The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชา ชีวิตกับสังคมไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitimon thongpim, 2019-06-04 03:00:06

หน่วยที่ 1 มนุษย์กับสังคม

วิชา ชีวิตกับสังคมไทย

2562

มนุษยก์ บั สงั คม

ฐิตมิ น ทองพมิ พ์

1

หนว ยเรียนรทู ี่ 1 มนษุ ยก บั สังคม

สาระสําคัญ

มนุษยในแตละวัยจะมีการเจริญเติบโตพัฒนาการเปลี่ยนแปลงทั้งโครงสรางทางรางกาย
จิตใจและความสามารถในทักษะการทํางาน ความสัมพันธท้ังรางกายและจิตใจจะตอเน่ืองตลอดชีวิต
เปนระยะๆ มนุษยไมส ามารถพ่ึงพาตนเองไดทุกอยาง จําเปนตองพ่ึงพาอาศัยเพ่ือนมนุษยดวยกันท่ีอยู
รว มกนั ในสังคม

สาระการเรียนรู

1. ความหมายของมนษุ ย
2. ลักษณะสําคัญของมนุษย
3. พฤตกิ รรมของมนุษย
4. ประเภทของมนุษย
5. ความหมายและความเปนมาของสังคม
6. สาเหตทุ ําใหเกดิ สังคมมนุษย
7. องคป ระกอบของสงั คม
8. ประเภทของสังคม
9. หนา ท่สี าํ คัญของสังคมมนุษย

ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั

นักศกึ ษามคี วามตระหนกั ในความสําคญั ของมนษุ ยแ ละสงั คม

จุดประสงคก ารเรียนรู

เม่ือศึกษาหนวยเรียนรูท่ี 1 จบแลว นักศึกษาสามารถ
1. บอกความหมายและลกั ษณะสาํ คัญของมนุษยได
2. อธิบายลกั ษณะของพฤตกิ รรมของมนุษยได
3. จาํ แนกประเภทของมนุษยได
4. อธบิ ายความหมายและความเปนมาของสงั คมได
5. อธบิ ายสาเหตทุ าํ ใหเ กิดสังคมมนุษยไ ด
6. จําแนกองคป ระกอบของสังคมได
7. จาํ แนกประเภทของสังคมได
8. วเิ คราะหห นาทสี่ าํ คัญของสังคมมนุษยได

2

หนวยเรียนรูท่ี 1 มนุษยกับสังคม
แบบทดสอบกอนเรียน
คาํ ส่งั จงเลอื กคําตอบทีถ่ ูกท่ีสุดแลวกากบาทลงในกระดาษคาํ ตอบ ก ข ค ง จ
1. ขอใดกลา วเกย่ี วกับมนุษยไมถ ูกตอง

ก. สตั วท ่ีรูจักใชเ หตผุ ล สตั วทม่ี จี ติ ใจสูง
ข. มนษุ ยกับสตั วน น้ั มลี กั ษณะบางประการรว มกนั อยู
ค. มนุษยก ับสัตวน น้ั มีลักษณะบางประการแตกตา งกัน
ง. มนุษยเปน สัตวโลกท่ไี มส ามารถพึ่งตนเองได
จ. มนุษยเ ปน สตั วโ ลกทส่ี ามารถพง่ึ ตนเองจึงสามารถอยูตามลําพงั ได
2. มนษุ ยน สิ ยั ชว่ั ชา บาปหนา โหดราย ชอบสรางความโหดรา ยใหกบั คนอ่ืน คือ มนุษยประเภทใด
ก. มนษุ ยน รก
ข. มนษุ ยเปรต
ค. มนุษยเ ดยี รัจฉาน
ง. มนษุ ยเทวดา
จ. มนุษยซ าตาน
3. ขอ ใดบอกความหมายของสังคมไมถ กู ตอง
ก. กลมุ คนท่ีอยรู วมกัน มีการตดิ ตอ สอ่ื สารซึ่งกนั และกนั และเพ่ือตอบสนองความตองการ

และผลประโยชนในการดํารงชีวติ รว มกนั
ข. คนจาํ นวนหนึง่ มคี วามสัมพันธตอเนื่องกันตามระเบยี บกฎเกณฑโดยมวี ตั ถปุ ระสงคร วมกนั
ค. การทมี่ นุษย ท่ีมีอะไรสว นใหญเ หมือนหรือคลา ยคลงึ กนั มีความสมั พันธกนั และมาอยูใน

เขตเดียวกันอยา งถาวร
ง. กลุมคนตง้ั แตสองคนขึ้นไปไดต ิดตอสัมพนั ธกนั ในพืน้ ท่ใี ดพน้ื ทห่ี น่งึ ไมจ ําเปนตองมี

วตั ถปุ ระสงคแ ละกฎระเบียบรว มกนั
จ. กลมุ คนท่มี าอยรู วมกนั เพราะหนคี วามกลัวจากภยั ธรรมชาติเหมอื นกนั และมาอยูรวมกันมี

การตดิ ตอ ซ่งึ กนั และกันระยะเวลานาน
4. ผทู ก่ี ลาววา “มนุษยเ ปน สตั วส งั คม”

ก. ชารลส ดารวนิ
ข. อรสิ โตเติล
ค. วลิ เลี่ยม เชกสเปยร
ง. โทมสั โฮม
จ. จอหน ลอ็ ค

3

5. ทฤษฎที เี่ ช่ือวา มนษุ ยแตดัง้ เดิมนนั้ มิไดร วมกันอยูเ ปนสังคมเชน ปจจุบนั น้ี หากแตมนุษยได
อาศัยอยตู ามสภาพธรรมชาติ
ก. ทฤษฎีสญั ญามนุษย
ข. ทฤษฎีสัญญาวัฒนธรรม
ค. ทฤษฎีสัญญาสงั คม
ง. ทฤษฎีสัญญาศาสนา
จ. ทฤษฎีสัญญาคานยิ ม

6. ขอใดไมใชองคป ระกอบของสงั คม
ก. การมีอาณาเขตที่แนนอน
ข. การอยรู ว มกันเปน กลมุ
ค. มีบรรทัดฐานคลา ยคลงึ กัน
ง. มีวัฒนธรรมเหมอื นกนั
จ. ทํางานอยา งเปน อสิ ระตางคนตางทาํ

7. มีการพัฒนาประสิทธิภาพของการผลิตทางเศรษฐกิจอยางมากท้งั ทางดานเกษตรกรรมและ
อุตสาหกรรม
ก. สงั คมยคุ หิน
ข. สงั คมยุคสําริด
ค. สงั คมยคุ เหลก็
ง. สังคมยคุ ทอง
จ. สังคมยคุ เงิน

8. ขอ ใดเปนสงั คมยคุ แรกของมนษุ ย
ก. สังคมลา สัตวแ ละเก็บของปา
ข. สังคมเลยี้ งสตั วเ พ่ือการยังชีพ
ค. สงั คมกสกิ รรมพชื สวน
ง. สังคมเกษตรกรรม
จ. สงั คมกสิกรรมพชื ไร

4

9. สงั คมอุตสาหกรรม เกดิ ข้ึนเปนคร้งั แรกในประเทศใด
ก. อเมริกา
ข. องั กฤษ
ค. ญ่ีปุน
ง. เกาหลี
จ. จนี

10. ขอ ใดไมใชห นาท่ีสําคญั ของสงั คมมนุษย
ก. เพ่มิ สมาชิกใหม
ข. จะตอ งทําใหสมาชิกมคี วามม่นั คง
ค. จดั การอบรมขัดเกลาและพัฒนาสมาชกิ
ง. กระจายรายไดใ หแกส มาชิกอยา งทว่ั ถงึ
จ. สนองความตองการของสมาชกิ ตลอดเวลาท่เี รียกรอ ง

5

1. ความหมายของมนุษย
พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 (2538, หนา 628) ไดใ หค วามหมายคาํ วา

“มนุษย” หมายถึง สตั วท่รี ูจักใชเหตุผล สัตวท ่มี ีจิตใจสงู
จารุณี วงศละคร (2545, หนา 2) ไดกลาววา มนุษย เปนทั้ง “ชีวิต” และ “บุคคล” มนุษย

จงึ เปน ผลผลติ ของทั้งธรรมชาติและวัฒนธรรม มนุษยทุกรูปทุกนามจึงเปนผลมาจากการสืบทอดสอง
ทาง คือ ทางธรรมชาติ ซ่ึงเปนทางในกาย อันหมายเอาการสืบทอดทางชีววิทยาที่อาศัยยีนและ
โครโมโซม กับทางวัฒนธรรมซ่ึงเปนทางนอกกาย ท่ีหมายเอาการสืบทอดทางวิถีชีวิตโดยการอบรม
เล้ยี งดูและ การติดตอส่ือสาร กลาวคือมนุษยมีสองลักษณะ ไดแก มนุษยในฐานะสัตวโลก และมนุษย
ในฐานะเปน ผูม ีวัฒนธรรม

จํานง อดวิ ฒั นสทิ ธ์ิ (2548, หนา 10) ไดกลาววา มนุษย เปนภาวะอยางหนึ่ง ที่ประกอบดวยรูป
กับนามโดยเรียกรวมเปนภาษาท่ัวไปวา “คน” หรือสัตวโลกที่มีชีวิตชนิดหน่ึงโดยมีความแตกตางจาก
สตั วโลกชนดิ อน่ื ในเรือ่ งความคดิ ความมีสติปญญา รูจักพิจารณาไตรตรอง ดานหลักแหงเหตุผล ความมี
สติสัมปชัญญะ มีจิตสํานึกรับผิดชอบช่ัวดี ซ่ึงกลาวโดยสวนรวมก็คือ มีวัฒนธรรมแตกตางจากสัตว
โลกชนิดอน่ื ๆ น่นั เอง เพราะฉะนั้นมนษุ ยต ามรูปศัพท จงึ แปลวา ผูมจี ิตใจสูง มีคณุ ธรรม

ดงั นัน้ จึงกลา วไดว า มนษุ ยเปนสตั วท ม่ี ีชวี ติ เชนเดยี วกับสตั วโ ลกท่ัวไป ไดรับการอบรมเลี้ยง
ดูถายทอดความรูประสบการณ ทําใหมีความคิดสรางสรรคสิ่งตางๆ มีเหตุผล มีความเมตตา
ชว ยเหลอื ซึ่งกันและกนั จึงทาํ ใหม นุษยแตกตาง จากสตั วโ ลกชนดิ อื่น ๆ

2. ลักษณะสาํ คัญของมนษุ ย
ส่ิงมีชีวิต ท้ังมนุษยและสัตวจะมีลักษณะบางประการท่ีเหมือนกัน ท้ังนี้เนื่องจากสิ่งมีชีวิต

ทั้งหลายวิวัฒนาการมาจากจุดเร่ิมตนเดียวกัน แตท้ังน้ีก็มีลักษณะที่แตกตางกัน หรืออาจกลาวไดวา
มนุษยมีลักษณะพิเศษหลายประการที่สัตวตางๆ ไมมี ดังที่ ณรงค เส็งประชา (2532, หนา 9-11) ได
กลา วถงึ ลกั ษณะสําคญั ของมนษุ ยไ วส รุปได ดังนี้

2.1 ลกั ษณะของมนุษยแ ละสตั วม อี ยรู ว มกนั และเปน ที่ยอมรบั กันน้นั มดี งั นี้
2.1.1 ส่งิ มชี วี ิตทุกชนดิ ตองการอาหาร นํ้า และอากาศ
2.1.2 สิ่งมีชีวิตทุกชนิดตองการมีความสัมพันธใกลชิด และตองพ่ึงพาอาศัยส่ิงแวดลอม

ทางกายภาพและชวี ภาพ
2.1.3 สิง่ มีชวี ติ ทุกชนดิ มีความสามารถในการสบื พนั ธุ
2.1.4 ถาสิ่งมีชีวิตขยายแพรพันธุไปเร่ือยๆ โดยไมมีอะไรยับย้ัง ถึงจุดหนึ่งอาหารที่ใช

เลย้ี งชีวติ จะขาดแคลนลง
2.1.5 เม่อื อาหารขาดแคลน ส่ิงมีชีวิตทั้งหลายยอ มมกี ารตอ สูแขง ขนั เพ่ือแยงอาหาร

6

2.1.6 สงิ่ มีชีวิตแตล ะชนดิ เมื่อสบื พนั ธุมีลูกหลานจะมีลักษณะเหมือนพอแมแตบางคร้ังจะ
มีกระบวนการผาเหลา (Mutation) เนื่องจากการผสมพันธุของยีน อาจจะทําใหลูกหลานมีลักษณะ
แตกตา งกันออกไปย่ิงมีประชากรมากกย็ ิง่ มโี อกาสเกดิ ความแตกตา งกันไดมากขน้ึ

2.1.7 การท่ีสิ่งมีชีวิตจําเปนตองแขงขันแยงอาหารกันยอมทําใหเกิดกระบวนการ
คัดเลือกของธรรมชาติ สัตวท่ีไดเปรียบคือสัตวที่ขยายพันธุไดสูงมีกําลังกายแข็งแรงฉลาดและมีความ
อดทน สามารถปรับตัวเขา กับสง่ิ แวดลอ มไดดี

2.1.8 เมื่อมีการคัดเลือกของธรรมชาติจึงทําใหมีการวิวัฒนาการ ของอวัยวะตางๆ
และวิวัฒนาการของพฤติกรรมตามมา สัตวชนิดใดท่ีสามารถมีวิวัฒนาการของอวัยวะในทางที่ไดเปรียบจะ
กอใหเกดิ ประโยชนม ากกวา กอ็ ยูรอดไดมากกวา

2.2 ลักษณะของมนุษยตา งจากสตั ว มีดังน้ี
2.2.1 มคี วามสามารถในการเรียนรูไดอยางมากมายผิดจากสัตวประเภทอ่ืนๆ ลักษณะ

น้ีทําใหมนุษยสามารถพัฒนาการปรับตัวตอส่ิงแวดลอมไดดี สําหรับการเรียนรูของมนุษยนั้นอาศัย
ระบบสญั ลักษณ

2.2.2 มีสมองท่ีใหญ และ มีคุณภาพทําใหมีสติปญญาในการประดิษฐคิดคนส่ิงตางๆ
เพอ่ื ประโยชนใ นการดาํ รงชีวิต สามารถบันทึกเรอื่ งราวตางๆไวไ ดมากมาย

2.2.3 สามารถเดินไดรวดเร็วมีรางกายตั้งตรงกับพ้ืนโลกทําใหเคล่ือนไหว รางกายได
รอบตวั และรวดเรว็

2.2.4 มีนิว้ มอื ทีช่ วยใหท ําหรือประดษิ ฐส ิ่งตางๆ ไดอ ยางละเอียด
2.2.5 มีตาท่ีสามารถมองเห็นสิ่งตางๆ ไดดี โดยมองเห็นไดในระยะไกลและมองเห็นได
อยางชัดเจน นอกจากนัน้ ดวงตาทีต่ งั้ อยูในตาํ แหนงทีเ่ หมาะสม
2.2.6 มีอายุท่ียืนยาวกวาสัตวชนิดอ่ืน ๆ จึงทําใหสามารถเรียนรูสะสมประสบการณ
พรอ มที่จะถายทอดกันไดมากกวา และมีความสมั พนั ธก ันหลายรนุ หลายวยั
2.2.7 โดยปกติแลวมนุษยเปนสัตวสังคม การมาอยูรวมกันเปนกลุมทําใหโอกาสท่ีจะ
สะสมความรแู ละประสบการณด กี วาอยเู พียงคนเดียว
2.2.8 ในวัยเยาว มีความจําเปนจะตองพึ่งพาอาศัยผูอ่ืนในการเล้ียงดู เพ่ือตอบสนอง
ความตองการพ้ืนฐาน เชน อาหาร ท่ีอยูอาศัย ความปลอดภัยและการอบรมเล้ียงดูจะใชเวลายาวนาน
กวาสตั วป ระเภทอื่นๆ ทาํ ใหเกิดการเรียนรูและการเลียนแบบ
2.2.9 มนุษยมีกิจกรรมทางเพศตั้งแตวัยหนุมสาวจนถึงวัยชราโดยตลอดไมมีเวนชวงเวลา
ทาํ ใหก ารอยรู ว มกนั ระหวางชายและหญงิ มีเสถียรภาพ จึงสามารถทาํ การวางแผนประชากรไดด ี
2.2.10 มนุษยสามารถเรียนรูและมีความเฉลียวฉลาดโดยรูจักการใชเหตุผลในการ
แกปญหาและพฒั นาวัฒนธรรม

7
2.2.11 มนุษยมีเครื่องมือในการสื่อความหมาย จึงทําใหเกิดการติดตอส่ือสาร
แลกเปลยี่ นเรียนรูถา ยทอดวฒั นธรรมไดด ี
2.2.12 มนษุ ยไดเปรยี บกวาสตั วอ ื่นๆ เพราะกินอาหารไดม ากชนดิ ทงั้ พชื และสตั ว

ภาพที่ 1.1 รา งกายของมนุษยตง้ั ตรงกับพ้ืนโลก
ท่ีมา : https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=angel-

touch&month=02-10-2009&group=4&gblog=108
(สืบคน 9 มกราคม 2558)

ภาพที่ 1.2 รางกายของสตั วข นานกับพ้นื โลก
ที่มา : http://thongkum.blogspot.com/2015/11/blog-post_67.html

(สืบคน 9 ธนั วาคม 2558)

8

ถึงแมมนุษยจะเปนสัตวโลกชนดิ หนง่ึ แตมีลกั ษณะเดนทางกายภาพ มพี ฤติกรรม จิตภาพซึ่ง
มีผลตอสตปิ ญญาและความสามารถในการเรยี นรู มสี ตปิ ญญาในการประดิษฐ คิดคน และมีจิตวิญญาณ
สุนทรียภาพ มีลกั ษณะพฤติกรรมท่ีตอ งอาศัยสงั คมในการดําเนนิ ชีวติ เพื่อพฒั นาความเจริญงอกงาม

3. พฤติกรรมของมนุษย
พฤติกรรมของมนุษย น้ัน มีผลสบื เน่อื งมาจากการอบรมเล้ียงดตู งั้ แตแรกเกิดในสงั คมท่ี

มนุษยอ าศยั อยู โดย มนุษยจ ะมีพฤติกรรมท่ีแตกตางกนั ไป ซึง่ มผี ใู หความหมายของพฤติกรรรมไว
ดงั ตอ ไปนี้

จุฑารัตน เอื้ออํานวย (2551, หนา 5) ไดใหความหมายของพฤติกรรม (Behavior) วา
การแสดงหรือการกระทําท่ีมองเห็น และสังเกตไดของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเรียกวา “พฤติกรรมภายนอก”
(Overt behavior) เชน พูด เดนิ กิน นอน รอ งไห เลน เรียน ฯลฯ เปนตน และ ในกรณี ที่มองไมเห็น
หรือ สังเกตไมได เพราะเปนกระบวนการทางจิต อาจใชเคร่ืองมือทดสอบ หรือ ทดลองได เรียกวา
“พฤติกรรมภายใน” (Covert behavior) เชน การรับรู ความคดิ การจาํ และการรสู กึ เปน ตน

ศิรินภา จามรมาน และ ปนัดดา ชํานาญสุข (2553, หนา 23) ไดใหความหมายของ
พฤติกรรม วา พฤติกรรมของมนุษยสามารถแบงออกไดหลายประเภท เชน พฤติกรรมภายนอกและ
พฤติกรรมภายใน พฤติกรรมของมนุษยเกี่ยวของกับการกระตุนเราจากสิ่งแวดลอมที่มีชีวิตและ
ส่งิ แวดลอ มทีไ่ มมชี ีวติ ส่งิ แวดลอ มที่เปน รปู ธรรมและสิง่ แวดลอมท่ีเปนนามธรรม

อําไพ หม่ืนสทิ ธ์ิ (2553, หนา 62) ไดใหความหมายของพฤติกรรม วาการกระทําทุกอยาง
ทผี่ ูกระทําแสดงออกมาท้ังท่ีโดยรสู กึ ตัวและไมร สู ึกตวั ซงึ่ ผอู น่ื อาจสามารถสงั เกตไดและไมอาจสังเกตได
ทงั้ นเี้ พ่อื ตอบสนองตอสง่ิ ใดสิ่งหนึง่

ดังนัน้ สรุปไดว า พฤตกิ รรม หมายถึง การกระทาํ ท่ีแสดงออกของมนุษยจากตอบสนองตอ
ส่ิงแวดลอมอาจจะรูสึกตัวหรือไมรูสึกตัว การแสดงพฤติกรรมของมนุษยน้ัน ข้ึนอยูกับพันธุกรรมและ
สภาพสังคมทม่ี นุษยอาศัยอยู

4. ประเภทของมนุษย
มนุษยมีความเปนอยูท่ีแตกตางกันตามการกระทําของตนท้ังในอดีตและปจจุบัน ซ่ึงโดย

ลักษณะการกระทําของมนุษย น้ัน ทําใหสามารถแยกมนุษยออกเปน 4 ประเภท ดังที่ คณาจารย
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั (2559, หนา 4) สรุปได ดงั น้ี

4.1 มนุษยนรก หมายถึง มนษุ ยม นี ิสัย ชัว่ ชา บาปหนาโหดรา ยชอบสรา งความโหดรายใหกับคน
อ่นื เปนอยา งมาก ฆา สตั ว ฆา คน ลกั ขโมย มนษุ ยพ วกนี้ ไมช อบอยูบ านเหมือนบุคคลทั่วไปกลับชอบอยู
ในคุกในตะราง หมดอสิ รภาพ ทนทุกขท รมานแสนสาหัส

9

4.2 มนุษยเปรต หมายถึง มนุษยที่มีชีวิตความเปนอยูอยางยากลําบาก แสวงหาอาหาร
ผานุงผา หม เทา นั้น กวาจะไดก็ยากลําบาก แมจะมีความเพียรขยันหาทรัพยอยางไร ก็ไมพอใช และไม
พอกนิ มแี ตความ อดอยาก ที่ไหนดีหากินสะดวก ก็ไปที่นั้น พอไปถึงตรงน้ันกลับไมเจริญ คนมักเรียก
คนประเภทนวี้ า “คนกาลกณิ ี”

4.3 มนุษยเดียรัจฉาน หมายถึง มนุษยบางจําพวกท่ีมักอาศัยอยูกับผูอ่ืน เหมือน แมว มา
หมู เปด ไก สุดแลวแตนายจะใชใหทําอะไร หลังจากทํางานเสร็จแลว เจานายจะใหอะไรที่ถูกใจหรือไม
ถูกใจ ก็ตองรับเอาใจ ถึงคราวเจานายดุดาวา ก็เกิดความสะดุงหวาดกลัว หาความสะดวกสบายไมได
เพราะเปนคนมีกรรม ไมมีความคิดท่ีจะเล้ียงชีพของตนโดยความอิสระ ตองทนทุกขตอความเปนทาส
อยางแสนสาหสั

4.4 มนุษยเ ทวดา หมายถงึ มนุษยท ร่ี ูจักสง่ิ ใดเปนประโยชน ส่ิงใดเปน โทษ รูจกั บาปบุญ
คุณโทษ ตั้งใจประพฤติตนอยูในความดี มีศีล 5 มีความละอาย และเกรงกลัวตอบาป เปนมนุษยผูใจ
สูงบําเพ็ญบุญกุศลอยูเปนประจําทั้งทํากับตนเองและชักชวนคนอื่น มนุษยประเภทน้ีเปนประดุจ
เทพบตุ ร เทพธิดาท่จี ุติลงมายังโลกมนษุ ย

ดังนั้น สัตวโลกแตละชนิดไดเกิดขึ้นเปนสัตวนรก เปนเปรต และเปนสัตวเดียรัจฉาน ลวน
เปนผล จากการกระทําของมนุษยคร้ังยังมีชีวิตอยูภูมิหลังของมนุษยมีความสําคัญอยางย่ิงตอการ
ดํารงชีวิต ซ่ึงสอดคลองกับพุทธภาษิตวา “กัมมุนา วัตตะตี โลโก” แปลวา “สัตวโลก ยอมเปนไป
ตามกรรม” ใครทํากรรมดี ยอมไดรับผลดี ใครทํากรรมช่ัว ยอมไดรับผลช่ัว อุปสรรคของการเปน
มนุษยท ่ีสมบรู ณ พระมหาสนอง ปจ โจปการี (2553, หนา 36-38) ไดกลาวไว ดงั น้ี

1) โลภะ ไดแก ความอยากไดอยากมี หมายถึง การอยากไดไมรูจักพอจนนําไปสูการกระทําผิด
กฎหมายและศีลธรรมอนั ดงี ามของสงั คม

2) โทสะ ไดแก ความคิดประทุษรา ย หรอื ความอาฆาตพยาบาท
3) โมหะ ไดแก ความหลง หมายถึง ความไมรูในสิ่งที่เปนคุณและโทษ เชน เห็นกงจักรเปน
ดอกบวั
4) มานะ ไดแ ก ความถือตัว หรือทะนงตวั ชอบจินตนาการ และเพอฝน ในเรอื่ งทไ่ี รสาระ
5) ทิฐิ ไดแก ความเห็นผิด หมายถึง ความเขาใจที่คลาดเคล่ือนจากขอเท็จจริง ประมาท
รวมถึงความมกั งา ยเห็นแกตวั
6) วิจิกิจฉา ไดแก ความลังเลสงสัย ในหลักการ และ อุดมการณของชีวิต ทําใหเสียเวลา
และโอกาสในการสรางส่ิงที่เปน ประโยชนและคุณงามความดีสาํ หรับตนเองและสงั คม
7) ถีนะ ไดแก ความทอแท หมายถึง ความถดถอยในภารกิจที่จําเปนตองกระทําเพ่ือการ
อยรู อดของชวี ิต

10

8) อทุ ธจั จะ ไดแ ก ความฟงุ ซา นจนเกินเหตุ หมายถงึ อาการหงุดหงิดและกระวนกระวายใจ
ซ่งึ เรยี กวา “ใจรอ น” ขาดความอดทนและหนกั แนน ซ่ึงเรยี กวา “โรคจติ ”

9) อหริ ิกะ ไดแก ภาวะแหง การไมละอายตอ ความชวั่ หมายถึง ความเปนคนหนา ดา นใจหยาบ
10) อโนตตปั ปะ ไดแ ก ความไมเ กรงกลวั ตอความชว่ั หมายถึง ความไมส ะดุง กลัวตอ ผลกรรม
ท่เี ปน อกุศล เรยี กวา “ติดคุกเปน วาเลน ”
กิเลสทั้งสบิ ประการ ถือวาเปนอปุ สรรคสาํ หรบั หนทางนาํ ไปสูความเปน มนษุ ยทสี่ มบรู ณ
ฉะน้นั มนุษยจ ะตองกาํ จดั กเิ ลสเหลาน้ีเสยี กอน เพอ่ื ทีจ่ ะเขาสูความเปน มนุษยท่ีสมบูรณ
ชีวิตมนุษยกับแนวพระพุทธศาสนา ความหมายของชีวิต “ชีวิต คือความเปนอยู” ตรงขาม
กบั ความตาย ผูท ่มี ชี ีวติ คอื ผูท่ียงั เปนอยู ถา หากวา ไมเ ปนอยู คือ ตาย กไ็ มเรยี กวา “ชีวติ ”
หลวงวิจิตรวาทการ ไดกลาวไววา “ชีวิตคือการตอสู ศัตรูคือยากําลัง อุปสรรคคือทางแหง
ความสาํ เร็จ” ความหมาย คอื ทุกชวี ิตตอ งดนิ้ รนตองตอสู ตองทาํ การงาน ดงั คาํ วา “ ชวี ติ ไมสิ้น ก็
ตองด้ินตอไป ชีวิตไมดิ้น มันก็สิ้นใจ” ก็ตองตอสูตลอดเวลานับต้ังแตวันที่เกิดมาเปนทารกจนถึง
วาระสดุ ทายแหงชีวติ ”
วิลเล่ยี ม เชกสเปยร กวีเอกชาวอังกฤษไดกลา วไวว า “ชีวติ เปนเพยี งเงาทเี่ ดินไดเทา น้นั ”
แสดงใหเห็นวา เขา ไดม องชวี ิตวา เปน สิ่งท่ีไมจีรังย่ังยืน ไมเปนของจริง ไมเปนแกนสารเหมือนเงาท่ี
ไมใชของจรงิ

5. ความหมายและความเปนมาของสังคม
คําวา “สงั คม” นัน้ มผี ูใ หค วามหมายไวเปนจํานวนมากซึ่งอาจแตกตา งกันออกไปตาม

พื้นฐานแนวคดิ ของแตละคน ดงั ตัวอยางตอไปนี้
ทัศนีย ทองสวาง (2549, หนา 2) ไดใหความหมายของสังคมวา สังคม หมายถึง กลุมคน

มากกวาสองคนขึ้นไปไดมาอยูรวมกันเปนระยะเวลายาวนานในพ้ืนท่ีใดพื้นท่ีหนึ่ง หรือขอบเขตท่ี
กาํ หนด ประกอบดวยสมาชิกทุกเพศทุกวัยท่ีมีการติดตอสัมพันธซึ่งกันและกันโดยมีระเบียบแบบแผน
หรือวัฒนธรรมในการดําเนินชีวิต โดยวิธีการตาง ๆ เชน การซ้ือขาย หรือการแลกเปลี่ยนกับสังคม
อ่ืนๆ นอกจากน้ีสังคมยังตองหาวิธีการตาง ๆ ทําใหสมาชิกอยูรวมกันไดดวยความสงบสุข เชน มี
ระเบยี บกฎเกณฑใ นการอยรู วมกนั มกี ารควบคมุ ทางสังคม มีการแบงงานกันทําและ มีสมาชิกใหมสืบ
แทนสมาชิกเกา

สดุ า ภิรมยแกว (2553, หนา 67) ไดใหความหมายของสังคมวา สังคม หมายถึง กลุม
คนมากกวาสองคนข้ึนไป ไดมาอยูรวมกันเปนระยะเวลายาวนาน ในขอบเขต หรือ พื้นที่ที่กําหนด
สมาชิกประกอบดวยทุกเพศทุกวัย ซ่ึงมีการติดตอสัมพันธซ่ึงกันและกัน โดยมีวัฒนธรรมหรือระเบียบ
แบบแผนในการดาํ เนินชีวติ เปนของตนเอง และทส่ี ําคัญทส่ี ดุ คอื สามารถเลี้ยงตัวเองได

11

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2555, หนา 62) ไดใหความหมายของสังคมวา สังคม
หมายถึง กลุมคนที่มีการจัดระเบียบในการมีชีวิตอยูรวมกัน มีแบบแผนการดําเนินชีวิตในรูปแบบ
เดยี วกนั และทุกคนมคี วามรูสกึ เปน สมาชกิ ของสังคม

สรุปวา สังคมหมายถึง กลุมคนตั้งแตสองคนขึ้นไปไดมาอยูรวมกันในพื้นท่ีใดพ้ืนท่ีหนึ่งซ่ึงมี
วัตถปุ ระสงครว มกัน มกี ารพง่ึ พาอาศัยซึ่งกนั และกันดําเนนิ ชวี ิตภายใตก ติกา กฎระเบยี บอนั เดียวกัน

ความเปนมาของสังคมมนุษยนั้น ไมมีหลักฐานแนชัดวาสังคมมนุษยเกิดขึ้นเมื่อใดแตก็มี
นักปราชญหลายทาน ไดใหแนวคิดเกี่ยวกับการอยูรวมกันของมนุษยจนเกิดเปนสังคมมนุษย ดังที่
อําไพ หมน่ื สิทธิ์ (2553, หนา 31-33) กลา วไวสรุปไว ดงั น้ี

อริสโตเติล (Aristotle) นักปราชญชาวกรีก (384-322 กอน ค.ศ.) กลาววา “มนุษยเปน
สัตวสังคม” (social animal) เขาเช่ือวา มนุษยโดยสภาพธรรมชาติ จะตองมีชีวิตอยูรวมกับบุคคล
อ่นื ๆ ตดิ ตอสัมพันธซ่ึงกันและกัน ไมสามารถดํารงชีวิตอยูอยางอิสระตามลําพังแตผูเดียวได สังคมจึง
เกิดขึ้น จะไมมีมนุษยอยูโดดเดี่ยวในโลก เพราะคนเดียวไมอาจสืบเชื้อสายวงศตระกูลได ไม
สามารถปองกันตนเองได และไมสามารถเล้ียงชีพอยูไดนาน ไมอาจบํารุงสติปญญา ความคิด และมี
กําลังเพียงพอ

สวนนักปราชญก ลุมหนงึ่ ใหค วามเห็นวา สงั คมเปนผลของสัญญาท่ีมนุษยตกลงจัดทําขึ้นดวย
ความสมัครใจของมนุษยเอง วัตถุประสงคของการจัดตั้งสังคม เพ่ือขจัดความโหดรายทารุณ และ
ความยุงยากสับสนตางๆ ตามสภาพธรรมชาติของมนุษย แนวความคิดของนักปราชญกลุมนี้เรียกวา
“ทฤษฎีสัญญาสังคม” (Social Contract Theories of Society) เปนทฤษฎีท่ีเชื่อวา
มนุษย แตด้ังเดิมน้ันมิไดรวมกันอยูเปนสังคมเชนปจจุบันแตมนุษยไดอาศัยอยูตามธรรมชาติ แต
เนื่องจาก ความช่วั รา ยความยุง ยาก การเพมิ่ จํานวนของมนุษย ตลอดจนอารยธรรม เปนเหตุใหมนุษย
จําตองละท้ิงสภาพธรรมชาติ และหันมาสัญญาดวยความสมัครใจที่จะอยูรวมกันในสังคม ทั้งน้ีโดย
มงุ หวงั ทีจ่ ะไดรบั ความคุมครองและประโยชนสขุ เปนการตอบแทน

บุคคลสําคัญที่เปนเจาของทฤษฎีสัญญาสังคม ไดแก Thomas Hobbes, John Locke
และ Jean Jacques Rousseau ซง่ึ แนวคิดของนกั ปราชญดังกลาวมี ดงั นี้

โทมัส ฮอบส (Thomas Hobbes) เปนชาวอังกฤษ เกิดใน ค.ศ. 1588 มีความเชื่อวา
กอนท่ีมนุษยจะมาอยูรวมกันในสังคมน้ันมนุษยมีชีวิตอยูตามธรรมชาติซึ่งเปนสภาพที่ปราศจากสังคม
รูปแบบการปกครองหรือรัฐบาล ไมมีกฎหมายและความยุติธรรม เขามีความเห็นวา มนุษยตาม
ธรรมชาติ มีความตองการ (desire) และเหตุผล (reason) แตมนุษยมีความตองการมากกวาเหตุผล
ดงั น้นั การใชพ ละกําลงั จงึ เปน เคร่ืองมืออันเดียวท่ีจะควบคุมสิทธิของมนุษยตามธรรมชาติ มนุษยตาม
สภาพธรรมชาติ จึงมีแตความโหดรายและเห็นแกตัว เขาอธิบายวา เพื่อขจัดภาวะอันช่ัวรายดังกลาว

12

มนุษยจึงสญั ญา เพือ่ จะเขามาอยรู วมกนั ในสงั คม โดยละท้งิ สภาพธรรมชาติที่เลวรา ยเหลาน้ันเสีย ทั้งนี้
โดยมีเหตุผลทีจ่ ะไดรับการพิทกั ษร ักษาตน

จอหน ล็อค (John Locke) ชาวองั กฤษ เกิดใน ค.ศ.1632 มีความเช่ือวา “แตเดิมมนุษยมี
ชีวิตอยูตามสภาพธรรมชาติท่ีปราศจากสังคม แตในสภาพธรรมชาตินั้น ก็เต็มไปดวยสันติภาพและ
เมตตาธรรม การอุปการะเอื้ออาทรตอกันและกันและการอนุรักษ” “สภาพธรรมชาตินั้นไมไดขาด
กฎหมาย เพราะมนุษยอยูภายใตกฎธรรมชาติ (law of nature) อยูแลว และยอมมีสิทธิตางๆ ตาม
ธรรมชาติ (natural right) เน่ืองจากความยุง ยากสบั สนในการตคี วามเกี่ยวกับมนุษยจึงตกลงสัญญาท่ี
จะอยรู วมกันในสงั คมเพอ่ื ความสงบเรียบรอ ย

ฌอง ฌาค รุสโซ (Jean Jacques Rousseau) เปนชาวฝร่ังเศส เกิดในป ค.ศ. 1712
มีความเห็นวา สภาพธรรมชาตินั้นเต็มไปดวยความสุขสูงสุด มนุษยตามธรรมชาติมีชีวิตความเปนอยู
อยางงายๆ และ มีความสะดวกสบาย ไมตองด้ินรนตอสู หรือเกิดความยุงยากใดๆ เลย แตมีปจจัย
สองประการ ที่กระตุนใหมนุษยจําตองมารวมกันอยูในสังคม คือมนุษยมีจํานวนสมาชิกเพิ่มมากข้ึน
ประการหนง่ึ และอีกประการหนึง่ คอื อารยธรรม หรือความเจริญสมยั ใหม ซงึ่ ปจจัยดังกลาวน้ีเปนเหตุ
ใหเ กิดการกดขี่ขมเหง และ การเบียดเบียนซึ่งกันและกัน ดังน้ันมนุษยจึงถูกบังคับใหละท้ิงสภาพอัน
สุขสมบูรณนั้น แลวมารวมกันสัญญาสังคมขึ้น ทั้งนี้ เพื่อใหไดมาซึ่งความเปนระเบียบเรียบรอยและ
ความยตุ ธิ รรม

จากแนวคิดดังกลาว เปนการอธิบายเหตุผลของการมาอยูรวมกันของมนุษยจนเกิดเปน
สงั คมนน้ั ซึ่งนกั ปราชญแ ตล ะทา นไดพ ยายามอธิบายตามแนวคิดทฤษฎีของตน อยางไรก็ตามอาจสรุป
สาเหตสุ าํ คญั ท่ีทําใหม นษุ ยจาํ เปนตองมกี ารรวมกลมุ เปนสังคมหลายประการ

6. สาเหตทุ ําใหเกดิ สังคมมนษุ ย
มนุษยมีความจําเปนตองพ่ึงพาซึ่งกันและกัน เพราะมนุษยมีความรูความสามารถแตกตาง

กัน จึงตองมคี วามสมั พนั ธต อกนั ตองเรยี นรูว ิถีดาํ เนินชวี ิตเพอ่ื ความอยูรอดของชีวิตจําเปนตองอยูรวมกัน
ดงั ที่ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช (2555, หนา 62-63) ไดก ลาวถึง สาเหตุที่ทําใหมนุษยอยูรวมกันใน
สังคมดวยเหตุผลทีส่ าํ คญั คือ

6.1 เพื่อสนองความตองการขั้นพ้ืนฐานของมนุษย ความตองการข้ันพ้ืนฐาน หรือ ความ
ตองการอันจําเปนของมนุษย คือ สิ่งที่มนุษยจะตองแสวงหาเพ่ือท่ีมนุษยจะสามารถดํารงชีวิตอยูได
ความตองการอันจําเปนเหลาน้ีบางอยางก็เหมือนกับสัตวอ่ืนแตบางอยางก็เปนความตองการของ
มนษุ ยโ ดยเฉพาะ ความตอ งการเหลา นี้ คือ

6.1.1 ความตองการของชีวภาพ หมายถึงความตองการส่ิงที่จําเปนแกการมีชีวิตอยูของ
มนุษย เชน อาหาร อากาศ ยารักษาโรค เปนตน ความตองการเหลานี้สวนใหญคลายคลึงกับของ
สัตวอ ่ืน

13

6.1.2 ความตองการทางกายภาพ คําวา กายภาพ หมายถึงวัตถุสิ่งตางๆ เชน บานเรือน
เครื่องมือ เคร่ืองใช อุปกรณตางๆ แสงสวาง ความรอน วัตถุส่ิงของเหลาน้ี มีความสําคัญตอการ
ดาํ รงอยขู องมนุษย

6.1.3 ความตองการทางดานจิตวิทยา หมายถึง ความตองการตางๆ ที่เกี่ยวกับจิตใจ
เชน ตอ งการความรกั เห็นใจ ปลกุ ปลอบใจ เม่ือมีทกุ ข หรอื ผดิ หวัง ตองการใหผูอ ื่นใหความสําคัญของ
ตน เม่ือประสบความลมเหลวหรือทอแทก็ใหกําลังใจ ชมเชยเมื่อทําความดี ซึ่งความตองการในดานน้ี
สว นใหญเปนลกั ษณะเฉพาะของมนุษยน ัน่ เอง

6.1.4 ความตองการดานสังคม หมายถึง ความสัมพันธระหวางมนุษย ความตองการ
ดานนี้ มีความสําคัญตอมนุษย เพราะการไดคบหาสมาคมกับผูอ่ืน เปนการถายทอดวัฒนธรรม หรือให
สัตวสังคมกลายเปนมนุษยน ั่นเอง

6.2 เพื่อความเปนมนุษยอยางสมบูรณ สิ่งสําคัญในเรื่องนี้ คือ “วัฒนธรรม” ซ่ึงประกอบดวย
ภาษาและแบบแผนในการดํารงชีวิต โดยมนุษยไดใชในการขัดเกลาและหลอหลอมบุคคล เพื่อใหมี
ความเปนมนุษยโดยผานสถาบันพ้ืนฐาน คือครอบครัว เพ่ือสรางความสํานึกความประทับใจ โดยเห็น
คุณคาทางวัฒนธรรมและแบบแผนพฤติกรรมตา งๆ ทส่ี งั คมยอมรับเพ่อื ใหอยูรว มกบั คนอ่นื ได

6.3 เพื่อทําใหสามารถสรางความเจริญกาวหนาใหกับตนเองและกลุม เพราะวัฒนธรรมได
รวบรวมสะสมความรูความชํานาญของสังคมไว และความรูความชํานาญนี้จึงทําใหมนุษยมีการ
ประดษิ ฐค ดิ คน ส่ิงแปลกๆ ใหมๆ อันเปนประโยชนแ กต นเองและสังคมเพ่มิ ข้นึ เรือ่ ย ๆ นอกจากนั้นการ
มภี าษายังทาํ ใหม นษุ ยสามารถเผยแพรความรคู วามชาํ นาญใหก วางขวางออกไปอีก

7. องคประกอบของสังคม
จากการที่มนุษยมาอยูรวมกันกอใหเกิดเปนสังคมมนุษย เม่ือพิจารณาสังคมทุกสังคมจะมี

องคป ระกอบท่ีสาํ คัญ ดังทพี่ ระมหาสนอง ปจโจปการี (2553, หนา 49-50) กลา วสรปุ ไว ดังนี้
7.1 การมีอาณาเขตที่แนนอน (Territory) หมายถึง เม่ือคนมาอยูรวมกันเปนกลุมจะตองมี

ดินแดนหรือมีอาณาบริเวณที่มีขอบเขตใหรูกันภายในสังคมวาดินแดนหรือบริเวณของตนมีขอบเขตแค
ไหน ตรงไหนทไ่ี มใชด นิ แดนหรือบรเิ วณของตน

7.2 การอยูรวมกันเปนกลุม (Group Living) หมายถึง ลักษณะการดํารงชีวิตของมนุษยใน
ฐานะท่ีเปนสัตวสังคม เพ่ือประโยชนแหงการชวยเหลือซ่ึงกันและกันอยางเปนปกแผน โดยปกติ
ธรรมชาตขิ องมนุษยม ีลักษณะน้ีอยูแลว คอื ชอบอยูรวมกนั เพราะมนุษยเ ปน สัตวสังคม

7.3 การรูวาใครเปนพวกของตนหรือใครไมใชพวกของตน (Discrimination) หมายถึง
สมาชิกของสังคมเดียวกันสามารถท่ีจะทราบไดวาใครเปนพวกเดียวกับตน และใครไมใชพวกเดียวกับ
ตน เชนสังคมชนบทท่ีมีสมาชิกของสังคมขนาดเล็ก รูจักกันเปนอยางดี ถามีบุคคลอื่นท่ีไมใชสมาชิก

14

ของตนหรือมีคนแปลกหนาเขามา จะบอกไดทันทีวาบุคคลน้ันไมใชสมาชิกของตน ซ่ึงตรงกันขามกับ
สงั คมเมือง

7.4 การมีความสัมพันธและปฏิสัมพันธกัน (Relation and Interaction) หมายถึง การท่ี
บุคคลมาอยูรวมกันจําเปนจะตองมีสัมพันธและปฏิสัมพันธกัน ถาบุคคลใดก็ตามแมวาจะมีอาณา
บริเวณเปนกลุมแตถาไมมีความสัมพันธหรือปฏิสัมพันธจะเรียกวา สังคมไมได เชน บุคคลที่มารอขึ้น
รถประจาํ ทาง หากบุคคลเหลานีไ้ มม คี วามสมั พนั ธห รือปฏิสัมพนั ธกนั จะเรียกวาสงั คมไมได

7.5 มีการแบงหนาท่ีทํางานอยางเปนกิจจะลักษณะ (Division of Labor) หมายถึงจัดสรร
ภารกิจใหสมาชิกทําตามความรูความสามารถ และความถนัดอยางมีระบบ และเปนทีม สมาชิกที่อยู
รวมกนั ภายในสังคมจะตอ งมีการรวมมือชว ยเหลือซ่ึงกนั และกันของสมาชกิ

7.6 มีบรรทัดฐานคลายคลึงกัน (Social norms) หมายถึง สมาชิกในสังคมนั้น ตองมี
มาตรฐานในการดําเนินชีวิตท่ีสอดคลองกันหรือคลายคลึงกัน โดยเฉพาะในเร่ืองกฎเกณฑ คานิยม
ความเชอื่ และวัฒนธรรมประเพณี

8. ประเภทของสังคม
ในการศึกษาสังคมมนุษย โดยเฉพาะการแบงประเภทของสงั คมนน้ั มีนักวิชาการไดแบงไว

หลายประเภทดว ยกัน โดยจะอาศัยหลักเกณฑล ักษณะทางดานสงั คมที่มคี วามแตกตางกัน ในการแบง
ประเภทของสังคม ดังที่พระมหาสนอง ปจโจปการี (2553, หนา 50-54) กลา วสรปุ ไว ดงั นี้

8.1 แบง ตามลักษณะขัน้ ความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ
แบง เปน 5 ประเภท คอื
8.1.1 สังคมท่ีมีระบบเศรษฐกิจแบบดั้งเดิม (Traditional Society) เปนสังคมดั้งเดิมที่

มนุษยผูกพันอยูกับจารีตประเพณีเปนอยางมาก การขยายตัวทางเศรษฐกิจมีนอยเพราะอาชีพหลัก คือ
การเกษตรน้นั ยังไมมีเทคโนโลยีเกิดข้ึนมากนักผลผลิตจึงมีนอย ครอบครัวเปนหนวยสังคมท่ีสําคัญ
ที่สุด

8.1.2 สังคมเตรียมการพัฒนา (Precondition for Take-off) เปนระยะที่สังคมไดมี
การติดตอคาขายกับสงั คมภายนอกมากขน้ึ สถาบนั สงั คมเขา มามีบทบาทในชีวิตประจําวัน อยางชัดเจน
การประกอบอาชพี เรม่ิ พฒั นามากข้ึนทั้งในดานปริมาณและคุณภาพ มีการขยายตัวเพื่อเพิ่มคุณภาพการ
ผลิต ผลผลิตกลายเปนการผลิตเพอ่ื การคา มากขนึ้ มีการนําเทคนิควธิ ีการใหมๆ มาใชมากขน้ึ

8.1.3 สังคมเขาสูกระบวนการพัฒนา (Take-Off Stage) เปนระยะที่สังคมมีการตื่นตัว
ดานการเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การศึกษา โดยภาคอุตสาหกรรมไดรับความสนใจมาก
เปนพิเศษ อัตราความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ เพ่มิ ขนึ้ อยางรวดเร็วมาก

15

8.1.4 สังคมทะยานเขาสูภาวะของความอุดมสมบูรณ (Drive –to Maturity Stage)
เปนผลมาจากสังคมที่ขยายตัวข้ึน ซ่ึงทําใหความเปนอยูของสมาชิกในสังคมมีความสะดวกสบาย
มากขึ้น มีการประยุกตใ ชเ ทคโนโลยีตา งๆ การจดั สรรทรพั ยากรอยา งมีประสทิ ธิภาพ

8.1.5 สังคมอุดมสมบูรณ (Stage of High Mass Consumption) เปนสังคมท่ีสมาชิก
ในสังคมน้ัน มีมาตรฐานการครองชีพสูงมาก โดยมีเครื่องมือที่มีคุณภาพสูงคอยอํานวยความสะดวก
วิถีชีวิตสวนใหญจะมีสวนเก่ียวของอยูกับเทคโนโลยีสมัยใหมอยางมาก ประชาชนจะมีความรูสึก
ม่ันคงดาํ รงอยูในสังคมอยา งมีความสุข

8.2 แบงตามเคร่ืองมอื เครอื่ งใช
เปนการแบงสงั คมตามประเภทของโบราณวัตถุตางๆ ท่ีคน พบ แบง เปน 3 ประเภท คือ
8.2.1 สังคมยุคหิน เปนสังคมท่ีเครื่องมือเคร่ืองใชของมนุษยทําดวยหิน ชีวิตความเปนอยู

แบบงายๆ พึ่งพาอาศัยธรรมชาติเปนหลัก โครงสราง และ ความสัมพันธของคนในสังคมไมซับซอน
เนอ่ื งจากสมาชิกในสังคมมีไมม ากนัก

ภาพท่ี 1.3 การดํารงชีวิตของมนษุ ยย คุ หินเกา
ท่ีมา : http://prehistoricpcctrgxix.myreadyweb.com/article/topic-

49585.html (สืบคน 9 มกราคม 2558)

16

ภาพท่ี 1.4 ขวานหินยคุ หินเกา ภาพท่ี 1.5 เคร่อื งมอื ยุคหนิ เกา

พบทีโ่ อดเู ว (Olduvai) ประเทศแทนซาเนยี พบทีป่ ระเทศเคนยา

ที่มา : http://prehistoricpcctrgxix.myreadyweb. ทมี่ า : http://prehistoricpcctrgxix.

com/article/topic-49585.html myreadyweb.com/article/topic

(สบื คน 9 มกราคม 2558) -49585.html (สบื คน 9 มกราคม 2558)

ภาพท่ี 1.6 ภาพกจิ กรรมผนังถาํ้ แสดงการลาสตั วกนั เปน กลมุ ของมนุษยใ นยคุ หินเกา
ทม่ี า : http://prehistoricpcctrgxix.myreadyweb.com/article/topic-

49585.html (สบื คน 9 มกราคม 2558)

17

8.2.2 สังคมยคุ สํารดิ เปนสังคมทีม่ นุษยรูจักใชเคร่ืองมือเครื่องใชดวยโลหะพวกสําริดเริ่ม
ปรับตัวท่จี ะเอาชนะธรรมชาติมากขึ้น กิจกรรมทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองเริ่มเปนระบบและ
เพ่ิมความซับซอนมากขนึ้ ตามจาํ นวนของสมาชกิ ที่เพิม่ ข้นึ

ภาพท่ี 1.7 เคร่อื งมือประเภทขวานปลอ งและเคร่อื งประดับ เบา หลอม จากวฒั นธรรมลุมนาํ้
สงคราม แหลงโบราณคดีบานเชยี ง จงั หวัดอดุ รธานี และภูมิภาคในเขตจงั หวัดสกลนคร อายุ
ในราว 4,500 ป - 2,000 ป
ท่ีมา : https://sites.google.com/site/technologyinteachingzz/prawati

(สบื คน 9 มกราคม 2558)

ภาพที่ 1.8 เครือ่ งประดับทําจากสํารดิ จากแหลง โบราณคดีบา นเชยี ง จงั หวดั อดุ รธานี
อายใุ นราว 2,000 ป

ท่มี า : https://sites.google.com/site/technologyinteachingzz/prawati
(สืบคน 9 มกราคม 2558)

18

8.2.3 สงั คมยุคเหลก็ เปน สงั คมที่มนุษยรูจักเอาเหล็กมาใชประโยชนทําใหเครื่องใชมี
คุณภาพมากขึ้น มีการพัฒนาประสิทธิภาพของการผลิตทางเศรษฐกิจอยางมากทั้งทางดาน
เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โครงสรางของสังคมและความสัมพันธของคนในสังคม เปล่ียนแปลง
ไปสูระบบทสี่ ลับซับซอนจนกระทงั่ ถงึ ปจจุบนั

ภาพท่ี 1.9 เครื่องมือเหล็กรูปแบบตา ง ๆ จากกลุมชุมชนโบราณตนน้าํ แมลําพนั
พบทบี่ า นวงั หาด จังหวดั สโุ ขทยั

ท่มี า : http://lek-prapai.org/home/view.php?id=804

( สืบคน 9 มกราคม 2558)

ภาพที่ 1.10 นาํ เหลก็ เขามาใชเ ปนเครื่องมือ ภาพท่ี 1.11 ยุคเหล็กพัฒนาเปล่ยี นแปลงเร่ือยๆ
เครอื่ งใชตา งๆ ของมนุษยใ นยุคเหลก็ และใช จากยุคตน ๆกลายเปนยุคปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรม
อยางแพรห ลายในชว ง 500 ปกอ นคริสตศกั ราช เร่ิมท่ปี ระเทศอังกฤษในชว งค.ศ.1790-1830
ท่ีมา : https://sites.google.com/site/ ที่มา : https://sites.google.com/site/

technologyinteachingzz/prawati technologyinteachingzz/prawati
(สืบคน 9 มกราคม 2558) (สบื คน 9 มกราคม 2558)

19

ภาพท่ี 1.12 เทคโนโลยีดา นพลังงานมกี ารสราง ภาพท่ี 1.13 เทคโนโลยไี ดเพ่ิมมากขนึ้ ใน
กงั หนั ลม และใชพลงั งาน ไอนาํ้ สําหรับการทํางาน ชวงศตวรรษที่ 20 มกี ารคิดคน สรางใหมๆ
ของเคร่อื งจักรกลและการคนพบความรเู รื่องไฟฟา อยางไมมขี ดี จํากดั ในกระบวนการผลิต
ที่มา : https://sites.google.com/site/ ที่มา : https://sites.google.com/site/

technologyinteachingzz/prawati technologyinteachingzz/prawati
(สืบคน 9 มกราคม 2558) (สบื คน 9 มกราคม 2558)

ภาพท่ี 1.14 สังคมยุคเหล็กหรือยุคปจจุบันไดพัฒนาอยางตอเนื่องและรวดเร็ว เชน การบิน การสง
จรวด ความรูทางอิเล็กทรอนิกส และระเบิดปรมาณู การประดิษฐคิดคนมีท้ังสรางสรรคและทําลาย
สังคม การพัฒนาวิทยาการบินและเทคโนโลยีทางอวกาศทําใหเกิดความรูทางวิทยาศาสตรสงผลใหมี
เทคโนโลยใี หมๆ อยางไมม ขี ดี จํากัด
ท่ีมา : https://sites.google.com/site/technologyinteachingzz/prawati

(สบื คน 9 มกราคม 2558)

20

8.3 การแบง ตามวิวฒั นาการของอาชพี
แบงออกเปน 5 ประเภท คือ
8.3.1 สงั คมลา สตั วและเก็บของปา (Hunting and Gathering Society) เปนสังคมท่ี

มนุษยอ าศัยการจับสตั ว และเก็บพืชผกั ผลไมมาเปนอาหาร ซงึ่ เปนสงั คมแรกสดุ ของมนุษยเปนสังคม
ขนาดเลก็ มีความสัมพนั ธกันแบบปฐมภมู ิ สมาชิกสวนใหญเปนแบบเครือญาติกัน

8.3.2 สงั คมเลี้ยงสัตวเพื่อการยงั ชพี (Pastoral Society) โดยเกิดจากมนุษยในสังคมลา
สัตวและเก็บของปา เริ่มรูจักวิธีการเล้ียงสัตว ในระยะเปนการเลี้ยงสัตวแบบเรรอนเพื่อหาแหลง
อาหารและนํ้าใหกับสัตวเล้ียง ขนาดของสังคมใหญและซับซอนมากกวาสังคมลาสัตวและเก็บของปา
ใชอํานาจในการปกครองเปนบรรทัดฐานเพ่ือควบคุมสังคม รูจักคาขายแบบแลกเปล่ียนกัน มีความ
เชอื่ ถอื ในพระเจาองคเดียวกนั และพระเจาหลายองค

8.3.3 สังคมกสิกรรมพืชสวน (Horticultural Society) เกิดขึ้นพรอมๆ กับสังคมเล้ียง
สัตวเพื่อการยังชีพโดยเกิดจากมนุษยในสังคมรูจักการเพาะปลูกพืช เริ่มรูจักตั้งหลักแหลงเพ่ือการทํา
มาหากิน เปนสังคมที่มีประสิทธิภาพมากกวาสังคมเลี้ยงสัตวและเก็บของปา สถาบันการปกครองเร่ิม
เกดิ ขึ้น มีการแบงงานกันทําอยา งชัดเจน เชน พอคา ชา งฝมือ พอมดหมอผี เปน ตน

8.3.4 สังคมเกษตรกรรม (Agricultural Society) เปนสังคมที่มนุษย รูจักผลิตไถและ
นาํ มาใชในการเกษตร เรยี กกันวา เปนการปฏิวัติเกษตรกรรมคร้ังแรกของมนุษย สังคมเกษตรกรรมจึง
มีผลผลิตทางการเกษตรเพ่ิมข้ึน และทําใหเกิดการตั้งถ่ินฐานแบบถาวรข้ึน ซึ่งทําใหมีความเจริญงอก
งามทางวัฒนธรรมตางๆ รูจักนําแรงงานสัตวมาใชในการเกษตร สถาบันการปกครองมีความสมบูรณ
มากขนึ้ ระบบการปกครองเปน แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย

8.3.5 สังคมอุตสาหกรรม (Industrial Society) เกิดข้ึนเปนครั้งแรกในประเทศอังกฤษ
เปนสังคมที่ผลิตส่ิงของท้ังที่เปนเครื่องบริโภคและอุปโภคดวยเทคโนโลยีตางๆ แทนแรงงานคนและ
สัตวทาํ ใหเ กดิ ผลผลติ เปน จํานวนมาก สังคมเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ความสัมพันธทางสังคมเปนแบบ
ทุติยภูมิ โดยถือตามสถานภาพหรือตําแหนงหนาท่ีการงาน สวนความผูกพันของสมาชิกในครอบครัว
ลดนอยลงและ เกิดสถาบันทางสังคมข้ึนมากมาย การเมืองการปกครองมีลักษณะเปนแบบ
ประชาธิปไตย

8.4 การแบง ตามขนาดของสงั คม
แบงออกเปน 3 ประเภท คอื
8.4.1 สังคมระดับตํ่ากวาชาติ เปนสังคมขนาดเล็ก โดยจะมีอยูทั่วไปตามสังคมชนบท

สังคมเมอื ง สังคมของพวกชนกลมุ นอ ยทีม่ ลี ักษณะตางๆ โดยเฉพาะวัฒนธรรมเปนของตนเอง

21

8.4.2 สังคมชาติ เปนสังคมที่เกิดจากการรวมตัวกันของสังคมขนาดเล็ก ๆ เขาดวยกัน
โดย มีกระบวนการทางการเมืองการปกครอง มีอาณาเขตที่แนนอนมีบรรทัดฐานและมีการควบคุม
ทางสังคม สังคมชาติกค็ ือประเทศตางๆ น่นั เอง

8.4.3 สังคมโลก เปนสังคมขนาดใหญที่สุดเพราะสังคมโลก หมายถึงสังคมมนุษยชาติท้ัง
มวล เน่ืองจากสังคมมนุษยไมวาจะอยูในสวนใดของโลกตางก็ลวนมีความเกี่ยวของสัมพันธกันไม
ทางตรงกท็ างออมไมทางใดกท็ างหนึ่ง จงึ ถอื วาโลกเปนสงั คมของมนุษยท ้งั มวล

8.5 การแบงตามวิวฒั นาการของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
แบงออกไดเ ปน 3 ประเภท คือ
8.5.1 สังคมด้ังเดิม (Primitive Society) เปนสังคมระยะแรกสุดของมนุษยแวดลอมไป

ดวยธรรมชาติดิบ มีการติดตอกับสังคมภายนอกนอย สมาชิกมีนอยจึงมีความรูจักมักคุนกันท้ังสังคม
อาชีพหลัก คือหาของปา เล้ียงสัตวและการประมงแบบงายๆ ขาดความรูวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี
เช่ือในอํานาจลึกลับที่อยูเหนือธรรมชาติ เชน พระเจา และผีบรรพบุรุษ จนกลายเปนลัทธิวิญญาณ
วิถีชวี ติ ผกู พนั กบั ขนบธรรมเนยี มประเพณสี ูง

8.5.2 สังคมชาวนา (Peasant Society) เปนสังคมท่ีสมาชิกประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ซ่งึ เปนผลมาจากการปฏวิ ัติเกษตรกรรมครงั้ แรกของมนุษย

8.5.3 สังคมสมัยใหม (Modern Society) เปนสังคมที่สมาชิกประกอบอาชีพอุตสาหกรรม
แทนเกษตรกรรม และมลี กั ษณะเชนเดียวกับสงั คมอุตสาหกรรม

8.6 การแบงตามลกั ษณะความสมั พันธข องสมาชิกในสังคม
เปน การจัดประเภทของสังคมที่นกั สังคมวทิ ยาใชก นั มากแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
8.6.1 สังคมชนบท (Rural Society) เปนสังคมท่ีอยูในเขตชนบทมีความหนาแนนของ

ประชากรนอยสมาชิกมีความสัมพันธเปนอันดีตอกันและมีวิถีชีวิตความเปนอยูคลายคลึงกันยึดมั่นใน
ขนบธรรมเนียมประเพณี มีอาชีพเกษตรกรรมหรืออาชีพเก่ียวของกับเกษตรกรรม ซ่ึงแบงออกเปน 2
ประเภท คอื สังคมชนบทด้ังเดมิ และสงั คมชนบททัว่ ไป

สังคมชนบทดั้งเดิม เปนสังคมชนบทที่เกิดข้ึนในระยะเริ่มแรก มีลักษณะสําคัญ คือ มี
ความเปนอยูโดดเดี่ยว ติดตอกับสังคมอื่นลําบาก มีอาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพหลักและเศรษฐกิจ
เปน แบบพอเลยี้ งตวั เอง

สังคมชนบททั่วไป เปนสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงจากสังคมด้ังเดิมและมีแนวโนมที่จะ
เปลี่ยนแปลงมากย่ิงข้ึน เน่ืองจากปจจัยของการเปล่ียนแปลงทั้งปจจัยภายในสังคมเอง เชน ภาวะ
ประชากร คือ การเพ่ิมหรือลดประชากร การยายถิ่น การปรับปรุงดานคมนาคม การสื่อสาร เปนตน
และเนื่องจากปจจัยภายนอกสังคม เชน การแพรกระจายของวัฒนธรรมโดยเฉพาะ วัฒนธรรมของ
สังคมเมืองท่ีมีความเจริญกาวหนา สะดวก รวดเร็ว งายในการปฏิบัติ จํานวนประชากรเพิ่มมากข้ึน

22

ความโดดเด่ยี วความคลา ยคลึงกนั ทางสงั คมลดนอยลง มีอาชีพอน่ื ๆ เชน การคาการบริการเพิ่มขึ้นจาก
อาชีพเกษตรท่ีมีอยูแตด้ังเดิม เศรษฐกิจจึงเปนทั้งเพื่อเลี้ยงตัวเอง และ เพ่ือการคา ขาย บริการความ
เจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพ่ิมมากข้ึน แตยังคงพ่ึงพาธรรมชาติเปนหลักในการ
ดํารงชีวติ สงั คมชนบทมักจะปรากฏอยใู นรปู ของละแวกบา น หมบู า น ตาํ บล เปนตน

8.6.2 สังคมเมือง (Urban Society) เปนสังคมท่ีมีความหนาแนนของประชากรมาก
มีความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สิ่งแวดลอมซ่ึงเปนสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น
มากกวาส่ิงแวดลอมตามธรรมชาติ สมาชิกมีความเปนอิสระสูง ทําใหความสัมพันธในสังคมเปนแบบตัว
ใครตัวมัน คือ เปนทางการมากกวาสวนตัวและขาดความเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน แตอาศัยรวมกันได
นักสังคมวิทยาไดศึกษานิเวศวิทยาของสังคมเมืองและพบวาสังคมเมืองเกิดข้ึนไดหลายลักษณะและมี
การเปล่ยี นแปลงอยตู ลอดเวลา

9. หนาทขี่ องสังคม
เมื่อมนุษยมาอยูรวมกันเปนสังคม สิ่งจําเปนที่จะทําใหสังคมดํารงอยูไดอยางยั่งยืนนั้น

จําเปนตองจัดใหมีบทบาทหนาที่ตางๆ ใหมีประสิทธิภาพ เกิดความสมดุลโดยใหทุกคนมีสวนรวมกัน
ดังทอี่ าํ ไพ หม่นื สทิ ธิ์ (2553, หนา 29-30) กลาวสรปุ ไว ดงั น้ี

9.1 การเพิ่มสมาชิกใหม (reproduction) การท่ีสังคมจะคงความเปนสังคมไดนั้นจําตองมี
การผลิตและแสวงหาสมาชิกใหม ถาสังคมละเลยตอหนาท่ีในอีกไมชาสมาชิกของสังคมก็จะหมด
เน่ืองจากสมาชิกเดิมแกตายไป แตขณะเดียวกันการผลิตสมาชิกใหมก็มิไดมีขึ้นในอัตราที่นาพอใจ ถา
การปฏิบัติหนาที่ไมดียอมหมายถึงการสลายตัวของสังคมโดยการถูกดูดกลืนเขาไปเปนสวนหนึ่งของ
สงั คมอื่นไดเ หมือนกนั

9.2 การอบรมสมาชิกใหมใหรูจักกฎเกณฑหรือระเบียบของสังคม (Socialization)เปน
ส่ิงจําเปนที่ทุกสังคมจะตองจัดใหสมาชิกใหมของสังคมไดเรียนรูกฎเกณฑสังคม วิถีการดําเนินชีวิต
หรือวฒั นธรรมของสังคม เปน สิ่งจาํ เปนทีส่ มาชิกสังคมเดยี วกันจะตอ งมีความรับรรู ว มกัน ถาสมาชิกของ
สังคมไมรับรูรวมกันยอมนําไปสูการแตกแยกกัน จะติดตอสื่อสารดวยความลําบาก และจะเกิดความ
ขดั แยง รุนแรงและเปนผลใหส ังคมขาดเอกลักษณข องตน จะทาํ ใหส งั คมสลายตัวไปในทีส่ ดุ

9.3 การติดตอส่ือสาร (communication) สังคมจะดํารงอยูไมไดถาระบบการติดตอสื่อสาร
ของสมาชิกสังคมไมสามารถเขาใจ และรับรูรวมกันได ดวยเหตุ น้ี สังคมมนุษยจะตองจัดใหมีระบบ
การติดตอสื่อสารดวยสัญลักษณ (symbolic communication) ข้ึนเพื่อกอใหเกิด “คานิยมรวมกัน”
(common value) รวมท้ังตองมีการสรางอํานาจบังคับ (sanction) ในกิจกรรมตางๆ ของสังคมดวย
ถาสังคมใดขาดการติดตอส่ือสารทางสัญลักษณรวมกันโดยสิ้นเชิงแลวยอมนําไปสูภาวะแหงความ
สบั สนยงุ ยาก และอาจเปน สญั ญาณแหง การสลายตวั ของสงั คมนน้ั ได

23

9.4 ดา นเศรษฐกิจ (economic function) หนาที่ในการจดั การเก่ียวกบั การผลิต กระจาย
และการบรโิ ภคเศรษฐทรพั ยต างๆ สมาชิกทุกคนของสังคมจึงมีความตองการปจจัยสี่ และทรัพยสิน
อ่นื ๆ เพ่ือ อาํ นวยความสะดวกในการดํารงชวี ิต สังคมใดสามารถจดั การเร่ืองเศรษฐกิจไดดี สมาชกิ ของ
สังคมจะมีความแขง็ แรงสมบรู ณด ี ตรงขามกบั สังคม ท่จี ัดการเรื่องเศรษฐกิจบกพรอง ปลอ ยใหสมาชกิ
ยากจน ขาดแคลนทรพั ยสินตางๆ สมาชกิ ของสังคมยอ มออนแอขาดความสขุ ไมมีสังคมใดจะดาํ รงอยู
ได โดยปราศจากระบบเศรษฐกจิ การทรี่ ะบบเศรษฐกจิ ของแตล ะสังคม จะดาํ เนนิ ไปไดด วยดี ตอ ง
ขึ้นอยกู ับองคป ระกอบที่สําคัญ 2 ประการ คือ ความอดุ มสมบูรณของธรรมชาติ ซ่งึ เปนผลมาจากการ
เลือกทาํ เลทต่ี ัง้ ทางภูมศิ าสตรของสังคม องคป ระกอบที่สอง ไดแก วธิ กี ารจัดการทางเศรษฐกจิ อันนี้
รวมถงึ เทคนิคในการผลิตกรรม วิธีในการแปรสภาพ และการแลกเปล่ียนจากผูผลิตถึงผูบริโภค รวมถงึ
การติดตอคา ขายแลกเปลีย่ นกยู ืมระหวา งสงั คมดวย

9.5 การจัดระเบียบและการรักษาความสงบเรียบรอยใหแกส ังคม (maintenance of order)
การจดั ระเบยี บดานการปกครอง การรักษาความยตุ ิธรรมและการระงับขอพิพาทตางๆ ของสมาชกิ
สงั คมยอ มเปนส่ิงจาํ เปน นอกจาก นน้ั สงั คมอาจจะถกู รกุ รานจากสังคมอ่ืนไดเ สมอจงึ ตอ งจัดสราง
มาตรการ บางประการเพื่อปองกนั ภัยจากสังคมอืน่ ดวย เพราะอาจสูญเสียอาํ นาจการปกครองของตน
และตกเปนอาณาเขตของสงั คมอืน่ ได

9.6 การผดุงขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติภารกิจของสมาชิกสังคม (maintenance of
meaning and motivation) การผดุงขวัญ หรือ สรางขวัญและกําลังใจเปนสิ่งสําคัญตอการดํารงชีวิต
ของสมาชิกสังคม เม่ือขาดขวัญและกําลังใจ อาจทําใหเบื่อหนาย ตอการปฏิบัติภารกิจ หรือ ไมมี
กาํ ลังใจ ปฏิบัติหนาทีต่ ามสถานภาพ อยา งเตม็ ท่ี ปกตแิ ลว ศาสนาหรือลัทธิความเชือ่ ของสังคมจะทํา
หนา ท่ีกระตนุ ใหส มาชิกสังคม ปฏบิ ตั ภิ าระหนา ท่ีตางๆ ไปดว ยดี ดวยความกระตือรือรน ถาสังคมใด
ปลอยใหสมาชิกมีความเช่ือเรื่องชีวิตแตกตางกันมากยอมเปนการยากในการติดตอสื่อสารทาง
สญั ลกั ษณ สังคมก็ขาดเอกลักษณ (identity) เต็มไปดวยความขัดแยง ปราศจากจุดมุงหมายรวมกัน
(common goal) สังคมก็ยอมอยูในภาวะระสํ่าระสาย ถาสังคมใดถูกปลอยใหสังคมตกอยูในภาวะ
เฉ่ือยชาถึงขนาดไมมีกําลังใจจะทําตามหนาท่ี ไมมีกําลังใจจะดํารงชีวิตอยูตอไป สังคม นั้นยอม
สลายตัวลงอยางแนนอน ดังน้ัน การผดุงขวัญ และ กําลังใจในการดํารงชีพ ของสมาชิกสังคมจึงเปน
หนา ทท่ี ่ีจาํ เปน

จากหนาทด่ี ังไดกลา วมา นั้น เปน สวนสําคญั ตอ การสรางความสงบสขุ ใหกับสังคมอยาง
มัน่ คง และย่ังยืนได จะตอ งปฏิบตั ิตามบทบาทหนาท่ี ของแตละคน และมีระบบการสือ่ สารทดี่ ี เพื่อ
ขจัดความขัดแยงของสงั คม พรอมแกปญ หาตางๆ ใหส มาชิกของสงั คม ดวยความโปรงใส ยุติธรรม

24

บทสรุป
มนุษย เปนสัตวที่มีชีวิต เชนเดียวกับสัตวโลกทั่วๆ ไป แต ไดรับการอบรมเลี้ยงดูถายทอด

ความรูประสบการณ จงึ ทําใหมีความคดิ สรางสรรคส ่ิงตา งๆ มีเหตุผล มีความเมตตา ชวยเหลือซึ่งกัน
และกัน จึงทําใหมนุษยแตกตางจากสัตวโลกชนิดอื่นๆ ลักษณะสําคัญของมนุษยน้ันจะมีสวนที่
แตกตา ง หรือมลี กั ษณะพิเศษหลายประการท่ีบรรดาสัตวและสิ่งมีชีวิตท้ังหลายไมมี เชน กินอาหารได
มากมายหลายประเภทท้ังพืชและสัตว มีมันสมองขนาดใหญท่ีเฉลียวฉลาด สามารถปรับตัวเขากับ
สง่ิ แวดลอมสามารถดัดแปลงส่ิงแวดลอมมาใชประโยชน และที่สําคัญคือ มีวัฒนธรรมสามารถสะสม
และถายทอดวฒั นธรรม จากคนรุนหนึ่งไปยังรุนตอๆ ไป จึงมีผูกลาววา “ มนุษย ” หมายถึง สัตวท่ี
รูจักใชเหตุผล สัตวที่มีจิตใจสูง การแสดงพฤติกรรมของมนุษยแตละคน จะตางกัน ขึ้นอยูกับ
พันธุกรรม และสภาพแวดลอมทางสังคม ท่ีมนุษยอาศัยอยู สามารถแยกมนุษยออกเปน 4 ประเภท
ไดแ ก มนษุ ยน รก มนุษยเปรต มนุษยเดียรัจฉาน และมนุษยเทวดา เม่ือมนุษยมาอยูรวมกันในพื้นที่ใด
พ้ืนท่ีหน่ึง โดยมีวัตถุประสงครวมกัน พ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน ดําเนินชีวิตภายในกฎระเบียบอัน
เดียวกัน จึงเรียกวา “สังคม” สาเหตุท่ีทําใหมนุษยตองมาอยูรวมกันในสังคม เพราะ มนุษยมีความ
จําเปนตองพ่ึงพา ซึ่งกันและกัน มีความรู ความสามารถแตกตางกัน จึงตองมีความสัมพันธตอกัน
เรียนรูวิถีดําเนินชีวิตรวมกัน ดังน้ัน องคประกอบของสังคม จึงประกอบดวย 1. การมีอาณาเขตท่ี
แนนอน 2. การอยูรวมกันเปนกลุม 3. การรูวาใครเปนพวกของตนหรือใครไมใชพวกของตน
4. การมีความสัมพันธและปฏิสัมพันธกัน 5. มีการแบงหนาท่ีการทํางานอยางเปนกิจจะลักษณะ 6. มี
บรรทัดฐานคลายคลึงกัน สําหรับการแบงประเภทของสังคม นั้น สามารถแบงได หลายประเภท
โดยอาศัยหลักเกณฑลักษณะทางดานสังคมที่แตกตางกัน ไดแก 1. แบงตามลักษณะขั้นความ
เจริญทางเศรษฐกิจ 2. การแบงตามเคร่ืองมือเครื่องใช 3. การแบงตามวิวัฒนาการของอาชีพ 4.
การแบงตามขนาดของสังคม 5. การแบงตามวิวัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ
วัฒนธรรม 6. การแบงตามลักษณะความสัมพันธของสมาชิกในสังคม สังคมมีหนาท่ี 1. การเพ่ิม
สมาชิกใหม 2. การอบรมสมาชิกใหมใหรูจักกฎเกณฑหรือระเบียบของสังคม 3.การติดตอสื่อสาร 4.
ดานการเศรษฐกิจ 5. การจัดระเบียบและการรักษาความสงบเรียบรอยใหแกสังคม 6. การผดุงขวัญ
และกําลงั ใจในการปฏบิ ัตภิ ารกจิ ของสมาชิกสังคม จากการสรปุ ดงั กลา วน้ี จะเหน็ ไดวามนุษยกับสังคม
น้ันจะมคี วามสมั พนั ธก ันไมส ามารถแยกจากกันได

25

กิจกรรมเสริมบทเรียน

1. ใหนกั ศกึ ษาทาํ กจิ กรรมสรุปบทเรยี นหนวยเรียนรูท่ี 1 มนุษยก ับสงั คม ดว ยแผนภูมคิ วามคิด
2. ใหนักศึกษาทํากจิ กรรมเขยี นบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทส่ี ามารถนําไปใชด าํ รงชีวิต

ในดาน มนษุ ยก บั สงั คม
3. ใหนกั ศึกษาเขียนสะทอนความคดิ จากบทเรียน เรื่อง มนษุ ยกบั สงั คม

26

ใบงานการเรยี นรู
หนวยเรยี นรูท่ี 1

จงตอบคําถามตอไปน้ี
1. บอกความหมายและความสําคัญของมนษุ ย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ทําไมมนุษยท ่เี กดิ มาจึงมลี ักษณะท่แี ตกตางกัน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. อธบิ ายมนษุ ยเ มื่อไมมีชวี ิต
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. มนุษยท ี่สมบรู ณเ ปน อยางไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
5. ทา นเช่ือเรอ่ื งกฎแหงกรรมหรอื ไม เพราะเหตใุ ด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. อธิบาย “ทฤษฎีสญั ญาสงั คม”
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. บอกประเภทของสงั คม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

27

หนวยเรียนรทู ี่ 1 มนุษยกับสังคม
แบบทดสอบหลังเรียน
คาํ สั่ง จงเลือกคําตอบท่ถี ูกท่สี ุดแลว กากบาทลงในกระดาษคาํ ตอบ ก ข ค ง จ
1. ผูทกี่ ลาววา “มนษุ ยเปน สตั วสงั คม”

ก. ชารลส ดารวิน
ข. อรสิ โตเติล
ค. วลิ เลี่ยม เชกสเปยร
ง. โทมัส โฮม
จ. จอหน ลอ็ ค
2. ขอใดไมใ ชองคประกอบของสงั คม
ก. การมอี าณาเขตที่แนน อน
ข. การอยรู วมกันเปนกลุม
ค. มบี รรทดั ฐานคลายคลึงกัน
ง. มีวฒั นธรรมเหมอื นกนั
จ. ทาํ งานอยางเปนอิสระตางคนตางทาํ
3. สงั คมอตุ สาหกรรม เกิดข้ึนเปนครั้งแรกในประเทศใด
ก. อเมรกิ า
ข. องั กฤษ
ค. ญ่ีปุน
ง. เกาหลี
จ. จนี
4. ขอใดกลา วเกีย่ วกบั มนุษยไมถ ูกตอ ง
ก. สัตวท่รี ูจักใชเหตุผล สตั วทมี่ ีจติ ใจสงู
ข. มนุษยกับสัตวน นั้ มีลกั ษณะบางประการรว มกันอยู
ค. มนษุ ยกับสตั วน้นั มีลกั ษณะบางประการแตกตางกัน
ง. มนุษยเปน สัตวโ ลกที่ไมสามารถพึง่ ตนเองได
จ. มนุษยเ ปนสตั วโ ลกทีส่ ามารถพ่ึงตนเองจึงสามารถอยูตามลาํ พงั ได

28

5. ขอใดเปนสงั คมยุคแรกของมนษุ ย
ก. สงั คมลา สัตวแ ละเก็บของปา
ข. สงั คมเล้ยี งสตั วเ พ่ือการยงั ชีพ
ค. สังคมกสกิ รรมพืชสวน
ง. สังคมเกษตรกรรม
จ. สงั คมกสิกรรมพืชไร

6. ขอใดไมใ ชหนาที่สาํ คัญของสังคมมนุษย
ก. เพมิ่ สมาชิกใหม
ข. จะตอ งทําใหส มาชิกมีความมั่นคง
ค. จัดการอบรมขดั เกลาและพฒั นาสมาชกิ
ง. กระจายรายไดใหแกส มาชิกอยางทวั่ ถงึ
จ. สนองความตองการของสมาชิกตลอดเวลาท่เี รยี กรอง

7. มนุษยน ิสัยชว่ั ชา บาปหนา โหดรา ย ชอบสรางความโหดรายใหก บั คนอนื่ คือ มนุษยประเภทใด
ก. มนษุ ยน รก
ข. มนษุ ยเปรต
ค. มนษุ ยเดยี รจั ฉาน
ง. มนษุ ยเ ทวดา
จ. มนษุ ยซาตาน

8. มีการพัฒนาประสทิ ธภิ าพของการผลิตทางเศรษฐกิจอยางมากท้ังทางดานเกษตรกรรมและ
อตุ สาหกรรม
ก. สงั คมยุคหิน
ข. สงั คมยคุ สาํ รดิ
ค. สังคมยคุ เหลก็
ง. สงั คมยุคทอง
จ. สงั คมยุคเงนิ

29

9. ขอใดบอกความหมายของสังคมไมถ ูกตอ ง
ก. กลุมคนที่อยูรวมกัน มีการติดตอส่อื สารซึ่งกันและกัน และเพื่อตอบสนองความตองการ
และผลประโยชนใ นการดํารงชวี ติ รวมกัน
ข. คนจํานวนหนึ่งมีความสัมพันธต อ เน่ืองกนั ตามระเบียบกฎเกณฑม วี ัตถปุ ระสงครว มกัน
ค. การทีม่ นุษย ท่ีมีอะไรสว นใหญเ หมือนหรือคลา ยคลึงกัน มคี วามสมั พนั ธกันและมาอยูใน
เขตเดยี วกนั อยา งถาวร
ง. กลมุ คนตงั้ แตสองคนขึ้นไปไดตดิ ตอสัมพันธกันในพ้ืนที่ใดพื้นทีห่ นึ่งไมจ ําเปน ตองมี
วัตถุประสงคแ ละกฎระเบยี บรว มกนั
จ. กลุมคนทม่ี าอยรู ว มกนั เพราะหนีความกลวั จากภยั ธรรมชาตเิ หมือนกนั และมาอยรู วมกนั มี
การติดตอซงึ่ กนั และกันระยะเวลานาน

10. ทฤษฎที ีเ่ ช่ือวา มนษุ ยแตดง้ั เดิมนนั้ มิไดร วมกันอยูเปน สังคมเชนปจจุบันนี้ หากแตมนษุ ยไ ด
อาศยั อยตู ามสภาพธรรมชาติ
ก. ทฤษฎีสัญญามนษุ ย
ข. ทฤษฎสี ญั ญาวัฒนธรรม
ค. ทฤษฎสี ัญญาสังคม
ง. ทฤษฎสี ญั ญาศาสนา
จ. ทฤษฎสี ัญญาคานิยม

30

เฉลยแบบทดสอบ กอนเรยี น-หลังเรียน
หนว ยเรยี นรูท ่ี 1

เฉลยแบบทดสอบ เฉลยแบบทดสอบ
กอนเรียน หลังเรียน
1.จ 1.ข
2.ก 2.จ
3.ง 3.ข
4.ข 4.จ
5.ค 5.ก
6.จ 6.จ
7.ค 7.ก
8.ก 8.ค
9.ข 9.ง
10.จ 10.ค

เกณฑการประเมนิ ผล ดมี าก
คะแนนเต็ม 10 คะแนน ขอละ 1 คะแนน ดี
ระดบั คะแนน 9-10 คะแนน พอใช
ปรบั ปรุง
7-8 คะแนน

5-6 คะแนน

0-4 คะแนน

31

แนวตอบใบงานการเรียนรู
หนวยเรยี นรูที่ 1

1. บอกความหมายและความสาํ คญั ของมนษุ ย
ตอบ ตามความคดิ เห็นของผูเรยี น และอยใู นดุลพินจิ ของผูสอน

2. ทาํ ไมมนุษยท่ีเกิดมาจึงมีลักษณะทแ่ี ตกตางกนั
ตอบ ตามความคิดเห็นของผเู รียน และอยูในดลุ พนิ จิ ของผูสอน

3. อธิบายมนษุ ยเมื่อไมมีชวี ิต
ตอบ ตามความคิดเหน็ ของผูเรียน และอยใู นดุลพินิจของผูสอน

4. มนุษยท่สี มบูรณเ ปนอยา งไร
ตอบ ตามความคดิ เห็นของผูเรยี น และอยใู นดลุ พินจิ ของผูสอน

5. ทานเชือ่ เรื่องกฎแหงกรรมหรอื ไมเพราะเหตุใด
ตอบ ตามความคิดเหน็ ของผเู รยี น และอยูใ นดุลพินิจของผูสอน

6. อธิบาย“ทฤษฎีสัญญาสังคม”
ตอบตามความคิดเหน็ ของผเู รียน และอยใู นดลุ พินจิ ของผสู อน

7. บอกประเภทของสังคม
แบง ประเภทของสงั คมตาม 6 หลกั เกณฑ

1. แบง ตามลกั ษณะขั้นความเจริญทางเศรษฐกิจ
แบง เปน 5 ประเภท คอื
1. สังคมทม่ี ีระบบเศรษฐกจิ แบบดั้งเดิม (Traditional Society)
2. สงั คมเตรียมการพฒั นา (Precondition for Take-off)
3. สังคมเขา สกู ระบวนการพฒั นา (Take-Off Stage)
4. สังคมทะยานเขา สูภาวะของความอุดมสมบรู ณ (Drive –to Maturity Stage)
5. สงั คมอุดมสมบรู ณ (Stage of High Mass Consumption)

2. แบงตามเคร่ืองมือเครื่องใช
แบงเปน 3 ประเภท คือ
1. สังคมยุคหิน
2. สงั คมยุคสาํ รดิ
3. สังคมยุคเหล็ก

3. การแบงตามวิวฒั นาการของอาชีพ
แบงออกเปน 5 ประเภท คอื
1. สังคมลาสัตวแ ละเก็บของปา (Hunting and Gathering Society)

32

2. สงั คมเล้ยี งสัตวเ พื่อการยงั ชีพ (Pastoral Society)
3. สังคมกสกิ รรมพชื สวน (Horticultural Society)
4. สังคมเกษตรกรรม (Agricultural Society)
5. สังคมอตุ สาหกรรม (Industrial Society)
4. การแบงตามขนาดของสังคม
แบงออกเปน 3 ประเภท คอื
1. สงั คมระดับตํา่ กวาชาติ
2. สังคมชาติ
3. สังคมโลก
5. การแบงตามววิ ัฒนาการของการเปลีย่ นแปลงทางสงั คมและวัฒนธรรม
แบง ออกไดเ ปน 3 ประเภท คือ
1. สงั คมด้ังเดมิ (Primitive Society)
2. สงั คมชาวนา (Peasant Society)
3. สังคมสมัยใหม (Modern Society)
6. การแบงตามลักษณะความสมั พนั ธข องสมาชิกในสังคม
แบงออกเปน 2 ประเภท คอื
1. สงั คมชนบท (Rural Society)
2. สงั คมเมอื ง (Urban Society)

33

เอกสารอางองิ

คณาจารย มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. (2559). มนุษยก บั สังคม. กรงุ เทพฯ:
โรงพิมพม หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั .

จารุณี วงศล ะคร. (2545). ปรัชญาวัฒนธรรมและวัฒนธรรมไทย. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา
คณะมนษุ ยศาสตรม หาวทิ ยาลัยเชียงใหม.

จาํ นง อดวิ ัฒนสินธ์.ิ (2548). สงั คมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร. กรุงเทพฯ: สาํ นักพิมพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

จฑุ ารตั น เอ้อื อาํ นวย. (2551). จติ วิทยาสังคม. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ณรงค เส็งประชา. (2532). มนษุ ยกับสงั คม. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พิมพโอเดยี นสโตร
ทศั นยี  ทองสวาง. (2549). สงั คมวิทยา. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร.
พระมหาสนอง ปจ โจปการี. (2553). มนษุ ยก ับสังคม. กรงุ เทพฯ: บริษทั แอคทีฟ พร้ินท จํากัด.
มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. (2555). มนุษยกับสังคม. กรุงเทพฯ: หางหนุ สวนจํากดั อรณุ

การพมิ พ.
ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2538). พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ:

ราชบณั ฑิตยสถาน.
ศริ นิ ภา จามรมาน และปนัดดา ชํานาญสขุ . (2553). มนษุ ยก บั สงั คม. กรุงเทพฯ: สาํ นักพิมพ

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.
สดุ า ภิรมยแกว. (2553). มนุษยกับสังคม. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พิมพม หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.
อําไพ หม่ืนสทิ ธิ์. (2553). มนุษยกับสังคม. กรุงเทพฯ: บริษทั ทรปิ เพิ้ล เอด็ ดูเคชน่ั จาํ กัด.
เว็บไซต
http://lek-prapai.org/home/view.php?id=804 (สบื คน 9 มกราคม 2558)
http://prehistoricpcctrgxix.myreadyweb.com/article/topic-49585.html

(สบื คน 9 มกราคม 2558)
http://thongkum.blogspot.com/2015/11/blog-post_67.html (สบื คน 9 ธนั วาคม 2558)
https://sites.google.com/site/technologyinteachingzz/prawati (สืบคน 9 มกราคม 2558)
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=angel-touch&month=02-10-2009&group

=4&gblog=108 (สืบคน 9 มกราคม 2558)

34


Click to View FlipBook Version