The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ระบบส่งกำลังเครื่องมือกล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดการเรียนรู้ ระบบส่งกำลังเครื่องมือกล

แผนการจัดการเรียนรู้ ระบบส่งกำลังเครื่องมือกล

แผนการจัดการเรียนรู้

มงุ่ เนน้ ฐานสมรรถนะบรณู าการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ชื่อวชิ า ระบบสง่ กำลงั เครอ่ื งมอื กล
รหสั วชิ า 20102-2109 ท-ป-น 2-0-2

หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562
ประเภทวชิ า ชา่ งอตุ สาหกรรม

จัดทำโดย
นายนวิ ัฒน์ อนิ แสงแวง

วทิ ยาลยั เทคนิคสว่างแดนดิน
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

แบบคำขออนมุ ัติใชแ้ ผนการสอน

แผนการสอน ม่งุ เน้นฐานสมรรถนะบรูณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ชื่อวิชา ระบบสง่ กำลงั เครือ่ งมือกล รหสั วิชา 20102-2109 ท-ป-น 2-0-2

ลงชอื่ ..............................

(นายนิวฒั น์ อนิ แสงแวง)

ครพู เิ ศษสอน แผนกวิชาชา่ งกลโรงงาน

ผจู้ ัดทำ

ความเห็นหวั หน้าแผนกวชิ าชา่ งกลโรงงาน ความเหน็ หัวหนา้ งานพัฒนาหลกั สูตรฯ

………………………….……………….. ……………………………………….……….

(นายสรุ ัตน์ โคตรปญั ญา) (นายคุมดวง พรมอนิ ทร์)

หวั หน้าแผนกวิชาช่างกลโรงงาน หวั หน้างานพัฒนาหลกั สูตรการเรยี นการสอน

ความเห็นรองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
…………………..……………………………
(นายทนิ กร พรหมอินทร์)
รองผูอ้ ำนวยการฝา่ ยวิชาการ

ความเห็นผูอ้ ำนวยการวทิ ยาลยั การอาชีพสว่างแดนดนิ

O อนุมตั ิ O ไมอ่ นมุ ัติ

......................................
(นางวรรณภา พ่วงกลุ )
ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลยั การอาชีพสว่างแดนดิน

คำนำ

แผนการสอนวิชา ระบบส่งกำลังเครื่องมือกล รหัสวิชา 20102-2109 เรียบเรียงขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ
เรียนการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ของ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ เนื้อหาเกีย่ วกับหลักการทางานของระบบส่งกำลัง
วธิ ีการส่งกำลงั ของเครือ่ งมือกล ไม่วา่ จะเปน็ เคร่ืองเจาะ เครอ่ื งกลงึ เครื่องไส เครื่องเจยี ระไน เคร่ืองกัด และการ
คำนวณหาอัตราทดจากการส่งกำลงั ดว้ ยสายพาน และเฟือง รวมทงั้ แบบฝึกหัด และแบบทดสอบหลังเรยี น เพ่ือให้
ผ้เู รียนไดฝ้ ึกทักษะการคิดและการแกป้ ญั หา และประยุกตใ์ ช้ให้เหมาะสมกบั การท างานจรงิ ผจู้ ดั ทำหวังเป็นอย่าง
ยิ่งว่าหนังสือประกอบการการเรียนการสอน เล่มนี้ จะสามารถให้ความรู้และเกิดประโยชน์แก่ผู้สอน และผู้เรียน
ตลอดจนผู้สนใจศึกษา หากผิดพลาดประการใดผู้จัดทำขอน้อมรับคำตชิ มเพื่อเป็นประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไข
โอกาสต่อไป

นายนิวัฒน์ อนิ แสงแวง
ครูพิเศษสอนแผนกวชิ าชา่ งโรงงาน

สารบัญ หนา้

คำนำ ข
สารบัญ
ลักษณะรายวชิ า
วิเคราะหห์ ัวเรอื่ ง
รายละเอียดหัวเรอื่ ง
รายการวิเคราะห์ เนอ้ื หารายวชิ า
ตารางวเิ คราะห์ พุทธพิสยั ทกั ษะพสิ ยั จติ พสิ ยั
กำหนดการเรยี นรู้
หนว่ ยท่ี 1
หน่วยท่ี 2
หน่วยที่ 3
หน่วยท่ี 4
หน่วยท่ี 5
หน่วยที่ 6
หน่วยท่ี 7
หน่วยที่ 8
หน่วยท่ี 9
หน่วยที่ 10
หน่วยท่ี 11
หน่วยท่ี 12
หน่วยที่ 13
หน่วยที่ 14
หนว่ ยท่ี 15
หนว่ ยท่ี 16
หนว่ ยท่ี 17
สอบปลายภาค

ลกั ษณะรายวชิ า

ท-ป-น 2-0-2
รหสั วชิ า 20102-2109 ชื่อวชิ าระบบส่งกำลงั เครือ่ งมือกล ช่ัวโมง 2
หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2562
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน สาขางานเคร่ืองมอื กล

จุดประสงค์รายวิชา
1. เข้าใจหลักการของระบบส่งกำลังเคร่ืองมอื กล
2. คำนวณการสง่ กำลงั เครื่องมือกล
3. มกี จิ นสิ ยั ในการทำงานอยา่ งมีระเบยี บแบบแผน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และส่วนรวม
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั หลักการและกระบวนการ การคำนวณการสง่ กำลงั เครือ่ งมอื กล
2. ประยกุ ต์การสง่ กำลงั ในงานเคร่อื งมือกล
คำอธบิ ายรายวิชา
ศกึ ษาเกีย่ วกบั หลักการทำงานของระบบส่งกำลัง วิธีการส่งกำลงั ของเคร่ืองมือกลแบบต่างๆ เครอ่ื งเจาะ
เครื่องกลึง เครอ่ื งไส เครือ่ งเจยี ระไน เคร่อื งกัด คำนวณการส่งกำลงั

เกณฑก์ ารวัดผลรายวิชา

คะแนนเกบ็ ระหวา่ งภาค 70 คะแนน

- คะแนนเก็บครัง้ ที่ 1 20 คะแนน
20 คะแนน
- คะแนนเกบ็ ครัง้ ท่ี 2 10 คะแนน
20 คะแนน
- คะแนนสอบกลางภาค 30 คะแนน
100 คะแนน
- คะแนนพฤติกรรม

- คะแนนสอบปลายภาค

- รวมคะแนนทั้งหมด

ลกั ษณะรายวชิ า

ท-ป-น 2-0-2
รหสั วิชา 20102-2109 ชอื่ วิชาระบบส่งกำลังเคร่อื งมอื กล ชวั่ โมง 2
หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศักราช 2562
ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน สาขางานเครอื่ งมือกล

คำอธบิ ายเนอ้ื หาวชิ า
ศกึ ษาเกย่ี วกับหลกั การทำงานของระบบสง่ กำลงั วิธกี ารสง่ กำลงั ของเคร่อื งมือกลแบบตา่ งๆ เครื่องเจาะ
เคร่ืองกลึง เคร่อื งไส เคร่ืองเจยี ระไน เครือ่ งกัด คำนวณการสง่ กำลงั ดงั น้ี
1. เครื่องเจาะ การปรับตั้งความเรว็ โดยการสง่ กำลังดว้ ยสายพาน และ สง่ กำลงั ดว้ ยเฟือง
2. เครื่องกลงึ มชี ดุ หวั เครอ่ื งกลงึ ใช้ในการขับหัวจับหรือขับชน้ิ งานให้หมนุ ดว้ ยความเรว็ รอบต่างๆ
3. เคร่อื งไส ระบบกลไกการทำงาน โดยระบบขับด้วยไฮดรอลิก (Hydraulic) และระบบขบั ด้วยกลไกข้อเหวย่ี ง
(Mechanical Drive)
4. เคร่ืองเจียระไน มอเตอร์เปน็ ต้นกำลัง
5. เคร่อื งกดั มอเตอร์เปน็ ต้นกำลังท่ีสง่ กำลังไปยังเพลาหวั เคร่อื ง และชุดขับเคลื่อนสว่ นต่างๆใหเ้ คลอื่ นทอ่ี ัตโนมตั ิ

6. อัตราทดการสง่ กำพลงั ดว้ ยสายพาน เฟือง และเฟอื งหนอน เกลยี วหนอน

วิเคราะห์ช่อื เร่ือง
ท-ป-น 2-0-2

รหัสวชิ า 20102-2109 ชื่อวิชาระบบส่งกำลงั เครอ่ื งมอื กล ช่วั โมง 2
หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562
ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน สาขางานเครอ่ื งมอื กล

การวิเคราะห์หัวข้อเร่อื ง แบบแผนภมู ิ

เครือ่ งเจาะ การ อัตราทดการส่งกา เครอ่ื งกัด
ปรับตั้งความเรว็ พลงั ด้วยสายพาน และชดุ ขับเคลื่อน

เครือ่ งกลึง มชี ดุ ระบบส่งกาลัง สว่ นต่างๆ
หวั เครอื่ งกลงึ เครื่องมือกล
เคร่อื งเจยี ระไน
เคร่ืองไส ระบบ มอเตอร์เปน็ ตน้
กลไกการทางาน
กาลัง

วเิ คราะหห์ ัวข้อเรอื่ ง

ท-ป-น 2-0-2

รหัสวิชา 20102-2109 ช่อื วิชาระบบส่งกำลงั เครอื่ งมอื กล ช่ัวโมง 2

หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562

ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าช่างกลโรงงาน สาขางานเคร่อื งมือกล

แหล่งข้อมลู

หวั ข้อหลัก(Main Element) / ABCDE
หนว่ ยการเรยี นรู้ ( Learning Unit)

1. เครื่องเจาะ การปรบั ตง้ั ความเรว็ โดยการส่งกำลังด้วย ⁄ ⁄⁄
สายพาน และ สง่ กำลังด้วยเฟอื ง ⁄⁄
⁄⁄
2. เครื่องกลงึ มชี ดุ หัวเครื่องกลึง ใชใ้ นการขบั หัวจับหรือ ⁄
ขับช้ินงานใหห้ มนุ ดว้ ยความเรว็ รอบตา่ งๆ ⁄⁄
⁄⁄
3. เครื่องไส ระบบกลไกการทำงาน โดยระบบขบั ด้วยไฮ ⁄ //
ดรอลกิ (Hydraulic) และระบบขบั ดว้ ยกลไกข้อ
เหว่ยี ง (Mechanical Drive)

4. เคร่ืองเจยี ระไน มอเตอรเ์ ปน็ ต้นกำลัง
5. เคร่ืองกัด มอเตอร์เปน็ ตน้ กำลังท่ีส่งกำลงั ไปยงั เพลาหัวเครอ่ื ง ⁄
และชุดขบั เคลอื่ นส่วนตา่ งๆให้เคล่อื นทอี่ ตั โนมตั ิ

6. อัตราทดการสง่ กำพลังด้วยสายพาน เฟือง และเฟือง ⁄
หนอน เกลยี วหนอน
/

หมายเหตุ A : คำอธิบายรายวชิ า
B : ผู้เช่ียวชาญ
C : ผู้ชำนาญงาน
D : ประสบการณข์ องครูผ้สู อน
E : เอกสาร/ตำรา/คมู่ ือ

วเิ คราะห์หัวข้อเรือ่ ง

ท-ป-น 2-0-2
รหสั วชิ า 20102-2109 ช่ือวิชาระบบสง่ กำลังเครอ่ื งมือกล ชว่ั โมง 2
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พทุ ธศักราช 2562
ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวชิ าช่างกลโรงงาน สาขางานเคร่ืองมอื กล

หน่วยที่ ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ สมรรถนะ

1. เคร่ืองเจาะและงานเจาะ 1.แสดงความร้เู กย่ี วกับคำนวณความเร็วในงานเจาะ
2.แสดงความรู้เกี่ยวกับคำนวณเวลางานเจาะ

2. เคร่อื งกลงึ และงานกลงึ 1.แสดงความรเู้ กี่ยวกับความเรว็ ในงานกลงึ
2.แสดงความรเู้ กย่ี วกับการคำนวณเวลางานกลงึ
3. แสดงความรเู้ กยี่ วกับการคำนวณเรยี ว

3. เครอื่ งไสและงานไส 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั การคำนวณความเรว็ ในงาน
ไส
2. แสดงความร้เู กย่ี วกับการคำนวณเวลางานไส

4. เครื่องเจยี ระไนและงานเจียระไน 1. แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับการคำนวณความเร็วในงาน
เจยี ระไน

2. แสดงความรู้เกีย่ วกบั การคำนวณเวลางาน

เจยี ระไน

5. เครือ่ งกัดและงานกดั 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับการคำนวณความเรว็ ในงาน

อตั ราทดการส่งกำพลงั ดว้ ยสายพาน เฟือง กัด

และเฟอื งหนอน เกลยี วหนอน 2. แสดงความรู้เกี่ยวกบั การคำนวณเวลางานกดั

6. 3 แสดงความรูเ้ กีย่ วกบั คำนวณการแบ่งดว้ ยหัวแบ่ง
1. แสดงความรเู้ กี่ยวกับการคำนวณอัตราทดการส่ง

กำลงั ด้วยเครอ่ื งมือกลต่างๆ

รายละเอียดหัวข้อเรือ่ ง

ท-ป-น 2-0-2
รหสั วิชา 20102-2109 ชอ่ื วิชาระบบสง่ กำลังเครื่องมอื กล ช่ัวโมง 2

หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2562
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขางานเคร่ืองมอื กล

หวั ขอ้ หลัก (Main Element) / หัวขอ้ ยอ่ ย (Element)
หนว่ ยการเรียนรู้ ( Learning Unit)

1. เครอื่ งเจาะและงานเจาะ 1.1 คำนวณหาคา่ ความเรว็ ตดั ในงานเจาะได้
2. เครอ่ื งกลึงและงานกลึง 1.2 คำนวณหาคา่ ความเรว็ รอบในงานเจาะได้
1.3 เลอื กอัตราป้อนเจาะให้เหมาะกบั ขนาดดอกสว่าน
3. เครื่องไสและงานไส ได้
4.เครื่องเจยี ระไนและงานเจียระไน 1.4 คำนวณหาค่าความเร็วรอบและการปอ้ นเจาะได้
1.5 คำนวณหาคา่ เวลางานเจาะได
2.1 คำนวณหาคา่ ความเรว็ รอบในงานกลงึ ได้
2.2 คำนวณหาค่าความเรว็ ตดั ในงานกลึงได้
2.3 เลือกความเรว็ ตัดของชน้ิ งานให้เหมาะกับมีดกลึงได้
2.4 คำนวณหาคา่ เวลางานกลึงปอกได้
2.5 คำนวณหาคา่ เวลางานกลงึ ปาดหนา้ ได้
2.6 คำนวณหาค่าเวลางานกลงึ เกลยี วได้
2.7 คำนวณเรียวได้
3.1 คำนวณหาค่าความเร็วตัดในงานไสได้
3.2 เลือกจำนวนคจู่ งั หวะไสตอ่ นาทีได้ถกู ต้องและ
เหมาะสมกบั วัสดุมีด และช่วงชักมดี
3.3 คำนวณหาค่าเวลางานไสได้
4.1 คำนวณหาค่าความเรว็ ขอบในงานเจยี ระไนได้
4.2 คำนวณหาคา่ ความเรว็ รอบในงานเจยี ระไนได้
4.3 คำนวณหาเวลาในงานเจยี ระไนกลมได้
4.4 คำนวณหาเวลาในงานเจยี ระไนราบได้

รายละเอยี ดหัวขอ้ เรอ่ื ง

ท-ป-น 2-0-2

รหสั วิชา 20102-2109 ชอ่ื วิชาระบบส่งกำลงั เครื่องมอื กล ช่ัวโมง 2

หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี พุทธศักราช 2562

ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม

สาขาวชิ าช่างกลโรงงาน สาขางานเครอื่ งมอื กล

หวั ขอ้ หลกั (Main Element) / หวั ขอ้ ย่อย (Element)

หน่วยการเรยี นรู้ ( Learning Unit)

5.เครื่องกดั และงานกัด 5.1 คำนวณหาค่าความเร็วตดั ในงานกดั
5.2 คำนวณหาค่าความเรว็ รอบในงานกดั
5.3 คำนวณหาเวลาในงานกัดได้
5.4 คำนวณการแบ่งดว้ ยหัวแบ่งได

6.อัตราทดการส่งกำพลังด้วยสายพาน เฟอื ง และ 1. คำนวณหาอตั ราทดของสายพานแบนได้
เฟืองหนอน เกลยี วหนอน 2. คำนวณหาอัตราทดของสายพานล่ิมได้
3. คำนวณหาคา่ การสง่ กำลังดว้ ยอัตราทดชน้ั เดยี วดว้ ย
เฟืองตรงได้
4. คำนวณหาคา่ การส่งกำลงั ดว้ ยอัตราทดสองชั้นดว้ ย
เฟอื งตรงได้
5. คำนวณหาอตั ราทดจากการส่งกำลังด้วยเฟืองหนอนได้

รายการวิเคราะห์ เนือ้ หาวิชา จุดประสงคร์ ายวิชา มาตรฐานรายวิชา

ท-ป-น 2-0-2
รหสั วิชา 20102-2109 ชือ่ วิชาระบบสง่ กำลงั เครือ่ งมอื กล ชวั่ โมง 2

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างกลโรงงาน สาขางานเครือ่ งมอื กล

หัวข้อ จดุ ประสงค์ สมรรถนะรายวิชา
หลัก/ รายวชิ า

หน่วย เน้ือหาวชิ า 1 2 34 56 12 3 45 6
การ

เรยี นรู้

1 เคร่ืองเจาะและงานเจาะ

1.1 คำนวณหาคา่ ความเรว็ ตดั ในงานเจาะ / / / //
//
ได้ //

1.2 คำนวณหาคา่ ความเรว็ รอบในงาน

เจาะได้

1.3 เลือกอัตราปอ้ นเจาะให้เหมาะกับ

ขนาดดอกสวา่ นได้

1.4 คำนวณหาคา่ ความเรว็ รอบและการ

ป้อนเจาะได้

1.5 คำนวณหาคา่ เวลางานเจาะได้

2 เครอื่ งกลึงและงานกลงึ

2.1 คำนวณหาค่าความเรว็ รอบในงานกลึง / / /

ได้

2.2 คำนวณหาคา่ ความเรว็ ตัดในงานกลงึ

ได้

2.3 เลือกความเร็วตัดของชิน้ งานใหเ้ หมาะ

กับมีดกลงึ ได้

2.4 คำนวณหาค่าเวลางานกลงึ ปอกได้

2.5 คำนวณหาค่าเวลางานกลงึ ปาดหนา้ ได้

2.6 คำนวณหาค่าเวลางานกลึงเกลยี วได้

2.7 คำนวณเรียวได้

3 เครอื่ งไสและงานไส / //

3.1 คำนวณหาค่าความเรว็ ตดั ในงานไสได้

3.2 เลอื กจำนวนคู่จังหวะไสตอ่ นาทีได้

ถูกต้องและเหมาะสมกับวัสดุมีด และชว่ ง

ชักมีด

3.3 คำนวณหาคา่ เวลางานไสได้

รายการวิเคราะห์ เนอื้ หาวชิ า จุดประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า

ท-ป-น 2-0-2

รหสั วิชา 20102-2109 ชื่อวิชาระบบสง่ กำลังเครื่องมือกล ช่ัวโมง 2

หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562

ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม

สาขาวชิ าช่างกลโรงงาน สาขางานเคร่อื งมอื กล

หัวขอ้ จุดประสงค์ สมรรถนะรายวิชา

หลกั / รายวชิ า
หน่วย
การ เน้อื หาวชิ า 1 2 3 456 12 3 456

เรยี นรู้

4 เครอ่ื งเจียระไนและงานเจียระไน

4.1 คำนวณหาค่าความเรว็ ขอบในงานเจยี ระไนได้ /// //
4.2 คำนวณหาค่าความเรว็ รอบในงานเจียระไนได้

4.3 คำนวณหาเวลาในงานเจยี ระไนกลมได้

4.4 คำนวณหาเวลาในงานเจียระไนราบได้

เครอ่ื งกดั และงานกดั

5.1 คำนวณหาคา่ ความเร็วตดั ในงานกัด

5.2 คำนวณหาคา่ ความเร็วรอบในงานกดั

5 5.3 คำนวณหาเวลาในงานกัดได้

5.4 คำนวณการแบง่ ด้วยหัวแบง่ ได้

อตั ราทดการสง่ กำพลังดว้ ยสายพาน เฟอื ง และเฟอื ง / / / //

หนอน เกลยี วหนอน

1. คำนวณหาอัตราทดของสายพานแบนได้

2. คำนวณหาอัตราทดของสายพานลิม่ ได้

6 3. คำนวณหาคา่ การส่งกำลังด้วยอัตราทดช้นั เดียวด้วย

เฟอื งตรงได้

4. คำนวณหาคา่ การสง่ กำลงั ด้วยอัตราทดสองชั้นดว้ ย

เฟอื งตรงได้ /// //

5. คำนวณหาอัตราทดจากการสง่ กำลังด้วยเฟอื งหนอน

ได้

ตารางวิเคราะห์ระดบั พทุ ธิพิสยั ทักษะพิสยั จิตพสิ ัย
ท-ป-น 2-0-2
รหัสวิชา 20102-2109 ชอ่ื วิชาระบบส่งกำลงั เคร่อื งมอื กล ชั่วโมง 2
หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พุทธศกั ราช 2562
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน สาขางานเคร่อื งมอื กล

วเิ คราะห์ระดบั พฤติกรรมทีพ่ ึงประสงค์รายวชิ า
1) พทุ ธิพสิ ัย....................6..................ระดับ
2) ทกั ษะพสิ ยั ....................................ระดบั
3) จติ พสิ ยั .......................5..................ระดับ
4) นอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏบิ ัติ
5) คุณธรรม จรยิ าธรรม และคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ของผสู้ ำเรจ็ การศึกษา
6) การประเมินพฤตกิ รรมผเู้ รียนอาชีวศกึ ษา ตามค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ

ตารางวิเคราะห์ระดับ พุทธิพิสัย ทกั ษะพสิ ยั จิตพิสยั

ท-ป-น 2-0-2
รหสั วชิ า 20102-2109 ชื่อวิชาระบบสง่ กำลังเครื่องมือกล ชว่ั โมง 2

หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2562

ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างกลโรงงาน สาขางานเคร่อื งมอื กล

ระดบั พฤตกิ รรมท่พี งึ ประสงค์

หนว่ ยที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ พุทธพิ สิ ัย ทกั ษะพสิ ยั จติ พสิ ยั เวลา

1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 (ชม.)

1. เครื่องเจาะและงานเจาะ / / / / //// 6

2. เครอ่ื งกลึงและงานกลงึ / / / / //// 6

3. เครอ่ื งไสและงานไส / / / / //// 6
4. เครอ่ื งเจยี ระไนและงาน / / / / //// 6

เจียระไน //// 6
5. เครอื่ งกดั และงานกดั / / / / //// 6
6. อัตราทดการสง่ กำพลงั / / / /

ด้วยสายพาน เฟอื ง และ
เฟืองหนอน เกลียวหนอน

พทุ ธพิ ิสัย ทักษะพสิ ยั จติ พสิ ยั

1 = ความรู้ 1 = เลียนแบบ 1 = รบั รู้

2 = ความเข้าใจ 2 = ทำไดต้ ามแบบ 2 = ตอบสนอง

3 = การนำไปใช้ 3 = ทำได้ถกู ต้อง 3 = เหน็ คณุ ค่า

4 = การวิเคราะห์ แม่นยำ 4 = จดั ระบบคณุ คา่

5 = การสงั เคราะห์ 4 = ทำไดต้ อ่ เนื่อง 5 = พฒั นาเปน็ ลักษณะ

6 = การประเมนิ คา่ ประสานกนั นสิ ยั

5 = ทำได้อยา่ ง เปน็

ธรรมชาติ

นอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏบิ ตั ิ

1. พอประมาณ 4. เงอื่ นไขความรู้

2. มีเหตผุ ล 5. เง่ือนไขคุณธรรม

3. มภี มู ิค้มุ กนั ในตัวที่ดี

กำหนดการเรียนรู้

ท-ป-น 2-0-2
รหัสวชิ า 20102-2109 ชอื่ วชิ าระบบสง่ กำลังเคร่อื งมอื กล ชัว่ โมง 2

หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พุทธศักราช 2562
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขางานเคร่อื งมอื กล

หน่วยท่ี ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ สัปดาห์ท่ี ชว่ั โมงที่

แนะนำรายวิชา และหลักการทำงานของระบบสง่ กำลงั เคร่ืองมอื 1 2
กลต่างๆ
1. คำนวณความเร็วในงานเจาะ (1) 2 2
คำนวณความเร็วในงานเจาะ (2) 3 2
2. เครอื่ งเจาะและงานเจาะ 4 2
3. คำนวณความเร็วในงานกลงึ 5 2
4. คำนวณเวลางานกลงึ ปอก และกลึงปาดหน้า 6 2
5. คำนวณเวลาในการกลึงเกลียว 7 2
6. คำนวณเรียว 8 2
7. คำนวณความเรว็ ตดั และเวลางานไส 9 2
8. คำนวณความเรว็ ในงานเจยี ระไน 10 2
9. คำนวณเวลางานเจียระไนกลม และรา 11 2
10. คำนวณความเรว็ ในงานกัด 12 2
11. คำนวณเวลางานกดั 13 2
12. คำนวณการแบง่ ด้วยหวั แบ่ง 14 2
13. คำนวณหาอัตราทดจากการสง่ กำลงั ด้วยพาน 15 2
14. คำนวณหาอัตราทดจากการส่งกำลงั ด้วยเฟือง 16 2
15. คำนวณหาอตั ราทดจากการส่งกำลงั ด้วยเฟืองนอนและเกลียว 17 2
16. หนอน 18 2
17. สอบปลายภาค
18.

รวม 18 36

แผนการเรียนรู้

ท-ป-น 2-0-2
รหสั วิชา 20102-2109 ช่อื วิชาระบบส่งกำลงั เคร่ืองมือกล ช่ัวโมง 2

หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2562

ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวชิ าช่างกลโรงงาน สาขางานเครอ่ื งมอื กล

เรื่อง ............หลกั การทำงานระบบสง่ กำลงั เครื่องมอื กลต่างๆ............................... จำนวนชว่ั โมงสอน....
6......

1. สาระสำคัญ
ในงานด้านอุตสาหกรรมดา้ นการผลติ ได้มีการนำเอาเคร่อื งจกั รกล หรอื เคร่ืองมือกลตา่ งๆมาใชง้ าน เพอื่ การผลติ
ผลติ ภัณฑใ์ หม้ ีคุณภาพละได้มปี รมิ าณ ดังน้ี
1. เครอ่ื งเจาะ การปรบั ตง้ั ความเรว็ โดยการสง่ กำลงั ด้วยสายพาน และ สง่ กำลังด้วยเฟือง
2. เครื่องกลึง มีชดุ หวั เครอ่ื งกลงึ ใชใ้ นการขับหัวจับหรือขบั ชนิ้ งานให้หมนุ ด้วยความเรว็ รอบต่างๆ
3. เครือ่ งไส ระบบกลไกการทำงาน โดยระบบขบั ดว้ ย ไฮดรอลกิ (Hydraulic) และระบบขับด้วยกลไกขอ้ เหวีย่ ง
(Mechanical Drive)
4. เคร่ืองเจียระไน มอเตอร์เป็นต้นกำลงั
5. เครอ่ื งกดั มอเตอร์เป็นต้นกำลงั ที่สง่ กำลังไปยังเพลาหวั เครอ่ื ง และชุดขบั เคล่ือนสว่ นตา่ งๆใหเ้ คล่อื นท่ีอตั โนมัติ

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (สมรรถนะรายวชิ า)
2.1 จุดประสงคท์ ว่ั ไป

1. รแู้ ละเขา้ ใจหลกั การทำงานระบบส่งกำลังของเคร่อื งมือกลตา่ งๆ
2. มีเจตคติและกิจนิสัยท่ดี ีในการทำงาน มคี วามรบั ผิดชอบ และตรงต่อเวลา

2.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. อธบิ ายหลกั การทำงานของระบบสง่ กำลงั ของเคร่อื งเจาะได้
2. อธบิ ายหลกั การทำงานของระบบสง่ กำลังของเครื่องกลึงได้
3. อธิบายหลักการทำงานของระบบสง่ กำลังของเคร่อื งไสได้
4. อธิบายหลกั การทำงานของระบบสง่ กำลงั ของเคร่อื งเจยี ระไนได้
5. อธิบายหลกั การทำงานของระบบสง่ กำลงั ของเครอ่ื งกดั ได้

3. สาระการเรยี นรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)
หลักการทำงานของระบบส่งกำลงั ของเคร่ืองเจาะ
เครอ่ื งเจาะมีการท างานโดยการปรบั ต้ังความเรว็ รอบ ก่อนจะปรับตงั้ ความเร็วรอบสำหรบั การเจาะงานทกุ คร้งั
ผปู้ ฏิบัติงานจะตอ้ งคำนวณความเรว็ รอบ และอัตราป้อนทเ่ี หมาะสมกับขนาดของดอกสว่านและชนดิ ของวสั ดทุ ่ีนำ
มาเจาะโดยการปรับต้งั ความเรว็ มี 2 แบบ ดังน้ี
1.เครื่องเจาะสง่ กำลังดว้ ยสายพาน
2.เครือ่ งเจาะสง่ กำลังดว้ ยเฟอื ง
หลกั การทำงานของระบบสง่ กำลังของเครอื่ งกลึง
เครอื่ งกลงึ จะมีชุดหวั เคร่อื งกลึง ใช้ในการขับหัวจับหรือขับชนิ้ งานให้หมุนด้วยความเรว็ รอบตา่ งๆ มีสว่ นประกอบ
ที่สำคญั ดังนี้
1.ชดุ กำลัง (Transmission) เคร่ืองกลงึ จะสง่ กำลงั ขับช้นิ งานกลงึ ด้วยมอเตอร์ไฟฟา้ (Motor) โดยส่งกำลังผ่าน
สายพานลิม่ (V-Belt) และผ่านชุดเฟือง (Gears) ทส่ี ามารถปรับความเร็วรอบไดห้ ลายขั้น เพอ่ื สง่ กำลังไปขบั เพลา
หัวจับชน้ิ งาน (Spindle) ใหห้ มนุ ตอ่ ไป
2.ชดุ เฟอื งทด (Gears) ใช้สำหรบั ทดความเรว็ รอบในการกลึง ชุดเฟอื งทดแบง่ ออกเปน็ 2 ชดุ คือ ชุดทีอ่ ยภู่ ายใน
และชดุ ที่อย่ภู ายนอกหวั เคร่อื ง
3.แขนปรบั ความเรว็ รอบ (Spindle Speed Selector) เป็นสว่ นประกอบท่ีอยสู่ ว่ นบนหรือสว่ นหน้าของ
เคร่ืองกลึง ใชส้ ำหรับโยกเฟืองทอี่ ยภู่ ายในหัวเครอื่ งใหข้ บกันเพอ่ื ใหไ้ ด้ความเร็วรอบตามที่ตอ้ งการ
4.แขนปรบั กลงึ เกลียว (Lead Screw and Thread Rang Level) เปน็ แขนทใี่ ช้สำหรับปรบั เฟืองในชดุ กลอ่ งเฟือง
(Gear Box) เพ่ือกลงึ เกลยี วโดยท่ีเพลากลึงเกลียวหมุนขับป้อมมดี ใหเ้ ดินกลงึ เกลยี วบนช้นิ งาน
5.ชดุ เพลาหัวเครือ่ ง (Spindle) มีลกั ษณะเปน็ ทรงกระบอกกลวง เพ่ือใหส้ ามารถสอดช้ินงานทมี่ ีขนาดยาวมากๆได้
ชดุ เพลาหัวเครือ่ งท่ดี ้านหน้าจะมลี กั ษณะเปน็ เรียวมอรส์ (Spindle Nose Taper Bore Morse No.4) ซง่ึ มีอัตรา
เรียว 1:20 ส่วนความโตของเพลาจะข้ึนอยู่กับขนาดของเครอ่ื งกลึง
หลกั การทำงานของระบบส่งกำลงั ของเครื่องไส
ระบบกลไกการท างานของเคร่อื งไสแนวราบ แบ่งกลไกการท างานออกเปน็ 2 ระบบ คอื ระบบขับด้วยไฮดรอลกิ
(Hydraulic Drive) และระบบขบั ดว้ ยกลไกขอ้ เหวย่ี ง (Mechanical Drive)

รูปท่ี 1 กลไกการทำงานของเคร่ืองไสแนวราบท่ีขับเคลอื่ นด้วย ระบบไฮดรอลิก

รปู ท่ี 2 การทำงานของเครอื่ งไสแนวราบท่ีขบั เคลื่อนดว้ ยระบบกลไกขอ้ เหวย่ี ง
สำหรับหน่วยเรยี นน้ี จะศึกษาเฉพาะระบบการขับเคลือ่ นด้วยกลไกขอ้ เหว่ียง ซง่ึ หลักการทำงาน คอื อาศยั การ
ขับเคลื่อนดว้ ยแขนต่อ (Link) ร่วมกับชุดเฟอื งที่รับกำลงั ขบั จากมอเตอร์แลว้ สง่ ผ่านมาท่ีเฟืองขับ (Bull Gear
Pinion) และผา่ นไปลอ้ เฟืองตวั ใหญ่ (Bull Gear) ซง่ึ จะประกอบรว่ มกบั แขนเหวย่ี ง (Rocker Arm or Lever)
แลว้ ส่งผา่ นไปยงั ข้อตอ่ เพ่อื ดันให้แคร่เลื่อนเคลื่อนที่ไป-กลบั ทำใหม้ ดี ไสทย่ี ึดอยู่กับปอ้ มมีดตัดเฉอื นชน้ิ งานดงั รปู ที่
3

รปู ที่ 3 หลกั การทำงานของเคร่อื งไสแนวราบทขี่ ับเคล่ือนดว้ ยระบบกลไกข้อเหวย่ี ง

หลกั การทำงานของระบบส่งกำลังของเครือ่ งเจยี ระไน
มอเตอร์จะเป็นสว่ นประกอบท่ีสำคญั คือ จะเปน็ ต้นกำลังในการท างานของเครอ่ื งเจียระไนแบบลบั ลมตดั ซ่งึ ใน
มอเตอรน์ จี้ ะมเี พลายื่นออกมาดา้ นขา้ งทั้งสองเพ่อื ใช้ในการจบั ยึดล้อหนิ เจยี ระไนและเพลาท้ังสองนจี้ ะมีขอ้
แตกตา่ งกันคือ ด้านซา้ ยจะเปน็ เพลาเกลยี วซ้าย ด้านขวาจะเปน็ เพลาเกลยี วขวา

รูปท่ี 4 มอเตอรเ์ ครื่องเจียระไน

หลกั การทำงานของระบบสง่ กำลงั ของเครื่องกดั
มอเตอร์ (Motor) เป็นตน้ กำลังทส่ี ง่ กำลงั ไปยงั เพลาหวั เครอ่ื งกัดเพ่อื ส่งกำลังใหด้ อกกดั หมนุ กัดงาน และยงั สง่
กำลังไปยงั ชดุ ขบั เคลื่อนสว่ นต่างๆใหเ้ คลอื่ นที่อตั โนมตั ิด้วย
• ดา้ นคณุ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. เขา้ หอ้ งเรียนทุกครัง้
2. มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี
3. ตรงต่อเวลา
4. สื่อการเรยี นรู้
- การบรรยายเนื้อหา
- หนังสืองานเครอื่ งมือกลเบอื้ งต้น
5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขัน้ เตรยี ม
เตรียมอุปกรณ์และส่อื การสอนให้พรอ้ ม รวมทัง้ สังเกตความพรอ้ มของผเู้ รียน
ข้นั การเรียนการสอน
ผู้สอนควรมปี ฏิสมั พนั ธ์กบั ผู้เรียน ขณะทำการบรรยายเน้อื หา ควรมกี ารถามคำถามกับผเู้ รยี นเพ่อื เป็นการทดสอบ
ความเข้าใจของผูเ้ รยี น และเมือ่ ผูเ้ รยี นตอบคำถามถกู ควรมีการเสรมิ กำลงั ใจใหก้ บั ผเู้ รยี น

6. กระบวนการวัดผลและประเมนิ ผล
หลกั การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ก่อนเรียน เข้าเรียนตรงตอ่ เวลา และความพร้อมในการเรียน เช่น ปากกา สมดุ เป็นตน้
ขณะเรยี น ร่วมกิจกรรมการเรยี น เชน่ การตอบคำถาม ไม่พดู คุยกันในหอ้ งเรยี น เปน็ ตน้
หลังเรยี น สอบปลายภาค
รายละเอียดการประเมนิ ผลการเรียนรู้
วธิ กี ารวัดผล (Method of Evaluation Outcome)

1. คะแนนสอบปลายภาค

7. แหล่งการเรยี นรู้
พชิ ัย จันทะสอน และคณะ, 2550, งานเครือ่ งมือกลเบอ้ื งตน้ , เจริญรุ่งเรืองการพมิ พ,์ กรุงเทพฯ, หน้า 1, 23.
อำนาจ ทองแสน, 2562, งานเคร่อื งมอื กลเบ้ืองต้น, บรษิ ัทศูนย์หนงั สือ เมอื งไทย จำกดั , กรงุ เทพฯ, หนา้ 49-51,
123-124, 126, 151-152.
ชลอ การทวี, 2548, งานเครือ่ งมือกลเบอ้ื งตน้ , บรษิ ัท สำนกั พมิ พ์เอมพนั ธ์ จำกัด, กรงุ เทพฯ, หนา้ 210.

8. บันทกึ หลงั การเรยี นรู้
- ผู้เรยี นที่ผา่ น ..................................................... คน
- ผเู้ รยี นท่ไี ม่ผา่ น .................................................. คน
- สาเหตุ ปัญหาของการเรียนไมผ่ ่าน …………………………………………………………………………………………………..
- ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………….

- แนวทางการวจิ ัย
……………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการเรยี นรู้

ท-ป-น 2-0-2
รหสั วิชา 20102-2109 ชือ่ วิชาระบบสง่ กำลังเครื่องมือกล ช่ัวโมง 2

หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศักราช 2562
ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขางานเครอื่ งมอื กล

เรอื่ ง ..........การคำนวณความเร็วในงานเจาะ (1)........................... จำนวนชั่วโมงสอน ....2.....

1. สาระสำคญั
ความเรว็ ตดั คือ ระยะทำของเศษโลหะที่ถกู ดอกสว่านตดั เฉือนออกมาในขณะเจาะ หน่วยเปน็ เมตร/นำที
ความเรว็ รอบ คอื จำนวนรอบท่เี กดิ จากการหมนุ ดอกสว่าน หนว่ ยเป็น รอบ/นำที
อัตราปอ้ นเจาะดอกสว่าน คือ ความเรว็ ของดอกสว่านท่ีปอ้ นตัดเฉอื นวัสดุชนิ้ งานเมื่อหมุนครบ 1 รอบ หนว่ ยเป็น
มม./รอบ

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (สมรรถนะรายวชิ า)
2.1 จดุ ประสงค์ทว่ั ไป

1. รู้และเข้าใจการคำนวณความเร็วที่ใช้ในงานเจาะ
2. มีเจตคติและกิจนิสัยทีด่ ใี นการทำงาน มีความรบั ผิดชอบ และตรงตอ่ เวลา

2.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. คำนวณหาค่าความเร็วตดั ในงานเจาะได้
2. คำนวณหาคา่ ความเร็วรอบในงานเจาะได้
3. เลอื กอัตราปอ้ นเจาะดอกสว่านให้เหมาะกับขนาดดอกสว่านได้

3. สาระการเรยี นรู้
• ดา้ นความรู้(ทฤษฎี)
ความเรว็ ตดั คือ ความยาวหรอื ระยะทางของเศษโลหะทถี่ กู ดอกสว่านตัดเฉือนออกมาในขณะเจาะ วา่ มคี วามยาวก่ี
เมตร ในเวลา 1 นำที ความเรว็ ตัดจงึ มหี น่วยเป็น เมตร/นาที ซง่ึ ในการคำนวณก็ใชห้ ลักการ การหาเสน้ รอบวงของ
ดอกสว่าน คูณดว้ ยความเรว็ รอบของดอกสว่าน จึงมีสตู รการคำนวณดงั น้ัน

V = n.d. /1000 (เมตร/นาที)

เมอื่
V = ความเรว็ ตัดงานเจาะ (เมตร/นำที)
n = ความเรว็ รอบดอกสว่าน (รอบ/นำที)
d = ขนาดเส้นผ่านศนู ยก์ ลางของดอกสว่าน (มม.)
หมายเหตุ กำหนดให้ π มคี ่ำเท่ากบั 3.1416

รูปท่ี 1 ความเรว็ ตดั งานเจาะ
อตั ราปอ้ นเจาะดอกสวา่ น
อตั ราป้อนดอกสว่าน คือ ความเรว็ ของดอกสว่านท่ปี อ้ นตดั เฉอื นวสั ดุช้นิ งานเมื่อดอกสว่านหมนุ ครบ 1 รอบ มหี น่วย
วดั เป็น มม./รอบ เช่น อัตราป้อนเจาะ 0.02 มม./รอบ หมายถึง เมอ่ื ดอกสว่านหมนุ ครบ 1 รอบ จะสามารถปอ้ นตดั
เนอ้ื วสั ดไุ ด้ลกึ ลงไปในเน้ือชิ้นงาน 0.20 มม. เปน็ ต้นในการปอ้ นตดั เฉือนช้ินงานถ้ำอัตราป้อนมากจะทำให้เศษเจาะมี
ความหนำและใช้แรงกดเจาะมากตามด้วย ซ่ึงอาจส่งผลให้ผิวรูเจาะหยาบหรือดอกสว่านหักได้ ดังนนั้ การเลือก
ความเร็วป้อนจงึ ตอ้ งเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดของดอกสว่าน

4. สือ่ การเรียนรู้
- การบรรยายประกอบสือ่ PowerPoint
- บรรยายเนอ้ื หำ แสดงการคำนวณพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ

5. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขนั้ เตรียม
เตรียมอุปกรณ์และสอ่ื การสอนให้พร้อม รวมทง้ั สังเกตความพร้อมของผู้เรยี น
ขัน้ การเรียนการสอน

ผู้สอนควรมีปฏสิ มั พนั ธก์ ับผเู้ รยี น ทำการบรรยายเน้ือหำ แสดงการคำนวณพรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ ควรมีการถาม
คำถามกบั ผ้เู รยี นเพ่อื เปน็ การทดสอบความเข้าใจของผู้เรยี น และเมอื่ ผู้เรยี นตอบคำถามถกู ควรมีการเสรมิ กำลงั ใจ
ให้กบั ผเู้ รียน
ข้ันสรุป
สรุปเน้อื หำร่วมกบั ผเู้ รียน ทำการทดสอบหลังเรยี น และบอกให้ผ้เู รยี นเตรยี มตวั กับการเรยี นครง้ั ต่อไป

6. หลกั การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ก่อนเรียน เข้าเรยี นตรงตอ่ เวลา และความพรอ้ มในการเรยี น เช่น ปากกา สมดุ เป็นตน้
ขณะเรยี น ร่วมกิจกรรมการเรยี น เช่น การตอบคำถาม ไม่พูดคุยกันในหอ้ งเรยี น เป็นต้น
หลังเรียน สอบปลายภาค
รายละเอียดการประเมนิ ผลการเรียนรู้
วธิ ีการวัดผล (Method of Evaluation Outcome)

1. คะแนนสอบปลายภาค
2. แบบทดสอบหลังเรยี น

7. แหลง่ การเรียนรู้
พชิ ัย จันทะสอน และคณะ, 2550, งานเครอ่ื งมือกลเบ้อื งตน้ , เจรญิ รุ่งเรืองการพิมพ,์ กรงุ เทพฯ, หนา้ 1, 23.
อำนาจ ทองแสน, 2562, งานเคร่ืองมือกลเบอ้ื งต้น, บรษิ ัทศูนยห์ นงั สอื เมืองไทย จำกัด, กรงุ เทพฯ, หน้า 49-51,
123-124, 126, 151-152.
ชลอ การทวี, 2548, งานเครอ่ื งมือกลเบื้องตน้ , บริษทั สำนักพมิ พเ์ อมพันธ์ จำกัด, กรงุ เทพฯ, หน้า 210.

8. บนั ทกึ หลังการเรยี นรู้
- ผ้เู รียนท่ีผา่ น ..................................................... คน
- ผเู้ รียนท่ไี ม่ผา่ น .................................................. คน
- สาเหตุ ปัญหาของการเรยี นไม่ผ่าน …………………………………………………………………………………………………..
- ขอ้ เสนอแนะ แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………….

- แนวทางการวจิ ัย
……………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการเรยี นรู้

ท-ป-น 2-0-2

รหสั วิชา 20102-2109 ชือ่ วชิ าระบบส่งกำลงั เครื่องมอื กล ชว่ั โมง 2

หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562

ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม

สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขางานเคร่อื งมอื กล

เร่ือง ..........การคำนวณความเรว็ ในงานเจาะ (2)........................... จำนวนชัว่ โมงสอน ....2.....

1. สาระสำคญั
ความเร็วรอบ คือ จำนวนรอบทีเ่ กดิ จากการหมนุ ของดอกสว่านในเวลา 1 นำที หน่วยเป็นรอบ/นำที
อตั ราป้อนเจาะ คอื ระยะเจาะลกึ ลงไปในเน้ืองานเมอื ดอกเจาะหมุน หน่วย มม./รอบ

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (สมรรถนะรายวิชา)
2.1 จดุ ประสงค์ทว่ั ไป

1. ร้แู ละเข้าใจการคำนวณเวลางานเจาะ
2. มเี จตคติและกิจนสิ ัยท่ีดีในการทำงาน มีความรบั ผิดชอบ และตรงตอ่ เวลา

2.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. คำนวณหาค่าความเร็วรอบในงานเจาะได้
2. เลือกอัตราป้อนเจาะดอกสว่านให้เหมาะกบั ดอกสว่านได้

3. สาระการเรยี นรู้
• ดา้ นความรู้(ทฤษฎี)
ความเร็วรอบและการป้อนเจาะ
ความเร็วรอบ (Revolutions) คือ จำนวนรอบท่เี กดิ จากการหมนุ ของดอกสว่านท่ีขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางใดๆ
ในช่วงเวลา 1 นำที มหี นว่ ยเปน็ รอบ/นาที
การปอ้ นเจาะ วัดเปน็ จำนวนมิลลเิ มตร (มม.) ทเ่ี จาะลกึ ลงไปในเนื้องานเมื่อดอกเจาะหมนุ ครบ 1 รอบ เชน่ อตั รา
ป้อนเจาะ 0.2 มลิ ลิเมตร/รอบ ลกั ษณะการป้อนเจาะ ถา้ ป้อนมากไปเศษเจาะจะหนำ แรงกดเจาะจะต้องมากและ
ผวิ รูเจาะจะหยาบ การป้อนเจาะจะต้องป้อนเจาะเท่าไร ต้องพจิ ารณาขนาดรูเจาะและวัสดุงานเปน็ เกณฑ์

ความเรว็ รอบของดอกสว่านคิดได้จากความเรว็ ตดั ดงั ตารางที่ 1 และขนาดรูเจาะค่าความเรว็ ตัด ให้คำนวณ ณ จุด
นอกสดุ ของคมตดั มหี น่วยเปน็ เมตร/นาที
• ดา้ นทักษะ(ปฏบิ ัติ)
ทกั ษะคดิ และแก้ปัญหาโจทย์ คำนวณความเรว็ รอบ และอตั ราปอ้ นเจาะ
• ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. เข้าหอ้ งเรียนทกุ ครง้ั
2. มีความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ี
3. สง่ แบบฝกึ หัดตามกำหนด
4. ตรงต่อเวลา

4. สอ่ื การเรียนรู้
- การบรรยายประกอบส่อื PowerPoint
- บรรยายเนอ้ื หำ แสดงการคำนวณพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขนั้ เตรียม
เตรียมอปุ กรณแ์ ละสอ่ื การสอนให้พรอ้ ม รวมท้งั สังเกตความพรอ้ มของผู้เรยี น
ข้ันการเรยี นการสอน
ผู้สอนควรมีปฏิสมั พันธก์ บั ผู้เรียน ทำการบรรยายเนอื้ หำ แสดงการคำนวณพรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ ควรมีการ
ถามคำถามกบั ผู้เรยี นเพ่ือเป็นการทดสอบความเข้าใจของผู้เรียน และเมือ่ ผเู้ รียนตอบคำถามถูกควรมกี ารเสรมิ
กำลงั ใจใหก้ ับผเู้ รยี น
ขัน้ สรุป
สรุปเนอื้ หำรว่ มกบั ผเู้ รยี น ทำการทดสอบหลังเรียน และบอกใหผ้ เู้ รียนเตรยี มตวั กับการเรียนครั้งต่อไป

6. หลักการประเมนิ ผลการเรียนรู้
กอ่ นเรียน เข้าเรียนตรงต่อเวลา และความพร้อมในการเรียน เชน่ ปากกา สมดุ เป็นตน้
ขณะเรยี น ร่วมกิจกรรมการเรียน เชน่ การตอบคำถาม ไม่พดู คยุ กนั ในห้องเรยี น เป็นต้น
หลงั เรยี น สอบปลายภาค
รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
วิธกี ารวัดผล (Method of Evaluation Outcome)

3. คะแนนสอบปลายภาค
4. แบบทดสอบหลังเรยี น

7. แหล่งการเรียนรู้
พิชยั จนั ทะสอน และคณะ, 2550, งานเคร่อื งมือกลเบอ้ื งต้น, เจริญรงุ่ เรอื งการพมิ พ,์ กรุงเทพฯ, หน้า 1, 23.
อำนาจ ทองแสน, 2562, งานเครอื่ งมอื กลเบ้ืองต้น, บรษิ ทั ศนู ยห์ นงั สอื เมืองไทย จำกัด, กรุงเทพฯ, หน้า 49-51,
123-124, 126, 151-152.
ชลอ การทวี, 2548, งานเคร่ืองมอื กลเบือ้ งตน้ , บรษิ ัท สำนกั พมิ พเ์ อมพันธ์ จำกดั , กรงุ เทพฯ, หน้า 210.

8. บันทกึ หลังการเรียนรู้
- ผ้เู รียนที่ผ่าน ..................................................... คน
- ผูเ้ รียนท่ไี มผ่ า่ น .................................................. คน
- สาเหตุ ปัญหาของการเรยี นไมผ่ ่าน …………………………………………………………………………………………………..
- ขอ้ เสนอแนะ แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………….
- แนวทางการวิจยั ……………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการเรยี นรู้

ท-ป-น 2-0-2
รหัสวชิ า 20102-2109 ช่ือวิชาระบบสง่ กำลงั เครอื่ งมอื กล ชั่วโมง 2

หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขางานเครอ่ื งมอื กล

เร่อื ง ..........การคำนวณหาเวลางานเจาะ....................................... จำนวนชว่ั โมงสอน . 2....

1. สาระสำคญั
เวลางานเจาะ คอื การหาเวลารวมในการปฏบิ ัตงิ านแต่ละข้นั ตอน

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (สมรรถนะรายวิชา)
2.1 จุดประสงค์ทว่ั ไป

1. ร้แู ละเข้าใจการคำนวณเวลางานเจาะ
2. มีเจตคตแิ ละกิจนิสยั ทด่ี ีในการทำงาน มคี วามรบั ผดิ ชอบ และตรงต่อเวลา

2.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. คำนวณหาคา่ เวลางานเจาะได้

3. สาระการเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎ)ี
วิธีคำนวณเวลางานเจาะ
กำหนดให้
L = ระยะเจาะ = l +al (มม.)
l = ความลกึ รูเจาะ (มม.)
al= ชว่ งจาะนำ (มม.)
n = ความเรว็ รอบ (รอบ/นำที)
S = อัตราปอ้ นเจาะ (มม./รอบ)
d = ขนาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลางดอกสว่าน
th = เวลางานเจาะ (นาท)ี
i = จานวนรเู จาะ

รูปที่ 1 ลักษณะงานเจาะ

4. สื่อการเรียนรู้
- การบรรยายประกอบส่ือ PowerPoint
- บรรยายเน้อื หำ แสดงการคำนวณพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขัน้ เตรยี ม
เตรียมอปุ กรณแ์ ละสือ่ การสอนใหพ้ รอ้ ม รวมทั้ง สังเกตความพร้อมของผู้เรียน
ข้ันการเรียนการสอน
ผู้สอนควรมปี ฏสิ มั พันธ์กับผเู้ รียน ทำการบรรยายเน้ือหำ แสดงการคำนวณพร้อมยกตัวอย่างประกอบ ควรมีการ
ถามคำถามกบั ผู้เรยี นเพ่ือเป็นการทดสอบความเข้าใจของผูเ้ รียน และเมอ่ื ผเู้ รียนตอบคำถามถกู ควรมกี ารเสริม
กำลงั ใจใหก้ ับผเู้ รยี น
ข้ันสรปุ
สรปุ เนอื้ หำรว่ มกับผเู้ รียน ทำการทดสอบหลังเรียน และบอกให้ผ้เู รียนเตรียมตัวกบั การเรียนครั้งตอ่ ไป

6. หลกั การประเมนิ ผลการเรียนรู้
กอ่ นเรียน เข้าเรียนตรงต่อเวลา และความพรอ้ มในการเรียน เชน่ ปากกา สมดุ เป็นต้น
ขณะเรียน ร่วมกิจกรรมการเรยี น เชน่ การตอบคำถาม ไม่พูดคยุ กนั ในหอ้ งเรยี น เป็นต้น
หลังเรียน สอบปลายภาค
รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
วิธกี ารวัดผล (Method of Evaluation Outcome)

5. คะแนนสอบปลายภาค
6. แบบทดสอบหลังเรยี น

7. แหล่งการเรียนรู้
พชิ ยั จันทะสอน และคณะ, 2550, งานเคร่ืองมือกลเบ้อื งต้น, เจรญิ รงุ่ เรืองการพิมพ,์ กรงุ เทพฯ, หนา้ 1, 23.
อำนาจ ทองแสน, 2562, งานเคร่อื งมือกลเบือ้ งต้น, บริษทั ศนู ยห์ นังสอื เมอื งไทย จำกดั , กรงุ เทพฯ, หน้า 49-
51, 123-124, 126, 151-152.
ชลอ การทวี, 2548, งานเคร่ืองมือกลเบื้องต้น, บริษัท สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกดั , กรุงเทพฯ, หน้า 210.

8. บันทึกหลังการเรียนรู้
- ผ้เู รียนที่ผ่าน ..................................................... คน
- ผู้เรยี นทไ่ี ม่ผ่าน .................................................. คน
- สาเหตุ ปัญหาของการเรียนไม่ผ่าน …………………………………………………………………………………………………..
- ขอ้ เสนอแนะ แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………….
- แนวทางการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการเรยี นรู้

ท-ป-น 2-0-2
รหัสวชิ า 20102-2109 ชอื่ วชิ าระบบส่งกำลังเครือ่ งมอื กล ชวั่ โมง 2

หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562
ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน สาขางานเคร่ืองมือกล

เร่ือง ........การคำนวณความเรว็ ในงานกลึง............ จำนวนชั่วโมงสอน.....2....

1. สาระสำคัญ
ความเร็วตดั ในงานกลงึ คือระยะทางของเศษโลหะทถี่ กู มีดกลึงตัดเฉอื นออกมาในขณะกลึง หน่วยเป็นเมตร/นำที
ความเร็วรอบในงานกลงึ คอื ชิน้ งานกลึงจะหมนุ เปน็ จำนวนกร่ี อบ หน่วยเปน็ รอบ/นำที
2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (สมรรถนะรายวชิ า)

2.1 จุดประสงค์ท่ัวไป
1. รู้และเข้าใจการคำนวณเรว็ ในงานกลึง
2. มเี จตคตแิ ละกิจนิสัยทีด่ ีในการทำงาน มคี วามรับผดิ ชอบ และตรงตอ่ เวลา

2.2 จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. คำนวณหาค่าความเรว็ รอบในงานกลงึ ได้
2. คำนวณหาค่าความเร็วตดั งานกลงึ ได้
3. คำนวณหาค่าความเร็วรอบงานกลึงได้

3. สาระการเรียนรู้
• ดา้ นความรู้(ทฤษฎี)
ความเรว็ ตดั งานกลึง
ความเร็วตดั ในงานกลงึ คือความยาวหรือระยะทางของเศษโลหะทีถ่ ูกมดี กลงึ ตัดเฉอื นออกมาในขณะกลงึ วา่ มคี วามยาว
กี่เมตร ในเวลา 1 นาที ความเร็วตัดจึงมีหน่วยเปน็ เมตร/นาที ซงึ่ ในการคำนวณกใ็ ชห้ ลักการ การหาเสน้ รอบวงของ
ชนิ้ งานกลึง คณู ดว้ ยความเรว็ รอบของช้นิ งาน จงึ มีสูตรการคำนวณดงั นี้
V = n.d. /1000 (เมตร/นาที)

เมอ่ื
V = ความเร็วตัดงานเจาะ (เมตร/นำที)
n = ความเร็วรอบดอกสว่าน (รอบ/นำที)

d = ขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางของดอกสว่าน (มม.)
หมายเหตุ กำหนดให้ π มคี ่ำเท่ากับ 3.1416

รูปท่ี 1 ความเร็วตัดงานกลึง

4. สอ่ื การเรียนรู้
- การบรรยายประกอบสือ่ PowerPoint
- บรรยายเน้ือหำ แสดงการคำนวณพร้อมยกตวั อย่างประกอบ

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ข้นั เตรยี ม
เตรยี มอปุ กรณแ์ ละสื่อการสอนให้พร้อม รวมทงั้ สังเกตความพร้อมของผู้เรยี น
ขน้ั การเรยี นการสอน
ผ้สู อนควรมปี ฏิสัมพนั ธ์กบั ผเู้ รยี น ทำการบรรยายเนอ้ื หำ แสดงการคำนวณพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ ควรมกี ารถาม
คำถามกับผเู้ รียนเพ่อื เป็นการทดสอบความเข้าใจของผ้เู รยี น และเมอ่ื ผ้เู รียนตอบคำถามถูกควรมกี ารเสรมิ กำลังใจให้กบั
ผู้เรียน
ขน้ั สรปุ
สรุปเนือ้ หำร่วมกบั ผูเ้ รียน ทำการทดสอบหลงั เรียน และบอกให้ผู้เรยี นเตรียมตวั กบั การเรยี นครง้ั ตอ่ ไป

6. หลกั การประเมินผลการเรียนรู้
ก่อนเรยี น เข้าเรยี นตรงต่อเวลา และความพร้อมในการเรียน เชน่ ปากกา สมดุ เป็นตน้
ขณะเรยี น รว่ มกจิ กรรมการเรยี น เชน่ การตอบคำถาม ไมพ่ ดู คุยกนั ในห้องเรียน เปน็ ต้น
หลงั เรียน สอบปลายภาค
รายละเอียดการประเมินผลการเรยี นรู้

วธิ กี ารวัดผล (Method of Evaluation Outcome)
7. คะแนนสอบปลายภาค
8. แบบทดสอบหลังเรยี น

7. แหลง่ การเรียนรู้
พิชยั จันทะสอน และคณะ, 2550, งานเครื่องมือกลเบื้องตน้ , เจรญิ รงุ่ เรอื งการพิมพ,์ กรงุ เทพฯ, หนา้ 1, 23.
อำนาจ ทองแสน, 2562, งานเครอ่ื งมอื กลเบอื้ งต้น, บริษัทศนู ย์หนังสือ เมอื งไทย จำกดั , กรงุ เทพฯ, หน้า 49-51, 123-
124, 126, 151-152.
ชลอ การทวี, 2548, งานเคร่อื งมือกลเบือ้ งต้น, บริษัท สำนักพิมพเ์ อมพนั ธ์ จำกัด, กรงุ เทพฯ, หน้า 210.

8. บันทึกหลงั การเรียนรู้
- ผู้เรยี นท่ีผา่ น ..................................................... คน
- ผเู้ รยี นทไ่ี ม่ผา่ น .................................................. คน
- สาเหตุ ปัญหาของการเรยี นไมผ่ ่าน …………………………………………………………………………………………………..
- ขอ้ เสนอแนะ แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………….
- แนวทางการวิจัย ……………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการเรยี นรู้

ท-ป-น 2-0-2

รหัสวชิ า 20102-2109 ชื่อวชิ าระบบส่งกำลังเครื่องมือกล ชว่ั โมง 2

หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี พุทธศักราช 2562

ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวิชาช่างกลโรงงาน สาขางานเครอ่ื งมือกล

เรอ่ื ง .....การคำนวณเวลางานกลงึ ................. จำนวนชว่ั โมงสอน ..2.....

1. สาระสำคญั

งานกลึงปอก คอื การเคลอ่ื นมดี ตัดไปตามแนวขนาน กับแนวแกนของชน้ิ งานงานกลงึ ปาดหน้า คือการเคลอ่ื นมีด

ตดั ไปตามแนวขวาง

2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (สมรรถนะรายวชิ า)
2.1 จดุ ประสงค์ทวั่ ไป

1. รูแ้ ละเข้าใจการคำนวณเวลางานกลึง
2. มเี จตคติและกจิ นิสัยทด่ี ใี นการทำงาน มคี วามรบั ผิดชอบ และตรงต่อเวลา

2.2 จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. คำนวณหาค่าเวลางานกลึงปอกได้
2. คำนวณหาค่าเวลางานกลึงปาดหน้าได้

3. สาระการเรียนรู้ ความยาวงานกลึง × จำนวนครั้งในการกลึงปอก
• ดา้ นความรู้(ทฤษฎ)ี อตั ราป้อนต่อรอบ × ความเร็วรอบ
เวลางานกลงึ ปอก เมื่อกำหนดให้
L = ความยาวงานกลึง หนว่ ยเปน็ มม.
S = อัตราป้อนต่อระบบ หนว่ ยเป็น มม./รอบ
n = ความเร็วรอบ หน่วยเป็น รอบ/นำที
i = จำนวนครั้งในการกลึงปอก
th = เวลางานกลงึ ปอก หนว่ ยเปน็ นำที (min)
ดงั น้ันจะได้ว่า เวลาในการกลึงปอก =

รปู ท่ี 1 แสดงลกั ษณะการกลงึ ปอก

4. สื่อการเรียนรู้
- การบรรยายประกอบสื่อ PowerPoint
- บรรยายเนอ้ื หำ แสดงการคำนวณพร้อมยกตัวอย่างประกอบ

5. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขนั้ เตรียม
เตรยี มอปุ กรณ์และส่อื การสอนใหพ้ ร้อม รวมทงั้ สังเกตความพร้อมของผ้เู รียน
ขน้ั การเรียนการสอน
ผู้สอนควรมปี ฏสิ ัมพันธก์ ับผ้เู รียน ทำการบรรยายเนอื้ หำ แสดงการคำนวณพร้อมยกตวั อย่างประกอบ ควรมีการ
ถามคำถามกับผู้เรียนเพ่อื เปน็ การทดสอบความเข้าใจของผู้เรยี น และเมอ่ื ผเู้ รยี นตอบคำถามถูกควรมีการเสริม
กำลงั ใจใหก้ ับผู้เรยี น
ขน้ั สรปุ
สรุปเนื้อหำร่วมกบั ผู้เรียน ทำการทดสอบหลังเรียน และบอกใหผ้ เู้ รยี นเตรียมตวั กบั การเรยี นครง้ั ตอ่ ไป

6. หลกั การประเมนิ ผลการเรียนรู้
ก่อนเรยี น เขา้ เรียนตรงตอ่ เวลา และความพรอ้ มในการเรียน เชน่ ปากกา สมุด เปน็ ต้น
ขณะเรียน รว่ มกิจกรรมการเรยี น เชน่ การตอบคำถาม ไม่พูดคยุ กันในหอ้ งเรียน เปน็ ตน้
หลังเรียน สอบปลายภาค
รายละเอียดการประเมนิ ผลการเรียนรู้
วิธกี ารวัดผล (Method of Evaluation Outcome)

9. คะแนนสอบปลายภาค
10. แบบทดสอบหลงั เรยี น

7. แหลง่ การเรียนรู้
พชิ ยั จนั ทะสอน และคณะ, 2550, งานเครือ่ งมอื กลเบอ้ื งตน้ , เจรญิ รุ่งเรอื งการพิมพ,์ กรุงเทพฯ, หนา้ 1, 23.
อำนาจ ทองแสน, 2562, งานเครอื่ งมือกลเบอ้ื งต้น, บรษิ ทั ศนู ยห์ นงั สือ เมอื งไทย จำกดั , กรงุ เทพฯ, หนา้ 49-51,
123-124, 126, 151-152.
ชลอ การทวี, 2548, งานเครอ่ื งมือกลเบ้อื งตน้ , บรษิ ัท สำนกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ จำกดั , กรงุ เทพฯ, หน้า 210.

8. บนั ทึกหลังการเรยี นรู้
- ผ้เู รยี นที่ผ่าน ..................................................... คน
- ผู้เรยี นทไ่ี ม่ผ่าน .................................................. คน
- สาเหตุ ปัญหาของการเรยี นไมผ่ ่าน …………………………………………………………………………………………………..
- ขอ้ เสนอแนะ แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………….
- แนวทางการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการเรยี นรู้

ท-ป-น 2-0-2

รหัสวิชา 20102-2109 ชือ่ วชิ าระบบส่งกำลงั เครือ่ งมอื กล ชว่ั โมง 2

หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562

ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างกลโรงงาน สาขางานเคร่อื งมอื กล

เร่อื ง ...........การคำนวณเวลางานกลึง........................ จำนวนช่ัวโมงสอน .2.....

1. สาระสำคญั

เวลางานกลึงเกลยี ว คอื ความยาวที่กลงึ เกลยี วคูณดว้ ยจำนวนทีก่ ลงึ เกลยี ว ต่อระยะพิตชค์ ูณดว้ ยความเร็วรอบ

หนว่ ยเปน็ นาที

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (สมรรถนะรายวิชา)
2.1 จุดประสงค์ทวั่ ไป

1. รู้และเข้าใจการคำนวณเวลาในงานกลงึ
2. มเี จตคตแิ ละกิจนสิ ยั ทด่ี ีในการทำงาน มีความรบั ผดิ ชอบ และตรงต่อเวลา

2.2 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. คำนวณหาค่าเวลางานกลงึ เกลียวได้

3. สาระการเรยี นรู้
ดา้ นความรู้(ทฤษฎี)
เวลากลงึ เกลยี ว

เวลาทีก่ ลึงเกลียว = ความยาวท่ีกลงึ เกลยี ว xจำนวนเทีย่ วท่กี ลงึ เกลียว
ระยะพิตช์ x ความเร็วรอบ

รูปที่ 1 งานกลงึ เกลียว

เมือ่ กำหนด
Th = เวลางานกลึงเกลียว (นาท)ี
l = ความยาวงานที่กลงึ เกลียว (มม.)
i = จำนวนเทีย่ วท่ีกลงึ เกลยี ว
P = ระยะพิตช์ (มม.)
n = ความเร็วรอบ (รอบ/นาที)

4. ส่อื การเรียนรู้
- การบรรยายประกอบสือ่ PowerPoint
- บรรยายเน้ือหำ แสดงการคำนวณพร้อมยกตัวอย่างประกอบ

5. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขั้นเตรียม
เตรียมอปุ กรณแ์ ละส่อื การสอนให้พร้อม รวมทงั้ สังเกตความพร้อมของผู้เรียน
ข้นั การเรียนการสอน
ผู้สอนควรมีปฏิสัมพันธ์กบั ผู้เรียน ทำการบรรยายเน้ือหำ แสดงการคำนวณพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ ควรมีการ
ถามคำถามกบั ผู้เรียนเพือ่ เปน็ การทดสอบความเข้าใจของผูเ้ รยี น และเมอ่ื ผเู้ รียนตอบคำถามถกู ควรมกี ารเสรมิ
กำลังใจใหก้ ับผเู้ รยี น
ขัน้ สรปุ
สรุปเน้ือหำร่วมกบั ผูเ้ รยี น ทำการทดสอบหลงั เรยี น และบอกให้ผเู้ รยี นเตรียมตวั กบั การเรยี นครงั้ ตอ่ ไป

6. หลักการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ก่อนเรยี น เขา้ เรยี นตรงตอ่ เวลา และความพรอ้ มในการเรยี น เช่น ปากกา สมดุ เปน็ ต้น
ขณะเรยี น รว่ มกิจกรรมการเรยี น เช่น การตอบคำถาม ไมพ่ ดู คยุ กนั ในหอ้ งเรยี น เป็นต้น
หลงั เรียน สอบปลายภาค
รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี นรู้
วิธีการวัดผล (Method of Evaluation Outcome)

11. คะแนนสอบปลายภาค
12. แบบทดสอบหลงั เรียน

7. แหลง่ การเรียนรู้
พชิ ยั จนั ทะสอน และคณะ, 2550, งานเคร่ืองมือกลเบอ้ื งต้น, เจรญิ รุ่งเรอื งการพิมพ,์ กรุงเทพฯ, หนา้ 1, 23.
อำนาจ ทองแสน, 2562, งานเครอื่ งมอื กลเบ้ืองต้น, บรษิ ัทศนู ยห์ นังสอื เมืองไทย จำกดั , กรุงเทพฯ, หนา้ 49-51,
123-124, 126, 151-152.
ชลอ การทวี, 2548, งานเคร่อื งมอื กลเบอ้ื งตน้ , บรษิ ัท สำนกั พมิ พ์เอมพนั ธ์ จำกดั , กรงุ เทพฯ, หน้า 210.

8. บนั ทึกหลังการเรียนรู้
- ผ้เู รยี นที่ผ่าน ..................................................... คน
- ผู้เรยี นทไ่ี ม่ผ่าน .................................................. คน
- สาเหตุ ปัญหาของการเรยี นไมผ่ ่าน …………………………………………………………………………………………………..
- ขอ้ เสนอแนะ แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………….
- แนวทางการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการเรยี นรู้

ท-ป-น 2-0-2

รหสั วิชา 20102-2109 ชือ่ วิชาระบบสง่ กำลังเครอื่ งมือกล ชั่วโมง 2

หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศักราช 2562

ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน สาขางานเครอื่ งมอื กล

เรื่อง ............การคำนวณเรียว...................... จำนวนช่วั โมงสอน .2.....

1. สาระสำคัญ

งานเรียว คอื การกลึงงานใหก้ ลมมีขนาดความโตที่ไมเ่ ทา่ กันหมายความว่ามีข้างโตและข้างเลก็ โดยมีขนาดความ

เรยี วท่มี อี ตั ราส่วนทส่ี ม่ำเสมอในงานกลึงนนั้ ๆ ซง่ึ มีทั้งงานเรยี วนอก และงานเรียวใน

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (สมรรถนะรายวิชา)
2.1 จดุ ประสงคท์ ว่ั ไป

1. รู้และเข้าใจการคำนวณเรียว
2. มเี จตคติและกจิ นสิ ยั ท่ีดใี นการทำงาน มคี วามรับผดิ ชอบ และตรงต่อเวลา

2.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. อธิบายสว่ นต่างๆของเรียวได้
2. คำนวณหาระยะเย้ืองได้
3. คำนวณหามมุ ตงั้ มีดได้
4. คำนวณหามุมต้งั อุปกรณ์พเิ ศษได้

3. สาระการเรยี นรู้
• ดา้ นความรู้(ทฤษฎ)ี
งานเรยี ว หมายถึงการกลึงงานให้กลมแตม่ ีขนาดของความโตท่ไี ม่เท่ากนั นน้ั หมายความว่ามขี ้างโตและข้างเล็กโดย
มขี นาดความเรียวท่มี อี ัตราส่วนที่สมjeเสมอในงานกลึงนั้น ๆ ซ่งึ มที ง้ั งานเรียวนอก และงานเรยี วใน

รูปที่ 1 ลักษณะการกลึงเรยี ว
ส่วนต่างๆของเรยี ว

รูปที่ 2 แสดงสว่ นต่างๆของเรียว

4. สอ่ื การเรยี นรู้
- การบรรยายประกอบสื่อ PowerPoint
- บรรยายเนื้อหำ แสดงการคำนวณพร้อมยกตวั อย่างประกอบ

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นเตรยี ม
เตรยี มอปุ กรณ์และส่อื การสอนให้พรอ้ ม รวมทั้ง สังเกตความพร้อมของผเู้ รยี น
ขนั้ การเรียนการสอน
ผ้สู อนควรมีปฏิสัมพนั ธ์กบั ผู้เรยี น ทำการบรรยายเนอื้ หำ แสดงการคำนวณพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ ควรมีการ
ถามคำถามกับผู้เรียนเพอ่ื เป็นการทดสอบความเข้าใจของผู้เรียน และเมื่อผเู้ รียนตอบคำถามถูกควรมกี ารเสริม
กำลังใจให้กับผเู้ รยี น
ขั้นสรุป
สรปุ เน้ือหำรว่ มกับผู้เรียน ทำการทดสอบหลังเรียน และบอกให้ผเู้ รียนเตรียมตัวกบั การเรียนครงั้ ต่อไป

6. หลกั การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ก่อนเรียน เขา้ เรยี นตรงต่อเวลา และความพร้อมในการเรียน เชน่ ปากกา สมุด เปน็ ตน้
ขณะเรียน ร่วมกจิ กรรมการเรยี น เชน่ การตอบคำถาม ไมพ่ ูดคยุ กนั ในห้องเรียน เป็นต้น
หลังเรยี น สอบปลายภาค
รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรียนรู้
วิธกี ารวดั ผล (Method of Evaluation Outcome)

13. คะแนนสอบปลายภาค
14. แบบทดสอบหลังเรยี น

7. แหลง่ การเรียนรู้
พชิ ยั จนั ทะสอน และคณะ, 2550, งานเคร่ืองมือกลเบอ้ื งต้น, เจรญิ รุ่งเรอื งการพิมพ,์ กรุงเทพฯ, หนา้ 1, 23.
อำนาจ ทองแสน, 2562, งานเครอื่ งมอื กลเบ้ืองต้น, บรษิ ัทศนู ยห์ นังสอื เมืองไทย จำกดั , กรุงเทพฯ, หนา้ 49-51,
123-124, 126, 151-152.
ชลอ การทวี, 2548, งานเครอ่ื งมอื กลเบอ้ื งตน้ , บรษิ ัท สำนกั พมิ พ์เอมพนั ธ์ จำกดั , กรงุ เทพฯ, หน้า 210.

8. บนั ทึกหลังการเรียนรู้
- ผ้เู รยี นที่ผ่าน ..................................................... คน
- ผู้เรยี นทไ่ี ม่ผ่าน .................................................. คน
- สาเหตุ ปัญหาของการเรยี นไม่ผ่าน …………………………………………………………………………………………………..
- ขอ้ เสนอแนะ แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………….
- แนวทางการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการเรยี นรู้

ท-ป-น 2-0-2

รหัสวิชา 20102-2109 ช่ือวิชาระบบส่งกำลงั เคร่อื งมอื กล ชัว่ โมง 2

หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562

ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขางานเครื่องมือกล

เรอ่ื ง ......การคำนวณความเรว็ และเวลางานไส........... จำนวนช่วั โมงสอน ..2....

1. สาระสำคัญ

เคร่อื งไสจะมีลกั ษณะการท ำงานจังหวะเดียว คือจังหวะเดนิ หน้าจะตัดงาน และจงั หวะชกั กลับเป็นจงั หวะสญู เปล่า

ไม่มกี ารตดั งาน ทำใหจ้ ังหวะชกั กลบั จะเรว็ กว่าจงั หวะเดินหน้าตัดงาน

2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (สมรรถนะรายวิชา)
2.1 จดุ ประสงคท์ ่วั ไป

1. รู้และเข้าใจการคำนวณความเร็ว และเวลางานไส
2. มีเจตคติและกิจนิสัยท่ีดีในการทางาน มีความรบั ผดิ ชอบ และตรงตอ่ เวลา

2.2 จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. คำนวณหาค่าความเรว็ ตดั งานไสได้
2. คำนวณหาค่าเวลางานไสได้

3. สาระการเรยี นรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎ)ี
ความเรว็ ตดั งานไส ค่าความเร็วตัดในงานไสจะมเี ฉพาะชว่ งเดนิ หน้าไสงานเทา่ นน้ั ซึ่งจะใช้เวลา 3/5เทา่ ของเวลา 1
คจู่ ังหวะชัก มีหน่วยวัดเปน็ เมตร/นาที มีสูตรการคำนวณดังนี้

V = nL
3/5 x 1000

ความเรว็ ตดั (v) = nL เมตร/นาที
600

เมอ่ื กำหนด
V = ความเรว็ ตัดงานไส (เมตร/นาที)

n = จำนวนค่จู งั หวะชักงานไส นั่นคอื การเดนิ หนา้ และถอยหลังกลับ 1 คร้ัง คือ 1 คูจ่ งั หวะไส (คู่จงั หวะชกั /
นาที)

L = ความยาวงานบวกคา่ เผื่อหน้ามีดและเผอื่ หลังมดี (มม.) = l+la+lu
l = ความยาวงานทีจ่ ะไสจริง (มม.)
la = ระยะเผอ่ื หน้ามีด 20 มม.
lu = ระยะเผ่อื หลังมีด 10 มม.

รูปที่ 1 ความเร็วตัดงานไส

4. ส่อื การเรยี นรู้
- การบรรยายประกอบสอ่ื PowerPoint
- บรรยายเนือ้ หำ แสดงการคำนวณพร้อมยกตวั อย่างประกอบ

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขน้ั เตรียม
เตรยี มอุปกรณ์และส่อื การสอนใหพ้ รอ้ ม รวมทัง้ สังเกตความพร้อมของผ้เู รยี น
ขั้นการเรยี นการสอน
ผสู้ อนควรมปี ฏสิ มั พนั ธ์กบั ผู้เรียน ทำการบรรยายเน้อื หำ แสดงการคำนวณพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ ควรมีการ
ถามคำถามกบั ผู้เรยี นเพอ่ื เปน็ การทดสอบความเข้าใจของผเู้ รียน และเม่ือผ้เู รยี นตอบคำถามถูกควรมีการเสรมิ
กำลงั ใจให้กับผ้เู รียน
ขน้ั สรปุ
สรุปเนอ้ื หำร่วมกบั ผเู้ รียน ทำการทดสอบหลงั เรยี น และบอกใหผ้ ูเ้ รยี นเตรยี มตวั กับการเรียนคร้งั ตอ่ ไป

6. หลักการประเมินผลการเรยี นรู้
กอ่ นเรยี น เข้าเรียนตรงต่อเวลา และความพร้อมในการเรยี น เช่น ปากกา สมดุ เป็นตน้
ขณะเรยี น รว่ มกิจกรรมการเรียน เชน่ การตอบคำถาม ไม่พดู คยุ กนั ในห้องเรียน เปน็ ตน้
หลงั เรียน สอบปลายภาค
รายละเอยี ดการประเมินผลการเรียนรู้
วธิ กี ารวดั ผล (Method of Evaluation Outcome)

1. คะแนนสอบปลายภาค
2. แบบทดสอบหลงั เรียน

7. แหล่งการเรียนรู้
พชิ ัย จันทะสอน และคณะ, 2550, งานเครอ่ื งมอื กลเบ้อื งตน้ , เจรญิ รุง่ เรอื งการพมิ พ,์ กรงุ เทพฯ, หน้า 1, 23.
อำนาจ ทองแสน, 2562, งานเครอ่ื งมอื กลเบอ้ื งต้น, บริษัทศนู ยห์ นงั สอื เมอื งไทย จำกัด, กรุงเทพฯ, หนา้ 49-51,
123-124, 126, 151-152.
ชลอ การทวี, 2548, งานเคร่อื งมอื กลเบอ้ื งตน้ , บรษิ ทั สำนักพิมพเ์ อมพนั ธ์ จำกัด, กรงุ เทพฯ, หนา้ 210.

8. บันทกึ หลังการเรยี นรู้
- ผู้เรยี นท่ีผ่าน ..................................................... คน
- ผเู้ รียนท่ไี มผ่ ่าน .................................................. คน
- สาเหตุ ปัญหาของการเรียนไม่ผ่าน …………………………………………………………………………………………………..
- ขอ้ เสนอแนะ แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………….
- แนวทางการวิจยั ……………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการเรียนรู้

ท-ป-น 2-0-2

รหสั วชิ า 20102-2109 ชอื่ วชิ าระบบสง่ กำลังเครอ่ื งมือกล ช่ัวโมง 2

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2562

ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขางานเครือ่ งมอื กล

เรื่อง .......การคำนวณความเรว็ ในงานเจียระไน................ จำนวนชวั่ โมงสอน ..2.....

1. สาระสำคญั

1. ความเร็วขอบในงานเจยี ระไน คอื ระยะทางความเร็วท่ีขอบของหินเจยี ระไน ในขณะทห่ี มนุ ว่ามีความยาวก่ีเมตร

หน่วยเปน็ เมตร/นำที

2. ความเร็วรอบในงานเจยี ระไน คือความเร็วรอบของลอ้ หินเจียระไนที่หมนุ ไปในเวลา 1 นำที หน่วยเป็นรอบ/นาที

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (สมรรถนะรายวิชา)
2.1 จดุ ประสงคท์ ว่ั ไป

1. รแู้ ละเข้าใจการคำนวณความเร็วในงานเจียระไน
2. มเี จตคตแิ ละกิจนสิ ัยท่ีดีในการทำงาน มคี วามรับผิดชอบ และตรงตอ่ เวลา

2.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. คำนวณหาค่าความเร็วขอบในงานเจียระไนได้
2. คำนวณหาค่าความเรว็ รอบในงานเจียระไนได้

3. สาระการเรยี นรู้

• ดา้ นความรู้(ทฤษฎี)

ความเร็วขอบในงานเจียระไน

ความเรว็ ขอบในงานเจียระไน คอื ค่าระยะทางความเรว็ ที่ขอบของหนิ เจียระไน ในขณะท่ีหมนุ ว่ามีความยาวก่เี มตร ใน

เวลา 1 วินำที มีสูตรการคำนวณเหมือนกบั ความเรว็ ตัด ตา่ งกันตรงเวลาใช้หน่วยเป็นวินำที จึงมีหน่วยเปน็ เมตร/วนิ าที

ซึง่ ในการคำนวณก็ใชห้ ลักการการหาเสน้ รอบวงของล้อหินเจยี ระไน คูณดว้ ยความเร็วรอบของล้อหินเจียระไน จงึ มสี ตู ร

การคำนวณดังนี้

V = πdn เมตร/นาที

1000 x 60

เมื่อกำหนด

V = ความเร็วขอบลอ้ หินเจยี ระไน (เมตร/นำที)
n = ความเรว็ รอบ (รอบ/นำที)
d = ความยาวเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางของล้อหนิ เจยี ระไน (มม.)
หมายเหตุ ในการหารด้วย 60 กเ็ พื่อเปล่ยี นหนว่ ยนำที ใหเ้ ปน็ วนิ ำที

รปู ที่ 1 ความเรว็ ตดั ในงานเจียระไนราบ

รูปที่ 2 ความเร็วตดั ในงานเจียระไนกลม
4. สอื่ การเรียนรู้
- การบรรยายประกอบสอ่ื PowerPoint
- บรรยายเน้ือหำ แสดงการคำนวณพร้อมยกตวั อย่างประกอบ
5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ข้ันเตรียม
เตรียมอปุ กรณ์และสอ่ื การสอนให้พรอ้ ม รวมท้ัง สังเกตความพร้อมของผเู้ รยี น

ขั้นการเรียนการสอน
ผ้สู อนควรมีปฏิสมั พนั ธก์ ับผูเ้ รียน ทำการบรรยายเน้ือหำ แสดงการคำนวณพร้อมยกตวั อย่างประกอบ ควรมกี ารถาม
คำถามกับผู้เรียนเพ่ือเปน็ การทดสอบความเข้าใจของผ้เู รยี น และเมือ่ ผเู้ รียนตอบคำถามถูกควรมกี ารเสริมกำลังใจใหก้ ับ
ผ้เู รียน
ขัน้ สรปุ
สรปุ เนอ้ื หำรว่ มกับผ้เู รยี น ทำการทดสอบหลังเรยี น และบอกใหผ้ ู้เรยี นเตรียมตวั กบั การเรียนครง้ั ต่อไป

6. หลักการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
กอ่ นเรยี น เข้าเรียนตรงต่อเวลา และความพรอ้ มในการเรียน เชน่ ปากกา สมดุ เป็นตน้
ขณะเรียน ร่วมกิจกรรมการเรียน เชน่ การตอบคำถาม ไมพ่ ูดคยุ กนั ในห้องเรียน เปน็ ต้น
หลงั เรียน สอบปลายภาค
รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี นรู้
วิธีการวดั ผล (Method of Evaluation Outcome)

1. คะแนนสอบปลายภาค
2. แบบทดสอบหลังเรยี น

7. แหล่งการเรยี นรู้
พิชัย จันทะสอน และคณะ, 2550, งานเครื่องมอื กลเบื้องตน้ , เจรญิ รุ่งเรอื งการพมิ พ,์ กรุงเทพฯ, หน้า 1, 23.
อำนาจ ทองแสน, 2562, งานเครือ่ งมอื กลเบือ้ งต้น, บริษทั ศูนยห์ นังสอื เมอื งไทย จำกัด, กรุงเทพฯ, หน้า 49-51, 123-
124, 126, 151-152.
ชลอ การทวี, 2548, งานเคร่อื งมอื กลเบ้ืองตน้ , บริษทั สำนกั พมิ พ์เอมพนั ธ์ จำกดั , กรงุ เทพฯ, หน้า 210.

8. บนั ทกึ หลงั การเรียนรู้
- ผเู้ รยี นท่ีผา่ น ..................................................... คน
- ผ้เู รียนท่ีไม่ผ่าน .................................................. คน
- สาเหตุ ปญั หาของการเรยี นไมผ่ ่าน …………………………………………………………………………………………………..
- ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………….
- แนวทางการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการเรยี นรู้

ท-ป-น 2-0-2

รหัสวิชา 20102-2109 ชอ่ื วิชาระบบส่งกำลงั เครือ่ งมอื กล ชั่วโมง 2

หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562

ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวชิ าช่างกลโรงงาน สาขางานเครอ่ื งมือกล

เร่อื ง ......การคำนวณเวลางานเจยี ระไน........... จำนวนชวั่ โมงสอน ...2....

1. สาระสำคัญ

1. งานเจียระไนกลม ลักษณะเหมอื นงานกลงึ ปอก

2. งานเจยี ระไนราบ ช้นิ งานลกั ษณะแบนราบ

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (สมรรถนะรายวิชา)
2.1 จดุ ประสงคท์ วั่ ไป

1. ร้แู ละเข้าใจการคำนวณเวลางานเจยี ระไน
2. มเี จตคติและกจิ นิสัยท่ีดใี นการทำงาน มคี วามรับผดิ ชอบ และตรงต่อเวลา

2.2 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. คำนวณหาเวลาในงานเจียระไนกลมได้
2. คำนวณหาเวลาในงานเจยี ระไนราบได้
3. สาระการเรยี นรู้
• ดา้ นความรู้(ทฤษฎี)
วธิ ีคำนวณเวลางานเจยี ระไนกลม
งานเจียระไนกลม ลกั ษณะการคำนวณเหมือนการคำนวณหาเวลางานกลึงปอก

รปู ท่ี 1 ลกั ษณะงานเจียระไนกลม


Click to View FlipBook Version