The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ketsaraporn3011, 2019-06-19 22:23:28

Unit 5

Unit 5

บทที่ 5

ลกั ษณะที่สาคญั ทางเศรษฐกจิ ในสัตว์เลย้ี ง

ครคู ธั รยี า มะลวิ ลั ย์

แผนกวชิ าสตั วศาสตร์
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา

บทที่ 5

ลักษณะทส่ี ำคญั ทำงเศรษฐกิจในสัตวเ์ ลยี้ ง

หัวข้อเร่ือง
1. ลกั ษณะทางเศรษฐกิจ
2. ลกั ษณะท่สี าคัญในสตั ว์เลย้ี ง

จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้(นำทำง)
1. เพื่อให้มีความรูแ้ ละเขา้ ใจเก่ยี วกับลกั ษณะทางเศรษฐกจิ ของสตั ว์เล้ียง
2. เพือ่ ใหม้ ีความรูแ้ ละเข้าใจเก่ยี วกบั ลกั ษณะทสี่ าคญั ในสัตว์เล้ียงชนดิ ต่างๆ

จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้(ปลำยทำง)
1. อธิบายลกั ษณะทางเศรษฐกจิ ของสัตว์เล้ยี งได้
2. อธบิ ายลักษณะทส่ี าคญั ในสตั ว์เล้ยี งชนิดต่างๆ ได้

เนื้อหำกำรสอน

1. ลักษณะทำงเศรษฐกจิ
ลักษณะทางเศรษฐกจิ หมายถึง ลักษณะของสัตว์เลี้ยงท่ีเกย่ี วข้องกบั เศรษฐกจิ สวนใหญ่ หมายถึง

ลักษณะทางปรมิ าณ ไดแก อัตราการเจริญเติบโต การให้ผลผลิต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร สวนลักษณะ
คุณภาพ ไดแก สีขน ซ่ึงจัดเป็นลักษณะท่ีสาคัญทางเศรษฐกิจในสัตว์สวยงาม เช่น ไกแจ ลักษณะทาง
เศรษฐกิจในสตั ว์เลย้ี งสามารถแบงออกเปน็ 2 ลักษณะ ดังน้ี

ลักษณะทางปริมาณ เป็นลักษณะที่วัดไดโดยตรง คือ สามารถชั่ง ตวง หรือวัด เป็นค่าตัวเลข
ออกมาได มีหน่วยเป็นปริมาณจะถูกควบคุมโดยยีนหลายคูและสิ่งแวดล้อมเข้ามามีอิทธิพลเก่ียวข้องมาก
เช่น การให้น้านมของโคนม การให้ไขของไกไข การให้ลูกต่อครอกของสุกร เป็นต้น การถ่ายทอดลักษณะ
ปริมาณมีหลักการ คือ ยีนแต่ละคูในจีโนไทป์เป็นอิสระต่อกัน และทางานร่วมกันเป็นแบบบวกสะสม
ดังนั้น การแสดงออกของฟีโนไทป์ในลักษณะทางปริมาณจึงเป็นการแสดงออกแบบต่อเนื่องไมสามารถ
จาแนกออกเปน็ พวกๆ ได

ลักษณะทางคุณภาพ จาแนกออกเป็นพวกๆ ไดชัดเจน จะควบคุมโดยยีนน้อยคูหรือเพียงคู่เดียว
และมีอิทธิพลของส่ิงแวดล้อมเข้ามาเกี่ยวข้องน้อยมาก เช่น ลักษณะสีของโค ลักษณะการมีหรือไมมีเขา
ของโค เป็นต้น นักผสมพันธุสัตว์ไมค่อยคานึงถึงมากนักเพราะมีความสาคัญทางเศรษฐกิจน้อยมาก
การถ่ายทอดลักษณะคุณภาพจะเป็นการถ่ายทอดข้นั มูลฐาน การถา่ ยทอดแบบนี้นิยมเรียกตามช่ือผู้ค้นพบ
เช่น การถ่ายทอดลกั ษณะแบบเมนเดล

2. ลกั ษณะทีส่ ำคญั ทำงเศรษฐกิจของสตั ว์เลีย้ ง
2.1 ไกเนื้อ ลักษณะที่สาคัญทางเศรษฐกิจ ไดแก ความแข็งแรงและการมีชีวิตรอด อัตราการ

เจริญเตบิ โต ประสทิ ธิภาพการใช้อาหาร ลกั ษณะของร่างกาย เป็นต้น โดยสามารถอธบิ ายไดดังนี้
1) ความแข็งแรงและการมีชีวิตรอด ท้ังสองลักษณะวัดไดโดยใช้ความสมบูรณพันธุ

การฟกั ออกเปน็ ตวั และอตั ราการตาย คานวณจากสูตรไดดังน้ี

เปอรเ์ ซ็นต์ความสมบรู ณพันธุ = จานวนไขม่ ีเช้อื x 100
จานวนไขท่ ง้ั หมด

เปอรเ์ ซน็ ต์การฟักออกเป็นตวั = จานวนลูกท่ฟี กั ออก x 100
จานวนไขท่ ี่มเี ชื้อทง้ั หมด

เปอร์เซน็ ต์อัตราการตาย = จานวนลกู ไกท่ ่ีตาย x 100
จานวนลกู ไก่ทั้งหมด

ลักษณะความแข็งแรงและการมีชีวิตรอด มีค่าอัตราพันธุกรรมต่าควรทาการปรับปรุงพันธุกรรม
ลกั ษณะน้ีโดยปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อม เช่น การให้อาหาร การจดั การผสมพันธุและการเลี้ยงดู เป็นต้น

2) อตั ราการเจริญเตบิ โตและอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเน้ือ เป็นลกั ษณะสาคัญท่ีสดุ ในการเลี้ยง
ไกเนื้อเพราะเป็นตวั ชี้ถึงต้นทนุ อาหารท่ีจะใช้ในการเล้ยี งและน้าหนักไกท่ีไดเมื่ออายุถึงส่งตลาด ลักษณะทั้ง
สองมคี ่าอตั ราพันธุกรรมสงู สามารถปรับปรุงพันธกุ รรมไดโดยการคัดเลือกพันธุ อัตราการเจริญเตบิ โตและ
อตั ราการเปล่ียนอาหารเป็นเนอ้ื คานวณจากสตู รไดดงั น้ี

อัตราการเจรญิ เตบิ โต (ADG) = นา้ หนักสุดท้าย – นา้ หนกั เร่ิมต้น x 100
จานวนวันทเ่ี ลย้ี ง

อัตราการเปลย่ี นอาหารเป็นเน้อื (FCR)= จานวนอาหารทั้งหมดท่เี ลย้ี ง
น้าหนักสุดทา้ ย – นา้ หนกั เร่มิ ตน้

ประสทิ ธภิ าพการใช้อาหาร = น้าหนกั สุดทา้ ย – น้าหนักเร่มิ ต้น x 100
จานวนอาหารทัง้ หมดทเ่ี ลี้ยง

3) ลักษณะของร่างกาย แสดงออกถึงความสมบูรณของร่างกาย สัมพันธ์กับการให้เนื้อของไก
และเป็นลักษณะประจาพันธุในสัตว์พันธุแท้ เช่น ไกพันธุคอร์นิช (Cornish) มีขนสีขาว รูปร่างดี เนื้อดี
ทนทาน โตไว นิยมใช้เป็นพันธุเร่ิมต้นในการสร้างไกกระทง ลักษณะของร่างกายมีค่าอัตรา พันธุกรรม
ระดบั ปานกลาง สามารถปรบั ปรุงพนั ธุกรรมไดโดยการคัดเลือกพนั ธุ แบงออกเปน็ 3 ลกั ษณะย่อย ไดแก

(1) รูปร่างลักษณะท่ัวไป จะแสดงถึงความสมบูรณของร่างกายในส่วนต่างๆ ไดแก่
ลักษณะของส่วนหัว ปก หาง ขน และแขง นอกจากนไ้ี กควรมคี วามปราดเปรยี วและตื่นตวั อยู่เสมอ

(2) ลักษณะที่เก่ียวข้องกับการให้เนื้อ มีหลายลักษณะที่แสดงถึงการให้เนื้อของไก ไดแก
รูปทรงของร่างกาย ขนาดลาตัว สวนหัว สวนอก และช่องท้อง โดยเฉพาะส่วนอกซ่ึงเป็นเนื้อส่วนใหญ่ของ
ไกเนื้อ

(3) ลักษณะการงอกของขน จะเกี่ยวข้องกับคุณภาพซากของไกเนื้อ เนื่องจากไกเนื้อโต
เร็วมาก หากขนงอกช้าทาให้มีขนอ่อนมาก เมื่ออายุถึงส่งตลาดมักจะเกิดปัญหาเร่ืองของการถอนขน โดย
ทาให้ซาก ไมสวยงาม ไกเนื้อที่ดีควรมขี นเตม็ ตัวภายในอายุ 4 สปั ดาห์

ภำพท่ี 5.1 ไกพันธ์ุคอรนชิ

2.2 ไกไข ลักษณะที่สาคัญทางเศรษฐกิจ ไดแก อายุการเป็นหนุ่มสาว ลักษณะการให้ไขและ
ลกั ษณะของร่างกาย สามารถอธบิ ายไดดงั น้ี

1) อายุการเป็นหนุ่มสาว เป็นลักษณะท่ีเก่ียวกับการเร่ิมต้นให้ไข ไกที่ถึงอายุการเป็นหนุ่มสาวเร็ว
กว่าย่อมให้ผลผลิตเร็วกว่าและมีโอกาสให้ผลผลิตมากกว่าในชั่วชีวิต อายุการเป็นหนุ่มสาวมีค่าอัตรา
พันธุกรรมระดับปานกลาง สามารถปรับปรุงไดโดยการคัดเลือกพันธุ ไกแต่ละพันธุมีอายุการเป็นหนุ่มสาว
แตกต่างกัน เช่น ไกพันธุเล็กฮอรน (Leghorn) เริ่มเป็นหนุ่มสาวเม่ือมีอายุ 5 เดือน สวนไกพันธุโรดไอ
แลนดเรด (Rhode Island Red) จะเริม่ เปน็ หนุ่มสาวอายุ 5½ ถงึ 6 เดือน

2) ลักษณะการให้ไข เป็นลักษณะสาคัญที่สดุ ในไกไข ประกอบด้วยลักษณะย่อย ดังน้ี
(1) ปริมาณผลผลิตไข วัดได 3 วิธี คือ คิดจานวนไขเฉลี่ยต่อตัวจากจานวนไกไขเร่ิมไข

คดิ จานวนไขเฉล่ียต่อตัวจากไกทมี่ ีอยู่ในแตล่ ะวนั และคิดจานวนไขเฉลยี่ ต่อตัวจากไกท่มี ีชวี ติ รอดตลอดปี
(2) น้าหนักและรูปร่างของไข ไขลักษณะดีควรมีน้าหนักและรูปร่างตามมาตรฐานเพราะ

สะดวกในการบรรจภุ าชนะขนส่ง
(3) คุณภาพของไข ไดแก ความหนาและความเป็นปกติของเปลือกไข จุดเลือดและจุด

เนือ้ ในไข สีของไขแดงและคณุ ภาพของไขขาว ลักษณะคุณภาพของไขมีคา่ อัตราพันธุกรรมระดบั ปานกลาง
ถึงสูง สามารถปรับปรงุ ไดโดยการคดั เลือกพนั ธุ

3) ลักษณะของร่างกาย แบง่ เปน็ 2 ลักษณะ ไดดงั น้ี
(1) รูปร่างลักษณะทั่วไป แสดงความสมบูรณและความพรอมในการให้ไข ซ่งึ ในไกท่ีให้ไข

และไกที่ไมไข มีลักษณะต่างกัน ไกพันธุโรดไอสแลนดเรด เป็นไกกึ่งเน้ือกึ่งไข่ เลี้ยงง่าย ไขดก เปลือกไขสี
น้าตาล นิยมเลย้ี งเพือ่ เป็นไกไขหรือเปน็ พนั ธุหลักในการสร้างไกไข

(2) ลักษณะที่เก่ียวข้องกับการไข เป็นการเปรียบเทียบลักษณะท่ีแสดงความสามารถใน
การผลิตไขซ่ึงจะแตกต่างกันในไกที่ไขทนและไกท่ีไขไมทน ลักษณะร่างกายของไกไขมีค่าอัตราพันธุกรรม
ระดับปานกลาง สามารถปรับปรงุ ไดโดยการคัดเลอื กพันธุ

ภำพที่ 5.2 ไกพันธุโรดไอสแลนดเรด

2.3 สุกร ลักษณะที่สาคัญทางเศรษฐกิจ ไดแก น้าหนักครอกเมื่อหย่านม น้าหนักเมื่ออายุถึงส่ง
ตลาดและประสิทธิภาพการใช้อาหารในช่วงหย่านมจนถึงส่งตลาด คุณภาพซาก และลักษณะของร่างกาย
สามารถอธิบาย ไดดงั น้ี

1) น้าหนกั ครอกเมอ่ื หย่านม หมายถึง น้าหนักของสกุ รที่มีชวี ิตท้ังครอกเม่อื หย่านม โดยกาหนด
มาตรฐานหย่านมท่ี 56 วัน มสี ตู รปรับมาตรฐานไดดังน้ี

น้าหนักเม่ืออายุ 56 วนั = น้าหนกั ท่ีชง่ั ไดจ้ ริง x 41
อายเุ มื่อชง่ั น้าหนัก-15

ลกั ษณะน้าหนักต่อครอกเมื่อหย่านมมีค่าอัตราพันธุกรรมต่า การปรับปรุงพันธกุ รรมลักษณะน้ีทา
โดยการปรับปรุงด้านสภาพแวดล้อม เช่น การจัดการเรื่องการผสมพันธุ การปรับปรุงเร่ืองอาหาร
จะปรับปรุงไดดกี ว่าการคัดเลอื กพันธุ

2) น้าหนักเม่ืออายุส่งตลาดและประสิทธิภาพการใช้อาหารในช่วงหย่านมจนถึงส่งตลาด
โดยกาหนดมาตรฐานขายส่งตลาดที่ 154 วนั มีสูตรปรบั มาตรฐาน ไดดงั นี้

น้าหนกั เม่ืออายุ 154 วนั = น้าหนกั ทีช่ ่ังไดจ้ ริง x 94
อายุเม่ือชัง่ น้าหนกั -90

และประสทิ ธภิ าพการใช้อาหารในช่วงหลังหย่านมจนถึงส่งตลาด คานวณไดจากสูตร

ประสทิ ธิภาพการใช้อาหาร = น้าหนักสดุ ท้าย – น้าหนกั เร่ิมตน้ x 100
จานวนอาหารทัง้ หมดท่ีเลยี้ ง

อัตราการเปลยี่ นอาหารเป็นเน้ือ = จานวนอาหารทั้งหมดทีเ่ ลีย้ ง
นา้ หนกั สุดท้าย – นา้ หนกั เร่มิ ตน้

ลักษณะทง้ั สองมีค่าอตั ราพนั ธุกรรมระดับปานกลาง จึงสามารถปรบั ปรงุ พันธุกรรมลกั ษณะนี้ได
โดยการคดั เลือกพันธุ

3) คณุ ภาพของซาก เป็นลักษณะแสดงถงึ คุณภาพซากจากการชาแหละสกุ ร ซ่ึงปัจจบุ ันตลาดมี
ความตอ้ งการซากที่มสี ัดส่วนเนือ้ แดงมากและมีไขมนั น้อย ลกั ษณะทางคณุ ภาพของซากมีค่าอัตรา
พันธกุ รรมสงู จงึ สามารถปรบั ปรงุ พนั ธกุ รรมโดยการคดั เลือกพนั ธุได การหาสดั ส่วนของซากทสี่ ามารถขาย
ไดเรียกว่าเปอร์เซน็ ต์ซาก สามารถคานวณไดดังนี้

เปอร์เซน็ ตซ์ าก = น้าหนักซากเย็น x 100
น้าหนักสุกรมชี วี ติ

ในท่ีนี้ น้าหนักซากเย็น = น้าหนักของซากหลังฆ่าแลว ขูดขน ตัดหัว และนาเอาอวัยวะภายใน
ออกแล้วผ่าซากตามแนวกระดูกสันหลังออกเป็นสองซีก นาไปแชเย็นทีอ่ ณุ หภมู ิ 3 องศาเซลเซียส เป็นเวลา
24 ชวั่ โมง

น้าหนกั สุกรมชี วี ติ = น้าหนกั สกุ รกอ่ นฆ่าท่ีผ่านการอดอาหารเป็นเวลา 24 ชัว่ โมง

4) ลักษณะของร่างกาย แสดงถึงความสมบูรณของร่างกายสุกร และมีความสัมพันธ์กับลักษณะ
การให้ผลผลิตหรือลักษณะของซากด้วย ลักษณะของร่างกายมีค่าอัตราพันธุกรรมระดับปานกลาง
สามารถปรับปรุงโดยการคัดเลือกพันธุ สุกรพันธุแลนดเรซ (Landrace) ซ่ึงเป็นสุกรเบคอน รูปร่างยาว
ใหเ้ นอื้ สามชั้นมากนิยมใช้เป็นสายแมพ่ นั ธุสาหรับผลิตสกุ รขนุ ช้ันดี ลกั ษณะของร่างกาย ไดแก

(1) รูปร่างลักษณะท่ัวไป จะเป็นการพิจารณาถึงความสมบูรณครบถ้วน ไดสัดส่วนของ
ส่วนต่างๆ ในร่างกาย รวมท้ังลักษณะประจาพันธุของสุกร ขนาดท่ีเหมาะสมกับอายุ และลักษณะทางการ
สบื พันธุ เช่น ความสมบรู ณของหวั นม และความสมบรู ณของอวยั วะเพศ เป็นต้น

(2) ลักษณะการให้ผลผลิต เป็นการพิจารณาถึงลักษณะความแข็งแรงของร่างกายและ
ความลึกของร่างกาย ความยาวรอบอก ความแข็งแรงของขาและข้อขา ซ่ึงเป็นลักษณะที่สาคัญในสุกร
โดยเฉพาะพ่อพันธุ

(3) ลักษณะท่ีเก่ียวกับผลผลิตซาก ลักษณะภายนอกและลักษณะท่ีสามารถใช้ในการ
ประเมินผลผลิตท่ีไดจากซากสุกร ไดแก่ สวนหลัง ขาหนา ขาหลัง สันหลังและไหล เป็นต้น หากส่วนนี้มี
ขนาดใหญม่ กี ล้ามเนื้อชัดเจน หรือเมอ่ื วัดไขมนั สนั หลังมนี ้อย โอกาสในการให้ผลผลติ เนื้อแดงจะสูง

2.4 โคเน้ือ ลักษณะที่สาคัญทางเศรษฐกิจ ไดแก น้าหนักหย่านม อัตราการเจริญเติบโตและ
ประสิทธิภาพการใช้อาหาร น้าหนักเม่ืออายุ 1 ป และ 1½ ป คุณภาพซาก ลักษณะความสมบูรณพันธุ
รูปทรงและขนาด อธบิ ายไดดงั ตอ่ ไปนี้

1) น้าหนักหย่านม ลักษณะนี้มีค่าอัตราพันธุกรรมปานกลาง สามารถปรับปรุงพันธุ โดยการ
คดั เลือกพนั ธุได อายุหย่านมมาตรฐานในโคเนอ้ื กาหนดท่ี 205 วัน มสี ูตรปรับมาตรฐานได ดงั น้ี

น้าหนักเม่ืออายุ 205 วัน= น้าหนักชั่งไดจ้ ริง-น้าหนกั แรกเกิด x 205 - นา้ หนกั แรกเกิด
อายุถงึ วนั ท่ีช่งั

2) อัตราการเจรญิ เตบิ โตและประสิทธิภาพการใช้อาหาร ลักษณะท้ังสองน้ีมีค่าอัตราพันธุกรรมสูง
และมคี ่าสหสมั พนั ธ์ในทางบวก แสดงว่าสามารถปรับปรุงไดดีโดยการคัดเลอื กพันธุ มีสตู รคานวณดงั น้ี

อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน (ADG) = นา้ หนักสุดท้าย – นา้ หนักหยา่ นม
อายหุ ย่านมถึงวนั ทดสอบ(วนั )

ประสิทธิภาพการใช้อาหาร = น้าหนักสุดทา้ ย – น้าหนักเร่มิ ตน้ x 100
จานวนอาหารท้งั หมดท่ีเลี้ยง

อัตราการเปล่ียนอาหารเป็นเนื้อ (FCR) = จานวนอาหารทัง้ หมดที่เลย้ี ง
น้าหนกั สดุ ทา้ ย – นา้ หนักเร่ิมต้น

3) น้าหนักเมื่ออายุ 1 ป และ 1½ ป (365 วัน และ 550 วัน) น้าหนักเมื่ออายุ 1 ป จะใช้ในการ
คดั เลือกพ่อพันธุ์ และน้าหนักที่ 1½ ป จะใช้ในการคัดเลือกโคสาวเพ่ือเป็นโคทดแทน ลักษณะน้ีมีค่าอัตรา
พนั ธกุ รรมค่อนขา้ งสงู สามารถปรับปรุงพันธุโดยการคดั เลอื กพันธุ มีสตู รปรบั มาตรฐานไดดังน้ี

นา้ หนกั เม่ืออายุ 365 วนั = นา้ หนกั ชง่ั ได้จรงิ -น้าหนกั หย่านม x 160 + นา้ หนักหยา่ นม
จานวนวนั ท่ีหย่านมถึงวันทช่ี ่งั

น้าหนักเมื่ออายุ 550 วนั = น้าหนกั ชัง่ ได้จริง-นา้ หนกั หยา่ นม x 345 + นา้ หนกั หยา่ นม
จานวนวนั ที่หยา่ นมถงึ วนั ทช่ี งั่

4) คุณภาพซาก เป็นลักษณะที่วัดไดหลังจากการชาแหละสัตว์ การศึกษาลักษณะนี้ต้องใช้วิธี
คัดเลือกจากความสามารถของลูกหรือจากความสามารถของญาติข้างเคียง คุณภาพซากมีค่าอัตรา
พนั ธุกรรมสูง จงึ ปรับปรุงพันธุไดโดยการคัดเลอื กพันธุ คณุ ภาพซากประกอบด้วย เกรดซากและเปอร์เซ็นต์
ซาก การคิดเปอรเ์ ซ็นต์ซากทาไดดงั นี้

เปอร์เซ็นตซ์ าก = นา้ หนักซากเยน็ x 100
นา้ หนักโคก่อนฆ่า

ในทน่ี ้ี นา้ หนกั ซากเย็น = น้าหนักของซากหลังฆ่าแลว ถลกหนัง ตัดหน้าแขง ตัดหัว และ
นาเอาอวัยวะภายในออก แล้วผ่าซากตามแนวกระดูกสันหลังออกเป็นสองซีก นาไปแชเย็นที่อุณหภูมิ
3 องศาเซลเซยี ส เป็นเวลา 24 ชัว่ โมง

นา้ หนักโคมชี ีวติ = นา้ หนกั โคก่อนฆา่ ทผี่ ่านการอดอาหารเป็นเวลา 24 ช่วั โมง
กรณที ่ตี อ้ งการหานา้ หนักซากอุ่นทาไดดงั นี้

นา้ หนักซากอุ่น = 1.02 x นา้ หนักซากเย็น
5) ลักษณะความสมบูรณพันธุ เป็นลักษณะที่เก่ียวข้องกับการให้ลูกของแม่โค มีค่าอัตรา
พันธุกรรมต่า แสดงให้เห็นว่าควรปรับปรุงด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดการฟาร์ม การจัดการผสมพันธุ
จะสามารถปรับปรุงไดดีกว่าการคัดเลือกพันธุ ลักษณะความสมบูรณพันธุประกอบด้วย อัตราการไมกลับ
สัด จานวนคร้ังที่ผสมต่อการผสมติด เปอร์เซ็นต์การตกลูก เปอร์เซ็นต์การหย่านม ชวงการตกลูกและการ
คลอดยาก เป็นต้น

ภำพท่ี 5.3 โคพนั ธุ์ตาก
2.5 โคนม ลักษณะท่ีสาคัญทางเศรษฐกิจ ไดแก ปริมาณน้านมและไขมันในนม ลักษณะความ
สมบูรณพนั ธุและรปู ทรง อธบิ ายไดดงั นี้

1) ปริมาณนา้ นมและไขมันในนม เป็นลกั ษณะสาคญั ที่สุดในโคนม ค่าอัตราพนั ธุกรรมอยู่
ในช่วงปานกลางถึงสูง สามารถปรับปรุงไดโดยการคัดเลือกพันธุ การเปรียบเทียบปริมาณน้านมของแม่โค
จาเป็นต้องปรบั ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยปรบั ให้เป็นปริมาณน้านมที่รีดนมนาน 305 วัน จากโคโตเตม็
วัยรีดนมวันละ 2 ครั้ง และไขมันในนม 4 เปอร์เซ็นต์ การปรับปริมาณน้านมใช้ตัวคูณในตารางท่ี 5.1
สวนไขมนั ในนม 4 เปอรเ์ ซ็นต์ ปรับโดยใช้สูตรดงั นี้

ปรมิ าณน้านมที่มไี ขมันในน้านม 4% = (0.4 x ปรมิ าณน้านม) + (15 x ปริมาณไขมันในนม)

ตำรำงท่ี 5.1 แสดงตัวคณู เพ่ือปรับปริมาณน้านมทร่ี ดี ในระยะเวลาต่าง ๆ ใหเ้ ปน็ ปรมิ าณนา้ นมทร่ี ีดนม
นาน 305 วนั

ระยะเวลำท่รี ดี นม (วัน) ตัวคณู
240 หรือน้อยกว่า 1.15
241-270 1.05
271-309 1.00
310 0.99
315 0.98

ตำรำงท่ี 5.1 (ตอ่ )

ระยะเวลำทร่ี ีดนม (วนั ) ตัวคูณ
320 0.96
325 0.95
330 0.94
335 0.93
340 0.92
345 0.91
350 0.90
355 0.89
360 0.88
365 0.87

ทมี่ า : สกี ุน (2554)

2) ลักษณะความสมบูรณพันธุ เป็นลักษณะทางการสืบพันธุของแม่โค เม่ือผลิตลูกโคหรือเร่ิมต้น
การให้นม ลักษณะความสมบูรณพันธุมีค่าอัตราพันธุกรรมต่า การปรับปรุงพันธุไดผลน้อยทาไดโดยการ
ปรับปรุงการจัดการฟาร์มเป็นหลัก ลักษณะท่ีเก่ียวข้องกับความสมบูรณพันธุ ไดแก อัตราการไมกลับสัด
อัตราการกลบั สัด อัตราการคลอดและช่วงตกลูก

3) รปู ทรง หมายถงึ ลักษณะภายนอกท่ีต้องการ ไดแก รูปร่างลกั ษณะท่ัวไป ขนาดและรูปร่างของ
เตา้ นม ความจุของร่างกาย เป็นต้น รูปทรงท่ดี ชี ่วยให้โคมีผลผลิตสูงและยาวนาน โคพันธ์ุโฮลสไตนฟ์ รเี ชียน
เป็นตัวอย่างของโคนมที่ดี ในการประกวดและการคัดโคทดแทนให้ ความสาคัญกับรูปทรงมาก
การประกวดโคจงึ สนบั สนนุ การคดั เลือกลักษณะนี้

ภำพท่ี 5.4 โคพนั ธ์ุโฮลสไตน์-ฟรเี ชยี น

เอกสำรอ้ำงองิ

จรัส สว่างทัพ. 2553. เทคนิคการปรบั ปรงุ พันธุสัตว์. พิมพ์ครงั้ ท่ี 2. สาขาวชิ าสัตวศาสตร์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบรุ รี มั ย,์ บรุ รี ัมย์.

ชาญชยั รอดอนันต์. 2532. การผสมพนั ธุ์สัตว์. ภาควชิ าสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ บางพระ.
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, ชลบรุ .ี

เถลิงศักด์ิ อังกรุ เศรณี. 2553. การปรับปรุงพนั ธุสตั ว์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์.

บุญชอบ เฟ่ืองจนั ทร์. 2535. การปรับปรุงพันธุสัตว์. คณะวชิ าสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรกรรมชลบุรี,
ชลบุร.ี

บญุ เริ่ม บญุ นธิ ิ. 2549. การปรับปรงุ พนั ธุสัตว์. คณะวชิ าสัตวศาสตร์ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
นครราชสมี า. นครราชสมี า.

พงษช์ าญ ณ ลาปาง. 2547. หลักพ้นื ฐานเก่ียวกบั การปรับปรุงพนั ธุ, น. 203 - 239. ในฝ่ายวิชาการ
มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช, บรรณาธิการ. การปรบั ปรุงพันธุและการสืบพันธุสัตว์.
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช, นนทบุร.ี

สกี ุน นุชชา. 2554. การปรบั ปรุงพันธุสัตว์. คณะวิชาสตั วศาสตร์ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีตรัง.
ออนไลน์ : สืบคน้ ได้จาก www. Seekun.net/c-km-an-imp.html . 15 กนั ยายน 2561.

สมเกียรติ สายธนู. 2537. หลกั การปรบั ปรงุ พันธุสัตว์. พมิ พ์ครง้ั ที่ 1. ภาควชิ าสตั วศาสตร์
คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์, ม.ป.ท.

สมชัย จนั ทร์สว่าง. 2530. การปรบั ปรุงพนั ธุสัตว์. ภาควชิ าสตั วบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลยั
เกษตรศาสตร กรงุ เทพฯ.


Click to View FlipBook Version