The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by off_1177, 2022-04-11 22:12:31

เล่ม 2

ภาษาไทย

มหาสมุ ภาษาไทย ประถมศึกษาปีที่ ๔ -๕าสดใส

ทรเริงร่า ภาษ

เล่ม ๒

ไม้ทัณฑฆาต , อักษร ๓ หมู่ , คำเป็น คำตาย , ชนิดของคำ

ผู้จัดทำ
นางสาวศุภัทนิดา ขวาหาญ

(นักศึกษา)

ไม้ทัณฑฆาต

์ เรียกว่า ไม้ทัณฑฆาต ใช้วางบนพยัญชนะที่ไม่ต้องการออกเสียง

หรือวางบนพยัญชนะท้ายพยางค์ และพยัญชนะที่ไม่มีตัวสะกด

อยู่ข้างหน้าพยัญชนะที่มีไม้ทัณฑฆาตด้วยก็ไม่ออกเสียงพยัญชนะ

ตัวนั้นเช่นกัน

ไม่ออกเสียงพยัญชนะที่มี ์ กำกับ

(แม้พยํญชนะไม่ได้อยู่ท้ายพยางค์)

์ วางบนพยัญชนะอยู่ท้ายพยางค์ ชอล์ก สาส์น ใบเฟิร์น คอนเสิร์ต

ฟิล์ม กอล์ฟ เสิร์ฟ แบบฟอร์ม

เจดีย์ เดียดฉันท์ ประจักษ์ ประดิษฐ์

พระองค์ พิทักษ์ พระอาทิตย์ มัคคุเทศก์

รถยนต์ เล่ห์กล วันเสาร์ สวดมนต์

อนงค์ ประชาราษฎร์ ประวัติศาสตร์ พระจันทร์

พระลักษณ์ พระลักษมณ์ ภาพยนตร์ ไม้จันทน์

ไม่ออกเสียงพยัญชนะท้ายที่มี ์ กำกับ
(แม้พยํญชนะตัวนั้นจะมีสระผสมอยู่)

ชลาสินธุ์ เผ่าพันธ์ุ ศักดิ์ศรี อิทธิฤทธิ์

สรุป

คำที่มีไม้ทัณฑฆาตกำกับ (การันต์) ใช้วางบนพยัญชนะที่ไม่ต้องการออกเสียง
์ วางบนพยัญชนะซึ่งอยู่ท้ายพยางค์ บางครั้งไม่ออกเสียงพยัญชนะที่มี
เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับ แม้พยัญชนะตัวนั้นไม่ได้อยู่ท้ายพยางค์ และ ไม่
ออกเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับ แม้พยัญชนะ
ตัวนั้นจะมีสระประสมอยู่

อักษร ๓ หมู่

อักษร ๓ หมู่ หรือไตรยางศ์ มาจากคำในภาษาสันสกฤตว่า ตฺรยฺ ซึ่งแปลว่า สาม
รวมกับ อํศ ซึ่งแปลว่า ส่วน ดังนั้น ไตรยางศ์ จึงแปลรวมกันได้ว่า สามส่วน ไตร
ยางศ์ก็คือ การจัดหมวดหมู่เพื่อแบ่งพยัญชนะไทยออกเป็น ๓ ประเภท ดังนี้

อักษรกลาง อักษรสูง




พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ มี ๙ ตัว คือ พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา มี ๑๑ ตัว คือ
กจฎฏดตบปอ ข (ฃ) ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
(ไก่ จิก เด็ก ตาย เด็ก ตาย บน ปาก โอ่ง) (ผี ฝาก ถุง ข้าว สาร ให้ ฉัน)

อักษรต่ำ



พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ มี ๒๔ ตัว คือ
ต่ำคู่

มีเสียงคู่อักษรสูง ๑๔ ตัว พ ภ ฟ ฑ ฒ ท ธ ค ต ฆ ซ ฮ ช ฌ
(พ่อ ค้า ฟัน ทอง ซื้อ ช้าง ฮ้อ)

ต่ำเดี่ยว
ต่ำเดี่ยว (ไร้คู่) ๑๐ ตัว วิธีท่องจำง่าย ๆ ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล
(งู ใหญ่ นอน อยู่ ณ ริม วัด โม ฬี โลก)

สรุป
ไตรยางศ์ หรือ อักษรสามหมู่ คือระบบการจัดหมวดหมู่อักษร
ไทย (เฉพาะรูปพยัญชนะ) ตามลักษณะการผันวรรณยุกต์ ของ
พยัญชนะแต่ละหมวด เนื่องจากพยัญชนะไทย เมื่อกำกับด้วย
วรรณยุกต์หนึ่ง ๆ แล้วจะมีเสียงวรรณยุกต์ที่แตกต่างกัน การ
จัดหมวดพยัญชนะ ทำให้การเรียนภาษาไทยง่ายขึ้น

คำเป็น VS คำตาย

คำเป็น
๑. คำที่ประสมด้วยสระเสียงยาวไม่มีตัวสะกด (แม่ กกา)

เช่น แม่ ปู ตาดี สีซอ
๒. คำที่มีตัวสะกดแม่ กง กน กม เกย เกอว (นมยวง)

เช่น เสียง เวียน คุณ โครมคราม บ่ายคล้อย เขียวขาว
๓. คำที่ประสมด้วยสระ อำ ไอ ใอ เอา (เพราะมีเสียงตัวสะกดแม่เกย เกอว)

เช่น ใจ ดำ น้ำใส เกาเหลา

คำตาย
๑. คำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น ไม่มีตัวสะกด

เช่น ดุ โปะ กะทิ เฉอะแฉะ
๒. คำที่มีตัวสะกดแม่ กก กด กบ (มันเป็นกบฎ (ด) มันต้องตาย)

เช่น นก มัด ภพ อึดอัด ซุบซิบ ผักกาด

อ่านและสังเกตการผันอักษรกลาง สูง ต่ำ ที่เป็นคำเป็นและคำตาย

ลักษณะพยางค์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

อักษรกลาง คำเป็น กา ก่า ก้า ก๊า ก๋า

กัง กั่ง กั้ง กั๊ง กั๋ง

กำ ก่ำ ก้ำ ก๊ำ ก๋ำ

คำตาย จะ จ้ะ จ๊ะ (จ๋ะ)
จัด จั้ด จั๊ด (จั๋ด)
จาด จ้าด จ๊าด (จ๋าด)

อ่านและสังเกตการผันอักษรกลาง สูง ต่ำ ที่เป็นคำเป็นและคำตาย

ลักษณะพยางค์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

อักษรสูง คำเป็น ข่า ข้า ขา

ขั่ง ขั้ง ขัง

ไข่ ไข้ ไข

คำตาย ขะ (ข้ะ)
ขัด (ขั้ด)
ขาด (ข้าด)

ลักษณะพยางค์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา
คา ค่า ค้า
อักษรต่ำ คำเป็น คัน คั่น คั้น
เคา เค่า เค้า

คำตายเสียงสั้น ค่ะ คะ (ค๋ะ)
คึ่ก คึก (คึ๋ก)

คำตายเสียงยาว คาก ค้าก (ค๋าก)

แคบ แค้บ (แค๋บ)

สรุป
คำเป็น คือ คำที่ประสมด้วยสระเสียงสาว ไม่มีตัว
สะกด และมีตัวสะกด ในแม่ กกา กง กน กม เกอว
เกย และประสมสระ อำ ไอ ใอ เอา
คำตาย คือ คำที่ระสมด้วยสระเสียงสั้น ไม่มีตัว
สะกด และมีตัวสะกด ในแม่ กก กด กบ เป็นต้น

ชนิดของคำ

คำในภาษาไทยจำแนกได้ ๗ ชนิด คือ
๑. คำนาม
คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ รวมทั้งสิ่งที่มีชีวิต และไม่มีชีวิต ทั้งที่
เป็นรูปธรรม และนามธรรม แบ่งเป็น ๕ ชนิด ดังนี้

๑. ๑ สามมานยนาม คือ ใช้เรียกชื่อทั่วไปไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น พ่อ แม่ นก รถ
ขนม ทหาร ตำรวจ ครู คน ประเทศ รัฐบาล ฯลฯ

๑.๒ วิสามานยนาม คือ นามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ
๑.๓ ลักษณะนาม คือ คำนามที่ใช้บอกลักษณะของนามหรือกริยา เพื่อบอกขนาด
รูปร่างสัณฐาน ปริมาณ เช่น ตัว ด้าม เม็ด หลัง ฯลฯ
๑.๔ สมุหนาม คือ คำนามที่บอกหมวดหมู่ของนามทั่วไปและนามเฉพาะ เพื่อบอก
ถึงลักษณะที่รวมกันเป็นหมู่ เป็นพวก เช่น ฝูง โขลง กอง กลุ่ม คณะ ฯลฯ
๑.๕ อาการนาม คือ คำนามที่บอกกิริยาอาการหรือความปรากฏเป็นต่าง ซึ่งมีคำ
"การ" "ความ"นำหน้า

๒. คำสรรพนาม ๒.๒ ประพันธสรรพนาม คือ คำนาม
คือ คำที่ใช้แทนคำนามที่ผู้พูดหรือผู้ หรือคำสรรพนามที่อยู่ข้างหน้า และ
เขียนได้กล่าวแล้ว หรือเป็นที่เข้าใจกัน ประโยค ทำหน้าที่เชื่อมประโยค ๒
ระหว่างผู้ฟังและผู้พูด เพื่อไม่ต้องกล่าว ประโยคให้มีความสัมพันธ์กัน ได้แก่
คำนามซ้ำ คำ ที่ ซึ่ง อัน ผู้
๒.๓ วิภาคสรรพนาม คือ คำ
๒.๑ บุรุษสรรพนาม คือ คำ สรรพนามที่ใช้แทนคำนามเพื่อแบ่ง
สรรพนามที่ใช้แทนในการพูดจา แบ่ง พวก หรือรวมพวก ได้แก่ คำ บ้าง ต่าง
เป็น ๓ พวก คือ กัน

- สรรพนามบุรุษที่ ๑ หมายถึง คำ ๔. นิยมสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่
สรรพนามที่ใช้แทนตัวผู้พูด เช่น ฉัน ใช้แทนคำนามที่แสดงความชี้เฉพาะ
ผม กระผม ข้าพเจ้า กู เราอาตมา ข้า เจาะจง ได้แก่ คำ นี่ นั่น โน่น
พระพุทธเจ้า ฯลฯ ๕. อนิยมสรรพนาม คือ คำสรรพนาม
ที่ใช้แทนคำนามที่บอกความไม่เจาะจง
- สรรพนามบุรุษที่ ๒ หมายถึง คำ ได้แก่ คำ ใคร อะไร ไหน อย่างไร อะไร ๆ
สรรพนามที่ใช้แทนชื่อผู้ฟัง เช่น เธอ ผู้ใด ๆ ใด ๆ ซึ่งไม่ใช่คำถาม
ท่าน คุณ มึง เอ็ง ลื้อ แกใต้เท้า พระองค์ ๖. ปฤจฉาสรรพนาม คือ คำสรรพนาม
ที่ใช้แทนคำนามที่มีความหมายเป็น
- สรรพนามบุรุษที่ ๓ หมายถึง คำ คำถาม ได้แก่ คำ อะไร ใคร อย่างไร
สรรพนามที่ใช้แทนชื่อผู้ที่พูดถึง หรือ ทำไม ผู้ใด
สิ่งที่กล่าวถึง เช่น เขา มัน แกท่าน
หล่อน พระองค์ ฯลฯ

๓. คำอุทาน
คือคำที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ ความรู้สึกของผู้พูด ซึ่งอาจเปล่งออกมาใน
ขณะที่ตกใจ ดีใจ เสียใจ ประหลาดใจ คำอุทานส่วนมากไม่มีความหมายตรงตาม
ถ้อยคำ แต่จะมีความหมายเน้นความรู้สึก และอารมณ์ของผู้พูดเป็นสำคัญ
แบ่งออกเป็น ๒ จำพวก ดังนี้ี้

๓.๑ อุทานบอกอาการ เช่น โอ๊ย อ้าว ว๊าย โอย โอ๊ย ตายจริง คุณพระช่วย โอ้โฮ ฯลฯ
๓.๒ อุทานเสริมบท เช่น อาบน้ำ อาบท่า, ไปวัด ไปวา, ผ้าผ่อน, เสื้อแสง ฯลฯ

๔. คำวิเศษณ์ ๔.๖ อนิยมสรรพนาม คือ คำวิเศษณ์ที่
คือ คำที่ใช้ขยายคำนาม คำสรรพนาม แสดงความไม่ชี้เฉพาะ ไม่แน่นอน ได้แก่ คำ
คำกริยา และคำวิเศษณ์ เพื่อให้ได้ อะไร ทำไม อย่างไร ไย เช่นไร ฉันใด กี่ ฯลฯ
ความชัดเจนยิ่งขึ้น แบ่งเป็น ๑๐ ชนิด
ดังนี้ ๔.๗ ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่บอก
เนื้อความเป็นคำถามหรือความสงสัย ได้แก่
๔.๑ ลักษณวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ คำ อะไร ไหน ทำไม อย่างไร ฯลฯ
บอกลักษณะ ชนิด สี ขนาด สัณฐาน
รส กลิ่น เสียง ความรู้สึก ได้แก่ คำ ๔.๘ ประติชญาวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ใช้
ใหญ่ เล็ก เร็ว ช้า หอม เหม็น เปรี้ยว ในการเรียกขานและโต้ตอบกัน ได้แก่ คำ คะ
หวาน ดี ชั่ว ร้อน เย็น ขา ครับ ขอรับ จ๋า จ๊ะ พระพุทธเจ้าข้า ฯลฯ

๔.๒ กาลวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ ๔.๙ ประติเษธวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่บอก
บอกเวลาในอดีต ปัจจุบัน อนาคต เช้า ความปฏิเสธ ได้แก่ คำ ไม่ ไม่ใช่ ไม่ได้ หามิได้
สาย บ่าย เย็น บ่ ฯลฯ

๔.๓ สถานวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ ๔.๑๐ ประพันธวิเศษ คือ คำวิเศษณ์ที่
ที่บอกสถานที่ ระยะทาง ได้แก่ คำ ใกล้ ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ เพื่อทำหน้าที่
ไกล บน ล่าง เหนือ ใต้ ซ้าย ขวา หน้า เชื่อมประโยค ให้มีความเกี่ยวข้องกัน ได้แก่
หลัง ฯลฯ คำที่ ซึ่ง อัน อย่างที่ ชนิดที่ ที่ว่า ว่า เพราะเหตุ
ว่า ฯลฯ
๔.๔ ประมาณวิเศษณ์ คือ คำ
วิเศษณ์ที่บอกจำนวนหรือปริมาณ
ได้แก่คำ มาก น้อย หนึ่ง สอง หลาย
ทั้งหมด ฯลฯ

๔.๕ นิยมวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์
ที่บอกความชี้เฉพาะ ชอกกำหนด
แน่นอน ได้แก่ คำ นี่ นั่น โน่น นั้น
โน้น เหล่านี้ เฉพาะ แน่นอน จริง ฯลฯ

๕. คำบุพบท ๖. คำสันธาน

คือ คำที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงคำหนึ่งหรือ คือ คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำกับคำ ประโยคกับ

กลุ่มคำหนึ่งให้สัมพันธ์กับคำอื่น หรือ ประโยคข้อความกับข้อความ หรือ ความให้

กลุ่มคำอื่น เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ สละสลวย ได้แก่ คำ และ หรือ แต่ เพราะ

เช่น ความเป็นเจ้าของ ลักษณะ เหตุผล ฯลฯ ทำหน้าที่ได้ ๔ ลักษณะ ดังนี้

เวลา สถานที่ ประมาณ ความต้องการ ๖.๑ ใช้เชื่อมคำกับคำ เช่น ฉันและเธอ

เปรียบเทียบ ฯลฯ ได้แก่ คำ ใน แก่ แต่ ชอบเรียนวิชาภาษาไทย, เธอชอบมะลิหรือ

ต่อ สำหรับ โดย ด้วย ของ แห่ง ใกล้ ไกล กุหลาบ

ฯลฯ แบ่งเป็น ๒ พวก คือ ๖.๒ ใช้เชื่อมข้อความ เช่น คนเรา

๕.๑. คำบุพบทที่เชื่อมโยงกับบทอื่น ต้องการอาหาร เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่

๕.๑.๑ บุพบทนำหน้ากรรม ได้แก่ อาศัย และยารักษาโรคด้วยเหตุนี้ เราจึง

คำ แก่ ซึ่ง จำเป็นต้องประกอบอาชีพเพื่อให้ได้เงินมา

๕.๑.๒ บุพบทนำหน้าคำที่เป็น ซื้อสิ่งจำเป็นเหล่านี้

เจ้าของ ได้แก่ คำ แห่ง ของ ๖.๓ ใช้เชื่อมประโยคกับประโยค เช่น

๕.๑.๓ บุพบทนำหน้าคำบอก แม่ชอบปลูกไม้ดอกแต่พ่อชอบปลูกไม้

ลักษณะ ได้แก่ คำ ด้วย กับ แก่ ต่อ ประดับ, น้องไปโรงเรียนไม่ได้เพราะไม่

๕.๑.๔ บุพบทนำหน้าคำบอกเวลา สบาย

ได้แก่ คำ เมื่อ ตั้งแต่ กระทั่ง จน ๖.๔ เชื่อมความให้สละสลวย เช่น เขาก็

๕.๑.๕ บุพบทนำหน้าคำบอกสถาน เป็นคนจริงคนหนึ่งเหมือนกัน, คนเราก็

ที่ ได้แก่ คำ ที่ ใน เหนือ ใกล้ จาก แต่ ต้องมีผิดพลาดบ้างเป็นธรรมดา

๕.๑.๖ บุพบทนำหน้าคำบอก คำสันธานมี ๔ ชนิด คือ

ประมาณ ได้แก่ คำ ตลอด เกือบ ทั้ง ราว ๑. คำสันธานเชื่อมใจความที่คล้อยตามกัน

๕.๒ คำบุพบทที่ไม่เชื่อมโยงกับบทอื่น ได้แก่ คำ กับ, และ, ทั้ง...และ, ทั้ง...ก็, ครั้น...ก็,
ส่วนมากจะอยู่ต้นประโยค ใช้เป็นการ ครั้น...จึง, พอ...ก็
ทักทาย มักใช้ในคำประพันธ์ ๒. คำสันธานเชื่อมใจความที่ขัดแย้งกัน ได้แก่
คำ แต่, แต่ทว่า, ถึง...ก็, กว่า...ก็

๓. คำสันธานเชื่อมใจความที่ให้เลือกเอาอย่าง

ใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ คำ หรือ, หรือไม่ก็, มิ

ฉะนั้น, ไม่เช่นนั้น, ไม่...ก็

๔. คำสันธานเชื่อมใจความที่เป็นเหตุเป็นผล

กัน ได้แก่ จึง, เพราะ, เพราะว่า, เพราะ.....จึง,

ฉะนั้น...จึง

(๗. คำกริยา) ***

ฝึกฝน ฝึกอ่าน ฝึกทำ
ความตั้งใจมุ่งสู่ความสำเร็จ


Click to View FlipBook Version