The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ketsaraporn3011, 2019-06-19 21:48:42

Unit 1

Unit 1

บทท่ี 1

ความสาคญั ของการปรบั ปรุงพนั ธ์สุ ัตว์

ครคู ธั รยี า มะลวิ ลั ย์

แผนกวชิ าสตั วศาสตร์
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา

บทท่ี 1

ความสาคญั ของการปรบั ปรงุ พันธส์ุ ตั ว์

หวั ข้อเรอ่ื ง
1. ความหมายของการปรับปรงุ พนั ธุสัตว์
2. ความสาคัญของการปรับปรุงพนั ธุสตั ว์
3. องคป์ ระกอบหลักของการปรับปรุงพันธุสัตว์
4. ประวัตกิ ารปรบั ปรุงพนั ธุสตั ว์

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้(นาทาง)
1. เพอ่ื ใหม้ ีความรู้และเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความหมายของการปรับปรงุ พันธุสัตว์
2. เพอ่ื ให้มีความร้แู ละเข้าใจเก่ียวกบั ความสาคญั ของการปรบั ปรงุ พันธุสัตว์
3. เพื่อให้มีความรูแ้ ละเข้าใจเก่ียวกบั องค์ประกอบหลักของการปรบั ปรุงพนั ธุสัตว์
4. เพอื่ ให้มีความร้แู ละเขา้ ใจเก่ียวกับประวตั ิการปรบั ปรุงพันธุสัตว์

จดุ ประสงค์การเรียนรู้(ปลายทาง)
1. อธบิ ายความหมายและความสาคัญของการปรบั ปรุงพนั ธุสตั วไ์ ด้
2. บอกองคป์ ระกอบหลกั ของการปรบั ปรงุ พันธุสตั ว์ได
3. บอกประวตั ิการปรับปรงุ พันธุสัตว์ได

เนือ้ หาการสอน
1. ความหมายของการปรับปรงุ พันธุสตั ว์

การปรับปรุงพันธ์ุสัตว์ หมายถึง การปรับปรุงพันธุกรรมของสัตว์เพื่อให้ได้สัตว์ที่มีคุณลักษณะตาม
วัตถุประสงค์ท่ีวางไว้ การแสดงออกของลักษณะต่างๆ ของสัตว์ขึ้นอยู่กับอิทธิพลขององค์ประกอบทาง
พันธกุ รรม และสภาพแวดลอ้ ม การปรับปรุงพนั ธ์สุ ัตวเ์ ป็นศาสตร์อย่างหนึ่งที่ส่งผลสมรรถภาพการผลิตของ
สัตว์ ด้วยการปรับปรุงทางด้านพันธุกรรม เพ่ือให้ได้สัตว์ท่ีมีคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว โดยอาศัย
ข้ันตอนการปรับปรุงพันธุ คือ การคัดเลือกและการผสมพันธุสัตว์ ท้ังน้ีต้องทาการคัดเลือกอย่างรอบคอบ
และมีกฎเกณฑ์ แล้วนาสตั ว์ท่ีคัดเลือกไวมาทาการผสมพันธุตามแผนการผสมพันธุท่ีถูกกาหนดไว แผนการ
ปรับปรุงพันธุกรรมของสัตว์จะดาเนินไปไดตองนาความรูทางวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ มาใช้ ไดแก ชีววทิ ยา
สรีรวิทยา ชวี เคมี พันธุศาสตร์ และสถติ ิ รวมท้ังความสาคัญในเชงิ เศรษฐกิจของลักษณะและกฎเกณฑ์อ่ืนๆ
รว่ มดว้ ย และผลผลติ ที่ไดน้ นั้ มีคณุ ภาพตรงกบั ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค

2. ความสาคัญของการปรับปรงุ พนั ธ์ุสัตว์
โดยธรรมชาติสัตว์ก็มีการผสมพันธุ์และการคัดเลือกพันธ์ุกันตามธรรมชาติ (natural selection)

อยู่แล้ว ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีของการวิวัฒนาการ (evolution) แต่ในด้านการปรับปรุงพันธุ์สัตว์เป็นการ
กระทาของมนุษย์ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายท่ีจะทาให้สัตว์ที่เกิดข้ึนในรุ่นต่อๆ มามีคุณภาพมากข้ึน ดังน้ัน

ความสาคัญของการปรับปรุงพันธ์ุสัตว์ คือ ได้สัตว์ท่ีมีคุณภาพดีกว่าสัตว์ที่อยู่ตามธรรมชาติเกือบทุกด้าน
และมีความเหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ มซึ่งถือว่าเป็นความสาคัญของการปรบั ปรุงพนั ธ์สุ ตั ว์

ในการผสมพันธ์ุสัตว์อย่างมีระเบียบนั้น ผู้ผสมจะต้องเก็บข้อมูลอย่างละเอียด เช่น รู้ประวัติ ความ
เปน็ มาของพ่อแม่ รวู้ ัน เดอื น ปีเกิด รูค้ วามสามารถของสัตว์ทุกตัว ซ่งึ เราจะเก็บขอ้ มูลไว้ในสมุดคูฝ่ ูง และใน
ที่สุดการเก็บหลักฐานเกี่ยวกับพันธุ์สัตว์ก็เกิดขึ้น ได้มอบให้สมาคมพันธุ์สัตว์ (breed association) เป็น
ผู้จัดทาหลักฐานต่าง ๆ หลังจากสัตว์ตัวนั้นได้ถูกรับรองจากสมาคมว่าเป็นสัตว์พันธ์ุแท้ (pure breed)
ปัจจุบันจะผสมพันธ์ุแท้กับพันธุ์พื้นเมืองเพื่อให้ได้ลูกผสม (hybrid) ท่ีให้ผลผลิตท่ีดีกว่าพันธ์ุพื้นเมืองท่ีมีอยู่
เดิม ซง่ึ การปรบั ปรงุ พันธส์ุ ตั ว์ในอนาคต มี 2 ลักษณะ คือ

1. นาพันธุแ์ ท้จากต่างประเทศเขา้ มาเลี้ยงโดยตรง
2. ยกระดับพนั ธพ์ุ ้นื เมอื งใหม้ ีสายเลือดพันธ์ตุ ่างประเทศสูงขน้ึ เชน่

การปรับปรุงพันธ์ุสัตวก์ ่อให้เกิดประโยชนต์ ่อผู้ที่ประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์อยา่ งมากมาย ท้ังนเี้ พราะ
การปรับปรงุ พันธ์ุสัตว์นอกจากจะทาให้เกิดสัตว์พันธุ์ใหมแ่ ละไดพ้ ันธ์ุสตั ว์ท่ีดใี ห้ผลผลิตตรงกบั ความต้องการ
ของตลาดแล้ว การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ยังก่อให้เกิดการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพ่ือนามาใช้ในการคัดเลือก
และผสมพันธุ์สัตว์ เช่น การย้ายฝากตัวอ่อน และการตัดต่อยีน เป็นต้น ซ่ึงประโยชน์ของการปรับปรุงพันธุ์
สตั ว์มดี ังนี้

1. ทาให้เกิดสตั วพ์ ันธุใ์ หม่ขึ้นมาและเหมาะสมที่จะเลีย้ ง
2. ทาใหไ้ ดส้ ัตว์ทส่ี ามารถให้ผลผลิตสูงกว่าเดิม โดยใชเ้ วลาเลีย้ งและอาหารน้อยลง
3. ทาให้ได้สตั วท์ ม่ี ีลกั ษณะตรงกบั ความต้องการของตลาด
4. ทาให้ประหยัดเงนิ ตราในการสัง่ ซอ้ื เนือ้ สัตว์และผลติ ภัณฑส์ ัตวจ์ ากตา่ งประเทศ

3. องคป์ ระกอบหลกั ของการปรับปรุงพนั ธุสัตว์
การปรับปรุงพันธุสัตว์ท่ีทากันมาแต่โบราณนั้น มีองค์ประกอบหลัก 3 อย่าง คือ การคัดเลือกพันธ์ุ

สตั ว์ การตรวจสอบสายพันธ์ุ และการผสมพันธุ์สัตว์ เป็นวิธีการท่ีผู้เลี้ยงสัตว์ทุกคนควรจะทราบและเรียนรู้
วิธีการปฏิบัติ ท้ังน้ีเพราะทั้งการคัดเลือกและการตรวจสอบสายพันธ์ุมีความสาคัญต่อ ผลสาเร็จของอาชีพ
เล้ียงสัตว์ หากผู้เลี้ยงสัตว์มีการคัดเลือกพันธ์ุสัตว์ที่ใช้เลี้ยงได้อย่างถูกต้องแม่นยาย่อมส่งผลต่อความสาเร็จ
ได้เปน็ อยา่ งมาก ซ่ึงมรี ายละเอียดดังต่อไปนี้

1. การคัดเลือกพันธ์ุสัตว์ (selection) หมายถึง ขบวนการท่ีสัตว์ตัวใดตัวหน่ึงในฝูงมีโอกาส
สืบพนั ธ์ุมากกว่าสตั ว์ตวั อนื่ สัตว์ทถ่ี กู คดั เลือกไวจะถา่ ยทอดพนั ธกุ รรมสูลูกในรุ่นต่อไป

การคัดเลือกเป็นขบวนการที่สัตวต์ ัวใดตัวหน่งึ ในฝูงมีโอกาสท่ีจะถูกคัดเลือกไว้เพื่อให้สบื พันธุ์ไปยัง
ชั่วอายุต่อไป การคัดเลือกพันธุ์เป็นวิธีการอย่างหนึ่งในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ โดยใช้ร่วมกับแผนการผสม
พันธุ์เพอ่ื ใหไ้ ด้สัตวร์ นุ่ ตอ่ ๆ ไปมีลักษณะทด่ี ตี ามความต้องการมากยิง่ ขึ้น ถา้ หากเราทาการคัดเลอื กพันธุ์สตั ว์
ได้อย่างถูกต้องแม่นยาแล้วเราก็จะได้สัตว์เล้ียงท่ีให้ผลตอบแทนสูงในที่สุด การคัดเลือกแบ่งออกเป็น
2 แบบ ดังนี้

1) การคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ส่วนใหญ่จะเก่ียวข้องกับการปรับตัว
ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและในด้านวิวัฒนาการ สัตว์ท่ีแข็งแรงจะมีโอกาสในการถ่ายทอดพันธุกรรม
ไดม้ ากกวา่ พวกทอี่ อ่ นแอ

2) การคัดเลือกพันธุ์โดยมนุษย์ (artificial aselection) เป็นการคัดเลือกโดยมนุษย์
เพ่ือให้ได้ลักษณะต่าง ๆ ตามความตอ้ งการของมนุษย์ โดยใช้เคร่ืองไม้เครื่องมือ และวิทยาการ สมัยใหม่เข้า
ช่วย การคดั เลือกโดยมนษุ ยม์ ักจะได้สตั ว์ท่มี คี ุณภาพดี ใหผ้ ลิตผลสงู และได้ผลรวดเรว็ ในการคดั เลือก

2. การตรวจสอบสายพันธุ์ ( breed evolution or breed approvment)
การตรวจสอบสายพันธ์ุ หมายถึง การศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมในสัตว์ สัตว์ตัวใดท่ีจะถือเป็น
สัตว์พันธ์ุแท้ได้ก็ต้องมีการทดสอบความสามารถในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปยังลูก
การตรวจสอบเพ่ือรับรองว่าเป็นสัตว์พันธ์ุแท้ ( pure breed) จะต้องศึกษาลักษณะต่าง ๆ ดังน้ี

1) บนั ทึกพนั ธ์ุประวัติ
2) พนั ธุกรรมทค่ี วบคุมการใหผ้ ลผลิต
3) พนั ธุกรรมที่ควบคุมลักษณะภายนอกของสตั ว์แต่ละตวั ในฝงู
4) ความสามารถในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใหแ้ ก่ลกู
5) ผลของการผสมขา้ มกบั สตั ว์พนั ธแ์ุ ท้พนั ธ์ุอ่ืน ๆ
3. การผสมพันธ์ุสัตว์ (mating system) เป็นการกาหนดให้คูสัตว์ท่ีจะมาผสมพันธ์ุกันเป็นไปตาม
แผนผัง หรือรูปแบบการผสมพันธุสัตว์แบบต่างๆ ท่ีมนุษย์กาหนดข้ึน เพื่อให้ไดสัตว์ท่ีมีลักษณะต่างๆ ตาม
กาหนด การคดั เลือกสตั ว์ท่ีแม่นยาตอ้ งกระทาควบคูไปกับการวางแผนผสมพันธ์ุสตั ว์

4. ประวัติการปรับปรุงพนั ธุสตั ว
การปรับปรุงพันธุสัตวโดยมนุษย เช่ือวาเกิดขึ้นหลังจากท่ีไดนาสัตวมาเลี้ยงเม่ือประมาณ 10,000

ป ท่ีผานมา โดยสนั นิษฐานวามนษุ ยไดออกไปลาสัตวแลวนาลูกสตั วอายนุ อยมาเล้ียง หรือนาสัตวท่ีพิการมา
กักขังไวและเร่ิมเรียนรูวิธีการเลี้ยงสัตว จนในท่ีสุดสามารถเลี้ยงได สัตวท่ีมนุษยนามาเล้ียงชนิดแรก คือ
สุนัข สาหรับสัตวเลี้ยงท่ีมีความสาคัญทางเศรษฐกิจ ไดแก โค สุกร และไก โดยมีแหลงกาเนิดและประวัติ
การนามาเล้ียง การปรับปรุงพันธุสัตว แบงออกไดเปน 2 ยุค ไดแก การปรับปรุงพันธุสัตวในยุคแรก
ซึ่งเปนยุคที่ไมมีแบบแผนกฎเกณฑแนนอน และยุคที่สองคือปจจุบันซึ่งเปนยุคท่ีมีแบบแผนกฎเกณฑ์
แนนอน เนือ่ งจากมคี วามเจริญทางวชิ าการมากข้ึน โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี

1. การปรับปรงุ พันธ์ุสตั วใ์ นยคุ แรก
การปรับปรุงพันธ์ุสัตว์ในยุคแรกเริ่มเม่ือประมาณ ป ค.ศ. 1760 นักเลี้ยงสัตว์ชาวอังกฤษช่ือ
โรเบิร์ต แบคเวล (Robert Bakewell) ไดทาการผสมพันธุสัตว์ตัวที่มีลักษณะดีเด่นเข้าด้วยกัน และทาการ
คัดเลือกลักษณะท่ีดีเด่นกว่าตัวอื่นไวผสมพันธุในรุ่นต่อไป ทาให้สัตว์รุ่นต่อไปมีลักษณะดีขึ้น ซ่ึงในปัจจุบัน
เรียกการผสมพนั ธุแบบน้ีวา่ การผสมแบบเลอื ดชดิ (inbreeding)

ภาพท่ี 1.1 Robert Bakewell

Robert Bakewell ไดรับการยกย่องว่าเป็นบิดาของวิชาการผสมพันธุ สัตว์ เป็นชาวอังกฤษ
เกิดเม่ือ ป ค.ศ. 1725 ในครอบครัวเกษตรกร เม่ืออายุได 35 ป ในปี ค.ศ. 1760 เขาไดเร่ิมงานผสมพันธุ์
สัตว์ด้วยการผสมม้า แกะ และโค โดยมีจุดมุ่งหมายท่ีจะให้ไดผลผลิตคุณภาพสูงที่สุด กล่าวคือ สัตว์ให้เน้ือ
ไมใ่ ช่จะมขี นาดใหญ่และน้าหนักมากอย่างเดยี ว จะต้องให้เน้อื ท่ีมคี ุณภาพดี รูปร่าง รปู ทรงจะต้องเกื้อกูลแก
ลักษณะการให้เนื้อที่ดีและปริมาณมาก ไดแก ทรงเตี้ย เป็นรูปเหลี่ยม กะทัดรัด และถึงวัยหนุ่มสาวเร็ว ใน
ที่สดุ กบ็ รรลจุ ุดมุ่งหมาย ประสบความสาเรจ็ เป็นท่ีเลื่องลอื ในหมูนักเลย้ี งปศสุ ัตว์ในสมัยน้ัน จึงมผี ู้สมัครเป็น
ลูกศิษย์เข้าฝึกงานในฟาร์มของ Bakewell โดยไม่ขอค่าจ้าง หรือค่าตอบแทนใดๆ ท้ังน้ีก็เพื่อหวังจะเรียนรู
วิธกี ารปรับปรุงพันธุของ Bakewell นน่ั เอง เช่น พี่น้องตระกูลคอลลงิ (Collings) ไดทาการปรับปรุงโคพันธุ
พื้นเมืองช่ือ ชอรตฮอรน (Shorthorn) จนมีคุณภาพดีมีความสม่าเสมอและกลายมาเป็นพันธ์ุแท้ (pure
breeds) Bakewell เสียชีวิตใน ปี 1795 ขณะที่มีอายุได 70 ปี โดยหลักสาคัญในการทางานของ Robert
Bakewell คือ

1) มีหลักการคัดเลือกพ่อพันธ์ุที่ถูกต้องจนไดพ่อพันธ์ุดีจริงๆ ซ่ึงวิธีการน้ีต่อมานักผสมพันธุ์สัตว์รุ่น
หลัง ๆ เรียกว่า วิธีการทดสอบลูก (progeny testing) วิธีการก็คือเมื่อคัดเลือกพ่อพันธ์ุท่ีมีลักษณะดีไว
หลายๆ ตัว แล้วให้ฟาร์มอ่ืนเช่าไปใช้เป็นพอ่ พนั ธ์ุในราคาถกู แทนที่จะขายขาดกันไป แลว Bakewell จะไป
เย่ียมเพื่อติดตามประเมินผลว่า พ่อพันธุ์ตวั นั้นๆ มีความสามารถในการถ่ายทอดลักษณะทีด่ ีไปสูลูกหลานได
ดีเพียงใด ถาการถ่ายทอดลักษณะเป็นท่ีพึงพอใจ Bakewell ก็จะขอคืนเพื่อนากลับไปใช้เป็นพ่อพันธุใน
ฟาร์มของเขา วิธีนี้เท่ากับฟาร์มปศุสัตว์เหล่านั้น ช่วยทาหน้าท่ีทดสอบคุณภาพพ่อพันธุ์สัตว์ให้กับ
Bakewell ด้วยความยินดีและพอใจด้วยกนั ทง้ั 2 ฝ่าย

2) มีระบบการผสมพันธุสัตว์ท่ีดี (breeding systems) เม่ือ Bakewell คัดเลือกไดพ่อแม่พันธุ์ที่ดี
แลว เขาก็ใช้หลักการผสมพันธ์ุท่ีว่า “ผสมพันธุสัตว์ท่ีดีท่ีสุด เข้ากับตัวท่ีดีท่ีสุด” เพื่อให้ไดลูกหลานออกมา
เป็นตัวที่ดีต่อไป ตามคาพังเพยที่ว่า “ลูกไมหล่นไม่ไกลต้น” วิธีการของ Bakewell ทาให้เกิดการผสมพันธุ
แบบในสายตระกูล (line breeding) เพราะสัตว์มีความเก่ียวข้องเป็นเครือญาติกัน (แต่ไม่ใช่พ่อผสมลูก)
ทาให้เกิดความสม่าเสมอในฝูง ซึ่งต่อมาเรียกว่าพันธ์ุแท้ เช่น โคพันธุลองฮอร์น (Longhorn) แกะพันธ์ุ

เลสเตอร์ (Leicester) ม้าพนั ธ์ุไชร์ (Shire) ผลงานการปรับปรุงพนั ธ์ุสัตว์ของ Bakewell ทาให้โค แพะ และ
แกะ มีน้าหนักขณะส่งตลาดเพม่ิ เป็น 2 เทา

ภาพที่ 1.2 โคพนั ธุลองฮอรน์ (Longhorn)

ภาพท่ี 1.3 แกะพนั ธเ์ุ ลสเตอร์ (Leicester)

ภาพที่ 1.3 ม้าพันธุ์ไชร์ (Shire)

2. การปรับปรงุ พนั ธ์ุสตั วใ์ นยคุ ปจั จุบนั
เร่ิมขึ้นเมื่อประมาณ ป ค.ศ. 1900 ซ่ึงเป็นปีที่ 25 หลังจากกฎการถ่ายทอดลักษณะของเมนเดล
(Gregor John Mendel) ได้ถูกค้นพบ ด้วยการนากฎการถ่ายทอดลักษณะของเมนเดลมาใช้ร่วมกับวิชา
พันธุศาสตร์และวิชาสถิติ ทาให้การปรับปรุงพันธุ์สัตว์เริ่มเป็นวิทยาศาสตร์ข้ึน ซ่ึงไดรับการพัฒนาครั้งแรก
โดยฟชเช่อร (Fisher) และไรท (Wright) โดยลัช (Lush) นามาขยายความต่อเพื่อนามาใช้ในการปรับปรุง
พันธ์ุสัตว์ในทางปฏบิ ตั ิ หลักการดงั กล่าวถูกใช้ตลอดครึง่ ศตวรรษท่ีผ่านมา
3. การปรับปรงุ พันธ์ุสัตวใ์ นประเทศไทย การปรับปรุงพนั ธ์ุสัตวใ์ นประเทศไทยไดปรับปรงุ โดย
หนว่ ยงานราชการและเอกชน ดังน้ี

1) การปรับปรุงพันธุ์สัตว์โดยหน่วยงานราชการ การปรับปรุงพันธ์ุสัตว์ในประเทศไทยมี
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบคือ กองบารุงพันธุส์ ัตว์ กรมปศสุ ัตว์ มหี น้าที่ดูแลและปฏิบตั ิงานภายใต้พระราชบัญญัติ
ปรับปรุงพนั ธ์ุสัตว์ พ.ศ. 2509 ปัจจุบันกองบารงุ พนั ธุ์สัตว์มีโครงการปรับปรงุ พนั ธ์ุสัตว์ตา่ งๆ เช่น โครงการ
ปรับปรุงคุณภาพโคพ้ืนเมือง โครงการสร้างโคเน้ือพันธุตาก โครงการสร้างโคเน้ือพันธุ กบินทร์บุรี โครงการ
ปรับปรุงพันธุโคนมไทย-ฟรีเช่ียน (Thai - Friesian) โครงการปรับปรุงพันธุสุกร โครงการปรับปรุงพันธุไก
เนื้อไทยสายพันธุตาก และโครงการปรับปรุงพันธุไกเน้ือกบินทร์บุรี เป็นต้น การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ใน
มหาวิทยาลัยของรัฐ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไดนาโคพ้ืนเมือง คือ โคพันธุอเมริกันบราห์มัน
(American Brahman) และโคพันธุชาโรเลส (Charolais) มาปรับปรุงพันธุสร้างเป็นโคพันธุกาแพงแสน
ซึง่ เหมาะกบั สภาพการเลยี้ งดูในประเทศไทยแต่ต้องใช้เวลานาน

2) การปรับปรงุ พนั ธ์ุสัตว์โดยเอกชน นิยมนาสัตว์พนั ธุ์แท้จากต่างประเทศ หรือต่างฟาร์ม
เข้ามาเลี้ยงเป็นพ่อพันธ์ุ แม่พันธ์ุ เพ่ือผลิตลูกจาหน่ายหรือส่งเสริมให้เกษตรกรเล้ียงต่อไป ซ่ึงวิธีการนี้ต้อง
เสียค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณในการจัดซื้อพันธุ์สัตว์จานวนมาก แต่ใช้ระยะเวลาสั้นสาหรับการปรับปรุง
พันธ์ุสัตว์ในฟาร์ม

เอกสารอ้างองิ

จรัส สว่างทัพ. 2553. เทคนิคการปรบั ปรงุ พนั ธุสัตว์. พิมพ์ครัง้ ท่ี 2. สาขาวิชาสัตวศาสตร์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบุรรี ัมย,์ บุรีรมั ย์.

ชาญชยั รอดอนันต์. 2532. การผสมพนั ธุ์สัตว์. ภาควิชาสตั วศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ บางพระ.
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, ชลบุร.ี

เถลิงศักด์ิ อังกรุ เศรณี. 2553. การปรับปรุงพนั ธุสตั ว์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์.

บุญชอบ เฟ่ืองจนั ทร์. 2535. การปรับปรุงพันธุสัตว.์ คณะวิชาสัตวศาสตร์ วทิ ยาลัยเกษตรกรรมชลบุรี,
ชลบุร.ี

บญุ เริ่ม บญุ นธิ ิ. 2549. การปรับปรุงพนั ธุสัตว.์ คณะวิชาสัตวศาสตร์ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี
นครราชสมี า. นครราชสมี า.

พงษช์ าญ ณ ลาปาง. 2547. หลักพื้นฐานเก่ยี วกับการปรับปรุงพันธุ, น. 203 - 239. ในฝ่ายวชิ าการ
มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช, บรรณาธิการ. การปรับปรงุ พันธุและการสืบพนั ธุสัตว์.
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช, นนทบุรี.

สกี ุน นุชชา. 2554. การปรบั ปรุงพนั ธุสัตว์. คณะวชิ าสตั วศาสตร์ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีตรัง.
ออนไลน์ : สืบคน้ ได้จาก www. Seekun.net/c-km-an-imp.html . 15 กนั ยายน 2561.

สมเกียรติ สายธนู. 2537. หลกั การปรับปรงุ พันธุสตั ว์. พิมพ์คร้งั ท่ี 1. ภาควชิ าสัตวศาสตร์
คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์, ม.ป.ท.

สมชัย จนั ทร์สว่าง. 2530. การปรบั ปรุงพนั ธุสัตว์. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัย
เกษตรศาสตร กรงุ เทพฯ.


Click to View FlipBook Version