The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gensci_nur, 2021-12-26 21:51:35

ชุดกิจกรรมเล่มที่ 6

เล่มที่ 6



คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ เรื่องการดำรงชีวิตของพืช สำหรับชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 จัดทำขน้ึ สำหรับใช้เปน็ สอื่ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรูค้ วบคู่กบั แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีเนื้อหากิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย
สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช
2560) ท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ หนว่ ยการเรยี นรู้ เร่ืองการดำรงชวี ติ ของพืช ชัน้ มัธยมศกึ ษาปี
ที่ 1 ประกอบด้วยชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ จำนวน 6 เลม่ ดงั น้ี

เล่มที่ 1 เรื่อง การสืบพนั ธุพ์ ืชดอก
เลม่ ท่ี 2 เรือ่ ง การเจรญิ เตบิ โตของพืช
เล่มที่ 3 เรอ่ื ง การขยายพันธพุ์ ชื ดอก
เล่มที่ 4 เรื่อง การสังเคราะห์ดว้ ยแสง
เลม่ ท่ี 5 เรือ่ ง ธาตุอาหารของพืช
เล่มที่ 6 เรอื่ ง การลำเลยี งในพชื

ผ้จู ดั ทำขอขอบพระคณุ ผู้ที่มสี ่วนเกี่ยวข้องทุกทา่ นทใ่ี ห้การสนบั สนุน ให้คำแนะนำและเปน็ ที่ปรึกษา
ที่ดีในการพัฒนาปรับปรุง การตรวจสอบแก้ไข จนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนี้มีประสิทธิภาพ
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนี้จะช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาได้ง่าย
และชัดเจนขึ้น มีพัฒนาการด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวทิ ยาศาสตรส์ งู ข้ึน เป็นผู้ที่มคี ุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์ตามมาตรฐานของหลักสูตร สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ และมี
ประสทิ ธิภาพต่อไป

นางสาวนรู ซลี า มะดาโอ๊ะ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ

สารบัญ ข

เรอื่ ง หน้า

คำนำ ก
สารบญั ข
สารบัญภาพ ค
มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั /สาระสำคัญ/จุดประสงค์ ง
คำแนะนำสำหรับการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้สำหรับครู จ
คำแนะนำสำหรับการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับนักเรียน ฉ
ข้ันตอนการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ช
แบบทดสอบก่อนเรียน 1
กระดาษคำตอบ 3
ผงั มโนทศั น์ เลม่ ที่ 6 เร่ือง การลำเลยี งในพืช 4
ใบความรทู้ ี่ 6.1 เรื่อง การลำเลยี งน้ำและแรธ่ าตุในพืช 5
กิจกรรมท่ี 6.1 เรื่อง พืชลำเลียงนำ้ และแร่ธาตุอยา่ งไร 10
ใบความรู้ที่ 6.2 เร่ือง การลำเลียงอาหารในพืช 14
แบบฝกึ หัดท้ายบท 18
แบบทดสอบหลงั เรยี น 20
กระดาษคำตอบ 22
บรรณานกุ รม 23
ประวัติผจู้ ัดทำ 24
ภาคผนวก 25
26
- เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 27
- เฉลยกิจกรรมท่ี 6.1 เร่ือง พืชลำเลยี งน้ำและแรธ่ าตุอยา่ งไร 29
- เฉลยแบบฝกึ หดั ท้ายบท 31
- เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

สารบัญภาพ ค

ภาพ หน้า
5
ภาพท่ี 6.1 ขนราก 5
ภาพท่ี 6.2 การเคลอื่ นที่ของนำ้ เขา้ สู่ราก 7
ภาพท่ี 6.3 เซลลใ์ นไซเล็ม 7
ภาพท่ี 6.4 ตดั ขวางลำต้นของพืช 8
ภาพที่ 6.5 การลำเลยี งนำ้ ในตน้ พืช 9
ภาพที่ 6.6 ทิศทางการลำเลียงน้ำในต้นพืช 14
ภาพท่ี 6.7 การสังเคราะห์แสง 15
ภาพที่ 6.8 เซลลห์ ลอดตะแกรง 16
ภาพท่ี 6.9 กระบวนการในการลำเลยี งอาหารของพชื 17
ภาพที่ 6.10 ทิศทางการลำเลยี งอาหารของพชื



มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด/สาระสำคญั /จุดประสงค์

มาตรฐานการเรยี นรู้

ว1.2 เข้าใจสมบตั ิของส่งิ มชี วี ิต หน่วยพืน้ ฐานของสง่ิ มีชวี ิต การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ความสมั พันธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ที่ของระบบต่าง ๆ ของสตั ว์และมนษุ ย์ทท่ี ำงานสัมพันธก์ นั
ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ทีข่ องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ที่ทำงานสัมพนั ธก์ ัน รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้
ประโยชน์
ตวั ชวี้ ัด

ม.1/9 บรรยายลกั ษณะและหน้าทขี่ องไซเล็มและโฟลเอ็ม
ม.1/10 เขยี นแผนภาพที่บรรยายทิศทางการลำเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม

สาระสำคัญ
พืชจะมกี ารลำเลียงน้ำ และแรธ่ าตจุ ากดนิ ผา่ นทางรากไปสู่ลำตน้ กงิ่ ก้าน และใบ โดยผ่านทอ่ เล็ก

ๆ มากมาย เรียกท่อเล็ก ๆ นี้ว่า ท่อลำเลียงน้ำไซเล็ม (Xylem) น้ำตาลกูลโคสและสารอาหารอื่นๆ จะถูก
ลำเลยี งไปยงั กิง่ ก้าน ลำต้นผา่ นทางท่อลำเลียงอาหาร โฟลเอม็ (Phloem) ไปยงั ส่วนทกี่ ำลงั เจรญิ เติบโต สู่
ส่วนที่สร้างอาหารไม่ได้ คือรากและหัว ไปสู่ส่วนที่ทำหน้าที่สะสมอาหาร คือรากและเมล็ด โดยอาหารจะ
แพรอ่ อกจากรากไปตามท่อลำเลียงอาหาร ไปยงั เซลลต์ ่าง ๆ โดยตรง การลำเลยี งอาหารส่วนใหญ่เกิดข้ึนใน
ตอนกลางคืน

จุดประสงค์
1. บรรยายลกั ษณะและหนา้ ท่ขี องเนื้อเยอื่ ท่อลำเลียงน้ำและแรธ่ าตุ
2. สังเกต รวบรวมข้อมลู เขยี นแผนภาพและบรรยายทิศทางการเคลือ่ นท่ขี องการลำเลยี งน้ำ

และแรธ่ าตุ
3. บรรยายลกั ษณะและหนา้ ทขี่ องเนอ้ื เยือ่ ท่อลำเลียงอาหาร
4. สงั เกต รวบรวมขอ้ มลู เขยี นแผนภาพและบรรยายทิศทางการเคล่ือนทขี่ องการลำเลียงน้ำ

และแรธ่ าตุ



คำแนะนำสำหรับการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้
สำหรบั ครู

เพื่อใหก้ ารใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้เลม่ นี้มปี ระสิทธภิ าพสงู สดุ
ครผู ู้สอนควรปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำ ดงั นี้

เด็กเดก็ ต้ังใจทำกิจกรรมนะคะ
ถา้ ใครไม่เข้าใจสอบถามครไู ดเ้ ลยจ้ะ

คำแนะนำการใช้ชดุ กิจกรรม สำหรับครู
1. ครูควรศกึ ษาวิธกี ารใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ และวิธีการประเมินผลให้เข้าใจ
2. ครคู วรช้แี จงให้นกั เรยี นเข้าใจบทบาทของ
ตนเอง แนะนำขน้ั ตอนการใชช้ ดุ กจิ กรรม
การเรยี นรู้ แนวปฏิบตั ิในระหวา่ งดำเนินกจิ กรรม
การเรียนรู้

3. ครูใหน้ กั เรียนทุกคนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นดว้ ยชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้
4. ครูแบ่งกล่มุ นักเรยี นออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 5-6 คน โดยมนี ักเรยี นเกง่ ปานกลาง และอ่อน
ในกล่มุ เดียวกัน แล้วให้แบ่งหนา้ ทีร่ บั ผิดชอบ
5. กระตุ้นให้นักเรยี นทกุ คนมีส่วนร่วมในการทำกจิ กรรม เพ่ือเปน็ การฝึกการทำงานรว่ มกัน
ชว่ ยเหลือซง่ึ กันและกัน รบั ผิดชอบต่อหนา้ ท่ี และเน้นใหน้ ักเรียนตั้งใจเรียนและระมัดระวังในเร่อื ง
ความปลอดภัยจากการใช้อุปกรณใ์ นการทดลอง
6. ขณะนักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมครเู ดินตรวจกิจกรรมของนกั เรียนแตล่ ะคนในกลุม่ คอยตอบ
ข้อซักถาม หากพบว่านักเรียนคนใดคนหนง่ึ เกิดปัญหาขน้ึ ครูตอ้ งคอยให้ความช่วยเหลอื เพ่ือให้
ปัญหานน้ั หมดไป
7. ครูผูส้ อนควรดูแลนักเรยี นขณะปฏิบัติกจิ กรรมอยา่ งใกล้ชิด มีการกระตนุ้ เสรมิ แรง ให้กำลงั ใจ
พรอ้ มกับประเมนิ ทักษะกระบวนการและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
8. หลังจากนกั เรียนทำกิจกรรมครบตามขน้ั ตอนแลว้ ครูเฉลยกิจกรรมรว่ มกับนกั เรยี น
9. ครใู หน้ ักเรยี นทุกคนทำแบบทดสอบหลังเรยี นด้วยชุดกจิ กรรมการเรียนรู้และบนั ทึกผล
การประเมนิ ทุกด้าน



คำแนะนำสำหรบั การใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
สำหรบั นักเรยี น

เพอ่ื ใหก้ ารใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้เล่มน้มี ปี ระสิทธิภาพสูงสุด นกั เรียนจะไดร้ บั ความรู้อยา่ ง
ครบถว้ นนั้น ควรปฏิบัติตามคำแนะนำดังนี้

การจดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใช้
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

เลม่ ที่ 6 นใี้ หน้ กั เรียนปฏิบัติตาม
ขน้ั ตอนดงั ตอ่ ไปนน้ี ะคะ

คำแนะนำการใช้ชดุ กจิ กรรม สำหรบั นกั เรียน
1. ฟังคำแนะนำในการปฏบิ ัติการเรยี นรู้ของชุด
กจิ กรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์
2. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและ
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้รู้ว่าเมื่อเรียนจบ
แลว้ นกั เรยี นเรยี นรู้อะไรบ้าง

3. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเล่มที่ 6 เรื่องการลำเลียงในพืช จำนวน 10 ข้อเพื่อวัด
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา เสร็จแล้วจึงแลกเปลี่ยนกันตรวจคำตอบ จากนั้นส่งให้ครู
ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและบนั ทึกผล
4. นกั เรียนตัง้ ใจศึกษาข้อมลู ความรู้และปฏบิ ัติกจิ กรรมตามขน้ั ตอนท่ีกำหนดไว้ในชุดกจิ กรรม เพื่อ
ฝกึ ทกั ษะ เพม่ิ พูนความรู้ ความเข้าใจในเนือ้ หาใหม้ ากยงิ่ ขน้ึ
5. เมื่อศึกษาและปฏบิ ัติกิจกรรมในชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เล่มที่ 6 เรียบร้อยแลว้ ครู
เฉลยกจิ กรรมร่วมกบั นกั เรยี น หากนกั เรียนมขี อ้ สงสัยให้ถามครผู ู้สอนทนั ที
6. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดความรู้ ความเข้าใจอีกครั้ง เพื่อเปรียบเทียบ
ความกา้ วหน้าในการเรยี น



ขน้ั ตอนการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

ศึกษาคำช้ีแจงเกี่ยวกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
ศกึ ษาคำแนะนำสำหรบั การใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
ศึกษามาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั และสาระสำคัญ
ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น
ปฏิบัติตามขน้ั ตอนในกจิ กรรม
ทำแบบทดสอบหลังเรียน
เฉลยและตรวจความถกู ต้อง
แจ้งคะแนนสอบ กอ่ นเรยี นและหลังเรยี น

ไมผ่ ่าน ประเมินผลการเรียนรู้ ผ่าน

จบการเรียนร้ชู ดุ กิจกรรมการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์

1

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ เรื่อง การดำรงชวี ิตของพชื

เลม่ ที่ 6 เรือ่ ง การลำเลียงในพชื ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1

คำสง่ั : 1. ใหน้ ักเรียนทำเครอ่ื งหมาย X ลงบนตวั เลือก ก-ง เพยี งขอ้ เดยี วเท่าน้นั ในกระดาษคำตอบ
2. ข้อสอบมีทงั้ หมด 10 ข้อ ให้นักเรียนทำทุกขอ้ ใชเ้ วลา 10 นาที คะแนนเตม็ 10 คะแนน

1. ไซเลม็ เป็นส่วนประกอบของระบบการลำเลียงของพืช ทำหน้าที่อะไร
ก. ลำเลยี งอาหารส่สู ่วนตา่ ง ๆ
ข. ลำเลยี งนำ้ และแร่ธาตุ
ค. ระบายของเสยี จากลำตน้
ง. ควบคุมการคายน้ำของใบ
2. โครงสรา้ งที่พชื ใช้ในการลำเลยี งอาหาร คืออะไร
ก. ไซเลม็
ข. โฟลเอม็
ค. เนื้อไม้
ง. เปลอื กไม้
3. กลมุ่ เซลลท์ ่ที ำหนา้ ทเี่ ป็นท่อลำเลียงนำ้ พบได้ในสว่ นใดของพชื
ก. เฉพาะราก
ข. รากและลำตน้
ค. ราก ลำต้นและกง่ิ
ง. ราก ลำตน้ ก่ิงและใบ
4. ขอ้ ใดกลา่ ว ถูก ตอ้ งท่สี ุด
ก. ท่อลำเลยี งน้ำ ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ทีย่ ังมชี วี ติอย่ทู ้ังหมด
ข. ทอ่ ลำเลียงนำ้ แทรกอย่รู ะหว่างเซลลท์ กุ เซลล์ในลำต้น
ค. ท่อลำเลยี งนำ้ เปน็ ทอ่ ยาวติดต่อกันตลอดตั้งแตร่ าก ลำต้น และใบ
ง. ทอ่ ลำเลยี งน้ำ ของพชื ล้มลุกไม่สามารถลำเลียงแร่ธาตุได้
5. การย้ายต้นเขม็ ไปปักชำต้องเด็ดใบท้ิงบ้างเพ่ือเหตผุ ลข้อใด
ก. ลดการคายน้ำ
ข. ป้องกนั การสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื
ค. ปอ้ งกนั การบังแสงแดดในกลมุ่ ใบ
ง. ปอ้ งกนั ไม่ให้แมลงมารบกวนขณะปักชำ

2

6. เมอ่ื นต้นเทยี นแช่รากในน้ำหมกึ แดง ท้ิงไว้ค้างคนื จะเหน็ สแี ดงผ่านจากรากไปสู่ลำต้น เพราะเหตุใด
ก. น้ำหมกึ แดงออสโมซิสเข้าทางรากขนึ้ ไปสู่ลำตน้
ข. น้ำหมกึ แดงออสโมซิสเข้าทางท่อลำเลยี งน้ำไปสู่ใบ
ค. น้ำหมึกแดงออสโมซิสเข้าทางรากและแพร่ไปสู่ลำต้น
ง. น้ำหมกึ แดงแพร่เขา้ ทางรากและออสโมซิสไปสู่ลำต้น
7. อาหารที่พืชใช้เป็นแหลง่ พลงั งานในการดำรงชีวิต ได้แก่อะไร
ก. แสงแดด
ข. คลอโรฟลิ ล์
ค. แป้งและนำ้ ตาล
ง. คารบ์ อนไดออกไซด์
8. ข้อใดกล่าว ถูกต้อง เกยี่ วกับการลำเลยี งอาหารของพืช
ก. การลำเลยี งอาหารต้องเกิดในเซลล์ที่มชี ีวิต
ข. อตั ราการคายน้ำส่งผลโดยตรงต่อการลำเลยี งอาหาร
ค. ถา้ ทอ่ ลำเลียงอาหารถูกตัด พชื ใช้ท่อลำเลยี งน้ำแทนได้
ง. การลำเลียงอาหารและน้ำ มีอตั ราการลำเลยี งเรว็ เท่ากัน
9. ข้อใดกล่าว ไมถ่ ูกต้อง
ก. การลำเลยี งน้ำ-ธาตุอาหารมีทิศทางการลำเลียงข้ึนเทา่ น้นั ( )
ข. การลำเลียงน้ำจะเกดิ ไดด้ ีในเวลากลางคนื
ค. การลำเลยี งอาหารในท่อโฟลเอ็มมีทิศทางการลำเลียงท้ังขน้ึ และลง ( )
ง. การลำเลยี งอาหารช้ากว่ากระบวนการลำเลียงน้ำและแร่ธาตอุ าหาร
10. การคายน้ำของพชื ไม่มสี ว่ นช่วยในกจิ กรรมใดของพืช
ก. การลดอณุ หภูมิที่ใบ
ข. การลำเลียงเกลอื แร่
ค. การลำเลยี งน้ำทางไซเล็ม
ง. การลำเลยี งอาหารทางโฟลเอม็

3

กระดาษคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง การดำรงชีวติ ของพืช

เล่มที่ 6 เรอ่ื ง การลำเลียงในพืช ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ว 21101 เวลา 10 นาที

ช่ือ-สกุล...................................................................................เลขท่ี......................ชั้น...... ......................

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ผลสอบเป็น คะแนนเต็ม ได้ ผลการประเมิน
อยา่ งไรบ้าง 10

เกณฑ์การประเมิน
0 – 7 คะแนน ไม่ผา่ น
8 - 10 คะแนน ผ่าน

4

ผังมโนทัศน์ เลม่ ที่ 6 เรอื่ ง การลำเลียงในพืช

โครงสรา้ งของระบบการลำเลียงของพชื

เนอ้ื เยือ่ ลำเลียงนำ้ และแร่ธาตุ
ไซเล็ม (xylem)

โครงสรา้ งการลำเลยี งน้ำและแรธ่ าตุของพชื เนอ้ื เยื่อลำเลียงอาหาร
กระบวนการในการลำเลียงน้ำและแรธ่ าตุของพชื โฟลเอ็ม (phloem)
ทิศทางการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุอาหารของพืช

โครงสร้างการลำเลียงอาหารของพชื
กระบวนการในการลำเลียงอาหารของพชื
ทิศทางการลำเลียงอาหารของพชื

5

ใบความรู้ท่ี 6.1
เรือ่ ง การลำเลียงน้ำและแร่ธาตใุ นพชื

น้ำจากดนิ เข้าส่รู ากได้โดยกระบวนการออสโมซิสผ่านทางเซลล์ขนราก ส่วนแรธ่ าตใุ นดินเข้าราก
ได้ โดยการแพร่ผ่านทางเซลล์ขนราก และในรากมีกลุ่มเซลล์ท่ีเป็นเนื้อเยื่อทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและ
แรธ่ าตุ โดยเฉพาะ เรยี กว่า ไซเลม็ หรอื ท่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ

1. โครงสรา้ งของรากในการลำเลยี งน้ำและแรธ่ าตุ

ขฃนราก ( Root Hair) รากพืช (Root) ทำหน้าที่ ดูดน้ำและธาตุอาหารท่ีละลายปนอยู่ในนำ้
โดยมขี นรากทำหน้าทดี่ ดู น้ำและธาตุอาหาร

ขนราก ( Root Hair) อยู่เหนือปลายรากเล็กน้อย มลี กั ษณะเป็นขน
เส้นเลก็ เปน็ ฝอยจำนวนมากอยู่รอบปลายราก เปน็ โครงสร้างที่
เปลีย่ นแปลงมาจากเซลล์ผิวนอกสดุ ของราก โดยผนงั เซลลข์ องแต่ละ
เซลลจ์ ะยดื ยาวออกไป การท่ีขนรากมจี ำนวนมากก็เพ่ือเพ่ิมพนื้ ทีผ่ วิ ใน
การสมั ผสั น้ำและแร่ธาตตุ ่าง ๆในดนิ ได้มากข้นึ ชว่ ยให้การดูดนำ้ และแร่
ธาตตุ ่าง ๆ เปน็ ไปอยา่ งสะดวกและรวดเร็ว

ภาพที่ 6.1 ขนราก ท่ีมา : shorturl.asia/z9MxV สืบคน้ เมือ่ 3 ตลุ าคมคม 2562

นำ้ และเกลือแร่
ภาพที่ 6.2 การเคลือ่ นที่ของน้ำเขา้ สู่ราก ที่มา : https://bit.ly/3IO8ghp สืบคน้ เมื่อ 3 ตลุ าคม 2562

6

น้ำจากดนิ จะเขา้ สู่เซลล์ขนรากและแพรต่ อ่ ไปยังเน้อื เย่ือท่อลำเลียงในรากได้ด้วยกระบวนการ
ออสโมซสิ และการแพร่ส่วนแร่ธาตจุ ะละลายในนำ้ เข้าส่เู ซลลข์ นรากและเซลล์เนอื้ เยื่อลำเลียงน้ำได้
โดยการลำเลียงแบบแอคทฟี ซง่ึ ตอ้ งอาศยั พลังงานจากเซลล์ขนรากชว่ ยในการแพร่

ไซเล็ม (xylem)
เปน็ เนอื้ เย่ือลำเลียงนำ้ และธาตอุ าหารของพืช ทำหน้าท่ี ลำเลยี งนำ้ และธาตอุ าหาร

ตา่ งๆท้งั สารอนิ ทรยี ์และสารอนนิ ทรีย์ โดยทอ่ ลำเลยี งน้ำและธาตุอาหาร

ไซเล็มประกอบด้วย เซลล์ 4 ชนิด

1. เทรคีด (tracheid)
เป็นเซลลเ์ ดี่ยว มรี ปู รา่ งเป็นทรงกระบอกยาว

บริเวณปลายเซลล์แหลม ทำหนา้ ทีเ่ ปน็ ท่อลำเลยี งน้ำและ
แรธ่ าตุอาหารต่าง ๆ และชว่ ยค้ำจนุ ส่วนตา่ ง ๆ ของพืช

2. เวสเซล (vessel)
เซลล์ทีม่ ีขนาดคอ่ นขา้ งใหญ่แต่สั้นกว่า เทรคดี

(tracheid) ทำหน้าทล่ี ำเลียงนำ้ และธาตุอาหารเปน็ หน้าที่
สำคัญและให้ความแขง็ แรงกับตน้ พชื เพราะต้นไมท้ ีม่ ีอายุ
มากๆจะมเี วสเซล (vessel) เปน็ จำนวนมาก

3.ไซเลมไฟเบอร์ (xylem fiber)
เป็นเซลลท์ ่มี ีผนงั หนา รปู รา่ งยาวเรยี ว หวั ท้ายแหลม

ลกั ษณะเปน็ เส้นใย เปน็ เซลล์ที่ตายแล้ว มีผนงั หนา ทำหนา้ ที่
เปน็ โครงสรา้ งค้ำจุนและใหค้ วามแขง็ แรงแก่ลำต้นพืช

7

4. ไซเลมพาเรนไคมา (xylem parenchyma)
เป็นเซลลท์ ่ยี งั มีชีวิต ทำหนา้ ท่ีลำเลยี งน้ำและธาตุ

อาหาร และสะสมอาหารพวกแปง้ นำ้ มันและสารอืน่ ๆ

ภาพท่ี 6.3 เซลล์ในไซเล็ม ทม่ี า : shorturl.asia/hAFl0 สืบคน้ เมอ่ื 5 ตลุ าคม 2562

สามารถพบได้ทั้งใน ราก ตน้ กง่ิ และใบ อย่างต่อเนื่องกนั

ภาพท่ี 6.4 ตดั ขวางลำตน้ ของพชื ที่มา : https://bit.ly/3dBbrdB สืบคน้ เมือ่ 8 ตลุ าคม 2562

2. กระบวนการในการลำเลียงนำ้ และแร่ธาตุอาหารของพืช
พชื จะมีการลำเลยี งนำ้ และแร่ธาตุต่าง ๆ จากดินผา่ นทางรากไปสูล่ ำต้น กง่ิ ก้านและใบ โดย

ผ่าน ทอ่ ลำเลียงทเ่ี รยี กว่า ไซเล็ม (xylem) ในไซเล็มประกอบดว้ ยเซลล์ตา่ ง ๆ ทช่ี ่วยในการลำเลียงนำ้
และแร่ธาตุ โดยน้ำจะผา่ นเยื่อบาง ๆ ของผนงั เซลลข์ องรากโดยกรรมวิธตี ่าง ๆ ทางไซเล็มและเขา้ สเู่ ซลล์
อ่ืน ๆ ของพืช

8

ภาพที่ 6.5 การลำเลยี งนำ้ ในต้นพชื การลำเลยี งน้ำ
ที่มา : https://bit.ly/3dBrb0r สบื ค้นเมื่อ 8 ตุลาคม 2562 นำ้ จากดินจะมีการแพร่เข้าสูเ่ ซลล์

ของรากพืช โดย กระบวนการออสโมซสิ
อยา่ งต่อเน่ือง ผลจากการคายน้ำของพืชทำ
ใหเ้ กดิ แรงดึงจากการคายน้ำ ดงั นั้นถา้ พชื มี
การคายน้ำมาก การแพร่ของน้ำเข้าส่เู ซลล์
รากกเ็ กดิ ขึ้นมากและรวดเรว็
การลำเลยี งแร่ธาตุ

แร่ธาตุจากดินจะผา่ นเข้าส่เู ซลลข์ อง
รากพชื โดยอาศัย กระบวนการแพร่ ของ
สาร และผ่านทางท่อไซเล็มเช่นเดียวกบั น้ำ
การคายน้ำของพชื จะชว่ ยใหเ้ กลอื แร่แพร่เข้า
สู่รากไดม้ ากข้ึนเชน่ กนั

การแพร่ (Diffusion)
คือ การเคล่อื นทข่ี องอนุภาค ของสารที่มคี วามเขม้ ขน้ ของอนภุ าคสารมากไปสู่
ความเขม้ ขน้ ของอนุภาคสารน้อย

ออสโมซสิ (Osmosis)
คอื การเคลื่อนทขี่ องน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่าน จากบริเวณท่ีมคี วามเขม้ ขน้ ของ
อนุภาคของน้ำมากไปส่บู ริเวณท่ีมีความเข้มข้นของอนุภาคของน้ำน้อย

การคายน้ำของพืช (Transpiration)
เปน็ กระบวนการแพร่ของน้ำในรปู ไอน้ำออกทางปากใบ (Stoma) ซ่งึ อยู่ระหว่าง
เซลลค์ ุม 2 เซลล์ (Guard cell ) ปากใบพบมากท่สี ดุ ทางด้านทอ้ งใบ คอื ด้านล่าง
ของใบท่ไี ม่ไดร้ ับแสง พชื คายน้ำ เพอ่ื รักษาอณุ หภมู ิของใบไมไ้ มใ่ ห้ร้อนจดั และช่วย
เร่งใหร้ ากดดู น้ำขน้ึ ตลอดเวลา

9

3. ทศิ ทางการลำเลยี งน้ำและแร่ธาตุอาหารของพืช

นำ้ ออกทางปากใบและระเหยไป ขน้ั ตอนการดูดนำ้ ของพืชมีดังนี้
น้ำจากเซลล์อื่นเข้ามาแทนท่ี
ปากใบจะเปิดในเวลากลางวนั

ใบระเหยนำ้ ออกไปทางปากใบ

น้ำถกู ดนั ขน้ึ มาทางทอ่ ไซเล็ม นำ้ ในเซลลข์ องใบเหลือน้อย

รากดูดน้ำเขา้ มาปรมิ าณมาก ความเขม้ ข้นของสารละลายในเซลล์มาก

ภาพที่ 6.6 ทิศทางการลำเลยี งน้ำในตน้ พชื นำ้ แพร่เข้าสเู่ ซลลข์ องใบ
ท่ีมา : https://bit.ly/3dDnlUp
สบื คน้ เมอื่ 10 ตุลาคม 2562 นำ้ จากดนิ แพรเ่ ข้าสู่รากและถกู ส่ง
ตอ่ ผ่านลำต้นไปยังใบตลอดเวลา

พืชดูดน้ำและแร่ธาตุอาหารผ่านขนราก ปกติแล้วสารในดินจะมีความเข้มน้อย สารใน
สารละลายภายในเซลล์ของรากหรือในดินมีนำ้ มากกว่าในรากพืช พืชจงึ ดดู นำ้ และธาตุอาหารผา่ นขนราก
ดว้ ยวิธอี อสโมซิส พชื จะลำเลียงนำ้ ไปยังท่อลำเลียงนำ้ ตา่ ง ๆ จาก

ราก ลำต้น ก่ิง ใบ

โดยมีทิศทางการลำเลียงขึน้ เท่านัน้ ( ) และการลำเลียงน้ำจะเกิดได้ดีในเวลากลางวนั เพราะ
เมื่อพืชได้รับแสงในเวลากลางวัน น้ำจะคายออกทางปากใบ หรือ เรียกว่าการคายน้ำ เมื่อน้ำระเหย
ออกไป น้ำในเซลล์เหลอื น้อย จึงทำให้เกิดแรงดึงจากส่วนล่างขึ้นสู่ส่วนบน น้ำจึงออสโมซิสเขา้ มาในราก
และลำเลียงตามท่อลำเลยี งนำ้ เพอ่ื ปรับอณุ หภมู ิให้กบั ต้นไมเ้ ปน็ วัฏจักร

10

กิจกรรมท่ี 6.1
เรือ่ ง พืชลำเลียงนำ้ และแรธ่ าตุอย่างไร

คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการลำเลยี งในพืชตามข้ันตอนในวิธปี ฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 6.1
ตอบคำถามต่อไปนีล้ งในใบกจิ กรรมที่ 6.1 เร่อื ง พชื ลำเลียงนำ้ และแร่ธาตุอย่างไร

จดุ ประสงค์
สังเกต รวบรวมข้อมูล เขียนแผนภาพและบรรยายทิศทางการเคลื่อนที่ของการลำเลียงน้ำและ

แรธ่ าตุ

วัสดแุ ละอุปกรณ์ 2 ตน้
1. ต้นเทยี น หรือ ตน้ กระสัง 1 อนั
2. แวน่ ขยาย 2 ใบ
3. บกี เกอร์ขนาด 250 cm3 1 ชดุ
4. สไลดแ์ ละกระจกปิดสไลด์ 1 กลอ้ ง
5. กล้องจุลทรรศน์ 1 ดา้ ม
6. ใบมีดโกน
7. สผี สมอาหารสีแดง
8. นำ้ กลนั่
9. สารละลายซาฟรานนิ

ข้อควรระวงั
1.ระวงั มดี โกนบาดขณะตัดเนือ้ เยื่อพืช
2.ระวงั ไมใ่ ห้สไลด์หรอื กระจกปิดสไลด์แตก

11

วิธีปฏิบตั ิการทดลองกจิ กรรม

1. นำต้นเทยี นหรือต้นกระสังมาลา้ งใหส้ ะอาด
และวางพง่ึ ลมไว้ แลว้ แช่รากในบีกเกอร์ท่ีมีน้ำ
กลนั่ ผสมสแี ดง ปรมิ าตร 200 cm3 และแชร่ าก
ในบกี เกอรท์ ่ีมีน้ำกลัน่ ปริมาตร 200 cm3

2. สงั เกตลักษณะภายนอกของราก ลำต้นและใบของต้นเทียนหรอื ต้นกระสัง บนั ทกึ ผล

3. สังเกตทิศทางการเคลอ่ื นที่ของสใี นรากและ
ลำต้นของตน้ เทียน จนกระท่ังเห็นนำ้ สเี คลอื่ นไป
ทั่วท้ังตน้ บันทกึ ผลโดยการเขียนแผนภาพทิศ
ทางการเคลอ่ื นท่ีของน้ำสีในต้นเทยี น

4. ตัดรากและลำตน้ ของตน้ เทียนที่ผ่านการแช่นำ้ สตี ามยาวและตามขวาง หนาประมาณ 0.5
เซนติเมตร สังเกตการตดิ สีแดงในเนื้อเย่ือรากและลำต้นดว้ ยแว่นขยาย บนั ทึกผล

5. ตัดรากและลำต้นของต้นเทียนที่ผ่านการแช่
น้ำสีตามยาวและตามขวางบาง ๆ แช่เนื้อเยื่อใน
น้ำเปล่า จากนั้นย้ายไปแช่ในสารละลายซาฟรา
นินความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา
10 วินาที แล้วนำเนื้อเยื่อไปวางบนหยดน้ำบน
สไลด์ ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์แล้วสังเกต
ลักษณะของเนื้อเยื่อที่ติดสีด้วยกล้องจุลทรรศน์
บันทกึ ผลโดยการวาดภาพ หรือถา่ ยรูป

12

แบบบนั ทึกกจิ กรรมท่ี 6.1
เรอ่ื ง พืชลำเลียงน้ำและแร่ธาตอุ ยา่ งไร

ตารางบันทกึ ผล

รายการบันทึก ผลการบัทกึ

ลักษณะภายนอกของต้นเทียนที่ ราก ..........................................................................................

แชใ่ นน้ำกลั่นผสมสแี ดง ลำตน้ .........................................................................................

ใบ .........................................................................................

ตดั ตามขวาง ตัดตามยาว

รากต้นเทียนตดั ตามขวางและ

ตามยาว

ที่ศึกษาด้วยแว่นขยาย

(วาดรูปหรือถา่ ยภาพประกอบ)

ตดั ตามขวาง ตดั ตามยาว

รากต้นเทยี นตดั ตามขวางและ
ตามยาว

ทศี่ ึกษาดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์
(วาดรูปหรือถ่ายภาพประกอบ)

สรุปผล

............................................................................................................................. ..........................
............................................................................................................................. ..........................
.................................................................................................. .....................................................
............................................................................................................................. ..........................
.......................................................................................................................................................

13

คำถามท้ายกจิ กรรม
1.ตน้ พชื ท่ีนกั เรยี นมาศึกษา คืออะไร
ตอบ ............................................................................................................................. ........................
2.นำ้ สเี คลอ่ื นทเ่ี ขา้ สพู่ ืชทางใด และทิศทางการเคล่อื นท่ีอย่างไร ทราบได้อยา่ งไร
ตอบ ............................................................................................................................. ........................
3.วาดรปู เนอ้ื เยอื่ รากและลำต้นจากการสงั เกตด้วยกล้องจุลทรรศน์ ลักษณะเนื้อเยื่อของรากและลำตน้
ของต้นเทียนหรือต้นกระสงั เป็นอย่างไร

4.เนื้อเยื่อของพืชสว่ นใดที่ใชใ้ นการลำเลยี งน้ำและแรธ่ าตุ ข้ึนไปยังสว่ นตา่ งๆ ของพืช
ตอบ ......................................................................................................................... ...........................
5.วาดภาพจำลอง แสดงการลำเลยี งน้ำและแร่ธาตุ จากเนื้อเย่ือดงั กล่าว

14

ใบความรทู้ ่ี 6.2
เรือ่ ง การลำเลยี งอาหารในพชื

พืชจะลำเลียงอาหารโดยเปลี่ยนสารอาหารไปอยู่ในรูปของสารละลายน้ำตาล และลำเลียงผ่าน
เนื้อเยื่อท่อลำเลียงที่เรียกว่า “โฟลเอ็ม (phloem)” โดยเริ่มลำเลียงจากบริเวณที่มีการสังเคราะห์ด้วย
แสง ไปยังเซลล์ในส่วนต่าง ๆ ดังนั้น การลำเลียงอาหารในท่อโฟลเอ็มจึงมี 2 ทิศทาง คือจากบนลงล่าง
และจากล่างขึ้นบน ซึ่งนอกจากการลำเลียงแล้ว พืชยังสามารถสะสมอาหารไว้ตามส่วนต่าง ๆ ได้ด้วย
อย่างพืชบางชนิดใช้รากสะสมอาหาร เช่น แครอท กระชาย มันเทศ หัวผักกาด หรือบางชนิดใช้ลำต้น
เพอื่ สะสมอาหาร เช่น มนั ฝรงั่ เผือก ขิง ขา่ ขมน้ิ เป็นต้น

1. โครงสรา้ งของพชื การลำเลียงอาหาร

ภาพท่ี 6.7 การสังเคราะห์แสง ทม่ี า : https://bit.ly/31NMSYF สืบค้นเมือ่ 11 ตลุ าคม 2562

สิ่งท่ีได้จากการสงั เคราะห์แสง คอื นำ้ ตาล แก๊สออกซเิ จน น้ำ เป็นต้น อาหารซ่งึ พืชสรา้ งที่ใบ
คือ น้ำตาลโดยอาหารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชนั้นจะถูกลำเลียงไปเลี้ยงยังส่วนต่าง ๆ
ของพืช หรือเพื่อซ่อมแซมเซลล์ที่เสียหาย โดยผ่านท่อลำเลียงที่เรียกว่า โฟลเอ็ม หรือ ท่อลำเลียง
อาหาร ท่อและเนื้อเยื่อลำเลียงอาหารที่อยู่ในรูปของสารละลายจากปากใบไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของ
พืช

15

โฟลเอ็ม (phloem)
เป็นเนอ้ื เยื่อลำเลยี งอาหารของพืช ทำหน้าท่ีลำเลยี งอาหารท่ีสังเคราะห์ขึ้นทใี่ บไปยงั
สว่ นต่าง ๆ ของพืชจนถงึ ราก

โฟลเอม็ ประกอบด้วย เซลล์ท่ีสำคัญ 2 ชนิด
1. เซลลห์ ลอดตะแกรง (sieve tube member)

เป็นเซลล์ที่เป็นแท่งยาว หน้าที่หลักของหลอดตะแกรงคือการลำเลียง คาร์โบไฮเดรต
,ซูโครส ส่วนใหญ่ลำเลียงไปในพืช เช่น ลำเลียงจากใบไปยังผลและราก ซึ่งแตกต่างจากท่อใน
ระบบท่อลำเลียงน้ำซึ่งไม่มีชวี ติ เมือ่ พชื เจริญเติบโตเต็มที่ เซลลห์ ลอดตะแกรงเป็นเซลล์ที่มีชีวิต
มคี วามแปลกตรงที่ไม่มีนวิ เคลียสเม่ือเจริญเตบิ โตเตม็ ท่ี

ภาพที่ 6.8 เซลลห์ ลอดตะแกรง ทม่ี า : https://bit.ly/3pHUNic สบื คน้ เม่อื 15 ตลุ าคม 2562

2. เซลลข์ ้างเคียง (companion cell)
เป็นเซลล์ทม่ี ีนวิ เคลียส อย่ใู กล้เซลล์หลอดตะแกรงและคอยควบคมุ การทำงานของ

เซลลห์ ลอดตะแกรง

16

2. กระบวนการในการลำเลยี งอาหารของพืช

รับนำ้ ขึ้นไปตามไซเลม็ ใบ
ลำเลยี งอาหารในโฟลเอม็
พลังงานแสง
ตา
นำ้ ตาลทส่ี รา้ งจากกระบวนการ
คารบ์ อนไดออกไซด์ สงั เคราะหด์ ้วยแสง
นำ้ ตาลเคล่ือนลงมา
นำ้ และแร่ธาตุ ยงั รากทกี่ ำลังเจรญิ
จากดนิ เติบโตหรือข้ึนไปทตี่ า ซงึ่ กำลงั เจรญิ เตโิ ต

รากดดู นำ้ และแรธ่ าตุ

ภาพที่ 6.9 กระบวนการในการลำเลยี งอาหารของพืช ทีม่ า : https://bit.ly/3lUKiHd สืบคน้ เมื่อ 15 ตลุ าคม 2562

การลำเลียงอาหาร จะลำเลียงจากใบไปสะสมในส่วนต่าง ๆ ของพืช ที่ต้องการใช้อาหาร หรือ
เพื่อนำไปเก็บสะสมยังแหล่งสะสมอาหาร เช่น ราก และลำต้น โดยอาหารจะแพร่ออกทางท่อลำเลยี งไป
ยังเซลล์ต่าง ๆ โดยตรงอาหารหรือน้ำตาลในพืชจะถูกนำไปใช้ในกระบวนการหายใจ โดยจะรวมกับแกส๊
ออกซิเจนทำใหเ้ กิดพลังงานและคายแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละไอนำ้ ออกมา ซ่ึงพลังงานจะถูกนำไปใช้
ในกิจกรรมที่เก่ยี วขอ้ งกบั การดำรงชีวิตของพืช เชน่ การเจรญิ เตบิ โต การสรา้ งใบ ดอก ผล

17

3. ทิศทางการลำเลยี งอาหารของพืช

ทิศทางการลำเลียงอาหารในท่อโฟลเอ็ม มีทั้งขึ้นและลง ( ) แต่
อัตราการลำเลียงอาหารในท่อโฟลเอ็มจะช้ากว่าการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุใน
ท่อไซเล็มบริเวณรอบลำต้นจะมีอาหารไหลลงมาเสมอ ดังนั้น ถ้าเราตัดท่อ
ลำลียงอาหารของพืชโดยลอกเปลือกนอกของต้นไม้ออกจนรอบลำต้น ในไม่
ช้าจะพบว่าบริเวณเหนือรอยที่ลอกเปลือกออกจะมีขนาดใหญ่กว่าด้านล่าง
ท้งั น้เี ป็นเพราะอาหารที่ถูกลำเลียงลงมาจากใบ ไมส่ ามารถผ่านต่อลงไปได้ จึง
สะสมอยู่บริเวณปลายสุดของท่อลำเลียงอาหาร การทำเช่นนี้ จะทำให้พืช
เจริญเติบโตช้า เพราะรากขาดอาหาร เมื่อพืชสร้างอาหารได้มาก พืชก็จะ
ลำลียงอาหารไปเก็บไว้ในส่วนต่าง ๆ ของพืช ส่วนของพืชซึ่งเป็นที่สะสม
อาหารและเหน็ ไดช้ ดั เจน เช่น ผล เมลด็ รากและลำตน้

ภาพที่ 6.10 ทิศทางการลำเลยี งอาหารของพชื ทม่ี า : https://bit.ly/2UaZ16e สืบคน้ เม่อื 15 ตลุ าคม 2562

4. ลกั ษณะสำคัญของการลำเลียงอาหาร

ทิศทางการลำเลียงอาหาร ลำเลียงทกุ ทิศทาง เพ่ือไปเล้ยี งส่วนของลำต้นและราก
แตก่ ็มีบางส่วนที่มีการลำเลยี งไปในทิศทางด้านบน เช่น การลำเลยี งไปเล้ียงดอก
และผล เปน็ ตน้

กระบวนการลำเลยี งอาหารช้ากวา่ กระบวนการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุอาหาร

เซลล์ลำเลยี งอาหารต้องเปน็ เซลล์ท่ีมีชีวิต แตเ่ ซลลล์ ำเลยี งน้ำและแร่ธาตไุ มม่ ชี วี ติ

18

แบบฝึกหัดท้ายบท
เรอ่ื ง การลำเลยี งสารในพชื

คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนใ้ี หถ้ ูกต้อง (10 คะแนน)
จุดประสงค์ 1. บรรยายลกั ษณะและหน้าที่ของเน้อื เยือ่ ท่อลำเลียงอาหาร

2. สังเกต รวบรวมข้อมูล เขียนแผนภาพและบรรยายทิศทางการเคลื่อนที่ของการลำเลียง
นำ้ และแรธ่ าตุ
1. ตอบคำถามโครงสร้างของระบบการลำเลยี งของพชื ตอ่ ไปน้ี

โครงสร้างของระบบการลำเลียงของพชื

1. ไซเล็ม (xylem) 2. โฟลเอม็ (phloem)
ทำหน้าท.ี่ ........................................................ ทำหนา้ ท.่ี ........................................................
........................................................................ ........................................................................
........................................................................ ........................................................................

2. จงเตมิ ขอ้ ความลงในตารางการเปรียบเทียบการทำงานของเน้ือเย่ือไซเล็มและโฟลเอ็มตอ่ ไปน้ี

ส่งิ ท่เี ปรียบเทยี บ เนื้อเยือ่ ไซเลม็ เนื้อเย่ือโฟเอ็ม

1.สารท่ลี ำเลียง

2.ทมี่ าของสารทลี่ ำเลียง

3.ทิศทางการลำเลยี ง

4.ความเรว็ ในการลำเลยี ง

3. ให้นกั เรียนเขียนลกู ศรบนต้นพริกเกีย่ วกบั ทศิ ทางการลำเลยี งนำ้ -ธาตอุ าหารในท่อไซเลม็ และทิศ
ทางการลำเลยี งอาหารในทอ่ โฟลเอม็

ไซเล็ม โฟลเอม็

19

4. ให้นกั เรยี นสรปุ องค์ความรู้เปน็ ผงั มโนทศั นเ์ กยี่ วกบั ระบบการลำเลียงของพืช

20

แบบทดสอบหลังเรยี น
ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การดำรงชีวิตของพืช

เลม่ ที่ 6 เรอ่ื ง การลำเลียงในพชื ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1

คำสง่ั : 1. ใหน้ กั เรยี นทำเครือ่ งหมาย X ลงบนตัวเลอื ก ก-ง เพยี งข้อเดยี วเท่านัน้ ในกระดาษคำตอบ
2. ขอ้ สอบมที ัง้ หมด 10 ข้อ ใหน้ กั เรยี นทำทกุ ข้อ ใชเ้ วลา 10 นาที คะแนนเตม็ 10 คะแนน

1. การย้ายต้นเขม็ ไปปกั ชำต้องเด็ดใบทงิ้ บ้างเพ่ือเหตผุ ลข้อใด
ก. ลดการคายน้ำ
ข. ปอ้ งกนั การสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื
ค. ปอ้ งกนั การบังแสงแดดในกลมุ่ ใบ
ง. ป้องกนั ไม่ให้แมลงมารบกวนขณะปักชำ
2. ข้อใดกล่าวถูกต้องท่ีสดุ
ก. ทอ่ ลำเลียงนำ้ ประกอบด้วยกลุ่มเซลลท์ ่ยี งั มีชีวติอย่ทู ั้งหมด
ข. ทอ่ ลำเลียงน้ำ แทรกอยรู่ ะหว่างเซลล์ทุกเซลล์ในลำต้น
ค. ทอ่ ลำเลยี งน้ำ เป็นทอ่ ยาวติดต่อกันตลอดตงั้ แต่ราก ลำต้น และใบ
ง. ทอ่ ลำเลยี งน้ำ ของพืชล้มลกุ ไม่สามารถลำเลียงแร่ธาตุได้
3. กลมุ่ เซลล์ที่ทำหน้าท่เี ปน็ ท่อลำเลยี งน้ำ พบไดใ้ นสว่ นใดของพืช
ก. เฉพาะราก
ข. รากและลำตน้
ค. ราก ลำต้นและกงิ่
ง. ราก ลำต้น กิง่ และใบ
4. โครงสร้างทพ่ี ืชใชใ้ นการลำเลยี งอาหาร คืออะไร
ก. ไซเลม็
ข. โฟลเอม็
ค. เนือ้ ไม้
ง. เปลือกไม้
5. ไซเล็ม เปน็ ส่วนประกอบของระบบการลำเลียงของพืช ทำหน้าท่อี ะไร
ก. ลำเลยี งอาหารสู่สว่ นตา่ ง ๆ
ข. ลำเลียงน้ำ และแร่ธาตุ
ค. ระบายของเสยี จากลำต้น
ง. ควบคุมการคายนำ้ ของใบ

21

6. การคายน้ำของพชื ไม่มสี ว่ นชว่ ยในกิจกรรมใดของพืช
ก. การลดอุณหภมู ิท่ีใบ
ข. การลำเลยี งเกลือแร่
ค. การลำเลียงน้ำทางไซเลม็
ง. การลำเลยี งอาหารทางโฟลเอม็
7. อาหารที่พืชใช้เป็นแหล่งพลงั งานในการดำรงชวี ิตได้แก่อะไร
ก. แสงแดด
ข. คลอโรฟลิ ล์
ค. แป้งและนำ้ ตาล
ง. คารบ์ อนไดออกไซด์
8. เมอ่ื นำตน้ เทียนแช่รากในน้ำาหมกึ แดง ท้งิ ไว้ค้างคืนจะเห็นสีแดงผ่านจากรากไปสู่ลำตน้ เพราะเหตุใด
ก. น้ำหมกึ แดงออสโมซิสเข้าทางรากขน้ึ ไปสู่ลำตน้
ข. น้ำหมกึ แดงออสโมซิสเข้าทางท่อลำเลียงน้ำไปสู่ใบ
ค. น้ำหมึกแดงออสโมซิสเข้าทางรากและแพร่ไปสู่ลำต้น
ง. น้ำหมึกแดงแพร่เขา้ ทางรากและออสโมซิสไปสู้ลำต้น
9. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกยี่ วกับการลำเลียงอาหารของพชื
ก. การลำเลียงอาหารต้องเกิดในเซลล์ทม่ี ีชวี ิต
ข. อตั ราการคายน้ำส่งผลโดยตรงต้อการลำเลยี งอาหาร
ค. ถา้ ทอ่ ลำเลียงอาหารถูกตัด พืชใช้ทอ่ ลำเลียงน้ำแทนได้
ง. การลำเลยี งอาหารและน้ำ มีอตั ราการลำเลียงเรว็ เท่ากัน
10. ขอ้ ใดกลา่ ว ไม่ถกู ต้อง
ก. การลำเลียงน้ำ-ธาตอุ าหารมีทิศทางการลำเลียงขึน้ เท่านั้น ( )
ข. การลำเลียงน้ำจะเกดิ ไดด้ ีในเวลากลางคนื
ค. การลำเลียงอาหารในท่อโฟลเอ็มมีทศิ ทางการลำเลียงท้ังขึน้ และลง ( )
ง. การลำเลียงอาหารชา้ กวา่ กระบวนการลำเลยี งนำ้ และแรธ่ าตอุ าหาร

22

กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง การดำรงชีวติ ของพืช

เลม่ ที่ 6 เร่ือง การลำเลียงในพชื ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ว 21101 เวลา 10 นาที

ชื่อ-สกลุ ...................................................................................เลขท่ี......................ชน้ั ............................

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ผลสอบเป็น คะแนนเตม็ ได้ ผลการประเมิน
อย่างไรบา้ ง 10

เกณฑ์การประเมนิ
0 – 7 คะแนน ไมผ่ ่าน
8 - 10 คะแนน ผ่าน

23

บรรณานุกรม

ประดับ นาคแกว้ และดาวัลย์ เสรมิ บญุ สุข. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพ์แม็ค
ศรีลักษณ์ ผลวฒั นะและเจยี มจติ กุลมาลา. (2561). หนงั สือเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์

ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 1. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท แม็คเอ็ดดเู คชัน่ จำกัด.
เอกรฐั วงศ์สวสั ด.์ (2561). ส่ือการเรียนรู้ รายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท

อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จำกดั .
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2558). หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ 2

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (พิมพ์ครงั้ ที่ 7). กรุงเทพฯ:
สกสค. ลาดพร้าว
slideshare. (2561). การลำเลยี งน้ำของพชื . สบื ค้นเม่อื 10 ตลุ าคม 2562. จาก https://www.
slideshare.net/leaftendril/ss-15680606
ชวี วิทยา ม.5 โรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั รังสติ . (2561). การลำเลียงนำ้ ของพืช. สืบคน้ เม่ือ 10
ตลุ าคม 2562. จาก http://watchawan.blogspot.com /2010/05/blog-
post_4079.html
National Geographic ฉบบั ภาษาไทย. (2561). การลำเลียงสารของพืช. สืบค้นเมื่อ 10 ตลุ าคม 2562.
จาก https://ngthai.com/science/15525/flowersfertilization/
konkao kittypew kittima. (2561). ชวี วิทยาของพืช(พืชดอก). สืบคน้ เม่ือ 15 ตลุ าคม 2562.
จาก shorturl.asia/qFklJ

24

ประวัตผิ ้จู ดั ทำ

ชือ่ นางสาวนรู ซีลา มะดาโอ๊ะ
ประวัตกิ ารศกึ ษา ปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ วชิ าเอกวิทยาศาสตรท์ วั่ ไป
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี
สถานทท่ี ำงาน ปรญิ ญาโท คณะศึกษาศาสตร์ วิชาการบริหารการศึกษา
ตำแหน่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
โรงเรียนสุไหงโก-ลก
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานราธวิ าส
ครชู ำนาญการ โรงเรียนสุไหงโก-ลก

25

ภาคผนวก

26

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การดำรงชีวิตของพืช

เลม่ ที่ 6 เรอื่ ง การลำเลียงในพืช ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

เฉลยข้อสอบก่อนเรียน
1 ข. ลำเลยี งน้ำ และแรธ่ าตุ
2 ข. โฟลเอ็ม
3 ง. ราก ลาํ ตน้ กงิ่ และใบ
4 ค. ท่อลำเลียงน้ำ เป็นท่อยาวฯ
5 ก. ลดการคายน้ำ
6 ค. น้ำหมึกแดงออสโมซิสเข้าทางรากและแพร่ไปสู่ลำตน้
7 ค. แป้งและนำ้ ตาล
8 ก. การลำเลียงอาหารต้องเกดิ ในเซลล์ที่มีชวี ติ
9 ข. การลำเลยี งนำ้ จะเกิดได้ดีในเวลากลางคืน
10 ง. การลำเลยี งอาหารทางโฟลเอม็

27

เฉลยกิจกรรมท่ี 6.1
เรื่อง พชื ลำเลียงน้ำและแรธ่ าตอุ ย่างไร

ตารางบนั ทกึ ผล

รายการบนั ทกึ ผลการบทั กึ

ลักษณะภายนอกของต้นเทยี นท่ี ราก ติดสีแดง
แชใ่ นนำ้ กลนั่ ผสมสแี ดง ลำตน้ ตดิ สีแดง
ใบ ตดิ สีแดง

ตัดตามขวาง ตดั ตามยาว

รากตน้ เทียนตดั ตามขวางและ
ตามยาว

ท่ีศึกษาดว้ ยแว่นขยาย
(วาดรปู หรือถ่ายภาพประกอบ)

ตดั ตามขวาง ตัดตามยาว

รากต้นเทยี นตัดตามขวางและ
ตามยาว

ทศ่ี ึกษาดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์
(วาดรปู หรอื ถ่ายภาพประกอบ)

สรปุ ผล

จากผลการทดลองพบว่าตน้ เทยี นท่ีแชใ่ นนำ้ กลั่นไม่สามารถสังเกตโครงสร้างได้ ส่วนตน้ เทยี นที่
แช่ในน้ำกล่ันผสมสแี ดงสังเกตได้ชดั พบว่าน้ำสีแดงเคล่อื นท่ีจากรากขึ้นไปสู่ส่วนบนของลำตน้ ก่ิง ใบ และ
ดอก ซึ่งเปรยี บเทียบไดก้ บั การออสโมซสิ ของน้ำและการแพรข่ องแร่ธาตจุ ากดินเข้าสู่รากไปยงั ลำต้น กิง่
ใบ ดอกและสว่ นต่าง ๆ ของพืช เม่ือตัดลำตน้ ตามขวางและตามยาวส่องดดู ว้ ยกล้องจลุ ทรรศน์จะเห็นท่อ
ลำเลยี งน้ำ-แรธ่ าตุหรือไซเล็มเปน็ กลุ่มๆ กระจายอย่รู อบลำต้นและเรยี งตวั ต่อกนั เป็นหลอดยาว นำ้ และ
แรธ่ าตทุ ่ถี กู ลำเลยี งมาตามทอ่ ลำเลียงนำ้ -แร่ธาตจุ ะแพรไ่ ปสู่เซลลอ์ น่ื ๆ บริเวณรอบ ๆ ตามที่พืชต้องการ

28

คำถามท้ายกจิ กรรม
1.ตน้ พืชทนี่ ักเรียนมาศึกษา คืออะไร
แนวตอบ ตน้ เทียน หรอื ต้นกระสัง
2.นำ้ สีเคลอ่ื นทเี่ ขา้ ส่พู ชื ทางใด และทิศทางการเคล่อื นท่ีอย่างไร ทราบไดอ้ ยา่ งไร
แนวตอบ น้ำจะเคล่ือนทีเ่ ข้าสู่ทางขนรากลำเลียงขึ้นส่ลู ำต้น ทราบได้จากการสงั เกตการเคล่ือนที่ของน้ำ
สีในตน้ เทยี น
3.วาดรูป เน้ือเย่อื รากและลำต้นจากการสงั เกตด้วยกล้องจุลทรรศน์ ลักษณะเน้ือเยอื่ ของรากและลำต้น
ของต้นเทียนหรอื ต้นกระสังเป็นอยา่ งไร

ลำตน้ ตดั ตามขวาง ลำตน้ ตัดตามยาว
4.เน้ือเย่อื ของพืชสว่ นใดท่ีใช้ในการลำเลยี งน้ำและแรธ่ าตุ ขึ้นไปยงั ส่วนตา่ งๆ ของพืช
แนวตอบ ไซเล็ม หรือท่อลำเลียงน้ำ-แร่ธาตุ
5.วาดภาพจำลอง แสดงการลำเลยี งน้ำและแร่ธาตุ จากเน้อื เย่ือดังกลา่ ว

29

เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท
เรื่อง การลำเลียงสารในพชื

คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามต่อไปนี้ใหถ้ ูกต้อง (10 คะแนน)
จดุ ประสงค์ 1. บรรยายลกั ษณะและหนา้ ทีข่ องเน้อื เยอ่ื ท่อลำเลียงอาหาร

2. สังเกต รวบรวมข้อมูล เขียนแผนภาพและบรรยายทิศทางการเคลื่อนที่ของการลำเลียง
นำ้ และแร่ธาตุ
1. ตอบคำถามโครงสรา้ งของระบบการลำเลยี งของพืช ต่อไปน้ี

โครงสรา้ งของระบบการลำเลียงของพชื

1. ไซเล็ม (xylem) 2. โฟลเอม็ (phloem)
ทำหน้าท่ี ลำเลียงน้ำ และแร่ธาตจุ ากดนิ ขนึ้ สู่ ทำหน้าที่ ลำเลยี งอาหารท่สี ร้างจากใบไปสู่
ใบเพื่อสรา้ งอาหารในการสังเคราะห์ด้วยแสง ส่วนตา่ ง ๆของพืช

2. จงเติมขอ้ ความลงในตารางการเปรียบเทียบการ
ทำงานของเน้ือเย่อื ไซเล็มและโฟลเอม็ ต่อไปนี้

สง่ิ ท่เี ปรยี บเทยี บ เนื้อเยื่อไซเลม็ เน้อื เยอ่ื โฟลเอ็ม
1.สารทีล่ ำเลียง น้ำและธาตุอาหาร อาหารท่ีไดจ้ ากการสังเคราะห์
2.ทมี่ าของสารทลี่ ำเลียง
3.ทศิ ทางการลำเลียง ราก ใบ
4.ความเร็วในการลำเลียง ทิศทางการลำเลียงข้นึ เทา่ น้นั ( ) มที งั้ ขนึ้ และลง ( )

เรว็ กวา่ ชา้ กวา่

3. ใหน้ กั เรยี นเขยี นลูกศรบนต้นพรกิ เกย่ี วกับทิศทางการลำเลียงน้ำ-ธาตอุ าหารในท่อไซเลม็ และทิศ
ทางการลำเลียงอาหารในท่อโฟลเอม็

ไซเลม็ โฟลเอ็ม

30

4. ใหน้ กั เรยี นสรุปองค์ความรู้เปน็ ผงั มโนทัศนเ์ กยี่ วกับระบบการลำเลียงของพชื

ไซเล็ม (xylem) โฟลเอม็ (phloem)

ราก

สว่ นของพืช สว่ นของพชื

ขนราก ทล่ี ำเลยี งน้ำ-แรธ่ าตุ ทลี่ ำเลยี งอาหาร

2.สว่ นประกอบของพชื ทใ่ี ช้ 1.โครงสรา้ งในการลำเลียงนำ้
ในการดดู น้ำ แรธ่ าตุและอาหาร

การลำเลยี งน้ำ - แร่ธาตุ และ
อาหารของพืช

3. กระบวนการที่ใช้ดูดน้ำและ 4. ทิศทางการลำเลียง
แร่ธาตขุ องพืช
ลำเลียงนำ้ -แรธ่ าตุ
ดดู นำ้ ดูดแร่ธาตุ ทิศทางการลำเลยี งขึน้ เท่าน้นั

กระบวนการออสโมซิส กระบวนการแพร่ ลำเลียงน้ำ-แร่ธาตุ
มที งั้ ขน้ึ และลง

31

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ชดุ กจิ กรรมการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ เรือ่ ง การดำรงชวี ติ ของพืช

เลม่ ท่ี 6 เรอ่ื ง การลำเลียงในพชื ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1

เฉลยข้อสอบก่อนเรยี น
1 ก. ลดการคายน้ำ
2 ค. ท่อลำเลียงน้ำ เปน็ ท่อยาวตดิ ตอ่ กันตลอดตั้งแตร่ าก ลำตน้ และใบ
3 ง. ราก ลาํ ต้น กิ่งและใบ
4 ข. โฟลเอ็ม
5 ข. ลำเลียงนำ้ และแรธ่ าตุ
6 ง. การลำเลยี งอาหารทางโฟลเอม็
7 ค. แป้งและนำ้ ตาล
8 ค. น้ำหมึกแดงออสโมซิสเขา้ ทางรากและแพร่ไปสู่ลาํ ต้น
9 ก. การลําเลยี งอาหารต้องเกดิ ในเซลล์ท่ีมีชวี ิต
10 ข. การลำเลียงนำ้ จะเกิดได้ดใี นเวลากลางคืน


Click to View FlipBook Version