The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ketsaraporn3011, 2019-06-17 08:54:14

Unit 4

Unit 4

จุลชวี วิทยา (MICROBIOLOGY)

หน่วยการรทู้ ่ี 4 การเจริญเตบิ โตของจุลนิ ทรยี ์

1. การเจรญิ เติบโตของจลุ ินทรยี ์
2. ปจั จยั ที่เก่ยี วขอ้ งกับการเจรญิ ของจุลนิ ทรยี ์
3. การแพร่กระจายของจลุ ินทรีย์

1. การเจริญเติบโตของจุลินทรีย์

การเจรญิ ของจลุ ินทรยี ์ หมายถึง การเพ่มิ จานวนของจุลินทรีย์ซ่ึงทาให้ได้เซลล์
จานวนมาก และเพียงพอต่อการศึกษาทางจุลชีววิทยาในขั้นต่อไป การเจริญของ
จุลินทรีย์จะช้าหรือเร็วมักขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น ปริมาณ
อาหารและสารอินทรีย์ ก๊าซออกซเิ จน สภาวะความ เป็นกรดเป็นดา่ ง เป็นต้น

การเพ่ิมจานวนจะมีแบบแผนการเจริญทีแ่ น่นอน ส่วนวิธกี ารแพร่กระจายของ
จุลินทรีย์จุลินทรีย์แต่ละชนิดมีการติดต่อเข้าสู่ร่างกายคนไม่เหมือนกันและแม้จะเป็น
ชนิดเดยี วกัน แต่เมือ่ เขา้ สรู่ ่างกายคนละทางกจ็ ะเกิดผลแตกตา่ งกนั

การเจริญ (GROWTH) เป็นกระบวนการทจี่ ุลินทรีย์สังเคราะหโ์ ครงสร้างต่างๆ
ทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบ ท่จี าเป็นตอ่ การมชี ีวิต เชน่ ผนงั เซลล์ ไรโบโซม เมมเบรน และสาร
พันธก์ุ รรม มผี ลทาใหม้ วลและขนาดเซลลเ์ พิ่มขนึ้

เซลล์ของจุลินทรีย์สามารถที่จะตรวจสอบได้โดยการวัดการเปลี่ยนแปลงของ
จานวนเซลล์หรือมวลชีวภาพ (BIOMASS) ของประชากรต่อหน่ึงหน่วยเวลา ซึ่ง
เรียกว่า “อัตราการเจริญเติบโต” (GROWTH RATE) เวลาที่ใช้ในการเพิ่มจานวน
ประชากรจากเดิมเป็น 2 เท่า เรียกว่า GENERATION TIME จะแตกต่างกันไปในแต่
ละ SPECIES ในสภาวะแวดล้อมหนึ่งๆ

การเปล่ียนแปลงของจานวนเซลล์ท่ีแตกต่างกัน ซึ่งสามารถเขียนเป็นกราฟการเจริญ
(GROWTH CURVE) ซึง่ สามารถแบง่ ไดท้ งั้ หมด 4 ระยะ ดังน้ี

1) ระยะพัก (LAG PHASE; A) เป็นระยะท่ีเซลล์พึ่งถูกถ่ายลงในอาหารใหม่ เซลล์อยู่
ในช่วงการปรับตัวก่อนแบง่ เซลลเ์ พ่ิมจานวนเปน็ ระยะเรม่ิ ตน้

2) ระยะเพ่ิมจานวน (LOGARITHMIC PHASE หรือ EXPONENTIAL PHASE (LOG
PHASE; B)) เป็น ระยะที่มอี ตั ราการเจริญจะมากทส่ี ดุ

3) ระยะคงที่ (STATIONARY PHASE; C) ระยะน้ีแบคทีเรียจะมีจานวนสูงสุดไม่มีการเพ่ิม
จานวนอีก อัตราการเพ่มิ จะเท่ากบั อัตราการตาย

4) ระยะตาย (DEATH PHASE หรือ DECLINE PHASE; D) จานวนของเซลล์ท่ีมีชีวิตลดลง
อัตรา การเพิ่มจานวนนอ้ ยกว่าอัตราการตาย



การแบ่งเซลลข์ องแบคทเี รยี

การแบ่งเซลลข์ องยสี ต์

การแบง่ เซลลข์ องรา

2. ปจั จยั ที่มีผลตอ่ กจิ กรรมของจุลนิ ทรยี ์

การเจริญของจลุ ินทรยี ์มปี จั จัยพืน้ ฐาน เช่น ก๊าซออกซิเจน ความเป็นกรด-ดา่ ง อุณหภูมิ ความช้ืน
รังสี เปน็ ตน้ ซึ่งสามารถแบ่งได้ทัง้ หมด 3 กลุ่ม ดงั น้ี

1) ปจั จยั ด้านความตอ้ งการออกซิเจน เช่น

- AEROBIC BACTERIA เปน็ กลมุ่ แบคทีเรยี ทเ่ี จรญิ ไดเ้ ฉพาะบริเวณท่ีมีออกซิเจนเทา่ นั้น

- FACULTATIVE ANAEROBIC TYPE เป็นกลมุ่ แบคทีเรยี ท่สี ามารถเจริญไดท้ ง้ั ใน
สภาวะที่มีและไม่มอี อกซเิ จน

- ANAEROBIC BACTERIA เปน็ กล่มุ แบคทเี รียทเี่ จริญได้ดีในสภาวะท่ีไม่มอี อกซิเจน

- MICROAEROPHILE BACTERIA เปน็ กลุ่มแบคทเี รียท่ีเจริญได้ดใี นบรเิ วณที่มี
ออกซเิ จนเล็กน้อย

ความต้องการออกซิเจนในการเจรญิ ของแบคทเี รยี

2. ปัจจยั ทีม่ ีผลตอ่ กจิ กรรมของจลุ ินทรีย์

2) ปัจจยั ด้านอุณหภูมิ เชน่

- MINIMUM TEMPERATURE : อณุ หภูมิต่าสดุ ที่จลุ ินทรยี ์สามารถ
เจริญได้ มกี ารแบ่งตัวนอ้ ยมาก

- OPTIMUM TEMPERATURE: อุณหภูมิเหมาะสมทีส่ ดุ สาหรับการ
เจรญิ ของจุลินทรีย์ สามารถแบง่ ตวั ได้เร็วทสี่ ดุ

- MAXIMUM TEMPERATURE: อณุ หภูมสิ ูงสุดท่ีแบคทีเรียเจรญิ ได้
แต่อาจเกดิ ขึ้นได้ชา้ ๆ

ลกั ษณะการเจรญิ ของจลุ นิ ทรยี ใ์ นชว่ งอุณหภมู ติ า่ งๆ

2. ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อกิจกรรมของจุลินทรยี ์

3) ปจั จัยด้านความเปน็ กรด-ดา่ ง เชน่

- ACIDOPHILES เป็นกลมุ่ จุลนิ ทรียท์ ่สี ามารถเจริญไดด้ ีในช่วงความเป็น
กรดด่าง ประมาณ 1 - 5.5

- NEUTROPHILES เปน็ กลุ่มจลุ นิ ทรียท์ ี่สามารถเจริญไดด้ ใี นชว่ งความเป็น
กรดดา่ ง ประมาณ 5.5 - 8.0

- ALKALIPHILES เปน็ กล่มุ จลุ ินทรยี ท์ ่สี ามารถเจรญิ ได้ดใี นชว่ งความเป็น
กรด - ดา่ ง ประมาณ 8.5 - 11.5

- EXTREME ALKALIPHILES เป็นกล่มุ จุลินทรียท์ ่สี ามารถเจริญได้ดีในช่วง
ความเปน็ กรด - ด่าง มากกว่า 10 ข้ึนไป

3.การแพร่กระจายของจลุ ินทรีย์

จุลินทรีย์แต่ละชนิดมีการติดต่อเข้าสู่ร่างกายคนไม่
เหมือนกันและแม้จะเป็นชนิดเดียวกัน แต่เม่ือเข้าสู่ร่างกาย
คนละทาง ก็จะเกิดผลแตกต่างกัน วิธีที่เช้ือจุลินทรีย์จะ
ติดต่อเข้าสู่ร่างกายคนหรือสัตว์น้ัน อาจเป็นได้ 6 ทาง
ดว้ ยกนั คอื

1) ทางระบบทางเดินหายใจหรือทางอากาศ (AIRBORNE
INFECTION) นับเป็นการติดต่อหรือแพร่กระจายของโรคที่
สาคัญทส่ี ดุ

3.การแพร่กระจายของจลุ ินทรยี ์

1) ทางระบบทางเดินอาหารหรือทางอาหาร
(FOOD-BORNE INFECTION) เชื้อโรคบางชนิด
อาศัยอยู่ในอาหารและน้าจึงสามารถเข้าสู่ร่างกาย
ทางปาก

3.การแพรก่ ระจายของจลุ นิ ทรีย์

1) ทางผวิ หนงั (PER-CUTANEOUS INFECTION) ปกตผิ วิ หนงั
ของคนเราทาหนา้ ทป่ี ้องกันไม่ใหเ้ ชอื้ โรคเขา้ สูร่ า่ งกายแต่เชื้อโรค
บางชนิดสามารถเข้าสู่รา่ งกายทางผวิ หนงั ได้ดว้ ยวธิ ีการ ดังน้ี

- โดยการสัมผัส เช่น โรคเร้ือน โรคผิวหนัง กลาก
เกล้ือน เป็นตน้

- เขา้ ทางบาดแผลหรอื รอยขีดขว่ น เชน่ เชื้อบาดทะยกั

- ถกู สตั วห์ รือแมลงกัน เชน่ ยงุ กัด

- โดยการไชผา่ นผวิ หนงั เข้าสรู่ ่างกาย เช่น พยาธปิ ากขอ

3.การแพร่กระจายของจลุ นิ ทรีย์

4) ทางเยอื่ บุตา่ งๆ เช่น เย่ือบตุ า เยอื่ บชุ อ่ งปาก
5) ทางระบบสบื พันธห์ุ รือทางเพศสัมพันธ์ เช่น
กามโรค เอดส์
6) ทางสายสะดอื หรอื รก


Click to View FlipBook Version