ความรเู้ บ้อื งตน้ เกย่ี วกบั การทาบญั ชี
ความหมาย
การบญั ชี (Accounting) เป็ น
ศลิ ปะของการจดบนั ทึกรายการ
หรอื เหตุการณแ์ ละรายการต่าง ๆ
ทเี่ กยี่ วขอ้ งไวใ้ นรูข้ องเงินตรา จดั
หมวดหมูร่ ายการเหล่านน้ั ทาการ
สรุปผลรวมทงั้ ตคี วามหมายของ
วตั ถุประสงคข์ องการบญั ชี
เพอื่ จดบนั ทกึ รายการตา่ ง ๆ
ทเี่ กดิ ขนึ้ เรยี งตามลาดบั
กอ่ นหลงั และจาแนกประเภท
ของรายการคา้ ไวอ้ ย่าง
สมบูรณ์
เพอื่ ใหจ้ ดบนั ทกึ รายการคา้
ถูกตอ้ งตามหลกั การบญั ชี
ประโยชนข์ องการบญั ชี
1. ช่วยใหเ้ จา้ ของกจิ การสามารถควบคมุ งานอย่างใกลช้ ิด
2. ช่วยใหท้ ราบผลการดาเนนิ งานของกจิ การ ในระยะเวลาใด
เวลาหนงึ่
3. ช่วยใหท้ ราบฐานะการเงนิ ของกจิ การ ในระยะเวลาใดเวลา
หนงึ่
ประโยชนข์ องการบญั ชี
4. ช่วยในการบรหิ ารงาน และใหข้ อ้ มูลอนั เป็ น
ประโยชนใ์ นการวางแผนการดาเนนิ งาน
5 . ช่วยในการตรวจสอบหาขอ้ ผดิ พลาด
6. ช่วยในการกาหนดนโยบายและการตดั สนิ ใจต่างๆ
ของธรุ กจิ
7. ผูล้ งทุนซ้อื หนุ้ จะอาศยั ขอ้ มูลทางการบญั ชตี ดั สนิ ใจใน
การลงทุน
หลกั การเขยี นตวั เลข
นิยมเขยี นเป็ นตวั อารบคิ ตวั อย่ำง
เขยี นตวั เลข3 หลกั ข้นึ ไป ใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย จำนวนเงนิ สต
, (จลุ ภาค) บำท
การเขียนตวั เลขลงในช่องจานวนเงนิ ใหเ้ ขยี นหลกั หน่วย 12 3 0 0 --
ของจานวนบาทชิดเสน้ แบ่งช่องบาทและสตางคเ์ สมอ ,
จานวนสตางคใ์ หเ้ ขยี นลงในช่องสตางค์ ถา้ ไม่มีเศษสตางค์
ใหใ้ ชเ้ ครอื่ งแบบ " - " หรอื เขยี น 00 กไ็ ด้
12 5 0 0 --
,
หลกั การเขยี นวนั เดอื นปี
ถา้ อยู่ในหนา้ เดยี วกนั เขยี น พ.ศ. ครง้ั เดยี วในช่องพ.ศ. ของทุกหนา้
เดอื น นยิ มเขยี นยอ่ ของแต่ละเดอื น
วนั ใหเ้ ขยี นวนั ที่เรยี งตามลาดบั เหตุการณซ์ งึ่ เกดิ ข้นึ กอ่ นหลงั
ตวั อยา่ ง วนั
พ.ศ. 2540 1
เดือน 3
ก.พ. 5
สนิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของ (ทุน)
สนิ ทรพั ย์ (Assets)
ความหมาย
สงิ่ ท่ีมีตวั ตนและไม่มีตวั ตนมีมูลค่าเป็ นตวั เงนิ มี
บคุ คลหรอื กจิ การคา้ เป็ นเจา้ ของ เช่น เงนิ สด ลกู หน้ี ค่าความ
นยิ ม ลขิ สทิ ธ์ิ รถยนต์ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ บา้ น และที่ดนิ
ป็ นตน้
ประเภทของสนิ ทรพั ย์ (Assets)
แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ไดแ้ ก่
1. สินทรัพย์หมุนเวยี น (Current
Assets)
2. ทดี่ นิ อาคาร และ อปุ กรณ์ (Property Plant and
Equipment)
3. สินทรัพย์อืน่ (Other Assets Sundry
Assets)
หน้สี นิ (Liability)
ความหมาย
หมายถงึ จานวนเงนิ ท่ีกจิ การเป็ นหน้บี คุ คล
อนื่ หรอื พนั ธะอนั เกดิ จากรายการคา้ การกูย้ มื หรอื เกดิ
จากการอน่ื ซง่ึ จะตอ้ งชาระคนื ในภายหนา้ ดว้ ยสนิ ทรพั ย์
หรอื บรกิ าร
ประเภทของหน้สี นิ (Liability)
แบ่งเป็ น 2 ประเภท ดงั นี้
1. ห น ีส้ นิ ห ม นุ เว ยี น (Current
Liabilities)
2. หนส้ี ินระยะยาว หรือหน้สี ินอ่ืนๆ (Long term or
other Liabilities)
สว่ นของเจา้ ของ (Owner’s
Equity )
ความหมาย
สว่ นของเจา้ ของ(Owner’s Equity) ตามคา
นยิ าม หมายถงึ ส่วยไดเ้ สยี คงเหลอื ในสนิ ทรพั ยข์ องกิจการ
หลงั จากหกั หน้สี นิ ออกแลว้ เป็ นสนิ ทรพั ยส์ ทุ ธิ (Net
Assets) ของกจิ การ
สมการบญั ชี (Accounting
Equation)
สนิ ทรพั ย์ = หน้สี นิ + ส่วนของเจา้ ของ
Assets = Liability + Owner’s
Equity
A = L + OE
การวิเคราะห์รายการคา้
Transaction Analysis
ความหมายของการวิเคราะหร์ ายการคา้
การพจิ ารณาว่ารายการคา้ ที่เกดิ ข้นึ มีผลทาให้
สนิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และส่วนของเจา้ ของ
เปลยี่ นแปลงไปในทางที่เพมิ่ ข้นึ หรอื ลดลงเป็ น
จานวนเท่าใด
บันทกึ ลงในสมุดบญั ชีต่ำง ๆ
หลกั ในการวิเคราะหร์ ายการคา้
หมวดหมู่บญั ชี เพมิ่ (+) ลด (-)
1. สินทรัพย์ เดบิต เครดติ
เครดติ เดบติ
2. หนีส้ ิน เครดติ เดบิต
3. ทุน เครดติ เดบิต
4. รำยได้ เดบติ เครดติ
5. ค่ำใช้จ่ำย
หลกั การบนั ทกึ บญั ชคี ู่
(Double Entry System)
เดบติ (Dr.) = เครดติ (Cr.)
เสมอ
สมุดรายวนั ทว่ั ไป
(General Journal)
ความหมายและประเภทของสมุดรายวนั ขน้ั ตน้
สมุดรายวนั
คอื สมุดบญั ชเี ล่มแรกที่ใชบ้ นั ทึกรายการ
คา้ ท่ีเกดิ ข้นึ ตามลาดบั ก่อน – หลงั
ผ่ำนรำยกำร(Post)
สมุดบญั ชีแยกประเภท
สมุดรายวนั ขน้ั ตน้
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1.ส มุด ร า ย วัน เฉ พ า ะ
(Special Journal)
2.ส มุด ร า ย วัน ท่ั วไ ป
สมุดรายวนั ทวั่ ไป
การบนั ทึกรายการคา้
เม่ือมีรายการคา้ เกดิ ข้นึ จะตอ้ งทาการวิเคราะห์
รายการคา้ และนาไปบนั ทึกลงในสมุดรายวนั ทว่ั ไป
ป ร ะกอ บ ด้ว ย
รายการเปิ ดบญั ชี
รายการที่เกดิ ข้นึ ในระหว่างเดอื น
สมุดรายวนั ทวั่ ไป
รายการเปิ ดบญั ชี
1. มีการลงทุนครง้ั แรก มี 3 กรณี
กรณี 1 นาเงนิ สดมาลงทุน
กรณี 2 นาเงนิ สดและสนิ ทรพั ยอ์ น่ื มาลงทุน
กรณี 3 นาเงนิ สด สนิ ทรพั ยอ์ นื่ และหน้สี นิ มาลงทุน
2. เรมิ่ รอบระยะเวลาบญั ชใี หม่ (งวดบญั ชใี หม่)
บญั ชแี ยกประเภท
(general Lecger)
สมุดบญั ชแี ยกประเภท
แบ่งเป็ น 2 ชนดิ ไดแ้ ก่
1. สมุดบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป
(General Ledger)
2. สมุดบญั ชแี ยกประเภทยอ่ ย
(Subsidiary Ledger)
สมุดบญั ชแี ยกประเภท
รปู แบบของบญั ชแี ยกประเภท
แบบบญั ชีแยกประเภททวั่ ไป แบบบญั ชีแยกประเภทย่อย
(แบบมำตรฐำน) (แบบแสดงยอดดุล)
หลกั การบนั ทกึ บญั ชแี ยกประเภท
1. ใหน้ าชอื่ บญั ชที ่ีเดบติ ในสมุดรายวนั ทว่ั ไป มาตงั้ เป็ นชอ่ื
บญั ชแี ยกประเภท และบนั ทึกรายการทางดา้ นเดบติ โดย
1.1 เขยี นช่อง วนั เดอื น ปี ตามท่ีปรากฏในสมุด
รายวนั ทวั่ ไป
1.2 เขยี นชอื่ บญั ชที ี่เครดติ ลงในช่องรายการ
1.3 เขยี นจานวนเงนิ ลงในช่องเดบติ
การจดั หมวดหมู่
และการกาหนดเลขที่บญั ชี
การจดั หมวดหมู่ของบญั ชี แบ่งเป็ น 5 หมวด ไดแ้ ก่
1. หมวดสนิ ทรพั ย์
2. หมวดหน้สี นิ
3. หมวดสว่ นของเจา้ ของ (ทุน)
4. หมวดรายได้
5. หมวดค่าใชจ้ า่ ย
หลกั การบนั ทึกบญั ชแี ยกประเภท
2. ใหน้ าบญั ชที ี่เครดติ ในสมุดรายวนั ทว่ั ไป มาตงั้ เป็ นเป็ นชอื่
บญั ชแี ยกประเภท และบนั ทึกไวท้ างดา้ นเครดติ โดย
2.1 เขยี นช่อง วนั เดอื น ปี ตามที่ปรากฏในสมุด
รายวนั ทว่ั ไป
2.2 เขยี นชอ่ื บญั ชที ่ีเดบติ ลงในช่องรายการ
2.3 เขยี นจานวยเงนิ ลงในช่องจานวนเงนิ เครดิต
ผงั บญั ชี (Chart of Accounts)
งบทดลอง
(trial Balance)
ความหมายของงบทดลอง
หมายถงึ งบที่จดั ทาข้นึ ดว้ ยการนายอดดลุ ในบญั ชีแยก
ประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะอยู่ดา้ นเดบติ หรอื เครดติ กต็ าม
มาคานวณหายอดคงเหลอื ทง้ั สองดา้ น เพอื่ พสิ จู นค์ วาม
ถูกตอ้ งในการบนั ทึกบญั ชีตามระบบบญั ชีคู่ ในวนั ใดวนั
หนง่ึ เช่น ทุกส้นิ เดอื น ทุก 3 เดอื น หรอื เมื่อส้นิ งวดบญั ชี
ประโยชนข์ องงบทดลอง
1. ช่วยพสิ จู นค์ วามถกู ตอ้ งของการบนั ทึกทง้ั ทางดา้ น
เดบติ และเครดติ จะตอ้ งเท่ากนั ตามหลกั บญั ชคี ู่
2. ช่วยในการตรวจสอบขอ้ ผดิ พลาดในการบนั ทึก
บญั ชไี ดง้ า่ ย
3. ช่วยในการทางบการเงนิ ของกจิ การ เช่น งบกาไรขาดทุน
และงบดลุ ไดส้ ะดวกและถกู ตอ้ ง
การหาขอ้ ผดิ พลาดที่เกดิ ข้นึ ในงบทดลอง
1. ตรวจสอบการบวกเลขของจานวนเงนิ ในช่องเดบติ และเครดติ ใน
งบทดลองใหม่อกี ครง้ั
2. ตรวจสอบการเกบ็ ยอดคงเหลอื จากบญั ชีแยกประเภทมาลงในงบ
ทดลองนนั้ ถกู ตอ้ งหรอื ไม่
3. ตรวจสอบการหายอดคงเหลอื ในบญั ชแี ยกประเภทต่างๆ ใหม่
4. ตรวจสอบการผ่านรายการจากสมุดรายวนั ขน้ั ตน้ มาลงในบญั ชี
แยกประเภท
5. ตรวจสอบการบนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ถกู ตอ้ งตามหลกั
บญั ชคี ่หู รอื ไม่
6. ตรวจสอบเอกสารการนามาบนั ทึกบญั ชวี ่าไดน้ าตวั เลขมาบนั ทึก
บญั ชถี ูกตอ้ งหรอื ไม่