The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ketsaraporn3011, 2019-06-17 07:46:53

Unit 6

Unit 6

บทท่ี 6

ภมู ิคุม้ กนั วิทยา

ครคู ธั รยี า มะลวิ ลั ย์

แผนกวชิ าสตั วศษสตร์
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา

ใบความรู้ท่ี 6

ภูมคิ ้มุ กนั วทิ ยา

หวั ข้อเร่ือง
1. ชนดิ ของภูมิคุม้ กัน
2. การให้ภมู ิคมุ้ กนั แก่รา่ งกาย
3. การตอบสนองทางภูมิค้มุ กัน

จดุ ประสงค์การเรียนรู้(นาทาง)
1. เพ่ือให้มีความร้แู ละเข้าใจเกย่ี วกบั ชนิดของภมู คิ มุ้ กนั
2. เพ่อื ใหม้ ีความรู้และเข้าใจเกย่ี วกับการใหภ้ ูมิค้มุ กันแกร่ ่างกาย
3. เพือ่ ใหม้ ีความรู้และเขา้ ใจเกยี่ วกับการตอบสนองทางภมู ิคมุ้ กัน

จุดประสงค์การเรยี นรู้(ปลายทาง)
1. บอกชนดิ ของภูมคิ ุ้มกันในร่างกายได้
2. อธบิ ายวิธีการให้ภูมคิ ุม้ กันแก่ร่างกายได้
3. อธิบายการตอบสนองทางภูมคิ มุ้ กันของร่างกายได้

เนือ้ หาการสอน
ภมู ิคุ้มกัน (Immunity) เกยี่ วขอ้ งกับการตอบสนองของร่างกายต่อส่ิงแปลกปลอม เรยี กว่า วิทยา

ภูมิคุ้มกัน ( Immunology) เมื่อรา่ งกายได้รับสิ่งแปลกปลอมร่างกายจะมีกลไกเพ่ือต่อต้านสิ่งแปลกปลอม
โดยอาศัยภูมคิ มุ้ กนั ท่ีไม่จาเพาะต่อสิง่ แปลกปลอม และอาศัยภูมิค้มุ กันความจาเพาะสูง ซ่ึงร่างกายสรา้ งขึ้น
เมอ่ื ไดร้ ับสิ่งแปลกปลอมแลว้ หรืออาจไดร้ บั ภูมิคุ้มกันความจาเพาะทีถ่ ่ายโอนมาจากผ้อู ่นื

ระบบภูมิคุ้มกัน (Immunity system) คือ ระบบหน่ึงที่ร่างกายสร้างข้ึนมาเพื่อป้องกันอันตรายที่
จะเกดิ แกร่ ่างกายท้ังอันตรายที่เกิดจากสิ่งต่างๆ หรืออาจเรียกว่า แอนตเิ จน (antigen) ซึง่ เป็นโมเลกุลของ
สารท่ีเป็นสิ่งแปลกปลอมสาหรับร่างกาย รวมทั้งจุลินทรีย์ที่ก่อโรคหรือเช้ือโรค เพื่อให้สัตว์มีสุขภาพ
ร่างกายสมบูรณแ์ ข็งแรง สามารถมีชีวิตอยู่รอดอย่างปกติและให้ผลผลิตได้ ระบบนี้จะทางานร่วมกับระบบ
น้าเหลือง โดยระบบน้าเหลืองจะสร้างเม็ดเลือดขาวชนิดต่างๆ ขึ้นมา ทาหน้าท่ีต่อสู้และทาลายเชื้อโรคที่
เข้ามาในร่างกาย เม็ดเลือดขาวกลุ่มท่ี สาคัญในระบบภูมิคุ้มกัน คือ บีลิมโฟไซต์ หรือบีเซลล์
(B lymphocytes or B cell) และ ทีลิมโฟไซด์ หรือทีเซลล์ (T lymphocyte or T cell) สาหรับสิ่ง
แปลกปลอมต่างๆ รวมท้ังจุลินทรีย์ท่ีก่อโรคและไม่ก่อโรคท่ีเข้ามาในร่างกายจะเรียกว่า แอนติเจน
(antigens) สว่ นสง่ิ ทเ่ี ม็ดเลอื ดขาวสร้างขน้ึ มาเพื่อทาลายเชือ้ โรคจะเรยี กว่า แอนตบิ อดี้ (antibody)

แอนติเจน หมายถึง ส่ิงแปลกปลอมต่อเนื้อเยือ่ รา่ งกาย เมือ่ เขาสู่ร่างกายแล้วจะกระตุ้นร่างกายให้
สร้างแอนตบิ อดี และแอนติเจนนั้นต้องทาปฏิกริ ิยาจาเพาะกับแอนตบิ อดี หรืออาจกล่าวว่า แอนติเจนเป็น
สารใด ๆ ทกี่ ระตุ้นให้เกิดการตอบสนองทางภูมคิ ุ้มกันอยา่ งจาเพาะเจาะจง ส่วนสารท่ไี ม่สามารถกระตุ้นให้
เกิดการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ต่อเม่ือได้รวมตัวกับสารโมเลกุลใหญ่ที่เรียกว่าพาหะ ( Carrier )
จึงกลายเปน็ อิมมิวโนเจน ( Immunogen ) ทีก่ ระตุน้ ใหร้ า่ งกายสร้างแอนตบิ อดี

แอนติบอดี ( Antibody ) เป็นสารที่สร้างข้ึนในร่างกายคนหรือสัตว์ หลังจากได้รับแอนติเจน
แอนติบอดีเป็นสารไกลโคโปรตีนท่ีสามารถทาปฏิกิริยาจาเพาะกับแอนติเจนที่กระตุ้นให้สร้างมันขึ้นมา
จะพบแอนติบอดีในซีรัมของเลือด โดยเฉพาะในซีรัมส่วนแกมมากลอบิวลิน จึงเรียกกลอบิวลินท่ีเกี่ยวข้อง
กับการตอบสนองทางภูมิคมุ้ กนั น้ี อมิ มวิ โนกลอบวิ ลนิ ( Immunoglobulin )

6.1 ชนดิ ของภมู ิคมุ้ กัน
โดยทั่วไปร่างกายมีระบบป้องกันอนั ตรายตามธรรมชาตอิ ยแู่ ล้ว โดยบางสว่ นนั้นเป็นส่วนประกอบ

ในโครงสร้างของร่างกาย เช่น ระบบปกคลุมร่างกายในส่วนของผิวหนัง ท่ีร่างกายสร้างขึ้นเพื่อปกป้อง
อวัยวะภายในต่างๆ หรือการผลิตของเหลวหรือน้าเมือกจากช้ันเยื่อเมือกในระบบท่อทางเดินอาหาร ท่อ
ทางเดินหายใจ รวมท้ังระบบสืบพันธ์ุในส่วนของช่องคลอดที่มีสภาพความเป็นกรดซึ่งสามารถช่วยป้องกัน
ไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ ตราบใดที่ระบบป้องกันอันตรายตามธรรมชาติและระบบภูมิคุ้มกันยังทางาน
และสามารถป้องกันอันตรายให้ร่างกายได้อย่างปกติ สัตว์ก็ยังคงมีสุขภาพดี แต่หากเมื่อใดท่ีระบบ
ภมู คิ ้มุ กันของรา่ งกายทางานบกพร่องหรือทางานผดิ ปกติ สัตว์ก็จะมสี ขุ ภาพไม่ดีหรอื เกดิ เปน็ โรคขึ้นมาได้

ระบบภูมิคุ้มกันโดยเฉพาะการทางานของแอนติบอดี ในขณะที่เช้ือโรคหาทางท่ีจะเข้าสู่ร่างกาย
และทาให้เกิดการติดเชอ้ื ข้ึน ร่างกายของโฮสต์เองกม็ ีวิธตี ่าง ๆ ที่จะตอ่ ต้านเพ่ือป้องกนั การติดเชอ้ื สามารถ
แบง่ ระบบภูมิค้มุ กันออกเปน็ 2 ระบบ ได้แก่

1) ระบบภูมิคุ้มกันทั่วๆไป ( Innate immunity ) หรอื ระบบภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติ ( Natural
immunity ) หรือภูมิคุ้มกันท่ีมีมาแต่กาเนิด ซึ่งเป็นภูมิคุ้มกันท่ีไม่จาเพาะต่อเชื้อโรค ได้แก่ พ้ืนผิวท่ีสัมผัส
antigen โดยตรง คือ ผิวหนังและเยื่อบุต่างๆ ซ่ึงมีคุณสมบัติเฉพาะตัวในการป้องกันและกาจัดสิ่ง
แปลกปลอมซ่ึงส่วนใหญ่คอื เช้ือโรคออกไปจากร่างกาย ดังน้ี

(1) ผวิ หนัง เช้ือโรคไม่สามารถบกุ รุกผิวหนังปกติท่ีไม่มบี าดแผล อีกทั้งความเป็นกรดของ
ไขมันที่ผลิตออกมาจากต่อมไขมันท่ผี ิวหนังช่วยยับยง้ั และทาลายเชื้อโรค หากผิวหนังชั้นนอกเปดิ ออก เช่น
มบี าดแผล หรือ ไฟไหม้ นา้ ร้อนลวก เชื้อแบคทีเรียท่ีอาศัยอยทู่ ่ีผวิ หนงั ก็จะแบ่งตัวเพิม่ จานวนอย่างรวดเร็ว
เพราะมีอาหารอันอุดมสมบูรณ์และส่ิงแวดล้อมพอเหมาะ เป็นเหตุให้เกิดการอักเสบเป็นหนอง หากเป็น
แผลเล็กๆ ระบบภูมิคุ้มกันจะกาจัดเชื้อออกไปเพียงล้างแผลให้สะอาด รกั ษาแผลให้แห้ง ก็หายเป็นปกติได้
เอง แต่ถ้าแผลขนาดใหญ่และลึก แผลถูกความร้อนเป็นบริเวณกว้าง ก็เกินกาลังที่ภูมิคุ้มกันจะจัดการไหว
เช้ือโรคสามารถแทรกซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้โดยง่าย ทาให้เกิดการติดเช้ือในกระแสเลือด (septicemia)
และเป็นสาเหตุให้ช็อกและเสียชีวิตในเวลาต่อมา จึงต้องให้ผู้ป่วยอยู่ในห้องแยกเพ่ือป้องกันการติดเชื้อ

ผู้เข้าไปดูแลผู้ป่วยต้องสวมหมวกและเส้ือคลุม ผูกผ้าปิดจมูกและปาก ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือ
เพื่อปอ้ งกันการติดเชอ้ื จากผูด้ แู ล อกี ทั้งต้องใหย้ าปฏิชวี นะทคี่ รอบคลุมเช้อื โรคให้ครบชนิด

(2) เยอื่ บหุ ลอดลมมีเซลล์ท่มี ีขน (hairy cell) คอยพดั โบกเชอื้ โรคให้ออกไปจากหลอดลม
อกี ทั้งมีเซลล์ผลิตเสมหะ (goblet cell) ทเี่ หนยี วหนืด ไวค้ อยดักจบั เช้อื โรคคล้ายกาวจับแมลงวันเพอื่ ไม่ให้
เข้าสู่เยื่อบุหลอดลม ผู้สูบบุหร่ีจัด เซลล์ขนเสียหน้าท่ีไป จึงป่วยด้วยโรคหลอดลมอักเสบบ่อยๆ

(3) น้ามูก น้าลาย น้าตา มีหน้าท่ีชะล้างเช้ือโรคออกไปจากเยื่อบุ อีกท้ังในสารคัดหลั่ง
เหล่านี้ยังมี enzyme ท่ีมีคุณสมบัติในการย่อยทาลายเชื้อโรคอย่างอ่อนๆ อีกด้วย จะเห็นว่าเมื่อมีส่ิง
แปลกปลอมเข้าตา หรือเยื่อบุตาอักเสบ ต่อมน้าตาจะหล่ังน้าตาเป็นปริมาณมากออกมาขับไล่สิ่ง
แปลกปลอมออกไป หรือเม่ือส่ิงแปลกปลอม สารระคายเคืองเขา้ จมูกหรือเป็นหวดั เยอ่ื บุจมูกจะหล่งั น้ามูก
ออกมาก และจามบอ่ ย เพื่อขจัดสง่ิ แปลกปลอมเช่นเดยี วกันกัน

(4) การไอช่วยขับไล่ส่ิงแปลกปลอมท่ีเราสาลักเข้าไปในหลอดลมและปอด หากสิ่ง
แปลกปลอมทาให้เกดิ การระคายเคืองมาก เราก็ยิง่ ไอนาน ไอจนกว่าจะหลดุ ออกมา ในผู้สูงอายรุ ะบบตา่ งๆ
ทางานเฉ่ือยลงรวมถึงการไอด้วย ผู้สูงอายุจึงเป็นปอดอักเสบจากการสาลักได้บ่อย ในผู้ท่ีจมน้าก็เช่นกัน
ถ้าว่ายน้าธรรมดา สาลักน้าเพียงเล็กน้อยมักไม่มีปัญหา สายเสียงและฝาปิดกล่องเสียงจะปิดทันทีเพื่อ
ปอ้ งกนั นา้ เขา้ ไปในหลอดลมเพมิ่ แต่ในกรณีจมน้าระบบน้ีเสียไปเมอื่ ผู้จมนา้ นานจนหมดสติ นา้ จึงเข้าไปใน
ปอดในปริมาณมาก และถ้าเป็นน้าคราท่ีเต็มไปด้วยเชื้อโรคนานาชนิด ทั้งทรงกลม (cocci) ทรงแท่ง
(basilli) เช้ือที่ ต้องอาศัยออกซิเจน (aerobic bacteria) และไม่อาศัยออกซิเจน (anaerobic
bacteria) เชื้อรา โปรโตซัว เกินขีดความสามารถของระบบภูมิคุ้มกันจัดการไหว ต้องกระหน่ายาต้านจุล
ชีพหลายขนานอีกแรง จึงปลอดภัยจากปอดอักเสบรุนแรงจากแบคทีเรียในข้ันต้น และไม่ติดเชื้อเข้าสู่
กระแสเลอื ดจนช็อก ความเป็นกรดของสารคัดหลงั่ ในชอ่ งคลอดช่วยป้องกนั การเจริญเติบโตของเช้อื กอ่ โรค
ความแรงของกรดในกระเพาะอาหารท่ีฆา่ เชอื้ โรคแทบไม่เหลอื ยกเว้นเชื้อทนกรดเพยี งไม่กช่ี นิดเทา่ นน้ั

นอกจากน้คี วามสมดลุ ของเชอ้ื โรคนานาชนดิ ทอ่ี าศยั อยูต่ ามส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย ยังช่วยป้องกัน
เชื้อชนดิ ใดชนดิ หน่ึงเจรญิ เตบิ โตเพ่มิ จานวนมากจนเปน็ กอ่ โรค

2) ระบบภูมิคุ้มกนั ท่ีป้องกนั รา่ งกายอยา่ งเจาะจง (adaptive immunity) เปน็ ระบบภูมิคมุ้ กันที่
ร่างกายสร้างข้ึนมาใหม่เพื่อทาลายเช้ือโรคอย่างเจาะจง โดยกลไกที่จาเพาะสาหรับเช้ือโรคแต่ละตัว เป็น
ภูมิคุ้มกันท่ีจาเพาะที่เกิดในภายหลัง ( Acquired immunity หรือ Speccific immunity ) เม่ือร่างกาย
ได้รับเช้ือหรือเปน็ ภูมคิ ุ้มกนั จาเพาะท่ีรับถ่ายทอดมาจากผู้อ่ืน หากเชอื้ โรคสามารถฝ่าด่านแรกเข้าส่ใู ต้เยื่อบุ
หรือผิวหนังที่มีบาดแผลได้แล้ว เซลล์ต่างๆของระบบภูมิคุ้มกันจะพยายามกาจัดเชื้อโรคเหล่าน้ีให้ออกไป
พน้ จากร่างกาย เซลลเ์ หล่าน้เี จรญิ เติบโตมาจาก stem cell อันเป็นเซลลต์ ้นตอในไขกระดกู (พบท่รี กดว้ ย)
ซ่ึงเติบโตแปรสภาพ (differentiate) ไปเป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดต่างๆ เม่ือเซลล์เหล่าน้ีโตเต็มที่แล้วจึง
ออกมาสู่กระแสเลือด ล่องลอยไปอยู่ตามอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกายตามหน้าท่ีเฉพาะตัวแตกต่างกันไปของ
เซลล์แต่ละชนิด ซึง่ ทางานสอดคล้องประสานกนั เป็นระบบอยา่ งน่าอัศจรรย์

6.2 เซลล์ของระบบภูมคิ มุ้ กัน
เซลล์ทท่ี าหนา้ ทใี่ นระบบภมู คิ ุ้มกัน สรา้ งมาจาก stem cells ท่ีอยู่ในไขกระดูก แบ่งเป็น
1) เซลลท์ ีท่ าหน้าทกี่ นิ สิ่งแปลกปลอม เชน่ macrophage, monocyte, neutrophil
2) เซลล์ท่มี ี granule จานวนมาก ได้แก่ neutrophil eosinophil, basophil และ
3) เซลล์เมด็ เลอื ดขาวขนาดเล็กที่เรียกว่า เซลล์ลิมโฟไซท์ (lymphocyte) ซง่ึ แบ่งเปน็ 2 ชนดิ คอื

B cells และ T cells
เซลล์เม็ดเลือดขาว เป็นเซลล์ที่มีนิวเคลียส ไม่มีฮีโมโกลบิน สามารถเคล่ือนท่ีได้อย่างอิสระ เม็ด

เลือดขาวท่ีไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือดมีน้อยมากเมื่อเทียบกับเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวทาหน้าท่ีช่วย
ป้องกันการแพร่กระจายของเช้ือโรคในร่างกาย ช่วยกาจัดสารพิษและของเสียบางชนิด รวมท้ังช่วยกาจัด
เศษเซลล์ต่าง ๆ ท่ีถูกทาลายโดยธรรมชาติ หรือเซลล์ที่ผิดปกติบางชนิด เม็ดเลือดขาวแบ่งออกเป็นสอง
กลมุ่ ไดแ้ ก่

1) กลมุ่ ท่ีมแี กรนลู (granulocytes ; granular leucocyte) มี 3 ชนดิ ไดแ้ ก่
1. นวิ โตรฟลิ (neutrophils)
2. อโี อซิโนฟิล (eosinophil)
3. เบโซฟลิ (basophil)

2) กลุ่มชนิดไม่มีแกรนูล (agranulocytes ; non granular leucocyte) ความจริงแล้วเม็ดเลือด
ขาวชนิดนี้มีแกรนูลเช่นกันแต่มีน้อยมาก และมีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ในกล้องจุลทรรศน์
ธรรมดา เม็ดเลือดขาวกล่มุ นี้ ได้แก่

1. โมโนไซท์ (monocyte)
2. ลิมโฟไซท์ (lymphocyte) เป็นเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันที่ทาหน้าที่แข็งขันท่ีสุด แบ่ง
ตามหนา้ ท่ีเปน็ 3 ชนิด คือ
(1) B lymphocyte เม่ือสัมผัสกับ antigen แล้ว จะเปลี่ยนไปเป็น plasma cell มี
หนา้ ทีผ่ ลิตภูมิคมุ้ กันด้านสารน้าเรียกว่า humoral immunity (HI) คอื ภูมิต้านทาน (antibody) ทีจ่ าเพาะ
ต่อเช้ือน้ัน ประกอบด้วยโปรตีน globulin ชนิดต่างๆ เรียกว่า immunoglobulin มีท้ังหมด 5 กลุ่ม คือ
IgG, IgA, IgM, IgD, IgE ทาหน้าที่จับติดกับ antigen แล้วทาลายด้วยวิธีต่างๆท่ีสลับซับซ้อน ส่วนใหญ่ภูมิ
ต้านทานเหล่านี้จะอยู่ในร่างกายไปตลอดชีวิต เพราะมีเซลล์ที่แปรสภาพเป็นเซลล์ความจา (memory
cell) ทาหน้าที่จาเช้ือที่เคยพบแล้ว เม่ือเช้ือเดิมเข้าสู่ร่างกายอีกครั้ง เซลล์ความจาก็จะระดมพลเพ่ือสร้าง
immunoglobulin ออกมาในปริมาณมากทันทีภายในสัปดาห์แรกท่ีติดเช้ือ จึงสามารถกาจัดเชื้อโรค
ออกไปโดยไม่ทันก่อโรค ต่างจากการติดเช้ือในครั้งแรกท่ีระดับภูมิต้านทานขึ้นในสัปดาห์ที่ 2
(2) T lymphocyte เร่ิมงานเม่ือได้รับสัญญาณจาก APC มีหน้าท่ีสร้างภูมิคุ้มกันด้าน
เซลล์ เรียกว่า cell-mediated immunity (CMI) ทสี่ าคัญมี 3 ชนดิ คือ
ก. Helper T-cells หรือ CD4 เป็นเซลล์ lymphocyte ที่เคล่ือนหรือลาดตระเวนไป
ตามหลอดเลือด ทาหนา้ ที่ส่งเสริมภูมิคุ้มกันหรอื เซลล์ผู้ชว่ ย หากพบเช้ือโรคหรอื เซลล์แปลกปลอมก็จะหลั่ง

สาร cytokines เพื่อเรยี กให้เมด็ เลือดขาวอื่นมาช่วย หรือกระตุ้นเซลล์ชนดิ ต่างๆ ในระบบภูมคิ ้มุ กันให้เพิ่ม
จานวนมากข้ึนอยา่ งรวดเร็วเหมือนระดมพล และเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการทาลายเชื้อโรคเหมือนทหารทีฮ่ ึก
เหิมพร้อมออกศึก หากพบว่าเป็นเซลล์ปกติของร่างกายก็จะหยุดกระบวนการทาลายเซลล์ แต่หากพบว่า
เป็นสิ่งแปลกปลอมจริง ก็จะมีการหล่ังสารดังกล่าวเพ่ิม และมีเซลล์อื่นๆ มายังบริเวณดังกล่าวเพื่อทาลาย
เชอ้ื โรคหรอื เซลล์แปลกปลอม

ข. Suppressor T-cells เป็นเซลล์ท่ีควบคุมการทาลายของเซลล์ภูมิคุ้มกันเมื่อหมด
ความจาเป็นแล้ว หากพิสูจน์แล้วว่าเซลล์ที่แปลกปลอมเป็นเซลล์ปกติ หรือสิ่งแปลกปลอมหมดพิษแล้ว
เซลล์ก็จะสั่งยุติการทาลาย ไม่เช่นนั้นจะเกิดความเสียหายต่อร่างกายจากการทางานท่ีเกินเลยของระบบ
ภูมคิ ุ้มกนั

ค. Killer T-cells หรอื cytotoxic T cells หรือ CD8 เป็นเซลล์ที่ทาลายสิง่ แปลกปลอม
ทาหน้าที่จะจาเซลล์ที่มีแอนติเจนแปลกปลอม หรือเช้ือโรคท่ีมีภูมิหรือมีสารอ่ืนอยู่ที่ผิวเพ่ือบ่งบอกว่าเป็น
สารแปลกปลอมอยู่บนผิวเซลล์นั้น และทาลายเซลลเ์ หลา่ น้ัน เซลล์น้จี ะไมท่ าลายเซลลป์ กตขิ องรา่ งกาย

(3) natural killer cells หรือ NK cells เอ็นเค เซลล์ เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีหน้าที่
ทาลายเซลล์มะเร็ง และเซลล์ท่ีติดเชื้อไวรัสเป็นหลัก จะเห็นว่าเซลล์เหล่าน้ีทางานประสานกันอย่างดีเยี่ยม
เพื่อรักษาสมดุลของระบบภูมิค้มุ กันไมม่ ากไปหรือน้อยไปจนเกิดความเสยี หายตามมา เรารู้จักเซลลเ์ หล่าน้ี
ดีเม่ือโรคเอดส์ระบาด เพราะโรคเอดส์เกิดจากเชือ้ Human Immunodeficiency Virus ( HIV) ไปทาลาย
เซลล์ CD4 สง่ ผลให้ภูมิคมุ้ กนั ดา้ นเซลลบ์ กพร่องเปน็ หลัก จงึ ตดิ เชื้อฉวยโอกาสง่าย

ภาพที่ 6.1 เซลล์เม็ดเลือดขาว

6.2 การใหภ้ ูมิคุ้มกันแก่รา่ งกาย (immunization)
โดยทั่วไปการให้ภูมิคุ้มกันแก่ร่างกายมีด้วยกัน 2 วิธีการคือ ภูมิคุ้มกันที่เกิดข้ึนด้วยการกระตุ้น

(active immunity) และภูมิคุ้มกันท่ีเกิดข้ึนด้วยการได้รับเข้าไปในร่างกายโดยตรง (passive immunity)
1) ภมู คิ มุ้ กนั ท่เี กดิ ข้นึ ด้วยการกระตุ้น (active immunity)
เป็นภูมิคุ้มกันท่ีเกิดข้ึนได้เองในสัตว์แต่ละตัว เพื่อตอบสนองการกระตุ้นท่ีเกิดจากแอนติเจนท่ีได้

รับเข้ามาในร่างกายได้แก่ ภูมิคุ้มกันท่ีเกิดข้ึนโดยการกระตุ้นจากธรรมชาติ (active natural immunity)
และภูมิคุ้มกันทเี่ กดิ ขึ้นโดยการกระต้นุ จากสารอ่นื (active artificial immunity) เช่น การทาวัคซีนให้แก่
สตั ว์เลี้ยง

(1) ภูมคิ มุ้ กันทเ่ี กิดขน้ึ โดยการกระต้นุ จากธรรมชาติ (active natural immunity)
เป็นภมู ิคุม้ กันตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นโดยท่ัวไปในสัตว์ เมือ่ สัตว์ได้รับแอนติเจนในครั้งแรกน้ัน สตั ว์
จะแสดงอาการเจ็บป่วยก่อนในระยะเวลาหน่ึงหลังจากที่ได้รับแอนติเจนหรือได้รับการกระตุ้น แต่เมื่อ
ระบบภูมิคุ้มกันในรา่ งกายสามารถสร้างแอนติบอดีเพ่ือทาลายแอนติเจนท่ีได้รับได้ สัตว์ก็จะหายป่วย การ
ตอบสนองแอนติเจนโดยการสร้างภูมคิ ุ้มกันในคร้ังแรกจะเกิดข้ึนได้ช้ากว่าคร้ังต่อๆไป เซลล์ความจาของบี
ลิมโฟไซต์ หรอื ทีลิมโฟไซต์ท่ีถกู สร้างขึน้ มาจากปฏิกริ ิยาการสรา้ งภูมคิ ุ้มกันคร้ังแรกเพื่อต่อต้านแอนติเจนที่
ได้รับ จะถูกสร้างขึ้นอย่างรวดเร็วเม่ือสัตว์ได้รับแอนติเจนชนิดเดียวกันนั้นในครั้งต่อๆไป หรือในร่างกาย
อาจมีการสรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ทป่ี อ้ งกันไม่ให้เกิดการเจบ็ ป่วยท่ีเกิดจากแอนติเจนท่เี คยไดร้ บั ได้
(2) ภมู ิค้มุ กนั ท่ีเกิดขน้ึ โดยการกระตุน้ จากสารอื่น (active artificial immunity)
เป็นภูมิคุ้มกันท่ีเกิดข้นึ จากการให้สารกระตุ้นแก่ร่างกาย เช่น การให้วัคซีน (vaccination) วัคซีน
(vaccine) จะทาหน้าท่ีกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคมุ้ กันขึ้นมา เพ่ือป้องกันอันตรายให้แก่รา่ งกายและต่อสู้
เช้ือโรค วัคซีนมักประกอบด้วยแอนติเจนท่ีถูกทาให้เปลี่ยนแปลงไป หรือแอนติเจนที่มีฤทธ์ิไม่รุนแรง
เหมือนแอนติเจนปกติ จึงมีผลให้เกิดการตอบสนองแอนติเจนท่ีไม่เกิดโรคขึ้นมา การตอบสนองภูมิคุ้มกัน
โดยวิธีนี้ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายจะสร้างเซลล์ความจาของบีลมิ โฟไซต์ หรือทีลิมโฟไซต์ ชนิดเดยี วกันกับ
ที่เคยสร้างขึ้นมาเม่ือได้รับแอนติเจน (เช้ือโรค)ท่ีรุนแรงตามธรรมชาติ แต่วัคซีนท่ีได้รับเป็นแอนติเจนท่ี
เปลี่ยนแปลงไปหรืออ่อนตัวลง เซลล์ความจาที่เกิดข้ึนจากการทาวัคซีนจึงสามารถทาลายแอนติเจนได้
อย่างรวดเร็ว การให้วัคซีนบางชนิดจะสามารถช่วยป้องกันโรคได้ตลอดช่วงชีวิต แต่วัคซีนบางชนิด
ตอบสนองได้เพียงระยะเวลาหนึ่งเท่าน้ันจึงต้องให้วัคซีนเป็นระยะๆ เพ่ือให้ร่างกายสามารถป้องกันโรคได้
ต่อไป
2) ภูมคิ ้มุ กนั ทเ่ี กดิ ขึ้นดว้ ยการได้รับเข้าไปในร่างกายโดยตรง (passive immunity) หมายถึง
ภูมิคุ้มกันที่สัตว์ไม่ได้สร้างข้ึนหรือไม่ได้เกิดขึ้นเอง แต่ได้รับการถ่ายโอนภูมิคุ้มกันมาจากสัตว์ที่มีภูมิคุ้มกัน
ในรา่ งกายอยกู่ ่อนแลว้ แบ่งออกได้ 2 ลักษณะคอื
(1) ภูมิคุ้มกันที่สัตว์ได้รับโดยตรงตามธรรมชาติ (passive natural immunity) เช่น ภูมิคุ้มกันท่ี
ลูกโคได้รับจากการกินนมน้าเหลืองหลังคลอด เนื่องจากลูกโคแรกเกิดไม่มีภูมิคุ้มกันโรคอยู่ในร่างกายเลย
ลูกโคจงึ จาเปน็ ท่จี ะได้รับภูมิคุ้มกนั หรือแอนติบอด้ี (antibody) เชน่ อนิ มโู นโกบูลลิน (immunoglobulin,

IgG) จากนมน้าเหลือง (colostrum) ท่ีเป็นอาหารที่ควรได้รับโดยเร็วที่สุดหลังคลอด นมน้าเหลืองท่ีรีด
จากแม่โคในคร้ังแรกหลังคลอด มีค่าเฉลี่ยโปรตีน ไขมัน วัตถุแห้ง ไวตามินและแร่ธาตุสูงกว่าน้านมปกติ
และมีภูมิคุ้มกันโรค (immunoglobulins) สูง เช่น Immunoglobulin G (IgG) ทาหน้าที่ให้ภูมิคุ้มกันโรค
แก่ลูกโค เพื่อป้องกันการติดเช้ือต่างๆ โดยเฉพาะเช้ือโรคท่ีติดต่อทางระบบหายใจ และระบบทางเดิน
อาหาร ซ่ึงเป็นสาเหตุหลักของการตายของลูกโค โปรตีนที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ และ ภูมิคุ้มกันโรค
(Immunoglobulin) ในนมน้าเหลือง สามารถถูกดูดซึมได้ทันทีท่ีเซลล์เย่ือบุผนังลาไส้เล็กโดยต้องไม่มีการ
ยอ่ ย เนื่องจากเซลล์เยื่อบุทางเดินอาหาร (ลาไส้เล็ก) ยังพัฒนาไม่เต็มที่ จึงยังไม่มีการผลิตน้าย่อย เม่ือลูก
โคอายุได้ 24 ชั่วโมง เซลล์เยื่อบุของผนังลาไส้จะพัฒนาได้เต็มท่ีและเร่ิมที่จะผลิตเอนไซม์ที่ย่อยโปรตีนได้
โปรตีนท่ีอยู่ในนมน้าเหลือง และภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นโปรตีนชนิดหน่ึงก็จะถูกย่อยสลายด้วย คุณสมบัติใน
การเป็นภูมิคุ้มกันโรคจึงสูญเสียไป การให้นมน้าเหลืองแก่ลูกโคในระยะ 24 ชั่วโมงหลังคลอด ภูมิคุ้มกันท่ี
อยู่ในนมน้าเหลืองจึงถูกใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ อาจกล่าวได้ว่าภูมิคุ้มกันโรคท่ีอยู่ใน นม
น้าเหลืองจะใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสดุ ในเวลา 24 ช่ัวโมงหลังคลอดเท่าน้ัน ควรให้ลูกโคได้
กินนมน้าเหลืองในอัตราไม่น้อยกว่า 8 - 10 % ของน้าหนักตัว เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 วัน หรือจนกว่านม
น้าเหลืองจากแม่โคจะหมดไป โดยทั่วไปจะให้ลูกโคกินนมน้าเหลืองวันละ 2 เวลา (เช้า และเย็น) ในทาง
ปฏิบัติจะสอนให้ลูกโคกินนมจากถังได้เองแทนการให้นมจากขวด พร้อมตั้งน้าสะอาดให้กินอย่างอิสระ
โดยการแยกลูกโคจากแม่ไปเล้ียงในกรงลูกโคแบบขงั เดี่ยว มีบริเวณให้น้า และอาหารแยกจากกัน ลูกโคที่
ไม่ได้กินนมน้าเหลืองหลังคลอดส่วนใหญ่จะมีการติดเช้ือ หรือตายได้ง่าย นมน้าเหลืองท่ีรีดจากแม่โคหาก
ใช้ไม่หมดควรนาไปเก็บรักษาไว้ โดยการนาไปแช่แข็ง หรือนาไปทาเป็นนมน้าเหลืองหมัก ซึ่งสามารถใช้
เลย้ี งลกู โคตวั อื่นตอ่ ไปได้

นอกจากน้ีลูกสัตว์อาจได้แอนติบอดีมาจากแม่โคในขณะที่เป็นตัวอ่อนในมดลูกโดยผ่านทางรกไ ด้
ซึ่งจะเป็นภมู ิคมุ้ กันท่ชี ่วยในการปอ้ งกันโรคไดใ้ นช่วงแรกเกิด หลังจากที่ระบบภูมิคมุ้ กนั ของลูกสัตวพ์ ัฒนา
เตม็ ที่สตั ว์กจ็ ะสามารถภมู คิ ุ้มกนั ไดเ้ อง อาจทาไดด้ ้วยการกระตุ้นเมอื่ ได้รับวคั ซีน การใหว้ ัคซีนแต่ละชนดิ ใน
ลูกสัตวจ์ งึ มวี ธิ กี าร ระยะเวลาในการให้แตกตา่ งกนั ไปตามชนดิ ของสตั ว์ หรอื ตามอายุของสัตว์ได้

(2) ภูมิคุ้มกันที่ได้รับจากการถ่ายโอนภูมิคุ้มกันมาจากสัตว์ที่มีภูมิคุ้มกันอยู่ก่อนแล้ว (passive
artificial immunity) เป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นจากการนาภูมิคุ้มกันมาจากสัตว์ท่ีมีภูมิคุ้มกันอยู่ก่อนแล้วมา
ใส่ให้กับตัวสัตว์ เช่น สัตว์ที่ไม่มีภูมิคุ้มโรคบาดทะยัก (tetanus) เม่ือได้รับเช้ือแบคทีเรียที่ผลิตสารพิษ
(toxin) ที่เป็นสาเหตุของโรคบาดทะยักจะเกิดอาการป่วยทันทีที่ แต่การได้รับสารท่ีมีฤทธิ์ต่อต้านเช้ือ
บาดทะยักจะช่วยปอ้ งกนั ชีวติ ของสตั ว์ได้

6.3 การตอบสนองทางภูมคิ ุม้ กนั
การตอบสนองทางภมู ิคุ้มกันเป็นกระบวนการท่ีสัตว์จะสร้างโปรตีน ( ซึ่งก็คือแอนติบอดี ) ท่ีไปทา

ปฏิกิริยาจาเพาะและเซลล์เพ่ือไปตอบสนองต่อสารอินทรีย์แปลกปลอม และสารอ่ืน ๆ ลักษณะของการ
ตอบสนองทางภูมคิ ุ้มกัน มี 4 ประการ คอื

1. สามารถแยกความแตกต่างของตัวเอง ( Self )และสิ่งที่ไม่ใช่ตัวเอง ( non self ) ได้ และ
ตอบสนองกับส่งิ มีสง่ิ แปลกปลอมของโฮสต์ได้

2. การตอบสนองนั้นมีความจาเพาะสูงมาก ( Specificity ) ต่อแอนติเจนหรือสารที่กระตุ้นให้
สร้างแอนตบิ อดี

3. มีความจา ( Memory ) หรือมีการตอบสนองครั้งที่สอง ( Anamnestic response ) ได้ดี
สามารถสร้างการตอบสนองที่จาเพาะได้มากและได้เร็วเม่ือได้รับการกระตุ้นจากแอนติเจนเดิมเป็นคร้ังท่ี
สอง

4. ถ่ายทอดจากร่นุ หนงึ่ ไปยงั อีกรุ่นหนง่ึ โดยอาศยั ลิมโฟไซต์


Click to View FlipBook Version