The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปกรายวิชาชีวิตกับสังคมไทย เล่ม 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitimon thongpim, 2019-06-04 00:33:00

ปกรายวิชาชีวิตกับสังคมไทย เล่ม 1

ปกรายวิชาชีวิตกับสังคมไทย เล่ม 1

เอกสารประกอบการเรยี น
รายวิชา ชีวติ กบั สงั คมไทย รหัสวิชา 3000 -1501
หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้นั สงู พทุ ธศกั ราช 2557

เล่ม 1 (หน่วยเรียนรู้ท่ี 1-4.6)

นางฐติ มิ น ทองพิมพ์
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

หนว่ ยเรียนรทู้ ี่ 1 มนุษย์กบั สังคม

สาระสาคญั

มนษุ ย์ในแตล่ ะวัยจะมีการเจริญเตบิ โตพัฒนาการเปล่ยี นแปลงทัง้ โครงสร้างทางร่างกายจิตใจและ
ความสามารถในทักษะการทางาน ความสัมพันธ์ท้ังร่างกายและจิตใจจะต่อเนื่องตลอดชีวิตเป็นระยะๆ
มนษุ ยไ์ ม่สามารถพง่ึ พาตนเองไดท้ ุกอยา่ ง จาเป็นตอ้ งพ่ึงพาอาศัยเพอื่ นมนุษย์ดว้ ยกันที่อยู่ร่วมกนั ในสงั คม

สาระการเรียนรู้

1. ความหมายของมนษุ ย์
2. ลักษณะสาคัญของมนุษย์

3. พฤติกรรมของมนษุ ย์
4. ประเภทของมนุษย์
5. ความหมายและความเป็นมาของสังคม
6. สาเหตุทาให้เกิดสังคมมนุษย์
7. องค์ประกอบของสงั คม
8. ประเภทของสงั คม
9. หนา้ ที่สาคญั ของสังคมมนุษย์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั

นักศกึ ษามคี วามตระหนักในความสาคัญของมนุษย์และสังคม

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

เมือ่ ศึกษาหน่วยเรยี นร้ทู ่ี 1 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ
1. บอกความหมายและลักษณะสาคญั ของมนษุ ย์ได้
2. อธิบายลักษณะของพฤตกิ รรมของมนุษย์ได้
3. จาแนกประเภทของมนษุ ยไ์ ด้
4. อธิบายความหมายและความเป็นมาของสงั คมได้
5. อธิบายสาเหตทุ าให้เกิดสงั คมมนุษยไ์ ด้
6. จาแนกองค์ประกอบของสงั คมได้
7. จาแนกประเภทของสงั คมได้
8. วเิ คราะห์หน้าทส่ี าคญั ของสงั คมมนุษย์ได้

หนว่ ยเรียนรทู้ ี่ 1 มนุษย์กับสังคม
แบบทดสอบกอ่ นเรียน
คาส่งั จงเลือกคาตอบท่ีถูกทส่ี ุดแล้วกากบาทลงในกระดาษคาตอบ ก ข ค ง จ

1. ขอ้ ใดกลา่ วเกย่ี วกับมนุษย์ไมถ่ ูกต้อง
ก. สัตวท์ ่ีร้จู ักใช้เหตุผล สตั ว์ที่มจี ิตใจสงู
ข. มนุษยก์ ับสัตวน์ ัน้ มีลักษณะบางประการร่วมกนั อยู่
ค. มนุษย์กบั สตั วน์ ั้นมีลักษณะบางประการแตกตา่ งกัน
ง. มนษุ ย์เป็นสตั ว์โลกท่ีไม่สามารถพึง่ ตนเองได้
จ. มนุษยเ์ ป็นสัตวโ์ ลกทส่ี ามารถพ่งึ ตนเองจงึ สามารถอยูต่ ามลาพังได้

2. มนุษยน์ สิ ยั ชวั่ ชา้ บาปหนา โหดรา้ ย ชอบสรา้ งความโหดร้ายใหก้ บั คนอ่นื คือ มนษุ ย์ประเภทใด
ก. มนษุ ย์นรก
ข. มนุษย์เปรต
ค. มนุษย์เดียรจั ฉาน
ง. มนุษย์เทวดา
จ. มนษุ ย์ซาตาน

3. ข้อใดบอกความหมายของสงั คมไม่ถกู ตอ้ ง
ก. กลมุ่ คนท่ีอยรู่ วมกนั มีการติดต่อสอื่ สารซ่ึงกันและกนั และเพ่ือตอบสนองความต้องการ
และผลประโยชน์ในการดารงชวี ิตรว่ มกนั
ข. คนจานวนหน่ึงมีความสมั พันธต์ ่อเนื่องกนั ตามระเบยี บกฎเกณฑโ์ ดยมีวัตถุประสงคร์ ่วมกนั
ค. การท่มี นษุ ย์ ท่ีมีอะไรส่วนใหญเ่ หมือนหรือคล้ายคลงึ กัน มีความสมั พนั ธ์กนั และมาอยู่ใน
เขตเดยี วกันอย่างถาวร
ง. กลุ่มคนต้งั แตส่ องคนขนึ้ ไปไดต้ ดิ ต่อสัมพันธ์กนั ในพื้นท่ีใดพ้ืนทห่ี นง่ึ ไม่จาเป็นต้องมี
วัตถุประสงคแ์ ละกฎระเบียบรว่ มกนั
จ. กลุ่มคนทีม่ าอยรู่ ว่ มกันเพราะหนีความกลัวจากภัยธรรมชาตเิ หมือนกันและมาอยรู่ วมกันมี
การตดิ ต่อซึง่ กันและกนั ระยะเวลานาน

4. ผู้ทกี่ ล่าวว่า “มนุษย์เปน็ สัตวส์ งั คม”
ก. ชารล์ ส์ ดารว์ นิ
ข. อรสิ โตเตลิ
ค. วลิ เล่ยี ม เชกสเปยี ร์
ง. โทมสั โฮม
จ. จอหน์ ล็อค

5. ทฤษฎีที่เช่อื ว่า มนุษย์แต่ดั้งเดิมนน้ั มิไดร้ วมกันอยเู่ ปน็ สงั คมเช่นปจั จุบันน้ี หากแต่มนุษยไ์ ด้
อาศยั อยตู่ ามสภาพธรรมชาติ
ก. ทฤษฎสี ัญญามนุษย์
ข. ทฤษฎีสญั ญาวฒั นธรรม

ค. ทฤษฎสี ญั ญาสงั คม
ง. ทฤษฎสี ญั ญาศาสนา
จ. ทฤษฎีสัญญาค่านิยม
6. ข้อใดไมใ่ ชอ่ งคป์ ระกอบของสังคม
ก. การมอี าณาเขตท่ีแนน่ อน
ข. การอย่รู ่วมกนั เปน็ กล่มุ
ค. มบี รรทัดฐานคลา้ ยคลึงกัน
ง. มีวฒั นธรรมเหมอื นกนั
จ. ทางานอยา่ งเป็นอสิ ระตา่ งคนตา่ งทา
7. มกี ารพัฒนาประสทิ ธภิ าพของการผลิตทางเศรษฐกิจอย่างมากท้งั ทางดา้ นเกษตรกรรมและ
อุตสาหกรรม
ก. สังคมยุคหนิ
ข. สังคมยคุ สารดิ
ค. สังคมยุคเหล็ก
ง. สังคมยคุ ทอง
จ. สงั คมยุคเงนิ
8. ข้อใดเปน็ สังคมยคุ แรกของมนุษย์
ก. สงั คมลา่ สตั ว์และเก็บของป่า
ข. สังคมเลี้ยงสตั วเ์ พ่ือการยงั ชีพ
ค. สงั คมกสกิ รรมพชื สวน
ง. สงั คมเกษตรกรรม
จ. สังคมกสกิ รรมพืชไร่

9. สงั คมอตุ สาหกรรม เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศใด
ก. อเมรกิ า
ข. อังกฤษ
ค. ญ่ีปนุ่
ง. เกาหลี

จ. จีน
10. ขอ้ ใดไมใ่ ช่หนา้ ที่สาคัญของสังคมมนุษย์

ก. เพิ่มสมาชกิ ใหม่
ข. จะต้องทาใหส้ มาชกิ มีความมน่ั คง
ค. จดั การอบรมขัดเกลาและพฒั นาสมาชกิ
ง. กระจายรายได้ให้แกส่ มาชิกอย่างทวั่ ถึง
จ. สนองความต้องการของสมาชกิ ตลอดเวลาท่เี รยี กรอ้ ง

1. ความหมายของมนุษย์
พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 (2538, หนา้ 628) ไดใ้ หค้ วามหมายคาวา่ “มนุษย์”
หมายถึง สัตวท์ ร่ี ูจ้ กั ใช้เหตุผล สัตวท์ ่ีมีจติ ใจสูง

จารุณี วงศ์ละคร (2545, หน้า 2) ได้กล่าวว่า มนุษย์ เป็นท้ัง “ชีวิต” และ “บุคคล” มนุษย์จึงเป็น
ผลผลติ ของท้ังธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม มนษุ ยท์ ุกรปู ทกุ นามจึงเป็นผลมาจากการสบื ทอดสองทาง คือ ทาง
ธรรมชาติ ซึ่งเป็นทางในกาย อันหมายเอาการสืบทอดทางชีววิทยาที่อาศัยยีนและโครโมโซม กับทาง

วัฒนธรรมซ่ึงเป็นทางนอกกาย ที่หมายเอาการสืบทอดทางวิถีชีวิตโดยการอบรมเล้ียงดูและ การ
ติดต่อส่ือสาร กล่าวคือมนุษย์มีสองลักษณะ ได้แก่ มนุษย์ในฐานะสัตว์โลก และมนุษย์ในฐานะเป็นผู้มี
วัฒนธรรม

จานง อดิวฒั นสิทธิ์ (2548, หน้า 10) ได้กล่าวว่า มนุษย์ เป็นภาวะอย่างหน่ึง ที่ประกอบด้วยรูปกับนาม
โดยเรียกรวมเป็นภาษาทั่วไปว่า “คน” หรือสัตว์โลกที่มีชีวิตชนิดหน่ึงโดยมีความแตกต่างจากสัตว์โลกชนิด
อ่ืนในเรื่องความคิด ความมีสติปัญญา รู้จักพิจารณาไตร่ตรอง ด้านหลักแห่งเหตุผล ความมีสติสัมปชัญญะ มี
จิตสานึกรับผิดชอบชั่วดี ซ่ึงกล่าวโดยส่วนรวมก็คือ มีวัฒนธรรมแตกต่างจากสัตว์โลกชนิดอ่ืน ๆ นั่นเอง
เพราะฉะนั้นมนุษยต์ ามรูปศัพท์ จึงแปลว่า ผูม้ ีจิตใจสูง มีคณุ ธรรม

ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า มนุษย์เป็นสัตว์ท่ีมีชีวิตเช่นเดียวกับสัตว์โลกทั่วไป ได้รับการอบรมเลี้ยงดู
ถ่ายทอดความรูป้ ระสบการณ์ ทาให้มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ส่งิ ต่างๆ มเี หตุผล มีความเมตตา ช่วยเหลือซ่ึงกัน
และกนั จึงทาใหม้ นษุ ยแ์ ตกต่าง จากสตั ว์โลกชนดิ อ่นื ๆ

2. ลกั ษณะสาคญั ของมนษุ ย์
ส่ิงมีชีวิต ทั้งมนุษย์และสัตว์จะมีลักษณะบางประการที่เหมือนกัน ท้ังนี้เน่ืองจากสิ่งมีชีวิตท้ังหลาย

วิวัฒนาการมาจากจุดเร่ิมต้นเดียวกัน แต่ท้ังน้ีก็มีลักษณะท่ีแตกต่างกัน หรืออาจกล่าวได้ว่ามนุษย์มีลักษณะ
พิเศษหลายประการท่ีสัตว์ต่างๆ ไม่มี ดังท่ี ณรงค์ เส็งประชา (2532, หน้า 9-11) ได้กล่าวถึงลักษณะสาคัญ
ของมนุษย์ไว้สรปุ ได้ ดังนี้

2.1 ลักษณะของมนษุ ย์และสัตวม์ อี ยรู่ ่วมกันและเปน็ ทย่ี อมรบั กันนัน้ มีดงั นี้
2.1.1 สง่ิ มีชีวติ ทกุ ชนิดต้องการอาหาร นา้ และอากาศ
2.1.2 ส่ิงมีชีวิตทุกชนิดต้องการมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด และต้องพึ่งพาอาศัยสิ่งแวดล้อมทาง

กายภาพและชีวภาพ
2.1.3 ส่งิ มชี ีวิตทุกชนิดมีความสามารถในการสืบพนั ธ์ุ
2.1.4 ถ้าสิ่งมีชีวิตขยายแพร่พันธ์ุไปเร่ือยๆ โดยไม่มีอะไรยับย้ัง ถึงจุดหน่ึงอาหารที่ใช้เลี้ยง

ชวี ติ จะขาดแคลนลง
2.1.5 เม่อื อาหารขาดแคลน ส่งิ มีชวี ติ ทงั้ หลายยอ่ มมกี ารตอ่ สแู้ ข่งขนั เพอื่ แยง่ อาหาร
2.1.6 ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดเมื่อสืบพันธุ์มีลูกหลานจะมีลักษณะเหมือนพ่อแม่แต่บางครั้งจะมี

กระบวนการผ่าเหล่า (Mutation) เนื่องจากการผสมพันธ์ุของยีน อาจจะทาให้ลูกหลานมีลักษณะแตกต่างกัน
ออกไปยงิ่ มปี ระชากรมากก็ยิง่ มีโอกาสเกดิ ความแตกต่างกนั ไดม้ ากขึ้น

2.1.7 การที่สิ่งมีชีวิตจาเป็นต้องแข่งขันแย่งอาหารกันย่อมทาให้เกิดกระบวนการคัดเลือก
ของธรรมชาติ สัตว์ท่ีได้เปรียบคือสัตว์ที่ขยายพันธุ์ได้สูงมีกาลังกายแข็งแรงฉลาดและมีความอดทน สามารถ
ปรับตวั เข้ากบั ส่ิงแวดลอ้ มได้ดี

2.1.8 เมื่อมีการคัดเลือกของธรรมชาติจึงทาให้มีการวิวัฒนาการ ของอวัยวะต่างๆ และ
วิวัฒนาการของพฤติกรรมตามมา สัตว์ชนิดใดท่ีสามารถมีวิวัฒนาการของอวัยวะในทางท่ีได้เปรียบจะก่อให้เกิด
ประโยชนม์ ากกวา่ ก็อยู่รอดได้มากกวา่

2.2 ลักษณะของมนุษย์ตา่ งจากสัตว์ มีดงั น้ี
2.2.1 มีความสามารถในการเรียนรู้ได้อย่างมากมายผิดจากสัตว์ประเภทอ่ืนๆ ลักษณะนี้ทา

ให้มนุษย์สามารถพัฒนาการปรับตัวต่อส่ิงแวดล้อมได้ดี สาหรับการเรียนรู้ของมนุษย์นั้นอาศัยระบบ
สญั ลักษณ์

2.2.2 มีสมองท่ีใหญ่ และ มีคุณภาพทาให้มีสติปัญญาในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่างๆ เพ่ือ
ประโยชน์ในการดารงชวี ิต สามารถบันทึกเรื่องราวตา่ งๆไวไ้ ด้มากมาย

2.2.3 สามารถเดินได้รวดเร็วมีร่างกายต้ังตรงกับพื้นโลกทาให้เคล่ือนไหว ร่างกายได้รอบตัว
และรวดเร็ว

2.2.4 มนี ้วิ มือท่ีชว่ ยใหท้ าหรอื ประดิษฐส์ ่งิ ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งละเอยี ด
2.2.5 มีตาท่ีสามารถมองเห็นส่ิงต่างๆ ได้ดี โดยมองเห็นได้ในระยะไกลและมองเห็นได้อย่าง
ชัดเจน นอกจากนน้ั ดวงตาท่ีตงั้ อยู่ในตาแหนง่ ทเ่ี หมาะสม
2.2.6 มีอายุที่ยืนยาวกว่าสัตว์ชนิดอ่ืน ๆ จึงทาให้สามารถเรียนรู้สะสมประสบการณ์พร้อมท่ี
จะถ่ายทอดกนั ไดม้ ากกวา่ และมีความสมั พันธก์ ันหลายรุ่นหลายวัย
2.2.7 โดยปกติแล้วมนุษย์เป็นสัตว์สังคม การมาอยู่รวมกันเป็นกลุ่มทาให้โอกาสที่จะสะสม
ความรแู้ ละประสบการณด์ กี วา่ อยู่เพยี งคนเดียว
2.2.8 ในวัยเยาว์ มีความจาเป็นจะต้องพึ่งพาอาศัยผู้อ่ืนในการเล้ียงดู เพื่อตอบสนองความ
ต้องการพื้นฐาน เช่น อาหาร ท่ีอยู่อาศัย ความปลอดภัยและการอบรมเล้ียงดูจะใช้เวลายาวนานกว่าสัตว์
ประเภทอนื่ ๆ ทาให้เกิดการเรยี นร้แู ละการเลียนแบบ
2.2.9 มนุษยม์ ีกจิ กรรมทางเพศตั้งแต่วัยหนุ่มสาวจนถึงวัยชราโดยตลอดไม่มีเว้นช่วงเวลา ทาให้
การอยูร่ ว่ มกันระหวา่ งชายและหญิงมเี สถียรภาพ จงึ สามารถทาการวางแผนประชากรได้ดี
2.2.10 มนุษย์สามารถเรียนรู้และมีความเฉลียวฉลาดโดยรู้จักการใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
และพัฒนาวฒั นธรรม
2.2.11 มนุษย์มีเครื่องมือในการสื่อความหมาย จึงทาให้เกิดการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยน
เรียนรถู้ า่ ยทอดวัฒนธรรมไดด้ ี
2.2.12 มนุษย์ได้เปรียบกวา่ สัตวอ์ ่ืนๆ เพราะกนิ อาหารได้มากชนิดทั้งพชื และสัตว์

ภาพที่ 1.1 รา่ งกายของมนุษยต์ ้งั ตรงกบั พน้ื โลก
ท่มี า : https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=angel-

touch&month=02-10-2009&group=4&gblog=108
(สบื ค้น 9 มกราคม 2558)

ภาพที่ 1.2 ร่างกายของสัตว์ขนานกับพื้นโลก
ทม่ี า : http://thongkum.blogspot.com/2015/11/blog-post_67.html
(สืบค้น 9 ธนั วาคม 2558)
ถึงแม้มนุษย์จะเป็นสัตว์โลกชนิดหน่ึง แต่มีลักษณะเด่นทางกายภาพ มีพฤติกรรม จิตภาพซ่ึงมีผลต่อ
สตปิ ัญญาและความสามารถในการเรยี นรู้ มสี ติปัญญาในการประดษิ ฐ์ คิดค้นและมีจิตวิญญาณ สุนทรียภาพ
มีลักษณะพฤติกรรมทตี่ ้องอาศัยสงั คมในการดาเนินชีวิตเพ่ือพัฒนาความเจรญิ งอกงาม
3. พฤตกิ รรมของมนุษย์
พฤติกรรมของมนุษย์ น้นั มผี ลสืบเนอื่ งมาจากการอบรมเล้ียงดตู ั้งแต่แรกเกิดในสังคมท่มี นุษยอ์ าศัยอยู่
โดย มนษุ ย์จะมีพฤติกรรมที่แตกต่างกนั ไป ซง่ึ มีผ้ใู หค้ วามหมายของพฤติกรรรมไว้ดังต่อไปน้ี
จุฑารัตน์ เอื้ออานวย (2551, หน้า 5) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรม (Behavior) ว่า การ
แสดงหรือการกระทาที่มองเห็น และสังเกตได้ของส่ิงมีชีวิต ซ่ึงเรียกว่า “พฤติกรรมภายนอก” (Overt

behavior) เช่น พูด เดิน กิน นอน ร้องไห้ เล่น เรียน ฯลฯ เป็นต้น และ ในกรณี ท่ีมองไม่เห็นหรือ สังเกต
ไม่ได้ เพราะเป็นกระบวนการทางจติ อาจใชเ้ ครือ่ งมือทดสอบ หรือ ทดลองได้ เรียกว่า “พฤติกรรมภายใน”
(Covert behavior) เช่น การรบั รู้ ความคดิ การจา และการรูส้ ึก เปน็ ตน้

ศิรินภา จามรมาน และ ปนัดดา ชานาญสุข (2553, หน้า 23) ได้ให้ความหมายของ
พฤติกรรม ว่า พฤติกรรมของมนุษย์สามารถแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น พฤติกรรมภายนอกและ
พฤติกรรมภายใน พฤติกรรมของม นุษย์เกี่ยว ข้อง กับการกระตุ้นเร้าจากส่ิงแวดล้อมที่มีชีวิตและ
สิ่งแวดลอ้ มทีไ่ มม่ ชี วี ติ สิ่งแวดล้อมที่เปน็ รปู ธรรมและสิ่งแวดล้อมทเี่ ปน็ นามธรรม

อาไพ หมื่นสิทธิ์ (2553, หน้า 62) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรม ว่าการกระทาทุกอย่างท่ี
ผู้กระทาแสดงออกมาทั้งที่โดยรู้สึกตัวและไม่รู้สึกตัวซึ่งผู้อื่นอาจสามารถสังเกตได้และไม่อาจสังเกตได้ ท้ังนี้
เพอื่ ตอบสนองตอ่ สง่ิ ใดสิง่ หน่ึง

ดังน้ัน สรุปได้ว่า พฤติกรรม หมายถึง การกระทาที่แสดงออกของมนุษย์จากตอบสนองต่อ
สิ่งแวดล้อมอาจจะรู้สึกตัวหรือไม่รู้สึกตัว การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์นั้น ข้ึนอยู่กับพันธุกรรมและสภาพ
สงั คมทมี่ นุษย์อาศัยอยู่

4. ประเภทของมนษุ ย์
มนุษย์มคี วามเปน็ อยู่ที่แตกตา่ งกนั ตามการกระทาของตนท้งั ในอดีตและปจั จบุ ัน ซ่ึงโดยลักษณะการ

กระทาของมนุษย์ นั้น ทาให้สามารถแยกมนุษย์ออกเป็น 4 ประเภท ดังท่ี คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั (2559, หน้า 4) สรปุ ได้ ดงั น้ี
4.1 มนุษย์นรก หมายถึง มนุษย์มีนิสัย ช่ัวช้า บาปหนาโหดร้ายชอบสร้างความโหดร้ายให้กับคนอ่ืนเป็นอย่าง
มาก ฆ่าสัตว์ ฆ่าคน ลักขโมย มนุษย์พวกน้ี ไม่ชอบอยู่บ้านเหมือนบุคคลทั่วไปกลับชอบอยู่ในคุกในตะราง
หมดอสิ รภาพ ทนทกุ ขท์ รมานแสนสาหสั
4.2 มนุษย์เปรต หมายถึง มนุษย์ที่มีชีวิตความเป็นอยู่อย่างยากลาบาก แสวงหาอาหารผ้านุ่งผ้าห่มเท่านั้น
กว่าจะได้ก็ยากลาบาก แม้จะมีความเพียรขยันหาทรัพย์อย่างไร ก็ไม่พอใช้ และไม่พอกิน มีแต่ความ อด
อยาก ที่ไหนดีหากินสะดวก ก็ไปท่ีนั้น พอไปถึงตรงนั้นกลับไม่เจริญ คนมักเรียกคนประเภทนี้ว่า “คน
กาลกิณ”ี
4.3 มนุษย์เดียรัจฉาน หมายถึง มนุษย์บางจาพวกที่มักอาศัยอยู่กับผู้อ่ืน เหมือน แมว ม้า หมู เป็ด ไก่ สุด
แลว้ แต่นายจะใช้ให้ทาอะไร หลังจากทางานเสรจ็ แลว้ เจา้ นายจะให้อะไรท่ีถูกใจหรือไม่ถูกใจ ก็ต้องรับเอาใจ ถึง
คราวเจ้านายดุด่าว่า ก็เกิดความสะดุ้งหวาดกลัว หาความสะดวกสบายไม่ได้ เพราะเป็นคนมีกรรม ไม่มี
ความคดิ ที่จะเลี้ยงชพี ของตนโดยความอสิ ระ ต้องทนทุกขต์ ่อความเป็นทาสอย่างแสนสาหัส

4.4 มนษุ ยเ์ ทวดา หมายถึง มนษุ ยท์ ร่ี จู้ ักส่งิ ใดเป็นประโยชน์ ส่ิงใดเป็นโทษ รจู้ กั บาปบญุ
คุณโทษ ตั้งใจประพฤติตนอยู่ในความดี มีศีล 5 มีความละอาย และเกรงกลัวต่อบาป เป็นมนุษย์ผู้ใจสูง
บาเพ็ญบุญกุศลอยู่เป็นประจาทั้งทากับตนเองและชักชวนคนอ่ืน มนุษย์ประเภทน้ีเป็นประดุจเทพบุตร
เทพธดิ าท่จี ุตลิ งมายงั โลกมนษุ ย์

ดังน้ัน สัตว์โลกแต่ละชนิดได้เกิดขึ้นเป็นสัตว์นรก เป็นเปรต และเป็นสัตว์เดียรัจฉาน ล้วนเป็นผล จากการ
กระทาของมนษุ ยค์ รง้ั ยังมีชีวิตอยู่ภูมิหลังของมนุษย์มีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการดารงชีวิต ซ่ึงสอดคล้องกับ
พุทธภาษิตว่า “กัมมุนา วัตตะตี โลโก” แปลว่า “สัตว์โลก ย่อมเป็นไปตามกรรม” ใครทากรรมดี ย่อม
ได้รับผลดี ใครทากรรมชว่ั ย่อมได้รบั ผลชัว่ อุปสรรคของการเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ พระมหาสนอง ปัจโจปกา
รี (2553, หน้า 36-38) ได้กลา่ วไว้ ดังนี้
1) โลภะ ได้แก่ ความอยากได้อยากมี หมายถึง การอยากได้ไม่รู้จักพอจนนาไปสู่การกระทาผิดกฎหมายและ
ศลี ธรรมอนั ดีงามของสังคม
2) โทสะ ได้แก่ ความคดิ ประทุษร้าย หรือ ความอาฆาตพยาบาท
3) โมหะ ไดแ้ ก่ ความหลง หมายถึง ความไม่รู้ในสิ่งท่ีเป็นคณุ และโทษ เช่น เห็นกงจกั รเปน็ ดอกบวั
4) มานะ ไดแ้ ก่ ความถือตัว หรอื ทะนงตัว ชอบจินตนาการ และเพ้อฝันในเร่ืองทไี่ รส้ าระ
5) ทิฐิ ได้แก่ ความเห็นผิด หมายถึง ความเข้าใจท่ีคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง ประมาท รวมถึงความมักง่าย
เห็นแกต่ ัว
6) วิจกิ จิ ฉา ได้แก่ ความลังเลสงสัย ในหลักการ และ อุดมการณ์ของชีวิต ทาให้เสียเวลาและโอกาสในการ
สร้างสงิ่ ท่เี ปน็ ประโยชน์และคณุ งามความดีสาหรับตนเองและสังคม
7) ถีนะ ได้แก่ ความท้อแท้ หมายถงึ ความถดถอยในภารกิจที่จาเป็นต้องกระทาเพื่อการอยู่รอดของชวี ติ
8) อทุ ธัจจะ ไดแ้ ก่ ความฟุง้ ซา่ นจนเกินเหตุ หมายถึงอาการหงุดหงิดและกระวนกระวายใจ ซ่ึงเรียกว่า “ใจ
รอ้ น” ขาดความอดทนและหนักแนน่ ซงึ่ เรียกว่า “โรคจติ ”
9) อหริ ิกะ ได้แก่ ภาวะแหง่ การไม่ละอายตอ่ ความชั่ว หมายถงึ ความเปน็ คนหนา้ ด้านใจหยาบ
10) อโนตตัปปะ ได้แก่ ความไม่เกรงกลัวต่อความช่ัว หมายถึง ความไม่สะดุ้งกลัวต่อผลกรรมท่ีเป็นอกุศล
เรียกวา่ “ติดคกุ เปน็ ว่าเลน่ ”
กิเลสทง้ั สบิ ประการ ถือว่าเปน็ อุปสรรคสาหรับหนทางนาไปสู่ความเปน็ มนุษยท์ ่ีสมบูรณ์
ฉะน้นั มนุษย์จะต้องกาจัดกิเลสเหลา่ นเี้ สียกอ่ น เพอ่ื ท่ีจะเข้าสคู่ วามเปน็ มนุษยท์ ่ีสมบูรณ์
ชวี ติ มนุษย์กบั แนวพระพุทธศาสนา ความหมายของชีวิต “ชีวิต คือความเป็นอยู่” ตรงข้ามกับความตาย ผู้ที่
มชี วี ติ คอื ผู้ท่ยี งั เปน็ อยู่ ถา้ หากว่า ไมเ่ ป็นอยู่ คือ ตาย กไ็ มเ่ รียกวา่ “ชวี ติ ”
หลวงวิจิตรวาทการ ได้กล่าวไว้ว่า “ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรูคือยากาลัง อุปสรรคคือทางแห่งความสาเร็จ”
ความหมาย คือ ทุกชีวิตต้องด้ินรนต้องต่อสู้ ต้องทาการงาน ดังคาว่า “ ชีวิตไม่ส้ิน ก็ต้องดิ้นต่อไป ชีวิต
ไมด่ ิน้ มันก็สิน้ ใจ” กต็ อ้ งต่อสตู้ ลอดเวลานบั ต้ังแตว่ นั ที่เกดิ มาเปน็ ทารกจนถึงวาระสุดทา้ ยแห่งชวี ติ ”
วิลเลยี่ ม เชกสเปียร์ กวเี อกชาวอังกฤษได้กลา่ วไว้วา่ “ชวี ติ เป็นเพียงเงาที่เดินไดเ้ ท่านนั้ ”
แสดงให้เห็นว่า เขา ได้มองชีวิตว่า เป็นสิ่งที่ไม่จีรังย่ังยืน ไม่เป็นของจริง ไม่เป็นแก่นสารเหมือนเงาที่ไม่ใช่
ของจริง

5. ความหมายและความเป็นมาของสงั คม

คาว่า “สังคม” น้นั มผี ้ใู ห้ความหมายไวเ้ ป็นจานวนมากซ่ึงอาจแตกตา่ งกันออกไปตามพน้ื ฐาน
แนวคิดของแตล่ ะคน ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

ทศั นีย์ ทองสว่าง (2549, หน้า 2) ได้ให้ความหมายของสังคมว่า สังคม หมายถึง กลุ่มคนมากกว่า
สองคนขึ้นไปได้มาอยู่ร่วมกันเป็นระยะเวลายาวนานในพ้ืนท่ีใดพื้นท่ีหนึ่ง หรือขอบเขตท่ีกาหนด
ประกอบด้วยสมาชิกทุกเพศทุกวยั ที่มกี ารติดต่อสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยมีระเบียบแบบแผนหรือวัฒนธรรม
ในการดาเนนิ ชวี ติ โดยวธิ กี ารต่าง ๆ เช่น การซ้ือขาย หรอื การแลกเปลีย่ นกบั สงั คมอ่นื ๆ นอกจากน้ีสังคมยัง
ต้องหาวิธีการต่าง ๆ ทาให้สมาชิกอยู่ร่วมกันได้ด้วยความสงบสุข เช่น มีระเบียบกฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกัน
มกี ารควบคุมทางสงั คม มีการแบ่งงานกันทาและ มีสมาชิกใหมส่ บื แทนสมาชิกเก่า

สุดา ภิรมย์แก้ว (2553, หน้า 67) ได้ให้ความหมายของสังคมว่า สังคม หมายถึง กลุ่มคน
มากกว่าสองคนข้ึนไป ได้มาอยู่รวมกันเป็นระยะเวลายาวนาน ในขอบเขต หรือ พ้ืนท่ีที่กาหนด สมาชิก
ประกอบด้วยทุกเพศทกุ วยั ซ่งึ มีการติดต่อสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน โดยมีวัฒนธรรมหรือระเบียบแบบแผนในการ
ดาเนนิ ชีวติ เป็นของตนเอง และที่สาคัญทีส่ ุด คอื สามารถเลยี้ งตัวเองได้

มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2555, หน้า 62) ได้ให้ความหมายของสังคมว่า สังคมหมายถึง
กลุม่ คนทม่ี ีการจดั ระเบียบในการมีชีวิตอยู่ร่วมกัน มีแบบแผนการดาเนินชีวิตในรูปแบบเดียวกัน และทุกคน
มคี วามรู้สึกเปน็ สมาชิกของสงั คม

สรุปว่า สังคมหมายถึง กลุ่มคนต้ังแต่สองคนข้ึนไปได้มาอยู่รวมกันในพ้ืนท่ีใดพ้ืนที่หนึ่งซ่ึงมี
วัตถุประสงคร์ ่วมกัน มกี ารพงึ่ พาอาศยั ซ่ึงกันและกันดาเนนิ ชวี ิตภายใตก้ ติกา กฎระเบยี บอันเดยี วกัน

ความเป็นมาของสังคมมนุษย์นั้น ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าสังคมมนุษย์เกิดขึ้นเม่ือใดแต่ก็มี
นักปราชญ์หลายท่าน ได้ให้แนวคิดเก่ียวกับการอยู่รวมกันของมนุษย์จนเกิดเป็นสังคมมนุษย์ ดังที่ อาไพ
หมน่ื สทิ ธ์ิ (2553, หนา้ 31-33) กล่าวไว้สรปุ ไว้ ดงั น้ี
อริสโตเติล (Aristotle) นักปราชญ์ชาวกรีก (384-322 ก่อน ค.ศ.) กล่าวว่า “มนุษย์เป็นสัตว์สังคม”
(social animal) เขาเช่อื ว่า มนุษย์โดยสภาพธรรมชาติ จะต้องมีชีวิตอยู่รวมกับบุคคลอ่ืนๆ ติดต่อสัมพันธ์
ซ่ึงกันและกัน ไม่สามารถดารงชีวิตอยู่อย่างอิสระตามลาพังแต่ผู้เดียวได้ สังคมจึงเกิดข้ึน จะไม่มีมนุษย์อยู่
โดดเดี่ยวในโลก เพราะคนเดียวไม่อาจสืบเชื้อสายวงศ์ตระกูล ได้ ไม่สามารถป้องกันตนเองได้ และไม่
สามารถเลย้ี งชีพอยู่ได้นาน ไม่อาจบารุงสติปญั ญา ความคดิ และมกี าลังเพยี งพอ

ส่วนนักปราชญก์ ลมุ่ หน่งึ ให้ความเห็นว่าสังคมเป็นผลของสัญญาท่ีมนุษย์ตกลงจัดทาขึ้นด้วยความ
สมัครใจของมนุษย์เอง วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสังคม เพื่อขจัดความโหดร้ายทารุณ และ ความยุ่งยาก
สับสนต่างๆ ตามสภาพธรรมชาติของมนุษย์ แนวความคิดของนักปราชญ์กลุ่มน้ีเรียกว่า “ทฤษฎีสัญญา
สังคม” (Social Contract Theories of Society) เป็นทฤษฎีท่ีเชื่อว่ามนุษย์ แต่ด้ังเดิมนั้นมิได้
รวมกนั อยเู่ ปน็ สังคมเช่นปัจจบุ นั แตม่ นุษย์ได้อาศัยอยู่ตามธรรมชาติ แต่เน่ืองจาก ความช่ัวร้ายความยุ่งยาก
การเพ่ิมจานวนของมนุษย์ ตลอดจนอารยธรรม เป็นเหตุให้มนุษย์จาต้องละทิ้งสภาพธรรมชาติ และหันมา

สัญญาด้วยความสมัครใจท่ีจะอยู่ร่วมกันในสังคม ท้ังน้ีโดยมุ่งหวังท่ีจะได้รับความคุ้มครองและประโยชน์สุข
เป็นการตอบแทน

บุคคลสาคัญท่ีเป็นเจ้าของทฤษฎีสัญญาสังคม ได้แก่ Thomas Hobbes, John Locke และ
Jean Jacques Rousseau ซึ่งแนวคิดของนกั ปราชญ์ดังกล่าวมี ดังน้ี

โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) เป็นชาวอังกฤษ เกิดใน ค.ศ. 1588 มีความเชื่อว่าก่อนที่
มนษุ ย์จะมาอย่รู วมกนั ในสังคมน้ันมนุษย์มีชีวิตอยู่ตามธรรมชาติซ่ึงเป็นสภาพที่ปราศจากสังคม รูปแบบการ
ปกครองหรือรัฐบาล ไม่มีกฎหมายและความยุติธรรม เขามีความเห็นว่า มนุษย์ตามธรรมชาติ มีความ
ต้องการ (desire) และเหตุผล (reason) แต่มนุษย์มีความต้องการมากกว่าเหตุผล ดังน้ันการใช้พละกาลัง
จึงเปน็ เครอื่ งมืออันเดียวทจ่ี ะควบคุมสิทธขิ องมนษุ ย์ตามธรรมชาติ มนุษย์ตามสภาพธรรมชาติ จึงมีแต่ความ
โหดร้ายและเห็นแก่ตัว เขาอธิบายว่า เพื่อขจัดภาวะอันช่ัวร้ายดังกล่าว มนุษย์จึงสัญญา เพ่ือจะเข้ามาอยู่
ร่วมกันในสังคม โดยละท้ิงสภาพธรรมชาติที่เลวร้ายเหล่าน้ันเสีย ทั้งน้ีโดยมีเหตุผลที่จะได้รับการพิทักษ์
รกั ษาตน

จอห์น ล็อค (John Locke) ชาวอังกฤษ เกิดใน ค.ศ.1632 มีความเช่ือว่า “แต่เดิมมนุษย์มีชีวิต
อยู่ตามสภาพธรรมชาติท่ีปราศจากสังคม แต่ในสภาพธรรมชาติน้ัน ก็เต็มไปด้วยสันติภาพและเมตตาธรรม
การอุปการะเออื้ อาทรต่อกนั และกนั และการอนุรักษ์” “สภาพธรรมชาติน้ันไม่ได้ขาดกฎหมาย เพราะมนุษย์
อยู่ภายใต้กฎธรรมชาติ (law of nature) อยู่แล้ว และย่อมมีสิทธิต่างๆ ตามธรรมชาติ (natural right)
เนื่องจากความยุ่งยากสับสนในการตีความเก่ียวกับมนุษย์จึงตกลงสัญญาท่ีจะอยู่ร่วมกันในสังคมเพ่ือความ
สงบเรียบรอ้ ย

ฌอง ฌาค รุสโซ (Jean Jacques Rousseau) เป็นชาวฝรั่งเศส เกิดในปี ค.ศ. 1712 มี
ความเหน็ ว่า สภาพธรรมชาตินั้นเต็มไปด้วยความสุขสูงสุด มนุษย์ตามธรรมชาติมีชีวิตความเป็นอยู่อย่างง่ายๆ
และ มีความสะดวกสบาย ไม่ต้องดิ้นรนต่อสู้ หรือเกิดความยุ่งยากใดๆ เลย แต่มีปัจจัย สองประการ ที่
กระตุ้นให้มนุษย์จาต้องมารวมกันอยู่ในสังคม คือมนุษย์มีจานวนสมาชิกเพ่ิมมากขึ้นประการหน่ึง และอีก
ประการหน่ึงคือ อารยธรรม หรือความเจริญสมัยใหม่ ซึ่งปัจจัยดังกล่าวน้ีเป็นเหตุให้เกิดการกดขี่ข่มเหง
และ การเบียดเบียนซงึ่ กันและกัน ดังนั้นมนุษย์จึงถูกบังคับให้ละท้ิงสภาพอันสุขสมบูรณ์น้ัน แล้วมาร่วมกัน
สัญญาสังคมขึน้ ทงั้ นี้ เพอ่ื ให้ไดม้ าซง่ึ ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อยและความยตุ ิธรรม

จากแนวคิดดังกล่าว เป็นการอธิบายเหตุผลของการมาอยู่ร่วมกันของมนุษย์จนเกิดเป็นสังคมน้ัน
ซ่ึงนักปราชญ์แต่ละท่านได้พยายามอธิบายตามแนวคิดทฤษฎีของตน อย่างไรก็ตามอาจสรุปสาเหตุสาคัญที่
ทาให้มนษุ ยจ์ าเปน็ ต้องมีการรวมกล่มุ เปน็ สงั คมหลายประการ

6. สาเหตทุ าให้เกิดสงั คมมนุษย์
มนษุ ยม์ ีความจาเปน็ ต้องพ่ึงพาซ่งึ กนั และกัน เพราะมนุษย์มีความรู้ความสามารถแตกต่าง กัน จึง

ต้องมีความสัมพันธ์ต่อกัน ต้องเรียนรู้วิถีดาเนินชีวิตเพ่ือความอยู่รอดของชีวิตจาเป็นต้องอยู่ร่วมกัน ดังที่

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2555, หน้า 62-63) ได้กล่าวถึง สาเหตุที่ทาให้มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคมด้วย
เหตผุ ลท่สี าคัญ คอื

6.1 เพ่ือสนองความต้องการข้ันพื้นฐานของมนุษย์ ความต้องการขั้นพ้ืนฐาน หรือ ความต้องการ
อันจาเป็นของมนษุ ย์ คอื ส่งิ ท่มี นุษย์จะต้องแสวงหาเพ่ือที่มนษุ ยจ์ ะสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ ความต้องการอัน
จาเป็นเหล่าน้ีบางอย่างก็เหมือนกับสัตว์อื่นแต่บางอย่างก็เป็นความต้องการของมนุษย์โดยเฉพาะ ความ
ตอ้ งการเหล่านี้ คอื

6.1.1 ความต้องการของชีวภาพ หมายถึงความต้องการสิ่งท่ีจาเป็นแก่การมีชีวิตอยู่ของมนุษย์
เชน่ อาหาร อากาศ ยารักษาโรค เป็นตน้ ความตอ้ งการเหล่าน้ีสว่ นใหญ่คลา้ ยคลึงกับของสตั วอ์ นื่

6.1.2 ความต้องการทางกายภาพ คาว่า กายภาพ หมายถึงวัตถุส่ิงต่างๆ เช่น บ้านเรือน
เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ต่างๆ แสงสว่าง ความร้อน วัตถุส่ิงของเหล่าน้ี มีความสาคัญต่อการดารงอยู่
ของมนษุ ย์

6.1.3 ความต้องการทางด้านจิตวิทยา หมายถึง ความต้องการต่างๆ ที่เกี่ยวกับจิตใจเช่น
ต้องการความรัก เห็นใจ ปลุกปลอบใจ เม่ือมีทุกข์ หรือผิดหวัง ต้องการให้ผู้อ่ืนให้ความสาคัญของตน เมื่อ
ประสบความล้มเหลวหรือท้อแท้ก็ให้กาลังใจ ชมเชยเมื่อทาความดี ซ่ึงความต้องการในด้านนี้ส่วนใหญ่เป็น
ลักษณะเฉพาะของมนุษยน์ ั่นเอง

6.1.4 ความตอ้ งการดา้ นสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ความต้องการด้านน้ี มี
ความสาคัญต่อมนุษย์ เพราะการได้คบหาสมาคมกับผู้อื่น เป็นการถ่ายทอดวัฒนธรรม หรือให้สัตว์สังคม
กลายเป็นมนษุ ย์นน่ั เอง

6.2 เพ่ือความเป็นมนุษย์อย่างสมบูรณ์ สิ่งสาคัญในเร่ืองน้ี คือ “วัฒนธรรม” ซ่ึงประกอบด้วยภาษา
และแบบแผนในการดารงชวี ิต โดยมนุษยไ์ ดใ้ ชใ้ นการขดั เกลาและหล่อหลอมบุคคล เพอ่ื ให้มีความเป็นมนุษย์
โดยผ่านสถาบันพื้นฐาน คือครอบครัว เพ่ือสร้างความสานึกความประทับใจ โดยเห็นคุณค่าทางวัฒนธรรม
และแบบแผนพฤตกิ รรมต่างๆ ทสี่ งั คมยอมรับเพื่อให้อยูร่ ว่ มกบั คนอ่ืนได้

6.3 เพื่อทาให้สามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับตนเองและกลุ่ม เพราะวัฒนธรรมได้
รวบรวมสะสมความรู้ความชานาญของสังคมไว้ และความรู้ความชานาญน้ีจึงทาให้มนุษย์มีการประดิษฐ์
คิดค้นส่ิงแปลกๆ ใหม่ๆ อันเป็นประโยชน์แก่ตนเองและสังคมเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ นอกจากน้ันการมีภาษายังทา
ให้มนุษยส์ ามารถเผยแพรค่ วามรคู้ วามชานาญให้กว้างขวางออกไปอีก

7. องคป์ ระกอบของสังคม
จากการท่ีมนุษย์มาอยู่รวมกันก่อให้เกิดเป็นสังคมมนุษย์ เม่ือพิจารณาสังคมทุกสังคมจะมี

องค์ประกอบท่ีสาคญั ดงั ท่ีพระมหาสนอง ปัจโจปการี (2553, หนา้ 49-50) กลา่ วสรปุ ไว้ ดังนี้
7.1 การมีอาณาเขตท่ีแน่นอน (Territory) หมายถึง เม่ือคนมาอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มจะต้องมี

ดินแดนหรือมีอาณาบริเวณที่มีขอบเขตให้รู้กันภายในสังคมว่าดินแดนหรือบริเวณของตนมีขอบเขต แค่ไหน
ตรงไหนท่ไี มใ่ ชด่ ินแดนหรอื บรเิ วณของตน

7.2 การอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม (Group Living) หมายถึง ลักษณะการดารงชีวิตของมนุษย์ในฐานะ
ท่ีเป็นสัตว์สังคม เพื่อประโยชน์แห่งการช่วยเหลือซ่ึงกันและกันอย่างเป็นปึกแผ่น โดยปกติธรรมชาติของ
มนุษย์มลี ักษณะนีอ้ ยู่แล้ว คอื ชอบอยู่รวมกันเพราะมนษุ ยเ์ ป็นสัตว์สงั คม

7.3 การรู้ว่าใครเป็นพวกของตนหรือใครไม่ใช่พวกของตน (Discrimination) หมายถึง สมาชิก
ของสงั คมเดียวกันสามารถท่จี ะทราบได้ว่าใครเป็นพวกเดียวกับตน และใครไม่ใช่พวกเดียวกับตน เช่นสังคม
ชนบททมี่ สี มาชิกของสงั คมขนาดเลก็ รู้จักกนั เป็นอยา่ งดี ถา้ มีบุคคลอื่นท่ีไม่ใช่สมาชิกของตนหรือมีคนแปลก
หน้าเขา้ มา จะบอกไดท้ นั ทีว่าบุคคลน้ันไมใ่ ช่สมาชกิ ของตน ซง่ึ ตรงกันขา้ มกบั สงั คมเมือง

7.4 การมีความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์กัน (Relation and Interaction) หมายถึง การท่ีบุคคล
มาอยู่รวมกันจาเป็นจะต้องมีสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์กัน ถ้าบุคคลใดก็ตามแม้ว่าจะมีอาณาบริเวณเป็นกลุ่ม
แต่ถ้าไม่มีความสัมพันธ์หรือปฏิสัมพันธ์จะเรียกว่า สังคมไม่ได้ เช่น บุคคลที่มารอขึ้นรถประจาทาง หาก
บุคคลเหล่านไ้ี ม่มีความสัมพนั ธ์หรอื ปฏิสัมพันธ์กันจะเรยี กว่าสงั คมไม่ได้

7.5 มีการแบง่ หน้าทีท่ างานอยา่ งเป็นกิจจะลักษณะ (Division of Labor) หมายถึงจัดสรรภารกิจ
ให้สมาชกิ ทาตามความรคู้ วามสามารถ และความถนัดอย่างมีระบบ และเป็นทีม สมาชิกที่อยู่ร่วมกันภายใน
สงั คมจะตอ้ งมีการรว่ มมอื ช่วยเหลือซึ่งกนั และกนั ของสมาชกิ

7.6 มบี รรทดั ฐานคล้ายคลึงกัน (Social norms) หมายถึง สมาชิกในสงั คมนน้ั ต้องมีมาตรฐานใน
การดาเนินชีวิตท่ีสอดคล้องกันหรือคล้ายคลึงกัน โดยเฉพาะในเรื่องกฎเกณฑ์ ค่านิยม ความเช่ือ และ
วฒั นธรรมประเพณี

8. ประเภทของสังคม
ในการศึกษาสังคมมนุษย์ โดยเฉพาะการแบง่ ประเภทของสังคมนนั้ มีนักวชิ าการได้แบง่ ไวห้ ลาย

ประเภทดว้ ยกนั โดยจะอาศัยหลักเกณฑล์ กั ษณะทางด้านสังคมท่ีมคี วามแตกตา่ งกนั ในการแบ่งประเภท
ของสังคม ดงั ท่ีพระมหาสนอง ปจั โจปการี (2553, หนา้ 50-54) กล่าวสรปุ ไว้ ดงั น้ี

8.1 แบ่งตามลักษณะขน้ั ความเจริญทางเศรษฐกจิ
แบ่งเปน็ 5 ประเภท คือ
8.1.1 สงั คมทีม่ ีระบบเศรษฐกิจแบบด้ังเดิม (Traditional Society) เป็นสังคมดั้งเดิมที่มนุษย์

ผูกพนั อย่กู บั จารตี ประเพณเี ป็นอย่างมาก การขยายตัวทางเศรษฐกจิ มนี ้อยเพราะอาชีพหลัก คือ การเกษตรนั้น
ยงั ไม่มีเทคโนโลยีเกิดข้นึ มากนกั ผลผลิตจึงมีนอ้ ย ครอบครัวเป็นหน่วยสังคมท่สี าคัญทส่ี ุด

8.1.2 สังคมเตรียมการพัฒนา (Precondition for Take-off) เป็นระยะที่สังคมได้มีการ
ติดต่อค้าขายกับสังคมภายนอกมากข้ึน สถาบันสังคมเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน อย่างชัดเจน การ
ประกอบอาชีพเร่ิมพัฒนามากข้ึนท้ังในด้านปริมาณและคุณภาพ มีการขยายตัวเพื่อเพิ่มคุณภาพการผลิต
ผลผลิตกลายเปน็ การผลิตเพอ่ื การค้ามากขน้ึ มกี ารนาเทคนิควธิ ีการใหม่ๆ มาใช้มากข้นึ

8.1.3 สังคมเข้าสู่กระบวนการพัฒนา (Take-Off Stage) เป็นระยะที่สังคมมีการตื่นตัวด้าน
การเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การศึกษา โดยภาคอุตสาหกรรมได้รับความสนใจมากเป็นพิเศษ
อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ เพ่ิมขน้ึ อย่างรวดเร็วมาก

8.1.4 สงั คมทะยานเข้าสู่ภาวะของความอุดมสมบูรณ์ (Drive –to Maturity Stage) เป็นผล
มาจากสังคมที่ขยายตัวข้ึน ซ่ึงทาให้ความเป็นอยู่ของสมาชิกในสังคมมีความสะดวกสบายมากขึ้น มีการ
ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีต่างๆ การจดั สรรทรพั ยากรอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

8.1.5 สังคมอุดมสมบูรณ์ (Stage of High Mass Consumption) เป็นสังคมท่ีสมาชิกใน
สังคมน้ัน มีมาตรฐานการครองชีพสูงมาก โดยมีเครื่องมือที่มีคุณภาพสูงคอยอานวยความสะดวก วิถีชีวิต
ส่วนใหญ่จะมีส่วนเก่ียวข้องอยู่กับเทคโนโลยีสมัยใหม่อย่างมาก ประชาชนจะมีความรู้สึกมั่นคงดารงอยู่ใน
สงั คมอย่างมคี วามสขุ

8.2 แบง่ ตามเครอ่ื งมือเครอื่ งใช้
เป็นการแบ่งสงั คมตามประเภทของโบราณวตั ถตุ ่างๆ ที่ค้นพบ แบ่งเปน็ 3 ประเภท คือ
8.2.1 สังคมยุคหิน เป็นสังคมท่ีเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ของมนุษย์ทาด้วยหิน ชีวิตความเป็นอยู่แบบ

ง่ายๆ พ่ึงพาอาศัยธรรมชาติเป็นหลัก โครงสร้าง และ ความสัมพันธ์ของคนในสังคมไม่ซับซ้อนเน่ืองจาก
สมาชกิ ในสังคมมีไมม่ ากนกั

ภาพที่ 1.3
การ
ดารงชวี ติ ของ
มนุษยย์ ุค หนิ
เก่า
ทีม่ า : http://prehistoricpcctrgxix.myreadyweb.com/article/topic-

49585.html (สืบค้น 9 มกราคม 2558)

ภาพที่ 1.4 ขวานหนิ ยคุ หินเก่า ภาพที่ 1.5 เครือ่ งมือยุคหนิ เก่า

พบทโ่ี อดเู ว่ (Olduvai) ประเทศแทนซาเนีย พบท่ีประเทศเคนยา

ท่ีมา : http://prehistoricpcctrgxix.myreadyweb. ที่มา : http://prehistoricpcctrgxix.

com/article/topic-49585.html myreadyweb.com/article/topic

(สบื ค้น 9 มกราคม 2558) -49585.html (สืบคน้ 9 มกราคม 2558)

ภาพที่ 1.6
ภาพกิจกรรมผนังถ้าแสดงการล่าสัตวก์ นั เป็นกลุ่มของมนุษย์ในยคุ หินเกา่

ทม่ี า : http://prehistoricpcctrgxix.myreadyweb.com/article/topic-
49585.html (สืบค้น 9 มกราคม 2558)

8.2.2 สังคมยคุ สาริด เป็นสงั คมท่ีมนษุ ย์ร้จู ักใชเ้ ครือ่ งมือเคร่อื งใช้ด้วยโลหะพวกสาริดเร่ิมปรบั ตวั ที่จะเอาชนะธรร

ภาพที่ 1.7 เคร่ืองมือประเภทขวานปลอ่ งและเคร่อื งประดบั เบา้ หลอม จากวัฒนธรรมลมุ่ น้า
สงคราม แหลง่ โบราณคดบี า้ นเชยี ง จงั หวดั อดุ รธานี และภูมภิ าคในเขตจังหวดั สกลนคร อายุ
ในราว 4,500 ปี - 2,000 ปี
ทมี่ า : https://sites.google.com/site/technologyinteachingzz/prawati

(สบื ค้น 9 มกราคม 2558)

ภาพท่ี

1.8

เครือ่ ง

ประดับ

ทาจาก

สาริด จ

าก

แหลง่

โบราณ

คดบี า้ นเชยี ง จังหวดั อดุ รธานี

อายุในราว 2,000 ปี

ท่มี า : https://sites.google.com/site/technologyinteachingzz/prawati

(สบื คน้ 9 มกราคม 2558)

8.2.3 สังคมยุคเหล็ก เป็นสังคมท่ีมนุษย์รู้จักเอาเหล็กมาใช้ประโยชน์ทาให้เครื่องใช้มี

คุณภาพมากขึ้น มีการพัฒนาประสิทธิภาพของการผลิตทางเศรษฐกิจอย่างมากทั้งทางด้าน

เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โครงสร้างของสังคมและความสัมพันธ์ของคนในสังคม เปล่ียนแปลงไปสู่

ร ะ บ บ ที่ สลับซั บซ้อ น

จ น ก ร ะ ท่ั ง ถึงปัจจุบัน

ภาพที่ 1.9 เครือ่ งมือเหล็กรูปแบบต่าง ๆ จากกลุม่ ชุมชนโบราณตน้ น้าแม่ลาพนั
พบท่บี า้ นวังหาด จงั หวดั สโุ ขทัย

ทีม่ า : http://lek-prapai.org/home/view.php?id=804

( สบื คน้ 9 มกราคม 2558)

ภาพที่

1.10 นา

เหลก็

เขา้ มาใช้

เป็น

เคร่ืองมื

อ ภาพที่ 1.11 ยุคเหล็กพฒั นาเปล่ียนแปลงเรื่อยๆ

เครื่องใช้ตา่ งๆ ของมนุษยใ์ นยุคเหลก็ และใช้ จากยคุ ตน้ ๆกลายเป็นยคุ ปฏวิ ัติอุตสาหกรรม

อย่างแพร่หลายในชว่ ง 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช เริ่มท่ีประเทศอังกฤษในช่วงค.ศ.1790-1830

ทม่ี า : https://sites.google.com/site/ ทีม่ า : https://sites.google.com/site/

technologyinteachingzz/prawati technologyinteachingzz/prawati

(สบื ค้น 9 มกราคม 2558) (สืบคน้ 9 มกราคม 2558)

ภาพที่ 1.12 เทคโนโลยดี า้ นพลังงานมกี ารสรา้ ง ภาพที่ 1.13 เทคโนโลยีไดเ้ พิ่มมากขนึ้ ใน
กงั หนั ลม และใช้พลังงาน ไอน้าสาหรับการทางาน ช่วงศตวรรษที่ 20 มกี ารคิดคน้ สร้างใหมๆ่
ของเครือ่ งจักรกลและการค้นพบความรู้เรื่องไฟฟ้า อยา่ งไม่มขี ดี จากัดในกระบวนการผลติ
ท่ีมา : https://sites.google.com/site/ ท่ีมา : https://sites.google.com/site/

technologyinteachingzz/prawati technologyinteachingzz/prawati
(สบื คน้ 9 มกราคม 2558) (สบื ค้น 9 มกราคม 2558)

ภาพ

ที่

1.14

สั ง ค

ม ยุ ค

เหล็ก

หรอื ยุคปจั จุบนั ไดพ้ ฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและรวดเรว็ เช่น การบิน การสง่ จรวด ความรทู้ างอิเล็กทรอนิกส์ และ

ระเบดิ ปรมาณู การประดิษฐ์คิดคน้ มีทั้งสร้างสรรค์และทาลายสังคม การพัฒนาวิทยาการบินและเทคโนโลยี

ทางอวกาศทาให้เกิดความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ส่งผลให้มีเทคโนโลยีใหม่ๆ อยา่ งไม่มีขีดจากดั

ท่ีมา : https://sites.google.com/site/technologyinteachingzz/prawati

(สืบค้น 9 มกราคม 2558)

8.3 การแบง่ ตามวิวัฒนาการของอาชีพ
แบง่ ออกเป็น 5 ประเภท คือ
8.3.1 สังคมลา่ สตั วแ์ ละเก็บของปา่ (Hunting and Gathering Society) เป็นสังคมท่ีมนุษย์

อาศยั การจับสัตว์ และเกบ็ พชื ผักผลไมม้ าเปน็ อาหาร ซ่งึ เปน็ สังคมแรกสดุ ของมนุษย์เป็นสังคมขนาดเล็ก มี
ความสมั พนั ธก์ ันแบบปฐมภมู ิ สมาชกิ ส่วนใหญ่เปน็ แบบเครือญาติกัน

8.3.2 สังคมเลี้ยงสัตว์เพ่ือการยังชีพ (Pastoral Society) โดยเกิดจากมนุษย์ในสังคมล่าสัตว์
และเก็บของป่า เร่ิมรู้จักวิธีการเล้ียงสัตว์ ในระยะเป็นการเล้ียงสัตว์แบบเร่ร่อนเพ่ือหาแหล่งอาหารและน้า
ให้กับสัตว์เลี้ยง ขนาดของสังคมใหญ่และซับซ้อนมากกว่าสังคมล่าสัตว์และเก็บของป่า ใช้อานาจในการ

ปกครองเป็นบรรทัดฐานเพ่ือควบคุมสังคม รู้จักค้าขายแบบแลกเปลี่ยนกัน มีความเช่ือถือในพระเจ้าองค์
เดียวกนั และพระเจา้ หลายองค์

8.3.3 สังคมกสิกรรมพืชสวน (Horticultural Society) เกิดข้ึนพร้อมๆ กับสังคมเล้ียงสัตว์
เพ่ือการยังชีพโดยเกิดจากมนุษย์ในสังคมรู้จักการเพาะปลูกพืช เร่ิมรู้จักต้ังหลักแหล่งเพื่อการทามาหากิน
เป็นสงั คมท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพมากกว่าสังคมเล้ียงสัตว์และเก็บของป่า สถาบันการปกครองเริ่มเกิดข้ึน มีการแบ่ง
งานกนั ทาอยา่ งชัดเจน เชน่ พอ่ คา้ ช่างฝีมือ พอ่ มดหมอผี เป็นตน้

8.3.4 สังคมเกษตรกรรม (Agricultural Society) เป็นสังคมที่มนุษย์ รู้จักผลิตไถและ
นามาใช้ในการเกษตร เรียกกันว่า เป็นการปฏิวัติเกษตรกรรมคร้ังแรกของมนุษย์ สังคมเกษตรกรรมจึงมี
ผลผลิตทางการเกษตรเพ่ิมข้ึน และทาให้เกิดการตั้งถิ่นฐานแบบถาวรขึ้น ซึ่งทาให้มีความเจริญงอกงามทาง
วัฒนธรรมต่างๆ รู้จักนาแรงงานสัตว์มาใช้ในการเกษตร สถาบันการปกครองมีความสมบูรณ์มากข้ึนระบบ
การปกครองเปน็ แบบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์

8.3.5 สังคมอุตสาหกรรม (Industrial Society) เกิดข้ึนเป็นครั้งแรกในประเทศอังกฤษเป็น
สังคมที่ผลิตส่ิงของทั้งที่เป็นเคร่ืองบริโภคและอุปโภคด้วยเทคโนโลยีต่างๆ แทนแรงงานคนและสัตว์ทาให้
เกิดผลผลติ เป็นจานวนมาก สังคมเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ความสัมพันธ์ทางสังคมเป็นแบบทุติยภูมิ โดยถือ
ตามสถานภาพหรือตาแหน่งหน้าที่การงาน ส่วนความผูกพันของสมาชิกในครอบครัวลดน้อยลงและ เกิด
สถาบนั ทางสงั คมขึน้ มากมาย การเมืองการปกครองมีลักษณะเป็นแบบประชาธิปไตย

8.4 การแบ่งตามขนาดของสังคม
แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คอื
8.4.1 สังคมระดับต่ากว่าชาติ เป็นสังคมขนาดเล็ก โดยจะมีอยู่ทั่วไปตามสังคมชนบทสังคม

เมอื ง สังคมของพวกชนกล่มุ น้อยทม่ี ลี กั ษณะต่างๆ โดยเฉพาะวฒั นธรรมเปน็ ของตนเอง
8.4.2 สังคมชาติ เป็นสังคมที่เกิดจากการรวมตัวกันของสังคมขนาดเล็ก ๆ เข้าด้วยกันโดย มี

กระบวนการทางการเมืองการปกครอง มีอาณาเขตที่แน่นอนมีบรรทัดฐานและมีการควบคุมทางสังคม
สังคมชาติกค็ อื ประเทศต่างๆ นัน่ เอง

8.4.3 สังคมโลก เป็นสังคมขนาดใหญ่ที่สุดเพราะสังคมโลก หมายถึงสังคมมนุษยชาติทั้งมวล
เน่ืองจากสังคมมนุษย์ไม่ว่าจะอยู่ในส่วนใดของโลกต่างก็ล้วนมีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กันไม่ทางตรงก็
ทางออ้ มไม่ทางใดกท็ างหนง่ึ จงึ ถอื ว่าโลกเปน็ สงั คมของมนุษยท์ งั้ มวล

8.5 การแบ่งตามวิวัฒนาการของการเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
แบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ
8.5.1 สังคมด้ังเดิม (Primitive Society) เป็นสังคมระยะแรกสุดของมนุษย์แวดล้อมไปด้วย

ธรรมชาติดิบ มีการติดต่อกับสังคมภายนอกน้อย สมาชิกมีน้อยจึงมีความรู้จักมักคุ้นกันทั้งสังคม อาชีพหลัก
คือหาของป่า เลี้ยงสัตว์และการประมงแบบง่ายๆ ขาดความรู้วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เชื่อในอานาจ

ลึกลับท่ีอยู่เหนือธรรมชาติ เช่น พระเจ้า และผีบรรพบุรุษ จนกลายเป็นลัทธิวิญญาณ วิถีชีวิตผูกพันกับ
ขนบธรรมเนียมประเพณีสงู

8.5.2 สงั คมชาวนา (Peasant Society) เป็นสังคมท่ีสมาชิกประกอบอาชีพเกษตรกรรมซึ่งเป็น
ผลมาจากการปฏวิ ัตเิ กษตรกรรมครั้งแรกของมนษุ ย์

8.5.3 สังคมสมัยใหม่ (Modern Society) เป็นสังคมที่สมาชิกประกอบอาชีพอุตสาหกรรมแทน
เกษตรกรรม และมลี ักษณะเชน่ เดียวกบั สังคมอตุ สาหกรรม

8.6 การแบง่ ตามลกั ษณะความสัมพนั ธ์ของสมาชิกในสังคม
เป็นการจดั ประเภทของสังคมที่นกั สงั คมวิทยาใชก้ นั มากแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
8.6.1 สังคมชนบท (Rural Society) เป็นสังคมท่ีอยู่ในเขตชนบทมีความหนาแน่นของ

ประชากรน้อยสมาชิกมีความสัมพันธ์เป็นอันดีต่อกันและมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่คล้ายคลึงกันยึดมั่นใน
ขนบธรรมเนียมประเพณี มีอาชีพเกษตรกรรมหรืออาชีพเก่ียวข้องกับเกษตรกรรม ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2
ประเภท คือ สงั คมชนบทดงั้ เดิมและสังคมชนบททัว่ ไป

สังคมชนบทด้ังเดิม เป็นสังคมชนบทท่ีเกิดขึ้นในระยะเริ่มแรก มีลักษณะสาคัญ คือ มีความ
เป็นอยู่โดดเดี่ยว ติดต่อกับสังคมอ่ืนลาบาก มีอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลักและเศรษฐกิจเป็นแบบพอ
เลีย้ งตัวเอง

สังคมชนบทท่ัวไป เป็นสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงจากสังคมด้ังเดิมและมีแนวโน้มท่ีจะ
เปลย่ี นแปลงมากยงิ่ ข้ึน เน่ืองจากปัจจัยของการเปล่ียนแปลงท้ังปัจจัยภายในสังคมเอง เช่น ภาวะประชากร
คือ การเพิ่มหรือลดประชากร การย้ายถ่ิน การปรับปรุงด้านคมนาคม การสื่อสาร เป็นต้น และเนื่องจาก
ปัจจัยภายนอกสังคม เช่น การแพร่กระจายของวัฒนธรรมโดยเฉพาะ วัฒนธรรมของสังคมเมืองท่ีมีความ
เจริญก้าวหน้า สะดวก รวดเร็ว ง่ายในการปฏิบัติ จานวนประชากรเพ่ิมมากข้ึน ความโดดเด่ียวความ
คล้ายคลึงกันทางสังคมลดน้อยลง มีอาชีพอ่ืนๆ เช่น การค้าการบริการเพ่ิมขึ้นจากอาชีพเกษตรท่ีมีอยู่แต่
ด้ังเดิม เศรษฐกิจจึงเป็นท้ังเพ่ือเลี้ยงตัวเอง และ เพื่อการค้า ขาย บริการความเจริญก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่ิมมากข้ึน แต่ยังคงพ่ึงพาธรรมชาติเป็นหลักในการดารงชีวิต สังคมชนบท
มกั จะปรากฏอยใู่ นรปู ของละแวกบ้าน หม่บู า้ น ตาบล เปน็ ตน้

8.6.2 สงั คมเมือง (Urban Society) เปน็ สงั คมทีม่ ีความหนาแน่นของประชากรมาก มีความ
เจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่ิงแวดล้อมซ่ึงเป็นส่ิงแวดล้อมที่มนุษย์สร้างข้ึนมากกว่า
สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ สมาชิกมีความเป็นอิสระสูง ทาให้ความสัมพันธ์ในสังคมเป็นแบบตัวใครตัวมัน คือ
เป็นทางการมากกว่าส่วนตัวและขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่อาศัยร่วมกันได้ นักสังคมวิทยาได้
ศึกษานิเวศวิทยาของสังคมเมืองและพบว่าสังคมเมืองเกิดขึ้นได้หลายลักษณะและมีการเปล่ียนแปลงอยู่
ตลอดเวลา

9. หนา้ ทีข่ องสังคม

เม่ือมนุษย์มาอยู่รวมกันเป็นสังคม สิ่งจาเป็นที่จะทาให้สังคมดารงอยู่ได้อย่างยั่งยืนนั้น
จาเป็นต้องจัดให้มีบทบาทหน้าท่ีต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ เกิดความสมดุลโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมกัน ดังท่ี
อาไพ หม่ืนสทิ ธ์ิ (2553, หนา้ 29-30) กล่าวสรปุ ไว้ ดังน้ี

9.1 การเพิ่มสมาชิกใหม่ (reproduction) การท่ีสังคมจะคงความเป็นสังคมได้น้ันจาต้องมีการ
ผลิตและแสวงหาสมาชิกใหม่ ถ้าสังคมละเลยต่อหน้าที่ในอีกไม่ช้าสมาชิกของสังคมก็จะหมดเนื่องจาก
สมาชกิ เดิมแก่ตายไป แต่ขณะเดยี วกันการผลติ สมาชิกใหม่กม็ ิได้มีขน้ึ ในอัตราท่ีน่าพอใจ ถ้าการปฏิบัติหน้าที่
ไม่ดีย่อมหมายถึงการสลายตวั ของสังคมโดยการถกู ดดู กลนื เข้าไปเปน็ ส่วนหน่งึ ของสังคมอ่ืนไดเ้ หมือนกัน

9.2 การอบรมสมาชิกใหม่ให้รู้จักกฎเกณฑ์หรือระเบียบของสังคม (Socialization)เป็น
ส่ิงจาเป็นที่ทุกสังคมจะต้องจัดให้สมาชิกใหม่ของสังคมได้เรียนรู้กฎเกณฑ์สังคม วิถีการดาเนินชีวิตหรือ
วัฒนธรรมของสังคม เป็นสิ่งจาเป็นท่ีสมาชิกสังคมเดียวกันจะต้องมีความรับรู้ร่วมกัน ถ้าสมาชิกของสังคมไม่
รับรู้ร่วมกันย่อมนาไปสู่การแตกแยกกัน จะติดต่อสื่อสารด้วยความลาบาก และจะเกิดความขัดแย้งรุนแรง
และเปน็ ผลใหส้ งั คมขาดเอกลักษณข์ องตน จะทาให้สังคมสลายตวั ไปในท่สี ุด

9.3 การติดต่อส่ือสาร (communication) สังคมจะดารงอยู่ไม่ได้ถ้าระบบการติดต่อสื่อสารของ
สมาชิกสังคมไม่สามารถเข้าใจ และรับรู้ร่วมกันได้ ด้วยเหตุ น้ี สังคมมนุษย์จะต้องจัดให้มีระบบการ
ติดต่อส่ือสารด้วยสัญลักษณ์ (symbolic communication) ข้ึนเพื่อก่อให้เกิด “ค่านิยมร่วมกัน”
(common value) รวมท้ังต้องมีการสร้างอานาจบังคับ (sanction) ในกิจกรรมต่างๆ ของสังคมด้วย ถ้า
สังคมใดขาดการตดิ ตอ่ สือ่ สารทางสญั ลักษณ์ร่วมกันโดยส้ินเชิงแล้วย่อมนาไปสู่ภาวะแห่งความสับสนยุ่งยาก
และอาจเปน็ สัญญาณแห่งการสลายตัวของสงั คมนัน้ ได้

9.4 ดา้ นเศรษฐกจิ (economic function) หน้าที่ในการจดั การเกยี่ วกบั การผลติ กระจาย และ
การบรโิ ภคเศรษฐทรัพย์ต่างๆ สมาชิกทุกคนของสังคมจึงมีความต้องการปัจจยั สี่ และทรัพยส์ นิ อน่ื ๆ เพื่อ
อานวยความสะดวกในการดารงชวี ติ สงั คมใดสามารถจัดการเรือ่ งเศรษฐกิจไดด้ ี สมาชิกของสงั คมจะมีความ
แข็งแรงสมบรู ณ์ดี ตรงข้ามกับสงั คม ทจี่ ัดการเรือ่ งเศรษฐกจิ บกพร่อง ปล่อยใหส้ มาชิกยากจน ขาดแคลน
ทรพั ยส์ ินต่างๆ สมาชิกของสังคมย่อมอ่อนแอขาดความสขุ ไม่มสี ังคมใดจะดารงอยู่ได้ โดยปราศจากระบบ
เศรษฐกจิ การทรี่ ะบบเศรษฐกิจของแตล่ ะสังคม จะดาเนนิ ไปไดด้ ว้ ยดี ต้องขึ้นอยกู่ ับองค์ประกอบที่สาคัญ
2 ประการ คือ ความอดุ มสมบรู ณข์ องธรรมชาติ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการเลือกทาเลทต่ี ้ังทางภูมิศาสตร์ของ
สงั คม องค์ประกอบท่ีสอง ได้แก่ วธิ กี ารจัดการทางเศรษฐกิจ อันน้รี วมถึงเทคนิคในการผลิตกรรม วธิ ใี นการ
แปรสภาพ และการแลกเปล่ยี นจากผูผ้ ลิตถงึ ผบู้ ริโภค รวมถึงการติดต่อคา้ ขายแลกเปลีย่ นกู้ยมื ระหวา่ งสงั คม
ด้วย

9.5 การจัดระเบียบและการรักษาความสงบเรียบร้อยให้แกส่ ังคม (maintenance of order) การ
จดั ระเบยี บดา้ นการปกครอง การรักษาความยตุ ิธรรมและการระงับข้อพิพาทตา่ งๆ ของสมาชกิ สงั คมย่อม
เปน็ สง่ิ จาเป็น นอกจาก นนั้ สังคมอาจจะถกู รกุ รานจากสังคมอ่ืนไดเ้ สมอจึงตอ้ งจดั สร้างมาตรการ บาง

ประการเพอื่ ป้องกนั ภยั จากสงั คมอน่ื ดว้ ย เพราะอาจสญู เสียอานาจการปกครองของตนและตกเป็นอาณา
เขตของสงั คมอืน่ ได้

9.6 การผดุงขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติภารกิจของสมาชิกสังคม (maintenance of
meaning and motivation) การผดุงขวัญ หรือ สร้างขวัญและกาลังใจเป็นส่ิงสาคัญต่อการดารงชีวิตของ
สมาชิกสังคม เมื่อขาดขวัญและกาลังใจ อาจทาให้เบ่ือหน่าย ต่อการปฏิบัติภารกิจ หรือ ไม่มีกาลังใจ
ปฏบิ ัตหิ น้าทีต่ ามสถานภาพ อยา่ งเต็มที่ ปกตแิ ล้ว ศาสนาหรือลัทธิความเช่ือของสังคมจะทาหน้าที่กระตุ้น
ให้สมาชิกสังคม ปฏิบัติภาระหน้าท่ีต่างๆ ไปด้วยดี ด้วยความกระตือรือร้น ถ้าสังคมใดปล่อยให้สมาชิกมี
ความเช่ือเร่ืองชีวิตแตกต่างกันมากย่อมเป็นการยากในการติดต่อสื่อสารทางสัญลักษณ์ สังคมก็ขาด
เอกลักษณ์ (identity) เต็มไปด้วยความขัดแย้ง ปราศจากจุดมุ่งหมายร่วมกัน (common goal) สังคมก็
ย่อมอยู่ในภาวะระส่าระสาย ถ้าสังคมใดถูกปล่อยให้สังคมตกอยู่ในภาวะเฉ่ือยชาถึงขนาดไม่มีกาลังใจจะทา
ตามหน้าที่ ไม่มีกาลังใจจะดารงชีวิตอยู่ต่อไป สังคม นั้นย่อมสลายตัวลงอย่างแน่นอน ดังนั้น การผดุงขวัญ
และ กาลงั ใจในการดารงชีพ ของสมาชิกสงั คมจึงเป็นหนา้ ทท่ี ่ีจาเป็น

จากหนา้ ท่ีดังได้กล่าวมา นนั้ เปน็ ส่วนสาคัญตอ่ การสร้างความสงบสุขใหก้ ับสังคมอยา่ งมั่นคง
และย่ังยืนได้ จะต้องปฏิบัติตามบทบาทหนา้ ท่ี ของแต่ละคน และมีระบบการสอ่ื สารทีด่ ี เพ่ือขจดั ความ
ขดั แย้งของสังคม พร้อมแกป้ ัญหาตา่ งๆ ใหส้ มาชิกของสังคม ด้วยความโปร่งใส ยุติธรรม

บทสรปุ
มนุษย์ เป็นสัตว์ที่มีชีวิต เช่นเดียวกับสัตว์โลกท่ัวๆ ไป แต่ ได้รับการอบรมเล้ียงดูถ่ายทอดความรู้
ประสบการณ์ จงึ ทาให้มคี วามคดิ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ มีเหตุผล มีความเมตตา ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จึง
ทาให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์โลกชนิดอื่นๆ ลักษณะสาคัญของมนุษย์นั้นจะมีส่วนท่ีแตกต่าง หรือมีลักษณะ
พเิ ศษหลายประการที่บรรดาสัตว์และสิ่งมีชีวิตท้ังหลายไม่มี เช่น กินอาหารได้มากมายหลายประเภทท้ังพืช
และสัตว์ มีมันสมองขนาดใหญ่ท่ีเฉลียวฉลาด สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมสามารถดัดแปลง
สง่ิ แวดลอ้ มมาใช้ประโยชน์ และท่ีสาคญั คอื มวี ฒั นธรรมสามารถสะสม และถ่ายทอดวัฒนธรรม จากคนรุ่น
หน่งึ ไปยงั รุ่นตอ่ ๆ ไป จึงมีผู้กลา่ วว่า “ มนุษย์ ” หมายถึง สัตว์ท่ีรู้จักใช้เหตุผล สัตว์ท่ีมีจิตใจสูง การแสดง
พฤตกิ รรมของมนุษย์แต่ละคน จะต่างกัน ขึ้นอยู่กับพันธุกรรม และสภาพแวดล้อมทางสังคม ท่ีมนุษย์อาศัย
อยู่ สามารถแยกมนุษย์ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ มนุษย์นรก มนุษย์เปรต มนุษย์เดียรัจฉาน และมนุษย์
เทวดา เม่ือมนุษย์มาอยู่รวมกันในพื้นที่ใดพ้ืนที่หนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน พ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน
ดาเนินชีวิตภายในกฎระเบียบอันเดียวกัน จึงเรียกว่า “สังคม” สาเหตุท่ีทาให้มนุษย์ต้องมาอยู่รวมกันใน
สังคม เพราะ มนุษย์มีความจาเป็นต้องพ่ึงพา ซ่ึงกันและกัน มีความรู้ ความสามารถแตกต่างกัน จึงต้องมี
ความสมั พันธ์ต่อกันเรียนรู้วิถีดาเนินชีวิตร่วมกัน ดังนั้น องค์ประกอบของสังคม จึงประกอบด้วย 1. การมี
อาณาเขตที่แน่นอน 2. การอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม 3. การรู้ว่าใครเป็นพวกของตนหรือใครไม่ใช่พวก

ของตน 4. การมีความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์กัน 5. มีการแบ่งหน้าที่การทางานอย่างเป็นกิจจะลักษณะ 6.
มีบรรทัดฐานคล้ายคลึงกัน สาหรับการแบ่งประเภทของสังคม นั้น สามารถแบ่งได้ หลายประเภท โดย
อาศัยหลักเกณฑ์ลักษณะทางด้านสังคมที่แตกต่างกัน ได้แก่ 1. แบ่งตามลักษณะขั้นความเจริญทาง
เศรษฐกิจ 2. การแบ่งตามเครื่องมือเครื่องใช้ 3. การแบ่งตามวิวัฒนาการของอาชีพ 4. การแบ่งตาม
ขนาดของสังคม 5. การแบ่งตามวิวัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 6. การ
แบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์ของสมาชิกในสังคม สังคมมีหน้าที่ 1. การเพิ่มสมาชิกใหม่ 2. การอบรม
สมาชิกใหม่ให้รู้จักกฎเกณฑ์หรือระเบียบของสังคม 3.การติดต่อสื่อสาร 4. ด้านการเศรษฐกิจ 5. การจัด
ระเบียบและการรักษาความสงบเรียบร้อยให้แก่สังคม 6. การผดุงขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติภารกิจของ
สมาชิกสังคม จากการสรุปดังกล่าวนี้ จะเห็นได้ว่ามนุษย์กับสังคมนั้นจะมีความสัมพันธ์กันไม่สามารถแยก
จากกนั ได้

กิจกรรมเสริมบทเรียน

1. ใหน้ ักศกึ ษาทากจิ กรรมสรุปบทเรียนหนว่ ยเรียนรทู้ ่ี 1 มนษุ ย์กบั สังคม ดว้ ยแผนภูมิความคดิ
2. ใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมเขยี นบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งท่สี ามารถนาไปใช้ดารงชวี ิต

ในด้าน มนุษย์กับสังคม
3. ให้นกั ศกึ ษาเขยี นสะท้อนความคิดจากบทเรยี น เรอ่ื ง มนษุ ย์กบั สังคม

ใบงานการเรยี นรู้
หนว่ ยเรยี นร้ทู ่ี 1

จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. บอกความหมายและความสาคัญของมนษุ ย์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ทาไมมนุษยท์ ่ีเกิดมาจึงมลี ักษณะทแ่ี ตกต่างกนั
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. อธิบายมนุษยเ์ ม่ือไม่มีชีวติ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. มนษุ ยท์ ่สี มบูรณ์เปน็ อยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
5. ทา่ นเช่ือเรอื่ งกฎแหง่ กรรมหรอื ไม่ เพราะเหตุใด

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. อธิบาย “ทฤษฎีสัญญาสังคม”
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. บอกประเภทของสงั คม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………

หนว่ ยเรยี นรูท้ ี่ 1 มนุษย์กับสังคม
แบบทดสอบหลังเรยี น
คาสัง่ จงเลอื กคาตอบที่ถูกทส่ี ุดแล้วกากบาทลงในกระดาษคาตอบ ก ข ค ง จ
1. ผทู้ กี่ ล่าวว่า “มนุษยเ์ ปน็ สัตวส์ ังคม”

ก. ชารล์ ส์ ดารว์ นิ
ข. อรสิ โตเตลิ
ค. วิลเลย่ี ม เชกสเปยี ร์
ง. โทมสั โฮม
จ. จอห์น ล็อค
2. ขอ้ ใดไมใ่ ช่องค์ประกอบของสงั คม
ก. การมีอาณาเขตทแี่ นน่ อน
ข. การอยู่ร่วมกนั เป็นกลุม่
ค. มบี รรทัดฐานคลา้ ยคลงึ กัน
ง. มวี ัฒนธรรมเหมือนกนั
จ. ทางานอยา่ งเป็นอิสระตา่ งคนต่างทา
3. สังคมอุตสาหกรรม เกิดขึ้นเปน็ ครง้ั แรกในประเทศใด
ก. อเมรกิ า
ข. องั กฤษ

ค. ญ่ีปุ่น
ง. เกาหลี
จ. จนี
4. ข้อใดกลา่ วเกีย่ วกับมนษุ ย์ไมถ่ ูกตอ้ ง
ก. สัตวท์ ีร่ ้จู ักใชเ้ หตผุ ล สัตว์ท่มี จี ติ ใจสูง
ข. มนุษย์กบั สัตวน์ น้ั มีลกั ษณะบางประการรว่ มกนั อยู่
ค. มนษุ ย์กับสตั วน์ ัน้ มลี ักษณะบางประการแตกต่างกัน
ง. มนษุ ยเ์ ป็นสตั วโ์ ลกท่ไี ม่สามารถพ่งึ ตนเองได้
จ. มนุษยเ์ ปน็ สัตวโ์ ลกท่ีสามารถพ่ึงตนเองจึงสามารถอยู่ตามลาพังได้

5. ข้อใดเป็นสังคมยคุ แรกของมนษุ ย์
ก. สงั คมล่าสตั ว์และเก็บของป่า
ข. สังคมเลย้ี งสัตว์เพื่อการยังชีพ
ค. สังคมกสกิ รรมพชื สวน
ง. สงั คมเกษตรกรรม
จ. สังคมกสกิ รรมพชื ไร่

6. ขอ้ ใดไม่ใช่หน้าที่สาคัญของสังคมมนุษย์
ก. เพิ่มสมาชิกใหม่
ข. จะตอ้ งทาใหส้ มาชิกมคี วามมนั่ คง
ค. จดั การอบรมขดั เกลาและพฒั นาสมาชิก
ง. กระจายรายได้ให้แก่สมาชิกอย่างทว่ั ถงึ
จ. สนองความต้องการของสมาชกิ ตลอดเวลาทเี่ รียกร้อง

7. มนษุ ย์นสิ ัยช่ัวชา้ บาปหนา โหดรา้ ย ชอบสร้างความโหดรา้ ยใหก้ บั คนอื่น คือ มนุษย์ประเภทใด
ก. มนษุ ย์นรก
ข. มนษุ ยเ์ ปรต
ค. มนษุ ยเ์ ดยี รจั ฉาน
ง. มนษุ ยเ์ ทวดา
จ. มนุษยซ์ าตาน

8. มกี ารพฒั นาประสิทธภิ าพของการผลิตทางเศรษฐกจิ อย่างมากท้ังทางด้านเกษตรกรรมและ

อุตสาหกรรม
ก. สังคมยคุ หนิ
ข. สังคมยุคสารดิ
ค. สังคมยคุ เหล็ก
ง. สังคมยคุ ทอง
จ. สังคมยุคเงนิ

9. ข้อใดบอกความหมายของสงั คมไม่ถกู ต้อง
ก. กลมุ่ คนท่ีอยู่รวมกัน มีการติดตอ่ สื่อสารซ่ึงกนั และกนั และเพื่อตอบสนองความต้องการ
และผลประโยชนใ์ นการดารงชวี ิตรว่ มกัน
ข. คนจานวนหน่ึงมีความสัมพนั ธ์ตอ่ เน่ืองกันตามระเบยี บกฎเกณฑม์ ีวตั ถปุ ระสงคร์ ว่ มกัน
ค. การท่มี นษุ ย์ ที่มอี ะไรสว่ นใหญ่เหมือนหรือคลา้ ยคลงึ กนั มีความสัมพนั ธ์กันและมาอยู่ใน
เขตเดียวกนั อยา่ งถาวร
ง. กลุ่มคนต้ังแต่สองคนขึ้นไปไดต้ ดิ ต่อสัมพันธ์กันในพน้ื ทีใ่ ดพื้นท่หี น่งึ ไม่จาเปน็ ต้องมี
วตั ถุประสงคแ์ ละกฎระเบยี บร่วมกนั
จ. กลุ่มคนทม่ี าอยรู่ ว่ มกันเพราะหนคี วามกลัวจากภัยธรรมชาตเิ หมอื นกันและมาอย่รู วมกันมี
การติดตอ่ ซึ่งกันและกนั ระยะเวลานาน

10. ทฤษฎีท่ีเชื่อวา่ มนษุ ยแ์ ต่ดงั้ เดิมนนั้ มิไดร้ วมกนั อยเู่ ปน็ สงั คมเชน่ ปัจจบุ นั น้ี หากแต่มนษุ ย์ได้
อาศยั อยู่ตามสภาพธรรมชาติ
ก. ทฤษฎสี ัญญามนษุ ย์
ข. ทฤษฎสี ญั ญาวฒั นธรรม
ค. ทฤษฎสี ัญญาสังคม
ง. ทฤษฎีสัญญาศาสนา
จ. ทฤษฎสี ัญญาค่านิยม

เฉลยแบบทดสอบ ก่อนเรยี น-หลังเรยี น
หนว่ ยเรยี นรู้ที่ 1

เฉลยแบบทดสอบ เฉลยแบบทดสอบ
ก่อนเรียน หลังเรียน
1.จ 1.ข
2.ก 2.จ
3.ง 3.ข
4.ข 4.จ
5.ค 5.ก
6.จ 6.จ
7.ค 7.ก
8.ก 8.ค
9.ข 9.ง
10.จ 10.ค

เกณฑ์การประเมินผล

คะแนนเตม็ 10 คะแนน ขอ้ ละ 1 คะแนน

ระดับคะแนน 9-10 คะแนน ดีมาก

7-8 คะแนน ดี

5-6 คะแนน พอใช้

0-4 คะแนน ปรับปรงุ

แนวตอบใบงานการเรยี นรู้
หนว่ ยเรียนรู้ท่ี 1

1. บอกความหมายและความสาคญั ของมนุษย์
ตอบ ตามความคดิ เหน็ ของผู้เรียน และอยู่ในดุลพินจิ ของผู้สอน
2. ทาไมมนุษย์ทเ่ี กิดมาจึงมลี ักษณะท่แี ตกต่างกนั
ตอบ ตามความคิดเห็นของผูเ้ รียน และอย่ใู นดุลพนิ ิจของผู้สอน
3. อธบิ ายมนษุ ย์เม่ือไม่มีชวี ิต
ตอบ ตามความคดิ เหน็ ของผเู้ รียน และอยู่ในดลุ พินจิ ของผู้สอน
4. มนุษย์ทสี่ มบูรณ์เปน็ อย่างไร
ตอบ ตามความคิดเหน็ ของผเู้ รียน และอยู่ในดลุ พนิ ิจของผู้สอน
5. ทา่ นเชอื่ เรอ่ื งกฎแห่งกรรมหรือไม่เพราะเหตใุ ด
ตอบ ตามความคดิ เหน็ ของผเู้ รียน และอยใู่ นดุลพนิ ิจของผู้สอน
6. อธิบาย“ทฤษฎีสญั ญาสังคม”
ตอบตามความคิดเห็นของผเู้ รียน และอย่ใู นดลุ พินจิ ของผู้สอน
7. บอกประเภทของสังคม
แบง่ ประเภทของสงั คมตาม 6 หลักเกณฑ์

1. แบง่ ตามลักษณะขั้นความเจรญิ ทางเศรษฐกิจ
แบง่ เป็น 5 ประเภท คือ
1. สงั คมท่ีมรี ะบบเศรษฐกิจแบบด้ังเดิม (Traditional Society)
2. สงั คมเตรยี มการพัฒนา (Precondition for Take-off)
3. สงั คมเข้าสู่กระบวนการพฒั นา (Take-Off Stage)
4. สังคมทะยานเขา้ สู่ภาวะของความอุดมสมบูรณ์ (Drive –to Maturity Stage)

5. สงั คมอดุ มสมบูรณ์ (Stage of High Mass Consumption)
2. แบง่ ตามเครื่องมือเครื่องใช้

แบง่ เป็น 3 ประเภท คือ
1. สังคมยุคหิน
2. สงั คมยุคสาริด
3. สังคมยคุ เหลก็
3. การแบ่งตามววิ ฒั นาการของอาชพี
แบง่ ออกเป็น 5 ประเภท คือ
1. สงั คมลา่ สตั วแ์ ละเกบ็ ของป่า (Hunting and Gathering Society)
2. สงั คมเลี้ยงสัตวเ์ พือ่ การยงั ชพี (Pastoral Society)
3. สังคมกสกิ รรมพืชสวน (Horticultural Society)
4. สงั คมเกษตรกรรม (Agricultural Society)
5. สงั คมอุตสาหกรรม (Industrial Society)
4. การแบ่งตามขนาดของสงั คม
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. สังคมระดบั ต่ากว่าชาติ
2. สังคมชาติ
3. สังคมโลก
5. การแบ่งตามววิ ฒั นาการของการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรม
แบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท คอื
1. สงั คมด้ังเดมิ (Primitive Society)
2. สังคมชาวนา (Peasant Society)
3. สงั คมสมยั ใหม่ (Modern Society)
6. การแบ่งตามลกั ษณะความสมั พนั ธ์ของสมาชิกในสังคม
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื
1. สังคมชนบท (Rural Society)
2. สังคมเมือง (Urban Society)

เอกสารอ้างองิ

คณาจารย์ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. (2559). มนุษย์กบั สังคม. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

จารณุ ี วงศล์ ะคร. (2545). ปรชั ญาวัฒนธรรมและวัฒนธรรมไทย. ภาควชิ าปรัชญาและศาสนา
คณะมนุษย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

จานง อดิวัฒนสนิ ธ์ิ. (2548). สังคมวทิ ยาตามแนวพุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.

จฑุ ารตั น์ เอือ้ อานวย. (2551). จติ วิทยาสังคม. กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
ณรงค์ เส็งประชา. (2532). มนษุ ยก์ ับสังคม. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพโ์ อเดียนสโตร์
ทัศนีย์ ทองสว่าง. (2549). สงั คมวิทยา. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร.์
พระมหาสนอง ปัจโจปการี. (2553). มนษุ ย์กับสงั คม. กรงุ เทพฯ: บริษัท แอคทีฟ พร้ินท์ จากดั .
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. (2555). มนุษยก์ ับสงั คม. กรงุ เทพฯ: ห้างหุน้ สว่ นจากดั อรณุ

การพิมพ์.
ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2538). พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ:

ราชบัณฑิตยสถาน.
ศริ นิ ภา จามรมาน และปนดั ดา ชานาญสุข. (2553). มนษุ ยก์ ับสงั คม. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์

มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
สดุ า ภริ มย์แก้ว. (2553). มนุษย์กบั สังคม. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อาไพ หมืน่ สิทธ์ิ. (2553). มนษุ ยก์ ับสังคม. กรุงเทพฯ: บริษทั ทรปิ เพ้ิล เอด็ ดูเคชน่ั จากัด.
เว็บไซต์
http://lek-prapai.org/home/view.php?id=804 (สืบค้น 9 มกราคม 2558)

http://prehistoricpcctrgxix.myreadyweb.com/article/topic-49585.html

(สบื คน้ 9 มกราคม 2558)

http://thongkum.blogspot.com/2015/11/blog-post_67.html (สืบคน้ 9 ธันวาคม 2558)
https://sites.google.com/site/technologyinteachingzz/prawati (สบื ค้น 9 มกราคม 2558)

https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=angel-touch&month=02-10-2009&group

=4&gblog=108 (สบื คน้ 9 มกราคม 2558)




Click to View FlipBook Version