The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การคิดอย่างเป็นระบบ Systems Thinking

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Parker W., 2019-12-03 06:39:08

การคิดอย่างเป็นระบบ Systems Thinking

การคิดอย่างเป็นระบบ Systems Thinking

3000-1606 การคิดอย่างเป็ นระบบ (Systems Thinking)

การคิดอยา่ งเป็นระบบ (Systems Thinking) เรมิ่ พดู ถงึ แนวคดิ น้ีเป็นคนแรก คอื Bertalanfy นกั ชวี วทิ ยา ต่อมาแนวคดิ
น้เี ป็นทร่ี จู้ กั แพรห่ ลาย และพฒั นาไปสสู่ าขาอ่นื ๆ เช่น ฟิสกิ ส์

เรม่ิ มาจากการตงั้ ขอ้ สนั นิษฐาน (Thesis) แลว้ มขี อ้ ขดั แยง้ ของสนั นษิ ฐานนนั้ ๆ เกดิ ขน้ึ แต่กไ็ ม่
ถูกทงั้ หมด ดงั นนั้ จงึ เกดิ การสงั เคราะห์ (Synthesis) สงิ่ ใหม่ และสง่ิ เหลา่ น้ไี ดพ้ ฒั นาไปอยา่ งต่อเน่อื ง ความรตู้ ่าง ๆ จะพฒั นาเป็น
แบบน้ไี ปอยา่ งไม่หยดุ ยงั้ ทุกอยา่ งเคล่อื นไหว ไมแ่ น่นอน วธิ คี ดิ แบบน้มี มี านานแลว้ ทกุ อยา่ งมมี ลู เหตุ ความรเู้ รอ่ื งทฤษฎรี ะบบเป็น
การมองโลกแบบองคร์ วม ดงั นนั้ ทกุ อย่างมคี วามเช่อื มโยงสมั พนั ธจ์ ากสว่ นย่อยไปสสู่ ว่ นใหญ่

การคดิ อย่างเป็นระบบ หมายถงึ วธิ กี ารคดิ อยา่ งมเี หตุผล ทาํ ใหผ้ ลของการคดิ หรอื ผลของการแกป้ ญั หาทไ่ี ดน้ นั้ มคี วามถกู ตอ้ ง
แม่นยาํ และรวดเรว็ (Seddon)

การคดิ อยา่ งเป็นระบบ หมายถงึ การคดิ ถงึ สง่ิ ใดสง่ิ หน่งึ ทม่ี องภาพรวมทเ่ี ป็นระบบและมสี ว่ นประกอบยอ่ ย ๆ โดยอาศยั การคดิ ใน
รปู แบบโดยตรง และโดยทางออ้ ม ทฤษฎรี ะบบใหแ้ นวคดิ วา่ ทุกสงิ่ ลว้ นยอ่ มอยใู่ นเอกภพ รวมทงั้ สงิ่ เลก็ หรอื ใหญ่ ลว้ นเป็นระบบมี
วงจรการทาํ งาน ปจั จยั กระบวนการ เกดิ จากการประสานงานกนั หลาย ๆ ระบบ แต่ละหน่วยย่อมมบี ทบาทหน้าทท่ี แ่ี ตกต่างกนั แต่
ละสงิ่ ในเอกภพมคี วามเป็นระบบตามมติ ติ ่าง ๆ กนั ในเวลาเดยี วกนั (Gharajedaghi)

การคดิ อย่างเป็นระบบ หมายถงึ การคดิ ทม่ี คี วามเขา้ ใจ เชอ่ื มโยง มคี วามเช่อื ในทฤษฎรี ะบบเป็นพน้ื ฐาน ในสมองคนปกตมิ คี วาม
เขา้ ใจเกย่ี วกบั ระบบในสรรพสงิ่ ทอ่ี ยใู่ นโลกทส่ี อดคลอ้ งกบั ทฤษฎรี ะบบอย่แู ลว้ เพยี งแต่ความสามารถในการทาํ ไดด้ ใี นระดบั ความ
เขม้ ขน้ ของระบบแตกต่างกนั (Ackoff)

โดยสรปุ การคิดอยา่ งเป็นระบบ หมายถงึ เป็นการคิดในภาพรวมที่เป็นระบบ และมสี ่วนประกอบย่อย ๆ มี
ความสมั พนั ธเ์ ช่ือมโยงจากส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่ เป็นการคิดอย่างมีเหตมุ ีผล เน้นการแก้ปัญหาอยา่ งชาญฉลาดเพอื่ ให้
เกิดความถกู ต้อง แม่นยาํ รวดเรว็
ความสาํ คญั ของการคิดอยา่ งเป็นระบบ
การคิดอย่างเป็นระบบมีความสาํ คญั ดงั นี้ (Checkland. 1981 : 35)
1. ช่วยใหเ้ กดิ ความคดิ เพอ่ื พฒั นาองคก์ รในภาพรวมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. ประสานงานรว่ มกบั บุคคลอ่นื ใหเ้ ป็นไปตามกระบวนการ และระบบการบรหิ ารงานภายใน
3. สามารถแกป้ ญั หา ตดั สนิ ใจ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
4. แกไ้ ขปญั หาขอ้ ขดั แยง้ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ในองคก์ รไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
5. เพอ่ื มองเหน็ กระบวนการเปลย่ี นแปลงทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ กบั ระบบภายในองคก์ รอย่างเป็นระบบเชอ่ื มโยงตดิ ต่อกนั และสามารถแกไ้ ข
สถานการณ์เอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
หน่วยระบบทงั้ หลายในเอกภพแบ่งระบบออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. หน่วยระบบตามธรรมชาติ (Natural System) ซง่ึ เกดิ ขน้ึ โดยธรรมชาติ เช่น ฝนตก แดดออก แบง่ เป็น 2 ชนิด
1.1 หน่วยระบบทางกายภาพ (Physical Systems) รวมถงึ สสารทเ่ี ป็นพลงั งาน
1.2 หน่วยปฏกิ ริ ยิ า (Intersectional System) เป็นการกระทาํ ต่อกนั ระหว่างปจั จยั นําเขา้ ของแต่ละหน่วยระบบ ปรากฎอยใู่ นหน่วย
ความสมั พนั ธต์ ่าง ๆ ทจ่ี ดั ขน้ึ เป็นหน่วยระบบความคดิ เช่น น้ํา ออกซเิ จน ซง่ึ แต่ละหน่วยเป็นระบบกายภาพ เม่อื นํามาสรา้ งปฏกิ ริ ยิ า
สมั พนั ธก์ นั กลายเป็นระบบทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการทาํ ปฏกิ ริ ยิ าซง่ึ กนั และกนั
2. หน่วยระบบทม่ี นุษยส์ รา้ งขน้ึ (Man made System) มี 3 ชนดิ คอื
2.1 หน่วยระบบกายภาพเชน่ เดยี วกบั ระบบธรรมชาติ เพยี งแต่มนุษยส์ รา้ งขน้ึ
2.2 หน่วยปฏกิ ริ ยิ า (Intersectional System) เช่นเดยี วกบั ระบบธรรมชาตเิ พยี งแต่มนุษยก์ ่อปฏกิ ริ ยิ าขน้ึ
2.3 หน่วยระบบความคดิ ทเ่ี รยี กว่า มโนมติ (Concept) มที งั้ หน่วยระบบกายภาพและหน่วยปฏกิ ริ ยิ าทน่ี ํามาคดิ สรา้ งสรรคก์ ลายเป็น
ผลงานทส่ี รา้ งขน้ึ เป็นวฏั จกั ร ระบบกระบวนการของมนุษย์ ทค่ี ดิ สรา้ งขน้ึ โดยอาศยั แนวความคดิ เดมิ ทม่ี มี าแต่กาํ เนดิ หรอื เกดิ ขน้ึ เอง
โดยธรรมชาตมิ าผนวกเขา้ ดว้ ยกนั โดยอาศยั แนวความคดิ สรา้ งระบบทต่ี ่อเน่ืองขน้ึ เชน่ สตู รคาํ นวณต่าง ๆ

การคิดอยา่ งเป็นระบบกบั การพฒั นาองคก์ ร
การคดิ อยา่ งเป็นระบบเกย่ี วกบั องคก์ ร คอื องคก์ รทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ตอ้ งนําระบบการคดิ อย่างเป็นระบบมาจดั การระบบต่าง ๆ ใน

องคก์ รใหส้ อดคลอ้ งสมั พนั ธก์ นั องคก์ รประกอบดว้ ยสว่ นประกอบต่าง ๆ ทเ่ี ชอ่ื มสมั พนั ธก์ นั อยา่ งแยกไม่ออก ทงั้ หมดรวมเป็นหน่งึ
เดยี วกนั การคดิ อย่างเป็นระบบจะไมม่ องเฉพาะจดุ ใดจดุ หน่งึ แต่จะมองในภาพรวมทงั้ องคก์ ร และพยายามใชค้ วามคดิ ในการ
แกป้ ญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ การคดิ อยา่ งเป็นระบบแทจ้ รงิ จะมองเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ เกดิ จากองคก์ รแต่ไมใ่ ช่ฝา่ ยใดฝา่ ยหน่ึงเท่านนั้ ปญั หาทุก
อยา่ งสมั พนั ธเ์ กย่ี วเน่ืองกนั จนไม่สามารถแยกออกจากกนั ได้ โดยทก่ี ารทาํ งานใด ๆ ของมนุษยล์ ว้ นเป็นระบบทงั้ สน้ิ การกระทาํ ทกุ
อย่างจะถูกโยงดว้ ยสายใยแหง่ ความสมั พนั ธก์ นั และกนั ตลอดเวลา แต่ไม่สามารถมองเหน็ ไดใ้ นทนั ที ตอ้ งใชเ้ วลากวา่ เหตุการณ์หน่งึ
จะเกดิ ขน้ึ โดยทเ่ี ราไม่รตู้ วั โดยเฉพาะหากปรากฎการณ์ทม่ี เี ราอยรู่ ว่ มดว้ ยยากทจ่ี ะมองเหน็ (Ackoff. 2010 : 47)

โดยสรุปการคดิ อยา่ งเป็นระบบจะเน้นการมองเหน็ ความสมั พนั ธก์ นั และกนั ในองคก์ ร ไมใ่ ชม่ องเหตุผลเป็นเสน้ ตรงต่อ ๆ กนั ไป
เท่านนั้ และมองเหน็ กระบวนการเปลย่ี นแปลงในองคก์ ร ไมใ่ ชม่ องสงิ่ ต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ เทา่ นนั้
การคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking)

การคดิ ถงึ สง่ิ หนง่ึ สงิ่ ใดทม่ี องภาพรวมอย่างเป็นระบบ มเี หตุมผี ล ทาํ ใหผ้ ลของการคดิ หรอื ผลของการแกป้ ญั หาทไ่ี ดน้ นั้ มคี วาม
ถูกตอ้ ง แมน่ ยาํ และรวดเรว็
การคิดอยา่ งเป็นระบบ จะต้องมีคณุ สมบตั ิ ดงั นี้ (Checkland : 1981)
1. การคดิ แบบมคี วามเป็นองคร์ วม (Holistic) หรอื Wholeness เป็นการประเมนิ องคป์ ระกอบ ของสถานการณ์หรอื สภาพปญั หา
ของหน่วยงาน ในภาพรวมทงั้ หมด
2. การคดิ เป็นเครอื ขา่ ย (Networks) เป็นการคดิ เช่อื มโยงปฏสิ มั พนั ธข์ องระบบต่างๆ ทป่ี ระกอบกนั ขน้ึ มา เป็นเครอื ขา่ ยของระบบ
3. คดิ เป็นลาํ ดบั ชนั้ (Hierarchy) ระบบหน่ึงๆ อาจจะมาจากระบบย่อยๆ หลายระบบทป่ี ระกอบกนั ขน้ึ มา และในระบบย่อยเองกม็ ี
ความสมั พนั ธข์ องสว่ นต่างๆ ทเ่ี ป็นองคป์ ระกอบของระบบ
4. คดิ แบบมปี ฏสิ มั พนั ธต์ ่อกนั (Interaction) ระหวา่ งระบบดว้ ยกนั ทงั้ ระบบยอ่ ยกบั ระบบย่อยดว้ ยกนั ระบบใหญ่กบั สภาพแวดลอ้ ม
ซง่ึ การเปลย่ี นแปลงของระบบยอ่ ยจะมผี ลต่อ ระบบใหญ่ดว้ ย
5. คดิ อย่างมขี อบเขต (Boundary) ระบบหน่งึ ๆ มาจากระบบยอ่ ยหลายระบบ และระหว่างระบบยอ่ ย และระบบใหญ่ต่างมขี อบเขต
ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ วา่ ระบบนนั้ ๆ ครอบคลมุ อะไรบา้ ง และอะไรบา้ ง ทอ่ี ย่นู อกเขตแดน ซง่ึ ในความเป็นจรงิ ระบบกไ็ มไ่ ดแ้ ยกเขตแดนกนั
อยา่ งเดด็ ขาด แต่มกี ารทบั ซอ้ น (Overlap) กนั อยู่
6. คดิ อย่างมแี บบแผน (Pattern) ระบบจะตอ้ งมคี วามคงทแ่ี น่นอน เพ่อื เป็นหลกั ประกนั วา่ กระบวนการทาํ งานทุกอยา่ งในทุกๆ
ขนั้ ตอน จะไมเ่ บย่ี งเบนไปจากเป้าหมายโดยรวมของระบบ
7. คดิ อยา่ งมโี ครงสรา้ ง (System Structure) แต่ละสว่ นทป่ี ระกอบเป็นระบบมคี วามเป็นตวั ของตวั เอง มคี วามเป็นอสิ ระ แต่กม็ ี
ความเชอ่ื มโยงกนั อย่างเหมาะสมทาํ หน้าทอ่ี ยา่ งสมั พนั ธก์ นั ทาํ งานเสรมิ ประสานกนั กบั สว่ น อน่ื ๆ เพ่อื ใหบ้ รรลุเป้าหมายของระบบ
โดยรวม
8. คดิ อย่างมกี ารปรบั ตวั ต่อการเปลย่ี นแปลง (Adaptation) ระบบต่างๆ จะมกี ารปรบั ตวั และพยายาม สรา้ งสภาวะสมดลุ และคง
ความสมดุลนนั้ ไว้ ดว้ ยการจดั ระบบภายในตนเอง (Self Organize)
คดิ เป็นวงจรป้อนกลบั (Feedback - Loops) เป็นการคดิ ในลกั ษณะเป็นวง (Loops) มากกวา่ จะเป็นเสน้ ตรง ทกุ สว่ นต่างมกี าร
เชอ่ื มต่อ ทงั้ โดยตรงและโดยออ้ ม

ทฤษฎีระบบ (Systems Theory)
โบลดด์ ง้ิ และเบอรท์ าลนู ไฟล์ (Boulding and Bertalunfly)นกั ทฤษฎอี งคก์ ารและนกั ชวี วทิ ยาทม่ี องวา่ องคก์ ารเป็นสงิ่ มชี วี ติ โดย

มองในรปู ระบบเปิดเหมอื นระบบกายวภิ าคของสง่ิ มชี วี ติ (Anatomy) ทฤษฎรี ะบบคอื แนวคดิ ทเ่ี ชอ่ื ว่าเอกภพ (Universe) เป็นหน่งึ
หน่วยระบบซง่ึ มคี ุณสมบตั ปิ ระการต่าง ๆ เอกภพเป็นหน่วยระบบทใ่ี หญ่โตเกนิ กวา่ ทเ่ี ราสงั เกตและพสิ จู น์ไดค้ รบถว้ นและแม้
สว่ นประกอบทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ ของเอกภพซง่ึ นกั วทิ ยาศาสตรป์ จั จบุ นั เรยี กว่า “ควารก์ ”(Quaek) ซง่ึ สงั เกตหรอื พสิ จู น์ไดย้ ากกเ็ ป็นหน่วย
ระบบเชน่ เดยี วกนั แต่อาจมคี ณุ สมบตั อิ ยา่ งไม่ครบถว้ นสว่ นสงิ่ อน่ื ๆทงั้ หลายทม่ี ขี นาดระหวา่ งกลางของสง่ิ ทงั้ สองน้ีลว้ นมคี ุณสมบตั ิ

ของความเป็นหน่วยระบบครบถว้ นซง่ึ แนวคดิ /ทฤษฎนี ้ไี ดพ้ ฒั นาไปสสู่ าขาวชิ าอน่ื ๆ
ทฤษฎรี ะบบพน้ื ฐาน (Basic Systems Theory)

ทฤษฎรี ะบบพน้ื ฐาน (Basic Systems Theory) ขององคก์ ารซง่ึ มี 5 สว่ นคอื ปจั จยั ป้อน กระบวนการแปรรปู ผลผลติ ขอ้ มลู
ยอ้ นกลบั และสภาพแวดลอ้ ม
1. ปจั จยั ป้อน (Inputs) คอื ทรพั ยากรทเ่ี ป็นบุคคลวสั ดุอปุ กรณ์เงนิ หรอื ขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นการผลติ หรอื การบรกิ าร
2. กระบวนการแปรรปู (Transformation Process)จาการใชเ้ ทคโนโลยแี ละหน้าทใ่ี นทางการบรหิ ารตวั ป้อนนําไปสกู่ ระบวนการแปร
รปู ในโรงเรยี นปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งนกั เรยี นกบั ครเู ป็นสว่ นหน่งึ ของการแปรรปู หรอื กระบวนการเรยี นรซู้ ง่ึ ทาํ ใหน้ กั เรยี นกลายเป็น
พลเมอื งทม่ี กี ารศกึ ษาซง่ึ สามารถทาํ ประโยชน์ใหแ้ ก่สงั คมต่อไป
3. ผลผลติ (Output)ไดแ้ ก่ผลติ ภณั ฑแ์ ละการบรกิ ารขององคก์ ารองคก์ ารทางการศกึ ษาผลติ และแจกจา่ ยความรู้
4. ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั (Feedback)คอื สารสนเทศเกย่ี วกบั ผลผลติ หรอื กระบวนการขององคก์ ารซง่ึ มอี ทิ ธพิ ลต่อการคดั เลอื กตวั ป้อน
ระหว่างวงจรต่อไปขอ้ สารสนเทศเช่นน้อี าจนําไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลงทงั้ ในกระบวนการแปรรปู และผลผลติ ในอนาคต
5. สภาพแวดลอ้ ม (Environment)สภาพแวดลอ้ มทอ่ี ยลู่ อ้ มรอบองคก์ ารไดแ้ กแ่ รงผลกั ดนั (Forces) ทงั้ ดา้ นสงั คมการเมอื งและ
เศรษฐกจิ ทม่ี าปะทะกบั องคก์ าร

ดงั นนั้ การสรา้ งกรอบแนวคดิ ใหอ้ งคก์ ารเป็นระบบเปิด (Open System) จงึ เป็นแนวคดิ รวบยอดทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ ประการหน่งึ ของ
ทฤษฏรี ะบบองคก์ ารทเ่ี ป็นโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาทงั้ หมดเป็นระบบเปิด
ข้อแนะนําสาํ หรบั ผบู้ ริหารในการออกแบบองคก์ ารแห่งการเรียนรู้

ขอ้ แนะนําสาํ หรบั ผบู้ รหิ ารในการออกแบบสภานศกึ ษาหรอื โรงเรยี น เพอ่ื ใหเ้ ป็นองคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้ โดยวธิ รี ะบบทด่ี ดั แปลงมา
จากคฟี ซง่ึ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบพน้ื ฐานสามประการ และองคป์ ระกอบระบบแปดประการ องคป์ ระกอบทงั้ 11 ประการน้มี คี วาม
จาํ เป็นและจะตอ้ งกาํ หนดโดยสถานศกึ ษาในเขตพน้ื ท่ี ไมใ่ ชบ่ ุคคลภายนอก มดี งั ต่อไปน้ี
1. องคป์ ระกอบพนื้ ฐาน ประกอบด้วย

- คาํ กล่าวพนั ธกจิ เป็นคาํ กลา่ วอย่างย่อๆ เกย่ี วกบั จดหมายของสถานศกึ ษา
- สมมตฐิ านทางปรชั ญา ทางจติ วทิ ยา และทางองคก์ าร สมมตฐิ านเหล่าน้เี กย่ี วกบั ธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น การเรยี นรู้ แรงจงู ใจ
จดุ มุ่งหมายของการเรยี นรู้ และองคก์ ารโรงเรยี นและงบประมาณ ซง่ึ ถอื ว่าเป็นพน้ื ฐานของแบบการก่อสรา้ งของสถานศกึ ษา
- คาํ กล่าวผลลพั ธส์ ดุ ทา้ ยของนกั เรยี น ไดแ้ ก่ ความสามารถกวา้ งๆ ทเ่ี หน็ ว่าจาํ เป็นต่อการมสี ว่ นรว่ มอย่างมปี ระสทิ ธผิ ลในสงั คมและ
เศรษฐกจิ ยุคปจั จบุ นั ตชคาํ อธบิ ายเหล่าน้ีรวมเป็นพน้ื ฐานสาํ หรบั หลกั สตู รของสถานศกึ ษาและระบบการประเมนิ นกั เรยี น
2. องคป์ ระกอบระบบ ประกอบด้วย
- โครงการสอนและหลกั สตู ร เป็นวรรคอธบิ ายสนั้ ๆ ซง่ึ ใหค้ าํ จาํ กดั ความหรอื นิยามเน้ือหาหลกั สตู ร และโอกาสการเรยี นรทู้ จ่ี ะจดั ให้
นกั เรยี น ขอ้ กาํ หนดเหลา่ นจ้ี ะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั คาํ กล่าวผลลพั ธส์ ดุ ทา้ ยของนกั เรยี น
- กลวธิ กี ารสอน เป็นวรรคสนั้ ๆซง่ึ ใหค้ าํ จาํ กดั ความหรอื นิยามกลวธิ กี ารสอน ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ แลว้ วา่ ประสบผลสาํ เรจ็ ในการบรรลผุ ล
ลพั ธส์ ดุ ทา้ ยของนกั เรยี นทพ่ี งึ ประสงค์
- โครงสรา้ งและการจดั องคก์ ารสถานศกึ ษา เป็นตอนหน่งึ ทอ่ี ธบิ ายวา่ สถานศกึ ษาจะถกู จดั โครงสรา้ งอยา่ งไร เพ่อื วา่ ผลลพั ธส์ ดุ ทา้ ย
ของนกั เรยี นจะบรรลุได้ ในตอนน้อี าจมคี าํ อธบิ ายเกย่ี วกบั การจดั ตารางสอนและตารางเรยี น และโครงสรา้ งทางสงั คมดว้ ย
- วฒั นธรรมและบรรยากาศของสถานศกึ ษา เป็นการใหค้ าํ จาํ กดั ความหรอื ตวั บง่ ชส้ี าํ คญั ๆของวฒั นธรรมและบรรยากาศของ
สถานศกึ ษา มคี าํ นยิ ามว่าเป็น “คุณลกั ษณะ ปทสั ถาน และประเพณีของสถานศกึ ษาและของชุมชนทส่ี ถานศกึ ษาตงั้ อย”ู่ สว่ น
บรรยากาศ เป็น “ความคดิ เหน็ ตรงกนั ของคุณลกั ษณะของสถานศกึ ษาและสมาชกิ ของสถานศกึ ษา บรรยากาศเป็นเคร่อื งชว้ี ดั
วฒั นธรรมของสถานศกึ ษา”
- ภาวะผนู้ ําสถานศกึ ษา การบรหิ าร และการงบประมาณ ตวั บง่ ชต้ี ่างๆทก่ี าํ หนดวา่ กระบวนการวางแผน การตดั สนิ ใจ และการ
สอ่ื สารเป็นอย่างไร ในตอนน้อี าจเขยี นคาํ อธบิ ายวา่ การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน ของสถานศกึ ษาจะเป็นไปไดอ้ ยา่ งไร
- การจดั อตั รากาํ ลงั และการพฒั นาบคุ ลากรของสถานศกึ ษา ตวั บง่ ชใ้ี นสว่ นน้ีกล่าวถงึ บทบาททางวชิ าชพี ครู สถานทท่ี าํ งานของครู
นโยบายการจา้ งครแู ละการบรรจุครู และลาํ ดบั ความสาํ คญั ของการพฒั นาบคุ ลากร
- ทรพั ยากร อาคารสถานท่ี และครภุ ณั ฑข์ องสถานศกึ ษา ตวั บง่ ชใ้ี นสว่ นน้กี าํ หนดคณุ ลกั ษณะของอาคารสถานท่ี ครุภณั ฑท์ จ่ี าํ เป็น

สาํ หรบั เกอ้ื หนุนการออกแบบหลกั สตู รและการเรยี นการสอนทค่ี าดหวงั ไว้ และการจดั ประสานงานระหวา่ งทรพั ยากรของสถานศกึ ษา
กบั ชมุ ชน
- แผนการประเมนิ ผล เป็นการกาํ หนดระบบการประเมนิ ผลและการรายงานของสถานศกึ ษา แผนน้ถี กู ทาํ ขน้ึ เพอ่ื แจง้ ใหส้ มาชกิ ของ
ชุมชนทส่ี ถานศกึ ษาตงั้ อยทู่ ราบว่าการออกแบบสถานศกึ ษามกี ารนําไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร และผลลพั ธส์ ดุ ทา้ ยของนกั เรยี นจะบรรลุ
อยา่ งไร
เทคนิ คการคิดอย่างเป็ นระบบ

เทคนิคการคิดอย่างเป็นระบบ (เกรยี งศกั ด์ิ เจริญวงศศ์ กั ด์ิ.2548)
1. ยอมรบั ตนเองและเปลย่ี นใจตนเองใหไ้ ดว้ า่ ตนคอื สว่ นประกอบสาํ คญั ทเ่ี ชอ่ื มโยงสงิ่ ต่างๆ
2. เขา้ ใจธรรมชาตขิ องระบบ และทุกสรรพสง่ิ ในโลกน้ีสมั พนั ธก์ นั
3. ฝึกการมองภาพรวมแทนสง่ิ เลก็ ๆ แลว้ คอ่ ยๆ มองยอ้ นกลบั
4. มองเหน็ กระบวนการเปลย่ี นแปลง และปจั จยั ต่างๆ ทเ่ี ออ้ื ต่อระบบ
5. มองเหน็ วฏั จกั รของเหตุปจั จยั และการสง่ ผลยอ้ นกลบั
6. เปิดอสิ ระในเรอ่ื งการคดิ ไมต่ กี รอบ ครอบงาํ ความคดิ ของคนอ่นื
7. สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหท้ ุกคนเกดิ แรงร่วมในกรสรา้ งความสมั พนั ธ์
8. ยดึ หลกั การเรยี นรใู้ นองคก์ รเป็นสว่ นประกอบ คอื การเป็นนายตนเอง ลบความเช่อื ฝงั ใจในอดตี สรา้ งความไฝฝ่ นั ถงึ อนาคต
รว่ มกนั (Shared Vision) และฝึกการเรยี นรขู้ องทมี

ตวั อยา่ งการคิดอยา่ งเป็นระบบ ในระบบโรงเรยี น เป็นความสมั พนั ธข์ องสว่ นต่างๆ ทร่ี ว่ มกนั ใหโ้ รงเรยี นขบั เคล่อื นตามบทบาท
ภารกจิ ไปสคู่ วามสาํ เรจ็ ในการจดั ระบบและการบรหิ ารในโรงเรยี นนนั้ เป็นการจดั กลุ่มมาตรฐานและตวั บง่ ชก้ี บั งานหรอื มาตรฐาน และ
บนั ทกึ การทาํ งาน แลว้ บรหิ ารระบบนนั้ ดว้ ยกระบวนการ PDPC Model

P Planing หมายถงึ การวางแผน
D Doing หมายถงึ การปฏบิ ตั ติ ามแผน
C Checking หมายถงึ การตรวจทานแกไ้ ข
A Acting หมายถงึ การปฏบิ ตั หิ ลงั การแกไ้ ข

องคก์ ารแห่งการเรยี นรแู้ ละการคิดอยา่ งเป็นระบบ
การทห่ี น่วยงานราชการจะเขา้ สอู้ งคก์ ารแหง่ การเรยี นรไู้ ด้ ตอ้ งอยทู่ ค่ี รภู ายในหน่วยงานสามารถพฒั นาความสามารถ ทงั้ ในระดบั

บุคคล ระดบั กลุ่ม และระดบั องคก์ รไดอ้ ยา่ งต่อเน่อื ง และนําไปสจู่ ุดมงั่ หมายทต่ี อ้ งการอย่างแทจ้ รงิ และตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บญั ญตั ิ 5
ประการคอื (วจิ ารณ์ พานิช. 2548 : 25)
1. การคดิ อย่างเป็นระบบ (System Thinking) คอื คนในหน่วยงานราชการสามารถอธบิ ายพฤตกิ รรมความเป็นไปไดต้ ่างๆ ถงึ
ความเชอ่ื มโยงต่อเน่ืองของสรรพสงิ่ และเหตุการณ์ต่างๆ เพอ่ื ใหส้ ามารถเปลย่ี นแปลงระบบไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลสอดคลอ้ งไดก้ บั
ความเป็นไปไดใ้ นโลกแหง่ ความจรงิ
2. แบบแผนความคดิ (Mental Model) ตระหนกั ถงึ กรอบแนวคดิ ของตนเองรปู แบบความคดิ ความเช่อื มผี ลต่อการตดั สนิ ใจ
3. บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ (Personal Mastery) สง่ เสรมิ ใหค้ นในองคก์ รสามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเอง เพ่อื สรา้ งจติ สาํ นึกของคนใน
การเรยี นรสู้ ง่ิ ต่างๆเพม่ิ เตมิ อยา่ งต่อเน่ือง ทงั้ ดา้ นโครงสรา้ งหน่วยงาน ระบบสารสนเทศ การพฒั นาบุคคล เป็นตน้
4. การกาํ หนดวสิ ยั ทศั น์รว่ ม (Shared Vision) การกาํ หนดกรอบความคดิ เกย่ี วกบั สภาพในอนาคตของหน่วยงาน เพ่อื ใหเ้ กดิ การ
เรยี นรู้ รเิ รมิ่ ทดลองสง่ิ ใหม่ๆ เป็นไปในทศิ ทางและจดุ มุ่งหมายเดยี วกนั
5. การเรยี นรรู้ ่วมเป็นทมี (Team Learning) การแลกเปลย่ี นความรแู้ ละประสบการณ์ ทกั ษะ วธิ คี ดิ ของทมี งาน จะช่วยใหก้ าร
ทาํ งานรว่ มกนั ในหน่วยงานมคี วามเป็นทมี ทด่ี ขี น้ึ ช่วยใหส้ มาชกิ แต่ละคนไดแ้ สดงศกั ยภาพทม่ี อี ย่อู อกมาไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี
อปุ สรรคของการคดิ อย่างเป็นระบบ

การคิดอยา่ งเป็นระบบยงั มีอปุ สรรคหรอื ข้อจาํ กดั ไดด้ งั นี้ (สุรพร เสี้ยนสลาย. 2548:ออนไลน์)
1. ขาดคุณลกั ษณะทด่ี ี ไมก่ ระตอื รอื รน้ ไมค่ ดิ ไมส่ งสยั เช่อื งา่ ย ทาํ ใหค้ ดิ อยใู่ นกรอบ
2. การใชเ้ หตุผลโดยการอา้ งสง่ิ ทเ่ี คยเกดิ มาในอดตี ใชเ้ หตุผลโดยนําตนเองเป็นศนู ยก์ ลาง ใชเ้ หตุผลแบบลวงตา ไมฟ่ งั ใคร ถกู โน้ม
น้าวโดยคนหมมู่ าก เช่อื มโยงเหตุผลผดิ
3. ขาดขอ้ มลู /ขอ้ เทจ็ จรงิ ขาดขอ้ มลู ดา้ นวชิ าการ ไม่รจู้ กั วธิ ที างวชิ าการ วธิ ที างวทิ ยาศาสตร์
ทศั นะเชิงระบบของการบริหารการศกึ ษา

ในแนวคดิ ของระบบเปิด(Open Systems Framework) นนั้ สามารถแบง่ การปฏบิ ตั งิ านของเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา(School District’s
Operation) ได้ 3 ประเภท คอื
1) ตวั ป้อน
2) กระบวนการแปรรปู หรอื การเปลย่ี นแปลง
3) ผลผลติ
กรอบแนวคดิ น้ีชว่ ยใหร้ วเิ คราะหก์ ารปฏบิ ตั งิ านรวดเรว็ แม่นยาํ และยงั ชว่ ยใหผ้ บู้ รหิ ารสถานศกึ ษามคี วามพยายามทจ่ี ะทาํ ใหเ้ กดิ การ
เปลย่ี นแปลง

ปัจจยั ป้ อน (Inputs) สภาพแวดลอ้ ม และความเปลย่ี นแปลงทางสงั คมทาํ ใหเ้ กดิ ความตอ้ งการทม่ี ากขน้ึ เช่น นกั เรยี นตอ้ งการ
หลกั สตู รทส่ี อดคลอ้ ง ทนั สมยั และสามารถนําไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในอนาคต ครแู ละบุคลากรตอ้ งการเงนิ เดอื นทส่ี งู ขน้ึ เพอ่ื รองรบั ค่าใชจ้ า่ ยท่ี
แปรผนั ตามเศรษฐกจิ เป็นตน้ ซง่ึ หน้าทข่ี องผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา กค็ อื การบรู ณาการเป้าหมายทห่ี ลากหลายใหเ้ ป็นแผนปฏบิ ตั ทิ ใ่ี ช้
การได้
กระบวนการแปรรปู (Transformation Process) เป็นการตอบสนองปจั จยั ป้อน เพ่อื สรา้ งผลผลติ และระบบคุณค่าเพมิ่ ใหแ้ ก่งานใน
การบวนการ ไดแ้ ก่ การดาํ เนินงานภายในขององคก์ าร และระบบการบรหิ ารการดาํ เนนิ งานขององคก์ าร ซง่ึ ตอ้ งอาศยั ความสามารถ
ทางวชิ าการในดา้ นทกั ษะการสอ่ื สารและการตดั สนิ ใจของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา รวมทงั้ ความสามารถในการกา้ วทนั การเปลย่ี นแปลง
กจิ กรรมต่างๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จะสง่ ผลกระทบต่อเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา

ผลผลิต (Outputs) หน้าทข่ี องผบู้ รหิ ารคอื การตอบสนองตวั ป้อนดว้ ยกระบวนการเปลย่ี นแปลง ซง่ึ จะสง่ ผลใหเ้ กดิ ผลลพั ธท์ งั้
ดา้ นบวกและดา้ นลบ เช่น สมั ฤทธผิ ลทางการเรยี น การปฏบิ ตั งิ านของครู ความเจรญิ งอกงามของนกั เรยี นและพนกั งาน การลาออก
กลางคนั การขาดงาน การขาดเรยี น ความสมั พนั ธร์ ะหว่างพนกั งานกบั ฝา่ ยบรหิ าร โรงเรยี นกบั ชุมชน รวมทงั้ เจตคตแิ ละความพงึ
พอใจทม่ี ตี ่อโรงเรยี น
สภาพแวดลอ้ มภายนอกมปี ฏกิ ริ ยิ าต่อผลผลติ เหล่าน้ี และใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั แกร่ ะบบ ซง่ึ มคี วามสาํ คญั ต่อการดาํ เนินงานของเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษา ยกตวั อยา่ งเช่น ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั หรอื ผลลพั ธใ์ นทางลบ อาจนํามาซง่ึ การแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง ซง่ึ ในทางกลบั กนั มนั กม็ ผี ลต่อ
ผลผลติ ของเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาดว้ ย

โรงเรยี นสว่ นใหญ่ถูกสรา้ งขน้ึ ดว้ ยวธิ กี ารระบบ (Systems Approach) ตามแนวคดิ ของPeter Senge และ Bela Banathy
เพยี งแต่มวี วิ ฒั นาการตามยุคสมยั สว่ นรวมจะเป็นจดุ เน้นของการปรบั เปลย่ี นโครงสรา้ งใหม่ (Restructuring) ซง่ึ เป็นวธิ กี ารระบบทจ่ี ะ
นําไปสกู่ ารปรบั ปรุงโรงเรยี นต่อไป

ประเภทของการคิดอยา่ งเป็นระบบ
การคิดอยา่ งเป็นระบบแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้

1. การคิดอยา่ งเป็นระบบโดยตรง คอื การมุ่งกระทาํ โดยตรง มเี ป้าหมายกบั สงิ่ ใดสง่ิ หนง่ึ ไมจ่ าํ แนกรปู แบบการคดิ ตามพน้ื ฐาน
ของมนุษย์ แต่แยกแบบการคดิ โดยมุง่ เป้าหมาย หรอื วตั ถุประสงค์ จาํ แนกออกเป็น 3 ประเภท คอื
1) การคดิ เพ่อื เขา้ ใจหน่วยระบบ
2) การคดิ เพอ่ื วเิ คราะห์ การอปุ มาอุปมยั
3) การคดิ เพ่อื ออกแบบ และกอ่ ตงั้ หน่วยระบบ

2. การคิดอย่างเป็นระบบทางอ้อม คอื การคดิ อยา่ งเป็นระบบ โดยอาศยั พน้ื ฐานแหง่ การคดิ เชน่ การวเิ คราะห์ การอปุ มาอุปมยั
การคดิ สงั เคราะห์ การคดิ สรา้ งสรรค์ การประเมนิ คา่ ฯลฯ การคดิ อย่างเป็นระบบทางออ้ ม เป็นพฤตกิ รรมการคดิ ทางสมอง ทส่ี มอง
กระทาํ กบั วตั ถุ ซง่ึ ความคดิ หรอื มโนคติ อาจมหี ลายมติ ิ เกดิ ขน้ึ จากประสบการณ์ และการคดิ ขน้ึ เองจากโลกแหง่ ความเป็นจรงิ หรอื
จนิ ตนาการ
การคดิ ทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อชวี ติ มนุษย์ มหี ลายรปู แบบ โดยเฉพาะการคดิ เชงิ ระบบ เป็นวธิ กี ารคดิ เชงิ บรู ณาการ เป็นการขยายขอบเขต
การคดิ ของเราทม่ี ตี ่อเรอ่ื งนนั้ ๆ ออกไป โดยไมด่ ว่ นสรปุ หรอื ตดั สนิ ใจ แต่พจิ ารณาเรอ่ื งนนั้ อยา่ งละเอยี ด ทกุ มมุ มอง เปิดโอกาสให้
ความคดิ ของคนเราไดม้ กี ารเชอ่ื มโยง เพอ่ื หาความเป็นไปไดใ้ หม่ๆ เหน็ แนวทางแกป้ ญั หาทด่ี กี วา่ และสรา้ งสรรค์ รวมทงั้ ใหเ้ หน็
ความสมั พนั ธแ์ บบเชอ่ื มโยงระหว่างเร่องนนั้ กบั ปจั จยั อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

การขยายขอบเขตการคิด
เป็นการขยายมมุ มอง 5 ดา้ น ได้แก่
1. การมององคร์ วม เป็นการมองใหค้ รบทุกสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
2. มองสหวทิ ยาการ เป็นการมองหลายๆ อย่างเขา้ ดว้ ยกนั เป็นการคดิ เชงิ บรู ณาการ พยายามคดิ นอกกรอบ พยายามเช่มื โยงแกน
ของเร่อื งเพ่อื หาคาํ ตอบ
3. มองอยา่ งมอี ุปมาอปุ นยั เป็นการมองขยายกรอบความคดิ เป็นการเปิดโอกาสใหส้ มองไดใ้ ชศ้ กั ยภาพอย่างเตม็ ทใ่ี นการเรยี นรู้
และทาํ ความเขา้ ใจต่อเหตุการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ โดยใชเ้ หตุผลแบบอุปนยั หรอื ใชก้ รอบความรทู้ พ่ี สิ จู น์ไดแ้ ลว้ มาตอบ ซง่ึ เป็นสว่ นสาํ คญั ของ
การคดิ เชงิ บรู ณาการ
4. มองประสานขวั้ ตรงกนั ขา้ ม เป็นการมองแนวคดิ หน่ึงปฏเิ สธแนวคดิ หน่งึ หรอื เช่อื วา่ แนวคดิ หน่ึงเป็นจรงิ แนวคดิ ทเ่ี หลอื เป็นเทจ็
โดยการเปิดใจสรา้ งดลุ ยภาพ ทาํ ใหเ้ กดิ ความพอดี
5. มองทกุ ฝา่ ยชนะ WIN-WIN ครอบคลมุ ความพอใจทกุ ฝา่ ย ซง่ึ เป็นการขยายกรอบความคดิ จากวธิ แี กป้ ญั หาทวั่ ไป ปกตกิ าร
แกป้ ญั หา คอื การกาํ หนดทางเลอื ก

จากการศกึ ษาเบอ้ื งตน้ ในเร่อื งประเภทการคดิ อย่างเป็นระบบจะเหน็ ไดว้ า่ มกี ารแบง่ ประเภท การคดิ อย่างเป็นระบบแบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภท นนั่ กค็ อื การคดิ อย่างเป็นระบบโดยตรง และการคดิ อยา่ งเป็นระบบทางออ้ ม ซง่ึ การคดิ อยา่ งเป็นระบบทงั้ 2
ประเภทจะมขี อ้ แตกต่างกนั การคดิ อย่างเป็นระบบทางตรงจะมงุ่ กระทาํ โดยตรง มเี ป้าหมายกบั สงิ่ ใดสง่ิ หน่งึ ไมจ่ าํ แนกรปู แบบการคดิ
ตามพน้ื ฐานของมนุษย์ แต่แยกแบบการคดิ โดยมงุ่ เป้าหมาย หรอื วตั ถุประสงค์ สว่ นการคดิ อยา่ งเป็นระบบทางออ้ ม คอื การคดิ อยา่ ง
เป็นระบบ โดยอาศยั พน้ื ฐานแหง่ การคดิ เช่น การวเิ คราะห์ การอปุ มาอปุ มยั การคดิ สงั เคราะห์ การคดิ สรา้ งสรรค์ และการประเมนิ ค่า
การคดิ อยา่ งเป็นระบบทางออ้ ม เป็นพฤตกิ รรมการคดิ ทางสมอง ซง่ึ ความคดิ หรอื มโนคติ อาจมหี ลายมติ ิ เกดิ ขน้ึ จากประสบการณ์
และการคดิ ขน้ึ เองจากจนิ ตนาการของตวั เราเอง ดงั นนั้ จะเหน็ ไดว้ า่ การคดิ อยา่ งเป็นระบบ เป็นวธิ กี ารคดิ เชงิ บรู ณาการ เป็นการขยาย
ขอบเขตการคดิ ของเราทม่ี ตี ่อเรอ่ื งนนั้ ๆ ใหก้ วา้ งออกไป โดยไมด่ ว่ นสรุปหรอื ตดั สนิ ใจ แต่พจิ ารณาเร่อื งนนั้ อย่างละเอยี ด เปิดโอกาส
ใหค้ วามคดิ ของเราไดม้ กี ารเช่อื มโยง เพอ่ื หาความเป็นไปไดใ้ หม่ๆ ซง่ึ ถอื วา่ แนวทางแกป้ ญั หาทด่ี ี และสรา้ งสรรค์

อ้างอิง
ดร. สุนทร โคตรบรรเทา.(2551) หนงั สอื หลกั การและทฤษฎกี ารบรหิ ารการศกึ ษา. กรุงเทพ:ปญั ญาชน ดสิ ทรบิ วิ เตอร.์
สมชาย เทพแสง.(2555). การบรหิ ารและการจดั การการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.
รศ. ดร. สนุ ทรโคตรบรรเทา.(2554) . หลกั การและทฤษฏกี ารบรหิ ารการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : ปญั ญาชน.


Click to View FlipBook Version