน ศานต์ิ สนั ติ.๒๕๕๔. วรรณคดี:ไตรภูมิพระร่วง(ฉบบั สรุป).
[ระบบออนไลน]์ .แหลง่ ท่ีมาhttps://www.gotoknow.org/posts/422620. (๗ สิงหาคม ๒๕๖๕)
๖.สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวจิ กั ษ์ ช้นั
มธั ยมศึกษาปี ท่ี๖. พมิ พค์ ร้ังท่ี๑๕. กรุงเทพฯ:โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว, ๒๕๖๔
ครูอภิเชษฐ์ บุญศรี. ๒๕๖๔. คุณค่าดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม ไตรภูมิพระร่วง ตอนมนุสสภูมิ. [ระบบ
ออนไลน]์ .แหลง่ ที่มา https://youtu.be/_OgMHzRUPzU.(๑๒สิงหาคม๒๕๖๕)
๗.โรงเรียนบางปะอิน "ราชานุเคราะห์ ๑". หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๕ ไตรภูมิพระร่วง ตอนมนุสส
ภูมิ. [ระบบออนไลน์].แหล่งท่ีมาhttp://racha1-online.school/wp
content/uploads/2020/06/%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A0%E0%B8%B9
%E0%B8%A1%E0%B8%B4.pdf .
๒๒