The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitimon thongpim, 2019-06-05 02:05:08

unit3

unit3

หน่วยที่ 3 วฒั นธรรม

วิชาชีวิตกับสังคมไทย

ฐิติมน ทองพมิ พ์

54

หนว่ ยเรียนรทู้ ่ี 3 วัฒนธรรม

สาระสาคญั

การอยู่ร่วมกันของมนุษย์น้ันก่อให้เกิดสังคมอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างสรรค์ผลงานอย่างไม่หยุดน่ิง เกิดองค์ความรู้ สร้างสมประสบการณ์ สืบต่อ
และถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งสู่รุ่นหนึ่ง ท่ีคิดว่าเป็นส่ิงท่ีดีงามจนเป็นวิถีการดาเนินชีวิตของมนุษย์ใน
สงั คมใดสังคมหน่ึง

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายของวัฒนธรรม
2. ลักษณะสาคัญของวัฒนธรรม
3. ประเภทของวฒั นธรรม
4. ความสาคัญของวัฒนธรรมต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์
5. ปัจจยั ทที่ าให้สังคมตา่ งๆ มีวฒั นธรรมแตกตา่ งกัน
6. สาเหตกุ ารเปลย่ี นแปลงทางวัฒนธรรม

ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวงั

นักศกึ ษามีความตระหนักในความสาคญั ของวฒั นธรรม

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

เมื่อศึกษาหน่วยเรยี นรทู้ ่ี 3 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. บอกความหมายของวฒั นธรรมได้
2. บอกลกั ษณะสาคญั ของวัฒนธรรมได้
3. จาแนกประเภทของวฒั นธรรมได้
4. วิเคราะห์ความสาคัญของวฒั นธรรมต่อการดารงชีวิตของมนษุ ย์ได้
4. วเิ คราะหป์ ัจจัยทีท่ าใหส้ ังคมต่างๆ มวี ฒั นธรรมแตกตา่ งกนั ได้
5. อธบิ ายสาเหตุการเปล่ยี นแปลงทางวฒั นธรรมได้

55

หน่วยเรยี นรทู้ ี่ 3 วัฒนธรรม
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
คาสั่ง จงเลอื กคาตอบทถ่ี ูกทีส่ ุดแล้วกากบาทลงในกระดาษคาตอบ ก ข ค ง จ
1. ข้อใดเป็นความหมายของคาวา่ วฒั นธรรม ไม่ถูกต้อง

ก. ประดษิ ฐกรรมทมี่ นุษย์สร้างขึ้นเพ่ือสนองความตอ้ งการขน้ั พ้ืนฐาน
ข. พฤติกรรมที่มนษุ ยป์ ฏบิ ตั แิ ละแสดงออกจากการรบั ร้วู า่ เปน็ สิง่ ดี
ค. ความเจรญิ งอกงามตามแนวทางดาเนนิ ชีวิต
ง. ความเจรญิ งอกงามตามภูมปิ ญั ญาของคน
จ. ส่ิงท่ีมนษุ ยส์ ร้างขนึ้ ตามสัญชาตญาณ
2. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของวฒั นธรรมไมถ่ ูกตอ้ ง
ก. วฒั นธรรมเปน็ มรดกทางสงั คม
ข. วัฒนธรรมเป็นสง่ิ คงทไี่ มเ่ ปล่ียนแปลง
ค. วฒั นธรรมสามารถเปลีย่ นแปลงได้ตลอดเวลา
ง. วฒั นธรรมเปน็ ศนู ยร์ วมของความคิด ของสังคม
จ. วฒั นธรรมมีหนา้ ที่ตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์
3. ปจั จัยสาคญั ทส่ี ดุ ที่ทาให้เกดิ วฒั นธรรมที่แตกต่างกันในสงั คมตา่ ง ๆ
ก. คน
ข. ภมู ิอากาศ
ค. ภมู ิประเทศ
ง. เศรษฐกิจ
จ. การปกครอง
4. วฒั นธรรมชนดิ ใดตา่ งจากพวก
ก. เส้ือผา้
ข. อาหาร
ค. รถยนต์
ง. พิธกี รรม
จ. ทอ่ี ยอู่ าศัย

56

5. ข้อใดกล่าวถึงความสาคัญของวัฒนธรรมไมถ่ กู ต้อง
ก. ชว่ ยให้สงั คมเจริญ
ข. ช่วยควบคุมสังคม
ค. ชว่ ยให้คนเจริญกว่าสัตว์
ง. วัฒนธรรมไม่ก่อให้เกดิ ปัญหาสงั คม
จ. วฒั นธรรมเปน็ ศนู ย์รวมความคดิ

6. ขอ้ ใด มใิ ช่ ลักษณะของวัฒนธรรม
ก. แบบพฤตกิ รรมของมนษุ ย์
ข. เกดิ จากการเรียนรู้
ค. เปน็ มรดกทางสงั คม
ง. เปน็ ส่ิงประดิษฐข์ องมนษุ ย์
จ. เปน็ ส่ิงทแ่ี ก้ไขเปลีย่ นแปลงไม่ได้

7. ข้อใด ไมใ่ ช่ วฒั นธรรม ประเภทเดยี วกัน
ก. เสอื้ ผา้ รองเท้า รถมอเตอร์ไซด์
ข. บ้านทรงไทย ไมแ้ กะสลกั เสอ่ื จนั ทรบูร
ค. ทองหยิบ ทองหยอด ข้าวเกรียบปากหมอ้
ง. ความเชอ่ื เรือ่ งพรหมจรรย์ การรกั นวลสงวนตวั เรือนหอ
จ. นาฬกิ า หนังสอื คอมพิวเตอร์

8. ขอ้ ใดคือหน้าทขี่ องวฒั นธรรม
ก. วฒั นธรรมเป็นศูนยร์ วมของความคดิ
ข. วัฒนธรรมมใี นประเทศท่พี ฒั นาแล้วเท่าน้ัน
ค. วัฒนธรรมทาให้ประเทศต่าง ๆ พฒั นาเท่าเทียมกนั
ง. วัฒนธรรมเม่ือเกดิ ขนึ้ แลว้ ไม่สามารถเปลย่ี นแปลงได้
จ. วฒั นธรรมไม่มีพ้ืนฐานมาจากพฤติกรรมของมนษุ ย์

9. ขอ้ ใดคือสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
ก. การถ่ายทอดวัฒนธรรม
ข. การรบั วัฒนธรรม
ค. การยืมวัฒนธรรม
ง. การผสมกลมกลืนทางวฒั นธรรม
จ. ถกู ทุกข้อ

57

10. ข้อใดคอื วฒั นธรรมท่ไี ม่ใช่สญั ลกั ษณ์
ก. เงินตรา
ข. การไหว้
ค. รถยนต์
ง. ภาษา
จ. พระพุทธรปู

58

1. ความหมายของวัฒนธรรม
สังคมมนษุ ยแ์ ต่ละสังคมจะมีความแตกต่างกัน เพราะแต่ละสังคมจะมีวิถีการดาเนินชีวิตใน

ด้านความเช่ือ อดุ มการณ์ ค่านิยม การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ แต่ภายใต้ความแตกต่างเหล่านี้
ทกุ สงั คมจะมลี ักษณะพื้นฐานทีเ่ หมอื นกนั คือ ทุกสงั คมเป็นการรวมตัวกันเพื่อความอยู่รอดของสมาชิก
การทีส่ ังคมจะดาเนนิ ไปได้นน้ั พฤติกรรมของสมาชกิ แตล่ ะคนจะต้องเปน็ สิ่งที่คาดคะเนได้ว่า คนอื่นจะ
มีพฤติกรรมเช่นไรในสถานการณ์ต่างๆ ในสังคมมนุษย์การสามารถคาดคะเนผู้อ่ืนได้อย่างถูกต้องนั้น
เป็นผลมาจากการเรียนรู้ทางวัฒนธรรม คาวา่ วัฒนธรรม ได้มผี ู้ใหค้ วามหมาย ไว้ดงั นี้

มงคล หวังสุขใจ (2548, หน้า 42) ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรม คือ ประดิษฐกรรมที่
มนุษย์สรรค์สร้างข้ึนมาเพ่ือตอบสนองความต้องการของมนุษย์ข้ันพ้ืนฐาน และมีความเจริญงอกงาม
ตามภูมิปัญญาของคน เมื่อประดิษฐกรรมที่มนุษย์สรรค์สร้างขึ้นมา เป็นที่ยอมรับของคนส่วนมากว่ามี
ความเหมาะสมและถูกต้องไม่ขัดต่อกฎศาสนา และมีความสอดคล้องกับภูมิอากาศ จึงกล่าวโดยสรุปว่า
วฒั นธรรม คอื ทุกสง่ิ ทุกอย่างท่มี นษุ ย์สร้างข้นึ มาและอยบู่ นพ้ืนฐานข องความถูกต้อง

วาสนา บุญสม (2548, หน้า 15) ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรม คือ ความเจริญงอกงาม
ของแนวทางดาเนินชีวิต ตามแบบแผนของความประพฤติที่มนุษย์กาหนดข้ึน รับสืบทอดความรู้
ความคิด ความเช่ือถือค่านิยม นามาปฏิบัติเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี ทาให้สังคมมีความเป็น
ระเบียบเรียบร้อย สมาชิกในสังคมมีความรักใคร่กลมเกลียวสามัคคีกันและมีศีลธรรมอันดี วัฒนธรรม
เป็นเครอ่ื งมือแสดงลกั ษณะเฉพาะ หรือเรยี กวา่ “เอกลักษณ์” ของสังคม

ศักราช ฟ้าขาว (2550, หน้า 9) ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรม คือ เป็นพฤติกรรมที่
มนุษย์ปฏิบัติ และแสดงออกจากการรับรู้ว่าเป็นสิ่งดีงาม มีแบบแผน เช่น ภาษา ขนบธรรมเนียม
ประเพณีศาสนา กฎหมาย ศิลปกรรม ตลอดถึง วิทยาการและเทคโนโลยีต่างๆ ในบริบทของสังคม
นั้นๆ ที่ผู้คนเห็นพร้องกันว่าเป็นสิ่งท่ีสามารถทาร่วมกัน ปฏิบัติร่วมกัน มีการปรับปรุงแก้ไข สืบทอด
สืบสาน และอนุรักษ์จนเป็นแนวทางท่ีคนส่วนใหญ่ในชุมชนทุกระดับยอมรับร่วมกัน จนเป็น มรดก
ของสังคมในท่ีสุด

อมรา พงศาพิชญ์ (2553, หน้า 25) ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์สร้างข้ึน
กาหนดข้นึ มิใช่สง่ิ ทีม่ นษุ ยท์ าตามสญั ชาตญาณอาจเป็นการประดิษฐ์วัตถุสิ่งของข้ึนใช้หรืออาจเป็นการ
กาหนดพฤติกรรมและความคิด ตลอดจนวธิ ีการ หรือกระบวนการทางาน ฉะน้ันวัฒนธรรมก็คือระบบ
ในสังคมมนุษย์ท่ีมนษุ ย์สรา้ งข้นึ มใิ ช่ระบบทีเ่ กดิ ขึ้นเองโดยธรรมชาตติ ามสัญชาตญาณ

จากคากล่าวสรุปได้ว่า วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตของมนุษย์ท่ีมาอยู่รวมกันในสังคมใด
สังคมหนึ่ง ต่างมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์คิดค้นส่ิงต่างๆ และสมาชิกสังคมยอมรับว่าเป็นส่ิงที่ดีงาม
พัฒนาสรา้ งองคค์ วามรู้ สืบสานถ่ายทอดต่อคนรุ่นต่อไป

59

ภาพที่ 3.1 อาชีพทานา เป็นวฒั นธรรมที่สาคัญของชาวไทย
ทีม่ า : http://www.patrolnews.net/wp-

content/uploads/2012/08/13418285091341829033l.jpg
(สบื คน้ 7 ธันวาคม 2557)
2. ลกั ษณะสาคัญของวัฒนธรรม
จากการศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมต่างๆ ทวั่ โลกนั้นสามารถสรุปลักษณะพื้นฐานที่สาคัญ
ของวัฒนธรรม ดงั ท่ี ยศ สนั ตสมบตั ิ (2556, หนา้ 14-16) กล่าวไว้ ดังน้ี
1. วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (shared ideas) และค่านิยมทางสังคมซึ่งเป็นตัวกาหนด
มาตรฐานของพฤติกรรม คนในวัฒนธรรมเดียวกัน จะสามารถคาดคะเนพฤติกรรมของผู้อื่นใน
สถานการณ์ต่างๆ ได้ ซึ่งทาให้พฤติกรรมของเขามีความสอดคล้องต้องกันกับผู้อื่น เช่น ค่านิยม
อยา่ งหนึ่งในสงั คมไทยคือการเคารพนับถือผู้ใหญ่ เมื่อเด็กพบผู้ใหญ่ท่ีตนรู้จัก เด็กทราบดีว่าตนควรยก
มือไหว้เพื่อทักทาย และแสดงความเคารพ ข ณะเดียวกัน ผู้ใหญ่ก็สามารถคาดคะเนได้ว่าเด็กจะไหว้
ตนและตนควรจะรับไหว้
2. วัฒนธรรมเป็นส่ิงที่มนุษย์เรียนรู้ (culture is learned) ทีละเล็กทีละน้อยจากการเกิด
และเติบโตมาในสังคมแห่งหน่ึง วัฒนธรรมเปรียบเสมือน “มรดกทางสังคม” ได้รับการถ่ายทอดจาก
คนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง โดยผ่านกระบวนการถ่ายทอดทางวัฒนธรรม หรือกระบวนการเรียนรู้
ทางวัฒนธรรม (enculturation) ซ่ึงรวมท้ังการอบรมส่ังสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ กลุ่มเพื่อน และ
ประสบการณ์ต่างๆ ที่มนุษย์ได้รับซ่ึงสะสมมาจากการเป็นสมาชิกสังคม จากกระบวนการเรียนรู้ทาง
วัฒนธรรมน้ี มนุษย์จะสามารถเขา้ ใจได้ว่า ตนควรมีพฤตกิ รรมเช่นไรในสถานการณ์ต่างๆ พฤติกรรมเช่น
ไร ที่คนยอมรับว่าดีงามและถูกต้อง มนุษย์จะรับเอาทัศนคติ ค่านิยมและความเชื่อท่ีสังคมยอมรับมา
เปน็ ของตน

60

3. วัฒนธรรมมีพ้ืนฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (symbol) พฤติกรรมของมนุษย์นั้น ซึ่งมี
ตน้ กาเนดิ มาจากการใชส้ ญั ลักษณ์ ชวี ิตประจาวันของมนษุ ย์เก่ยี วขอ้ งกับสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น การไหว้
เงนิ ตรา สัญญาณไฟจราจรหรือสัญลักษณ์ทางศาสนา เช่น พระพุทธรูป สัญลักษณ์สาคัญที่มนุษย์ใช้ก็
คอื ภาษา ซ่ึงเป็นเครื่องมอื ส่อื ความหมายระหว่างกันและกันนอกจากน้ัน ภาษาและระบบสัญลักษณ์
อื่นๆ ยังช่วยให้มนุษย์สามารถรวบรวมความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับธรรมชาติอย่างเป็นระบบและ
สามารถถ่ายทอดความรู้นัน้ ไปยังคนร่นุ หลังตอ่ ไป

4. วัฒนธรรมเป็นองคร์ วมของความรูแ้ ละภมู ปิ ัญญา ซง่ึ ในลกั ษณะเชน่ นีว้ ัฒนธรรมมีหน้าท่ี
สนองตอบความตอ้ งการพน้ื ฐานของมนุษย์ เช่น สอนให้มนุษย์ได้รู้จักหาอาหารอย่างมีประสิทธิภาพวาง
กฎเกณฑใ์ ห้มนษุ ยด์ าเนินชีวิตอย่างมีระเบียบแบบแผน เพื่อให้สังคมทางานไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เป็นระบบ นอกจากนั้น วัฒนธรรมยังช่วยให้มนุษย์ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมซึ่งเป็นพื้นฐานของ
การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีเพอ่ื ความเจริญและความอยู่รอดของมนษุ ย์

5. วฒั นธรรม คอื กระบวนการทมี่ นุษย์ได้กาหนดนิยามความหมายให้กับชีวิต และสิ่งต่างๆ ท่ี
อยู่รอบตัวเรา ตัวอย่าง เช่น มนุษย์ทุกแห่งท่ัวโลกพยายามกาหนดนิยามความหมายของชีวิตและ
กระบวนการกาหนดนิยามความหมายให้กับชีวิต อาจจะออกมาในรูปของความเช่ือทางด้านศาสนา
พิธีกรรม เม่ือมนุษย์ในสังคมแห่งหน่ึงพยายามกาหนดนิยมความหมายของอานาจ ซึ่งกระบวนการ
กาหนดความหมายดังกล่าวน้ัน ก็ย่อมกลายมาเป็นการสร้าง “แนวความคิด” ข้ันพื้นฐานของระบบ
การเมืองการปกครองของสังคมน้นั

ในกระบวนการกาหนดนยิ ามความหมายให้กับชีวติ และสิ่งตา่ งๆ เหลา่ น้ี ทาให้มนุษย์ได้สร้าง
“สถาบัน” หรือ “องค์กร” ขน้ึ มาเพ่อื ทาหนา้ ทีร่ องรับการตีความดังกล่าวข้างต้น เช่น เม่ือมีการกาหนด
นยิ ามความหมายของอานาจ กย็ ่อมมีการจัดต้ังองค์กรหรือสถาบันทางการเมืองขึ้นมาตามการตีความ
ดงั กลา่ ว การตีความในทกุ ๆ ด้านยอ่ มมีการเปลีย่ นแปลงหรือการตีความใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิมและ
สง่ ผลใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงในรูปแบบและเนื้อหาของสถาบนั สงั คมตามไปด้วย

6. วัฒนธรรมเป็นสิ่งไม่หยุดน่ิง แต่มีการเปลี่ยนแปลงปรับตัวอยู่ตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้
การเปล่ียนแปลงทางวฒั นธรรมจึงมสี าเหตุหลายประการ เช่น การเปลีย่ นแปลงอาจเป็นผลมาจากการ
แพร่กระจายทางวัฒนธรรม เช่น ความคิดและค่านิยมท่ีมาจากวัฒนธรรมอื่นและมีอิทธิพลก่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงและการยอมรับในวัฒนธรรมของเรา การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมอาจเกิดจาก
การเปล่ียนแปลงทางด้านเทคโนโลยีซึ่งเป็นความพยายามของมนุษย์ในการควบคุมธรรมชาติและใช้
พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อเทคโนโลยีทางการผลิตเปลี่ยนแปลงไป วัฒนธรรมก็จะ
เปลีย่ นแปลงตามไปด้วย หากเทคโนโลยีเปลีย่ นแปลงรวดเร็วเกินไปจนกระทั่งวัฒนธรรมและประเพณี
ปฏิบัติไม่อาจเปลี่ยนแปลงตามได้ทัน ก็อาจส่งผลให้เกิดปรากฎการณ์ท่ีเรียกว่า “วัฒนธรรมล้า” และ

61

ทาให้มนุษย์ในสังคมนั้นเกิดความรู้สึกแปลกแยก หรืออาจมีผลกระทบรุนแรงถึงขั้นทาให้วัฒนธรรม
เกิดการแตกแยกสลายไป

3. ประเภทของวฒั นธรรม
การนาวฒั นธรรมมาจาแนกออกเป็นประเภทเพอ่ื ช่วยใหเ้ หน็ บทบาทหนา้ ท่ี ความหลากหลาย

ความซับซ้อน ซึ่งเป็นวิธีที่จะทาให้เราเข้าใจส่ิงที่เรียกว่าวัฒนธรรมได้ชัดเจนขึ้น วัฒนธรรมแบ่งได้ 2
ประเภท ตามท่ี จารุณี วงศล์ ะคร (2545, หนา้ 21-24) สรุปได้ ดงั น้ี

1. วฒั นธรรมทางวตั ถุ (material or physical culture) แบง่ ได้ 3 กล่มุ
1.1 เป็นส่ิงท่ีมนษุ ยส์ ร้างขึ้นเพอ่ื ใช้สอย เป็นเรื่องปากท้อง เร่ืองรายได้ ใช้เป็นเครื่องมือ

สาหรบั การทามาหากิน บ้างก็เป็นเคร่ืองอานวยสะดวกสบายทางกาย มีท้ังส่ิงใช้สอยในครัวเรือน เช่น
อาคารบ้านเรือน เครื่องถ้วยชาม ช้อน อาวุธ จอบ เสียม ไถ แห อวน ยุ้งแง ยานพาหนะ หรือที่เป็น
สาธารณูปโภค เช่น ถนน สะพาน บ่อน้า เหมือง ฝาย ส่ิงเหล่าน้ีมนุษย์ผู้คิด ค้น สร้าง ทา กาหนด
ขึ้นมาโดยมุ่งประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ มุ่งตอบสนองความต้องการทางกายเป็นสาคัญ ไม่ค่อยจะ
เก่ียวข้องกับคุณค่าทางจิตใจ การให้คุณค่าสิ่งเหล่าน้ีจึงไม่ได้อยู่ท่ีว่ามัน สวยหรือไม่ แต่อยู่ที่ว่ามันใช้
ประโยชนไ์ ด้หรือไม่

1.2 เป็นสิ่งใช้สอยที่ให้ความรู้สึกเป็นสุขทางใจ เป็นส่ิงใช้สอยที่มีความสวยงาม เช่น
เครอื่ งตกแต่งอาคารบ้านเรือน เคร่อื งตกแตง่ ร่างกาย ไม่ว่าจะเป็น กาแล แจกัน สร้อยแหว นอกจากน้ี
ยังรวมไปถึงสิ่งที่มีคุณค่าด้านจิตใจ ช่วยตอบสนองความต้องการด้านจิตวิญญาณของมนุษย์ได้ เช่น
งานสถาปัตยกรรมที่ให้ผลทางจิตใจไม่ว่าจะเป็น วัด โบสถ์ วิหาร ฯลฯ ส่ิงเหล่าน้ีถูกสร้างขึ้นมาโดย
คานึงถึงทั้งประโยชน์ใช้สอย และความสวยสดงดงาม ความติดตาติดใจ ความเลอเลิศ ควบคู่กันไป
เรียกว่าสามารถตอบสนองต่อความตอ้ งการท้ังทางกายและทางจติ ใจไปพรอ้ มๆ กัน

1.3 เปน็ สงิ่ ท่ีมคี ุณคา่ ดา้ นจิตใจ ให้ความสขุ ใจ ความบันเทิง ส่งิ ประเภทนีจ้ งึ มักเป็นส่ิงที่
มีคุณค่าทางสุนทรีย์ ท่ีคนเราตัดสินคุณค่าด้วยการพิจารณาว่ามันมีความสวย ติดตาตรึงใจ ความเลอ
ค่าหรือไม่ โดยไม่เก่ียวกับประโยชน์ใช้สอย เป็นเร่ืองของอารมณ์ความรู้สึกที่สุขสวย เช่น งานศิลปะ
ชั้นสูง หรืองานดา้ นวจิ ิตรศิลป์ เปน็ ตน้

อย่างไรก็ตาม วัฒนธรรมกลุ่มน้ีไม่หยุดนิ่ง หากมีการเปล่ียนแปลงได้เสมอ กล่าวคือ ในยุค
หนงึ่ สิง่ หน่งึ ถูกสร้างข้ึนมาเพื่อประโยชนใ์ ชส้ อย เช่น เครื่องถว้ ยชาม เส้ือผ้าเคร่ืองแต่งกายเครื่องประดับ
กาแล โคม แตม่ นษุ ยใ์ นยคุ ต่อมาหรือในวฒั นธรรมอ่ืนกลบั มีทศั นคตเิ ชงิ สุนทรีย์ที่มองเห็นและให้ค่า ให้
ความหมายด้านศิลปะและความงาม ที่มีคุณค่าด้านจิตใจ ควรแก่การมี การเก็บสะสมเพ่ือชื่นชม มิใช่
เพอ่ื การใช้สอยตามวตั ถุประสงคเ์ ดิม

นอกจากน้ี ยังเป็นท่ีน่าสังเกตด้วยว่า วัฒนธรรมดูเหมือนจะมีการเหวี่ยงกลับไปกลับมาได้
เสมอๆ เป็นต้นว่า วัฒนธรรมการแต่งกาย เช่น การใช้ผ้าแถบ และเส้ือคอกระเช้า (คนเหนือเรียกเส้ือ

62

บ่าห้อย คนอีสานเรียกเส้ือพวงหรือเสื้อบักกะแหล่ง) ของคนสมัยก่อน ยุคน้ีก็นากลับมาใช้ใหม่ในรูป
ของเสอื้ เกาะอกและเสอื้ สายเดย่ี ว

2. วัฒนธรรมทไี่ มใ่ ชว่ ตั ถุ (non-physical culture) แยกออกเปน็ 2 ประเภทย่อย คือ
2.1 วฒั นธรรมทางความคดิ ความเช่ือ เช่น หลกั คาสอนทางศาสนา ทฤษฎีทางปรัชญา

เทคนิควธิ ีหรือศิลปะในการทา พูด คิด ตลอดจนความเช่ือถือของกลุ่มชน เช่น ความเชื่อโชคลาง ไสย
ศาสตร์ ความเชอ่ื เร่ืองดวง ผี สงิ่ ศักด์ิสิทธ์ิ กฎแหง่ กรรม บาป บญุ คณุ โทษ ฯลฯ

2.2 วัฒนธรรมทีเ่ ปน็ แบบการกระทา เปน็ บรรทดั ฐานของสังคม ได้แก่
2.2.1 กฎหมาย (Laws) ได้แก่ ระเบียบแบบแผน ข้อบังคับ กฎกติกา ที่สมาชิกใน

สังคมต้องปฏิบัติตาม มีบทบัญญัติไว้อย่างชัดเจนพร้อมบทลงโทษ ถ้าฝ่าฝืนจะถูกลงโทษตามตัวบท
กฎหมายนัน้

2.2.2 จารีต (Mores) ได้แก่ ระเบียบ แบบแผน หลักข้อเชื่อของสังคม เช่น คะลา
ขึด รวมถงึ ขอ้ ห้ามทางศาสนา ที่วางไว้อย่างแจ้งชดั เช่น การหา้ มคา้ มนษุ ย์ ห้ามค้าอาวุธ ห้ามค้ายาพิษ
ยาเสพตดิ ท่ศี าสนิกต้องปฏิบัตติ าม ผู้ฝ่าฝนื คอื ผู้ไม่มศี ลี ธรรม จะถูกรังแกและอาจถูกตดั ขาดจากสังคม
เป็นทนี่ ่าสังเกตว่าบางสงั คม เช่น มสุ ลิม อาจนาบทบญั ญัตทิ างศาสนาไปเปน็ กฎหมายด้วย

2.2.3 วิถีประชา (folk way) ได้แก่ ธรรมเนียม ประเพณี มารยาท ที่รู้กันเองใน
มวลหม่สู มาชกิ ในสังคม ไม่ได้วางเปน็ ระเบยี บแบบแผนทต่ี อ้ งปฏบิ ัติตาม ฉะนั้น การฝ่าฝืนจึงไม่ถือเป็น
ความผิด แต่อาจถกู ติฉินนินทา ถกู รังแก

4. ความสาคญั ของวัฒนธรรมตอ่ การดารงชีวติ ของมนุษย์
วัฒนธรรมเป็นแนวความคิดที่มีความสาคัญมากในการศึกษาเร่ืองของสังคมมนุษย์ ถ้าหาก

มนุษย์ไม่มีวัฒนธรรม มนุษย์คงไม่สามารถเอาตัวรอดและสืบพันธ์ุมาจนถึงปัจจุบันได้ วัฒนธรรมเป็น
วิธีการที่มนุษ ย์ต้องใช้ตอบ ส นองคว ามต้ องการของชี วิตทุกส่ิ ง ทุกอ ย่างท่ีมนุษย์คิ ดส ร้างขึ้นม า
นอกเหนือจากทม่ี อี ยตู่ ามธรรมชาติ จดั ว่าเปน็ วัฒนธรรมทั้งสิน้

มนุษย์เป็นสัตว์โลกประเภทเดียวเท่าน้ันท่ีมีวัฒนธรรม การท่ีจะเข้าใจถึงความสาคัญของ
วัฒนธรรมท่ีมีต่อการดารงชีวิตของมนุษย์นั้น จาเป็นจะต้องรู้ถึงธรรมชาติของมนุษย์ และความ
แตกต่างระหวา่ งมนุษยก์ ับสัตว์

ธรรมชาตขิ องมนุษย์ หมายถงึ สิ่งต่างๆ ทีม่ นษุ ยท์ ุกแห่งทุกยุคทุกสมัยมีอยู่เหมือนกัน ได้แก่
วิสัยสามารถท่จี ะเรียนรูไ้ ด้รวมทงั้ ความสามารถในการส่ือความหมายโดยใช้สัญลักษณ์และความต้องการ
จาเป็นซึง่ แยกไดเ้ ป็นความต้องการจาเปน็ ทางร่างกาย จติ ใจ และสงั คม

ความแตกต่างระหว่างมนุษย์กับสัตว์นั้น มีอยู่หลายประการ แต่มีความแตกต่างประการ
หนงึ่ ท่สี าคญั มาก คือ วิธีการที่ใช้ตอบสนองความตอ้ งการของชีวิต สาหรับสตั ว์เป็นวิธกี ารที่สัตว์กระทา
ได้เองโดยสัญชาตญาณ สัญชาตญาณ คือ ความสามารถในการกระทาสิ่งต่างๆ ซ่ึงติดตัวมาแต่กาเนิด

63

ถ่ายทอดมาในสายโลหิตและเป็นลักษณะเฉพาะของสัตว์ชนิดน้ันๆ ช่วยให้สัตว์ประเภทน้ันสามารถ
แก้ปัญหาต่างๆ เพ่ือดารงชวี ิตอย่ตู ่อไปไดใ้ นโลก สัญชาตญาณเป็นพลังผลักดันให้สัตว์นั้นกระทาหรือมี
พฤตกิ รรมในรูปใดรูปหนึ่งแน่นอน เช่น นกรู้จักทารัง ผึ้งรู้จักดูดอาหารตามดอกไม้ต่างๆ เป็นต้น ส่วน
มนุษย์นั้นมีสัญชาตญาณน้อยมาก จนไม่สามารถช่วยในการดารงชีวิต สัญชาตญาณของมนุษย์มีแต่
เร่ืองความหิว ความกลัว การสืบพันธุ์ แต่เน่ืองจากมนุษย์มีสมองที่พิเศษกว่าสัตว์ จึงทาให้สามารถคิด
สร้างวฒั นธรรมขึ้นมาตอบสนองความต้องการของชวี ิตได้

ความแตกตา่ งในเร่อื งสมองของมนษุ ย์กบั สมองของสัตว์นั้น ยังเป็นที่ถกเถยี งของนักวิชาการ
ว่าแตกต่างกันที่ชนิดของสมอง หรือแตกต่างในด้านระดับความคิด ฝ่ายท่ีเชื่อว่าสมองมนุษย์กับสมอง
สัตว์ต่างกันที่ชนิดของสมอง ให้เหตุผลว่า มนุษย์เท่านั้นที่สามารถสื่อความหมายโดยใช้ท้ังสัญลักษณ์
(symbol) และเครื่องหมาย (sign) ส่วนสัตว์ใช้ได้แต่เคร่ืองหมายเท่านั้น สัญลักษณ์ หมายถึงสิ่งที่
มนุษย์กาหนดความหมายเอาเอง สัญลักษณ์ที่สาคัญที่สุดได้แก่ ภาษาพูดและเขียน ส่วนเครื่องหมาย
หมายถึงสิ่งท่ีสัมผัสได้ด้วยประสาทท้ังห้า เช่น เสียงหัวเราะ เสียงร้องไห้ ท้องฟ้ามืดครึ้มมีเสียงฟ้าร้อง
เปน็ เครอื่ งหมายแสดงวา่ ฝนกาลงั จะตก เปน็ ต้น

พฤตกิ รรมของมนุษย์เปน็ พฤติกรรมทางสัญลักษณ์แทบทั้งส้ิน ที่เป็นเช่นน้ีเพราะพฤติกรรม
ต่างๆ มักจะมีความหมายซ่อนอยู่ในพฤติกรรมน้ัน เช่น การแต่งกายชุดสีดาในสังคมไทยมีความหมาย
ไปในทางไวท้ กุ ข์ ภาษาเปน็ สัญลกั ษณ์ระบบความเชื่อ กริ ยิ ามารยาทก็เป็นเร่ืองของสญั ลกั ษณท์ ้งั สนิ้

ดังได้กลา่ วมาแลว้ ว่า มนุษย์มีสัญชาตญาณน้อยมาก ไม่อาจช่วยในการดารงชีวิต แต่เพราะ
มนษุ ยม์ ีสมองที่พเิ ศษกว่าสัตว์ จงึ ทาให้สามารถคิดสร้างวัฒนธรรมเพื่อตอบสนองความต้องการจาเป็น
3 ประการ ได้แก่

4.1 ความต้องการทางร่างกาย ได้แก่ ความต้องการปัจจัยสี่ประการ ได้แก่ อาหาร
เคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย ยารักษาโรค ส่วนวัฒนธรรมท่ีสนองทางด้านร่างกายได้แก่ วิธีการหาอาหาร
วิธีการประกอบอาหาร วิธีปลูกบ้านสร้างเรือน วิธีทาเครื่องนุ่งห่ม วิธีบาบัดโรคภัยไข้เจ็บรวมท้ัง
อุปกรณ์ต่างๆทจี่ าเปน็ ตอ้ งใชส้ าหรบั วิธกี าร นัน้ ๆ

4.2 ความต้องการทางจิตใจ ได้แก่ ความต้องการความรักความอบอุ่น ความม่ันคงทาง
จิตใจ ความรื่นเรงิ บันเทิงใจ ส่วนของวัฒนธรรมที่สนองความต้องการทางจิตใจ คือ ศาสนา ความเช่ือ
การละเล่นรน่ื เริงต่างๆ

4.3 ความตอ้ งการทางสงั คม ได้แก่ ความต้องการที่จะอยู่ร่วมกับคนอ่ืนเป็นกลุ่ม เป็นสังคม
ส่วนของวัฒนธรรมท่ีสนองความต้องการด้านน้ี คือ กฎข้อบังคับความประพฤติระหว่างบุคคลรวมท้ัง
ขนบธรรมเนยี มประเพณตี ่างๆ ท่จี ะทาให้ชีวิตกลุม่ ดาเนินไปได้อย่างราบร่ืน

64

เม่อื มนษุ ยไ์ ด้สร้างวัฒนธรรมข้ึนมาเพ่ือตอบสนองความต้องการ ความสะดวกสบายในชีวิต
ในเรื่องต่างๆ จนมีผลทาให้เกิดความเจริญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างท่ีเห็นในปัจจุบัน
(มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2553, หน้า 53-55)

ภาพท่ี 3.2 วัฒนธรรมเป็นองคร์ วมของความรู้และภูมปิ ัญญามหี น้าทีส่ นองความต้องการ
ของมนุษย์ ทาใหม้ นุษย์คดิ วธิ ีทอผ้าเพือ่ เป็นเครื่องนุ่งห่ม

ทม่ี า : http://www.manager.co.th/aspbin/viewgallery.aspx?
newsid=9590000039884&imageid=4036448
(สืบค้น 10 มกราคม 2558)

5. ปจั จยั ทท่ี าให้สังคมตา่ งๆ มีวัฒนธรรมทแ่ี ตกตา่ งกัน
ในแตล่ ะสงั คมจะมวี ฒั นธรรมหรอื วิถีการดาเนินชวี ติ เปน็ ลกั ษณะเฉพาะ หรอื เป็นเอกลักษณ์

ของตนเองนั้น เพราะมีปัจจัยที่แตกต่างกัน ดังที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2553, หน้า 62) กล่าว
เป็นเพราะสาเหตุดังน้ี

5.1 ความคิดเห็นและการมองโลกต่างกัน ความคิดเห็นและการมองโลกต่างกันจึงทาให้
วฒั นธรรมแตกต่างกันไป ในเรือ่ งนี้จะเหน็ ไดว้ ่ามนุษยท์ กุ แห่งของโลกต้องมีระเบียบกฎเกณฑ์ความเช่ือ
ศาสนา การปกครอง เศรษฐกิจ การอบรมเลี้ยงดูเด็ก ตลอดจนการคบเพ่ือนเหมือนๆ กัน แต่รูปแบบ
ของสิง่ เหล่าน้จี ะแตกตา่ งกนั ไปตามความคดิ เหน็ และคา่ นิยมของแตล่ ะสังคม

5.2 สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ต่างกัน จึงทาให้พบปัญหาแตกต่างกัน เช่น มนุษย์ท่ีอยู่
ในเขตหนาวก็ต้องพบปัญหาต่างกับมนุษย์ท่ีอยู่ในเขตร้อน มนุษย์ท่ีอยู่บนภูเขาย่อมมีปัญหาต่างจาก

65

มนุษย์ท่ีอยู่ในท่ีลุ่ม ด้วยเหตุนี้แต่ละสังคมจึงคิดหาวิธีการแก้ปัญหาให้เหมาะสมกับสภาพส่ิงแวดล้อม
ในบางกรณีจะพบว่ามนุษย์ที่อยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีคล้ายกัน แต่มีวัฒนธรรมต่างกัน ท่ีเป็นเช่นน้ี
อธิบายได้ว่า การที่วัฒนธรรมจะมีลักษณะอย่างไรนั้น นอกจากจะข้ึนอยู่กับสภาพแวดล้อม ความ
คิดเห็น การมองโลกแล้ว ยังข้ึนอยู่กับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ท่ีผ่านมาของแต่ละสังคม ซ่ึงมีส่วน
สาคัญในการกาหนดลักษณะของวัฒนธรรมดังทเี่ ห็นอยูใ่ นปัจจุบัน

ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของแตล่ ะสังคมนนั้ ในทางวชิ าการสงั คมศาสตร์ถือว่าเป็นเรื่อง
ปกติธรรมดา จะไม่มีการนาวัฒนธรรมของแต่ละสังคมมาเปรียบเทียบในแง่สูง ต่า ล้าหลัง เป็นต้น ที่
เป็นเช่นน้ีก็เพราะมนุษย์สร้างวัฒนธรรมเพื่อช่วยในการดารงชีวิต และให้เหมาะสมกับสภาพ
ส่ิงแวดลอ้ มของแตล่ ะสงั คม แต่ในความเป็นจริงมักจะพบว่า การท่ีมนุษย์เกิด และเติบโตในสังคมหน่ึง
ได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมจากสังคมน้ัน ก็มักจะคุ้นเคยกับวัฒนธรรมของกลุ่มของตน และมักจะมี
ความรู้สึกว่าวัฒนธรรมของตนดีกว่าของสังคมอื่น ในทางวิชาการเรียกว่า อัตนิยมทางวัฒนธรรม
(ethnocentrism) ซึง่ หมายถึงการตัดสนิ วฒั นธรรมของสังคมอ่ืนโดยใช้ค่านิยมของตนเองวัด จึงทาให้
มองว่าวฒั นธรรมของตนเองดกี วา่ ของคนอ่นื ท่ีเป็นเชน่ น้ีก็เพราะความคุ้นเคยกับวัฒนธรรมของตนเอง
อตั นยิ มทางวฒั นธรรมเปน็ ความรสู้ ึกท่ไี ม่ถกู ตอ้ งตามหลักวิชาการ เพราะการจะพิจารณาวัฒนธรรมได้
ถกู ต้องและเปน็ ธรรมแก่เจ้าของวัฒนธรรม ไม่ก่อให้เกิดความรู้สึกอัตนิยมทางวัฒนธรรม ควรเป็นการ
พิจารณาแบบวัตถุวิสัย คือพิจารณาวัฒนธรรมภายในขอบเขตเน้ือหาของสังคมเดียวกันเท่านั้น น่ันก็
คอื วัฒนธรรมสัมพัทธ์ (Cultural relativism) จะนาไปวัดหรือเปรยี บเทียบกับวัฒนธรรมของสังคมอ่ืน
เป็นการไม่ถกู ต้อง

6. สาเหตุการเปลย่ี นแปลงทางวัฒนธรรม
วฒั นธรรมเกิดจากการเรยี นรู้ของมนษุ ยใ์ นสังคม ทม่ี ีความคิดคน้ สร้างสรรค์ มีพัฒนานาการ

และไมห่ ยดุ น่ิง จึงเปน็ ปัจจัยของการเปลยี่ นแปลงทางวฒั นธรรม ดงั ท่ี อมรา พงศาพชิ ญ์ (2553, หนา้
31-33) สรุปไดด้ งั น้ี

6.1 การถ่ายทอดวัฒนธรรม วัฒนธรรม คือ สิ่งท่ีมนุษย์จะต้องเรียนรู้ และจะต้องมีการ
ถ่ายทอดวัฒนธรรม การถ่ายทอดวัฒนธรรมท่ีชัดท่ีสุด คือ การที่พ่อแม่สอนลูกว่าอะไรควรทาอะไรไม่
ควรทา ในสังคมไทยพ่อแม่สอนลูกให้ไหว้ผู้ท่ีมีอาวุโสกว่า ผู้น้อยไม่ควรยืนค้าศีรษะผู้ใหญ่ การสอนใน
ลักษณะน้ีนอกจากจะเป็นการสอนถึงพฤติกรรมแล้วยังเป็นการถ่ายทอดระบบสัญลักษณ์ด้วย
นอกจากนี้การที่แม่สอนให้ลูกทาอาหารไทย รู้จักแกงเผ็ดตาน้าพริกก็เป็นการถ่ายทอดวัฒนธรรมไทย
เหมอื นกนั การถ่ายทอดวัฒนธรรมกค็ ือการสอนให้คนรุ่นหลังรู้ถึงระบบสัญลักษณ์ของสังคม ซึ่งได้เคย
มีการตกลงกันไว้วา่ ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง

การที่สมาชิกในสังคมเห็นพ้องต้องกันว่าควรจะถือวิธีการประพฤติปฏิบัติแบบใดนั้น มิได้มี
การตกลงกนั ในรายละเอยี ดทกุ ๆ เรื่อง ข้อตกลง คือ การกาหนดหลักใหญ่ๆ กาหนดแนวคิดความคิดที่

66

สาคัญไว้ หลกั ท่ีสมาชิกของสังคมใช้ยึดถือเป็นแนวประกอบการการประพฤติปฏิบัติก็ คือ บรรทัดฐาน
และค่านิยม บรรทัดฐาน คือแนวทางการปฏิบัติท่ีสมาชิกของสังคมส่วนใหญ่ยึดถือ และค่านิยม คือ
ความคิดและแนวปฏิบัติที่สมาชิกของสังคมส่วนใหญ่เห็นว่าถูกต้องดีงาม เป็นหลักพฤติกรรม
แนวความคิดวิธีการทางาน ตลอดจนการประดิษฐ์สิ่งของเคร่ืองใช้ย่อมจาเป็นท่ีจะต้องสอดคล้องกับ
ค่านิยมของสังคมน้ัน และเม่ือทุกอย่างสอดคล้องกันก็หมายความว่าการถ่ายทอดทางวัฒนธรรมก็
ดาเนินไปได้อย่างไม่มีปัญหา ถึงแม้ว่าการถ่ายทอดทางวัฒนธรรมอาจจะ หมายถึง ลักษณะบางอย่าง
ของวฒั นธรรมไดเ้ ปลี่ยนไปบ้างตามกาลเวลา แตค่ า่ นยิ มและหลักใหญ่ท่ีใช้เป็นกฎเกณฑ์ของสังคมก็จะ
ยงั ไมเ่ ปล่ียนเปล่ียนไป

เน่ืองจากมนุษย์ที่อยู่คนละสังคมย่อมจะมีวัฒนธรรมท่ีแตกต่างกัน เพราะในกลุ่มต่างตกลง
กันเอง ข้อตกลงแต่ละกลุ่มย่อมไม่เหมือนกัน และวัฒนธรรมของสังคมจึงไม่เหมือนกันอาจมีบางส่วน
คล้ายคลึงกันและบางส่วนเหมือนกัน แต่เมื่อรวมเป็นระบบสัญลักษณ์แล้วจะพบว่าสังคมจะมี
วฒั นธรรมทต่ี ่างกัน

6.2 การรบั วฒั นธรรมจากสังคมอื่น นอกจากมนุษยจ์ ะถา่ ยทอดวัฒนธรรมจากคนรุ่นหน่ึงไป
ยังคนอีกรุ่นหน่ึงแล้ว มนุษย์เราอาจจะรับวัฒนธรรมบางส่วนมาจากสังคมข้างเคียงได้ ทั้งน้ี ย่อม
หมายความว่า สว่ นของวัฒนธรรมที่รับมาจากสังคมข้างเคียงนั้น ไม่ขัดกับค่านิยมหลักของสังคม ส่วน
ของวัฒนธรรมของสังคมข้างเคียงที่รับมาจะต้องสอดคล้องกับของเดิมที่มีอยู่ เม่ือสอดคล้องกันก็จะ
ค่อยๆ รับกันไปและในที่สุดก็จะแยกไม่ออกว่า วัฒนธรรมส่วนใดเป็นของเดิม และวัฒนธรรมส่วนใด
รับมาจากสังคมอ่ืน การรับเอาวัฒนธรรมของสังคมของสังคมอื่นมาในระยะแรกอาจจะเรียกได้ว่าเป็น
การยืมวัฒนธรรม แต่เม่ือนานๆ ไปการยืมก็จะกลายเป็นการรับ การยืมวัฒนธรรมและการรับ
วัฒนธรรมน้นั เป็นจุดเริม่ ตน้ ของการเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม

จะเห็นได้ว่า การถ่ายทอดทางวัฒนธรรมภายในสังคมเดียวกัน คือ การสืบทอดวัฒนธรรม
ในแนวต้ังจากคนรุ่นหน่ึงไปสู่คนอีกรุ่นหน่ึง ในกระบวนการเรียนรู้ท่ีพ่อแม่อบรมส่ังสอนลูก ส่วนการ
ถ่ายทอดวัฒนธรรมจากสังคมหน่ึงไปสู่อีกสังคมหน่ึงเป็นการถ่ายทอดวัฒนธรรมในแนวนอนและเป็น
การท่ีสังคมหนึ่งยอมรับวัฒนธรรมของสังคมอ่ืน โดยที่ฝ่ายรับวัฒนธรรมใหม่และละทิ้งวัฒนธรรมของ
ตัวบางสว่ น และทาให้เกดิ การผสมกลมกลืนทางวฒั นธรรมจนทาให้สญู เสียเอกลกั ษณ์เดิมไป

บทสรุป
วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมต่างๆ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ สมาชิก

ยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ดีงาม สามารถเรียนรู้ สืบทอดต่อคนรุ่นต่อไป วัฒนธรรมมีลักษณะสาคัญ คือ เป็น
ความคิดร่วมและค่านิยมทางสังคมซึ่งเป็นตัวกาหนดมาตรฐานของพฤติกรรม เป็นส่ิงที่มนุษย์เรียนรู้
ทีละเล็กทีละน้อยจากการเกิดและเติบโตมาในสังคมแห่งหนึ่ง วัฒนธรรมเปรียบเสมือน “มรดกทาง
สังคม” ได้รับการถ่ายทอดจากคนรุ่นหน่ึงไปสู่คนอีกรุ่นหน่ึงโดยผ่านกระบวนการถ่ายทอดทาง

67

วัฒนธรรม ซึ่งมีพ้ืนฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ โดยพฤติกรรมของมนุษย์มีต้นกาเนิดมาจากการใช้
สญั ลักษณ์ สญั ลกั ษณส์ าคญั ทม่ี นุษย์ใช้ คอื ภาษา ซ่งึ เป็นเครื่องมือสื่อความหมายระหว่างกันและกัน
วัฒนธรรมจึงเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา มีหน้าที่สนองตอบความต้องการพ้ืนฐานของ
มนุษย์ เป็น กระบวนการท่ีมนุษย์กาหนดนิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัว
วฒั นธรรมเปน็ สิง่ ไม่หยดุ น่งิ มกี ารเปล่ยี นแปลงเพื่อปรบั ตัวอย่ตู ลอดเวลา วัฒนธรรมแบง่ ได้ 2 ประเภท
ได้แก่ วัฒนธรรมทางวัตถุ และวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ วัฒนธรรมมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของ
มนุษย์เพ่ือตอบสนองความต้องการ 3 ประการ ได้แก่ ความต้องการทางร่างกาย ความต้องการทาง
จติ ใจ และความตอ้ งการทางสังคม ปัจจัยท่ีทาให้สังคมต่างๆ มีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ได้แก่ ความ
คิดเห็นและการมองโลกต่างกัน และสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ท่ีต่างกัน ปัจจัยของการ
เปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม มีสาเหตุมาจาก การถ่ายทอดวัฒนธรรมเดียวกันและการรับวัฒนธรรม
จากสังคมอื่น จะเห็นว่า การถ่ายทอดทางวัฒนธรรมภายในสังคมเดียวกัน คือ การสืบทอดวัฒนธรรม
ในแนวต้ังจากคนรนุ่ หน่งึ ไปส่คู นอกี ร่นุ และสว่ นการถา่ ยทอดวฒั นธรรมจากสังคมหนึ่งไปสู่อีกสังคมหนึ่ง
เป็นการที่สังคมหน่ึงยอมรับวัฒนธรรมของสังคมอ่ืน โดยที่ฝ่ายรับวัฒนธรรมใหม่ละท้ิงวัฒนธรรมของ
ตวั บางสว่ น และทาใหเ้ กิดการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมจนทาให้สูญเสยี เอกลกั ษณเ์ ดมิ ไป

68

กิจกรรมเสริมบทเรยี น

1. ให้นกั ศกึ ษาทากิจกรรมสรุปบทเรียนหนว่ ยเรียนรทู้ ี่ 3 วัฒนธรรม ดว้ ยแผนภูมิความคิด
2. ให้นักศึกษาทากิจกรรมเขียนบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสามารถนาไปใช้ดารงชีวิต

ในดา้ น วฒั นธรรม
3. ใหน้ ักศึกษาเขยี นสะท้อนความคิดจากบทเรียน เรื่อง วฒั นธรรม

69

ใบงานการเรียนรู้
หนว่ ยเรยี นรู้ท่ี 3

จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. จงอธบิ ายความหมายของวัฒนธรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จงบอกลกั ษณะความสาคัญของวัฒนธรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. วฒั นธรรมแบง่ ได้กปี่ ระเภท อะไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. วิเคราะห์ความสาคัญของวฒั นธรรมตอ่ การดารงชวี ติ มนุษย์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. จงอธิบายสาเหตทุ ี่ทาให้วัฒนธรรมในสงั คมตา่ ง ๆ มคี วามแตกต่างกัน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. อธบิ ายสาเหตุของการเปลย่ี นแปลงวัฒนธรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

70

หนว่ ยเรียนรู้ที่ 3 วัฒนธรรม
แบบทดสอบหลังเรียน
คาสัง่ จงเลือกคาตอบที่ถูกทีส่ ุดแล้วกากบาทลงในกระดาษคาตอบ ก ข ค ง จ
1. ขอ้ ใด ไม่ใช่ วัฒนธรรม ประเภทเดียวกนั

ก. เสอ้ื ผา้ รองเท้า รถมอเตอรไ์ ซด์
ข. บ้านทรงไทย ไมแ้ กะสลัก เสื่อจันทรบูร
ค. ทองหยบิ ทองหยอด ข้าวเกรยี บปากหมอ้
ง. ความเช่ือเรื่องพรหมจรรย์ การรกั นวลสงวนตัว เรอื นหอ
จ. นาฬกิ า หนงั สอื คอมพวิ เตอร์
2. ข้อใดเปน็ ความหมายของคาว่า วัฒนธรรม ไม่ถกู ต้อง
ก. ประดษิ ฐกรรมทม่ี นุษยส์ รา้ งขึน้ เพื่อสนองความต้องการข้นั พื้นฐาน
ข. พฤติกรรมท่ีมนษุ ย์ปฏิบัตแิ ละแสดงออกจากการรับรวู้ ่าเปน็ สิ่งดี
ค. ความเจรญิ งอกงามตามแนวทางดาเนินชีวติ
ง. ความเจรญิ งอกงามตามภูมิปญั ญาของคน
จ. ส่ิงท่ีมนุษย์สรา้ งข้นึ ตามสญั ชาตญาณ
3. ข้อใดกล่าวถึงความสาคญั ของวฒั นธรรมไม่ถกู ต้อง
ก. ช่วยให้สังคมเจรญิ
ข. ช่วยควบคมุ สังคม
ค. ชว่ ยใหค้ นเจรญิ กว่าสตั ว์
ง. วัฒนธรรมไม่ก่อให้เกดิ ปัญหาสังคม
จ. วฒั นธรรมเปน็ ศูนย์รวมความคดิ
4. ขอ้ ใดกลา่ วถึงลกั ษณะของวัฒนธรรมไม่ถูกต้อง
ก. วฒั นธรรมเปน็ มรดกทางสังคม
ข. วัฒนธรรมเป็นส่งิ คงท่ีไม่เปลี่ยนแปลง
ค. วฒั นธรรมสามารถเปลย่ี นแปลงไดต้ ลอดเวลา
ง. วฒั นธรรมเปน็ ศนู ย์รวมของความคดิ ของสงั คม
จ. วัฒนธรรมมหี นา้ ทต่ี อบสนองความตอ้ งการของมนุษย์

71

5. ข้อใดคือหนา้ ทขี่ องวัฒนธรรม
ก. วัฒนธรรมเป็นศนู ย์รวมของความคิด
ข. วฒั นธรรมมใี นประเทศท่ีพัฒนาแลว้ เท่าน้ัน
ค. วัฒนธรรมทาให้ประเทศตา่ ง ๆ พัฒนาเทา่ เทียมกนั
ง. วฒั นธรรมเม่อื เกิดขึ้นแลว้ ไม่สามารถเปล่ียนแปลงได้
จ. วฒั นธรรมไม่มีพื้นฐานมาจากพฤตกิ รรมของมนษุ ย์

6. ปัจจยั สาคัญท่ีสดุ ท่ีทาให้เกดิ วฒั นธรรมทแ่ี ตกตา่ งกนั ในสงั คมตา่ ง ๆ
ก. คน
ข. ภมู ิอากาศ
ค. ภมู ิประเทศ
ง. เศรษฐกิจ
จ. การปกครอง

7. ข้อใดคอื สาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
ก. การถา่ ยทอดวัฒนธรรม
ข. การรับวัฒนธรรม
ค. การยมื วัฒนธรรม
ง. การผสมกลมกลืนทางวฒั นธรรม
จ. ถกู ทกุ ข้อ

8. วฒั นธรรมชนดิ ใดตา่ งจากพวก
ก. เสื้อผา้
ข. อาหาร
ค. รถยนต์
ง. พิธกี รรม
จ. ทีอ่ ยู่อาศัย

9. ข้อใดคอื วัฒนธรรมท่ีไมใ่ ชส่ ญั ลักษณ์
ก. เงินตรา
ข. การไหว
ค. รถยนต์
ง. ภาษา
จ. พระพุทธรูป

72

10. ข้อใด มิใช่ ลักษณะของวฒั นธรรม
ก. แบบพฤติกรรมของมนษุ ย์
ข. เกิดจากการเรียนรู้
ค. เป็นมรดกทางสงั คม
ง. เป็นสิง่ ประดษิ ฐข์ องมนษุ ย์
จ. เป็นส่ิงทีแ่ กไ้ ขเปลย่ี นแปลงไม่ได้

73

เฉลยแบบทดสอบ กอ่ นเรยี น-หลังเรียน
หนว่ ยเรียนรูท้ ่ี 3

เฉลยแบบทดสอบ เฉลยแบบทดสอบ
ก่อนเรียน หลังเรียน
1.จ 1.ง
2.ข 2.จ
3.ก 3.ง
4.ง 4.ข
5.ง 5.ก
6.จ 6.ก
7.ง 7.จ
8.ก 8.ง
9.จ 9.ค
10.ค 10.จ

เกณฑ์การประเมนิ ผล ดมี าก
คะแนนเต็ม 10 คะแนน ขอ้ ละ 1 คะแนน ดี
ระดับคะแนน 9-10 คะแนน พอใช้
ปรบั ปรุง
7-8 คะแนน
5-6 คะแนน
0-4 คะแนน

74

แนวตอบใบงานการเรียนรู้
หน่วยเรียนรทู้ ่ี 3

1. อธบิ ายความหมายของวัฒนธรรม
วฒั นธรรม หมายถึง วิถีชีวิตของมนุษยท์ มี่ าอยู่รวมกนั ในสงั คมใดสงั คมหนงึ่ ตา่ งมีความคิด

รเิ ริม่ สร้างสรรค์คดิ คน้ สงิ่ ตา่ งๆ และสมาชกิ สังคมยอมรบั ว่าเปน็ ส่ิงทีด่ ีงามพัฒนาสรา้ งองค์ความรู้ สบื
สานถา่ ยทอดต่อคนรุ่นต่อไป
2. จงบอกลกั ษณะความสาคัญของวัฒนธรรม

วฒั นธรรมมลี กั ษณะพื้นฐาน ดังน้ี
1. วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม และค่านิยมทางสังคมซึ่งเป็นตัวกาหนดมาตรฐานของ
พฤติกรรม
2. วัฒนธรรมเป็นสิ่งท่ีมนุษย์เรียนรู้ ทีละเล็กทีละน้อยจากการเกิดและเติบโตมาในสังคม
แหง่ หนึ่ง วฒั นธรรมเปรยี บเสมือน “มรดกทางสงั คม”
3. วัฒนธรรมมีพ้ืนฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ พฤติกรรมของมนุษย์มีต้นกาเนิดมาจาก
การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ชวี ิตประจาวนั ของมนษุ ย์เก่ยี วข้องกับสญั ลกั ษณต์ ่างๆ เชน่ การไหว้
4. วฒั นธรรมเป็นองค์รวมของความรแู้ ละภูมปิ ญั ญา ซง่ึ ในลกั ษณะเชน่ นวี้ ัฒนธรรมมีหน้าท่ี
สนองตอบความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
5. วัฒนธรรม คือ กระบวนการทม่ี นษุ ย์ไดก้ าหนดนยิ ามความหมายให้กับชีวิต และสิ่งต่างๆ ท่ี
อยรู่ อบตวั เรา
6. วัฒนธรรมเปน็ ส่งิ ไมห่ ยุดนิ่ง แต่มีการเปล่ียนแปลงปรับตัวอยู่ตลอดเวลา
3. วฒั นธรรมแบ่งไดก้ ีป่ ระเภท อะไรบา้ ง
วฒั นธรรมแบ่งได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ วฒั นธรรมทางวัตถุ และ วฒั นธรรมไม่ใช่วตั ถุ
4. วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของวัฒนธรรมต่อการดารงชีวติ มนษุ ย์
มนุษย์เป็นสัตว์โลกประเภทเดียวเท่านั้นท่ีมีวัฒนธรรม การที่จะเข้าใจถึงความสาคัญของ
วัฒนธรรมที่มีต่อการดารงชีวิตของมนุษย์น้ัน จาเป็นจะต้องรู้ถึงธรรมชาติของมนุษย์ และความ
แตกตา่ งระหว่างมนุษย์กับสัตว์
มนุษย์มีสัญชาตญาณน้อยมากไม่อาจช่วยในการดารงชีวิต แต่เพราะมนุษย์มีสมองที่พิเศษ
กว่าสตั ว์ จงึ ทาใหส้ ามารถคดิ สรา้ งวฒั นธรรมเพอื่ ตอบสนองความต้องการจาเป็น 3 ประการ ไดแ้ ก่
1. ความตอ้ งการทางรา่ งกาย
2. ความต้องการทางจติ ใจ
3. ความต้องการทางสงั คม

75

5. จงอธบิ ายสาเหตทุ ่ีทาให้วัฒนธรรมในสังคมต่างๆ มคี วามแตกตา่ งกนั
1. ความคดิ เห็นและการมองโลกตา่ งกนั
2. สภาพแวดลอ้ มทางภูมิศาสตรต์ า่ งกนั

6. อธิบายสาเหตุของการเปลยี่ นแปลงวัฒนธรรม
การถา่ ยทอดวฒั นธรรม การถ่ายทอดอาจไม่ครบสมบรู ณข์ าดหายไปส่วนใดส่วนหน่ึง หรือมี

บุคคลในสังคมคิดค้นส่ิงใหม่เกิดข้ึน และมีการรับวัฒนธรรมจากสังคมอ่ืนซ่ึงเป็นการสะดวกในการรับ
มาแล้วใช้ไดเ้ ลย

76

เอกสารอ้างองิ

จารณุ ี วงศล์ ะคร. (2545). ปรชั ญาวัฒนธรรมและวัฒนธรรมไทย. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา
คณะมนษุ ย์ศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่.

มงคล หวงั สุขใจ. (2548). สังคมวิทยาเบ้ืองต้น. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พฝ์ า่ ยบรกิ ารมหาวิทยาลัยศรีปทมุ .
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. (2553). มนษุ ยก์ ับสังคม. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.
ยศ สันตสมบตั ิ. (2556). มนุษยก์ ับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.
วาสนา บุญสม. (2548). ศิลปวฒั นธรรมไทยสายใยจากอดตี . กรุงเทพฯ: สานักพมิ พป์ ิรามดิ .
ศักราช ฟา้ ขาว. (2550). มรดกทางศิลปวฒั นธรรม. คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์

มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่.
อมรา พงศาพิชญ์. (2553). สงั คมและวฒั นธรรม. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวทิ ยาลยั .
เว็บไซต์
http://www.manager.co.th/aspbin/viewgallery.aspx

newsid=9590000039884&imageid=4036448 (สืบคน้ 10 มกราคม 2558)
http://www.patrolnews.net/wp- content/uploads

/2012/08/13418285091341829033l.jpg (สบื คน้ 7 ธันวาคม 2557)


Click to View FlipBook Version