The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อินเตอร์เน็ตในงานธุรกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chigogu, 2019-08-24 23:37:18

อินเตอร์เน็ตในงานธุรกิจ

อินเตอร์เน็ตในงานธุรกิจ

อนิ เตอรเ์ นต็ ในงานธุรกิจ

20204-2101

หนว่ ยที่ 1
ความร้เู บอ้ื งต้นเก่ยี วกับสังคมออนไลน์

ความหมายของสังคมออนไลน์
สังคมออนไลน์ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Social Online หรอื Social Media ซ่งึ นยิ มเรียกกัน คือ

Social Media คาวา่ Social Media จึงหมายถึง สื่อสงั คมออนไลน์ท่ีมีการตอบสองทางสงั คมไดห้ ลายทศิ ทาง
โดยผ่านเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ ในรูปแบบบทความ วิดีโอ เพลง รปู ภาพ ฯลฯ โดยผ่าน Social Network ท่ี
ใหบ้ ริการบนโลกออนไลน์
ประเภทของสงั คมออนไลน์

1. Weblogs หรอื Blogs เช่น OKnation, Exteen
2. Social Networking เชน่ Facebook, Myspace, ning
3. Micro Blogging หรือ Micro Sharing
4. Online Vodeo เช่น Youtube
5. Photo Sharing เชน่ Photoshop
6. Wikis เช่น Google, Earth
7. Virtual Worlds เช่น Second Life
8. Crowd Sourcing เชน่ Idea Storm, Mystarbucks Idea
9. Podcasting หรอื Podcast เช่น Dual Geek Podcast
10. Discuss/Review/Opinion เช่น Epinions, Moutshut
วตั ถุประสงค์ของสงั คมออนไลน์
1. เผยแพรต่ วั ตน (Identity Network)
2. เผยแพร่ผลงาน (Creative Network)
3. ความสนใจตรงกนั (Interested Network)
4. โลกเสมือน (Virtual life/Game online)
ประโยชนข์ องสังคมออนไลน์
1. ใช้แลกเปลี่ยนขอ้ มูลความรู้ในสง่ิ ท่สี นใจรว่ มกนั ได้
2. เป็นคลงั ขอ้ มลู ความรู้ขนาดใหญ่
3. ประหยัดคา่ ใชจ้ ่ายในการติดต่อส่ือสาร
4. เป็นสือ่ ในการนาเสนอผลงานตวั เอง
5. ใชเ้ ปน็ สอื่ โฆษณา ประชาสมั พนั ธ์
6. สรา้ งสัมพันธท์ ี่ดีจากเพ่อื นสู่เพื่อนได้
โทษของสงั คมออนไลน์
1. เวบ็ ไซตใ์ ห้บริการบางแหง่ อาจจะเปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นตัวมากเกินไป อาจถกู ผ้ไู มห่ วังดนี ามาใชใ้ นทาง
เสยี หาย
2. เปน็ ชอ่ งทางในการถูกละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ ขโมยผลงาน
3. ถ้าผ้ใู ชห้ มกหมนุ่ อยู่กับสังคมออนไลน์มากเกินไป อาจทาให้เสียการเรียนหรอื ผลการเรียนตกตา่

ข้อควรระวังเกี่ยวกับสงั คมออนไลน์
1. พงึ ตระหนักว่า ข้อความหรือความเห็นที่เผยแพรบ่ นสังคมออนไลน์ เป็นข้อความที่สามารถเขา้ ถึงได้

โดยสาธารณะ
2. ใชค้ วามระมัดระวงั อย่างย่งิ ในการเผยแพร่ความคิดเห็นที่อาจกระตุ้นนาไปสูค่ วามรนุ แรง
3. ตอ้ งไมล่ ะเมดิ ทรพั ยส์ ินทางปัญญาของผอู้ นื่

ระบบ Social Network
ระบบ Social Network ประกอบดว้ ย อุปกรณ์ฮารด์ แวร์ (Hardware) และอุปกรณ์เครือขา่ ย

(Network) ดังน้ี
ฮารด์ แวร์ ประกอบดว้ ย
- คอมพวิ เตอร์

- สมาร์ทโฟน

- สมารท์ ทวี ี

- แท็บเล็ต

อปุ กรณ์เครอื ขา่ ย
- เซิร์ฟเวอร์ (Server)
- ไคลเอนต์ (Client)
- ฮับ (HUB) หรือรีพตี เตอร์
- เน็ตเวิรก์ สวิตช์ (Switch)
- เราทเ์ ตอร์ (Router)
- บริดจ์ (Bridge)
- เกตเวย์ (Gateway)

หน่วยท่ี 2
การใช้อินเทอร์เน็ตในงานธรุ กจิ

ความหมายเก่ียวกับธรุ กจิ
ธุรกิจ (Business) หมายถงึ กิจกรรมต่างๆ ท่ีทาใหก้ ารผลิตสินค้าและบริการ มกี ารซ้อื ขายแลกเปลี่ยน

มกี ารจาหน่าย มีการกระจายสินค้า และมปี ระโยชน์ คือ ได้กาไรจากสนิ ค้านั้น
การดาเนนิ ธรุ กิจ หมายถงึ การทากิจกรรมใดๆ ท่ีทาใหเ้ กิดสินคา้ หรือบริการ แลว้ มีการแลกเปลี่ยนซื้อ

ขายกัน และมีวตั ถปุ ระสงคท์ ี่จะได้รบั ประโยชนจ์ ากสนิ ค้าน้ันๆ โดยผ่านชอ่ งทางการจาหนา่ ย ในรูปแบบของ
รา้ นคา้ ฝากขาย และดาเนนิ ธุรกจิ ผ่านระบบอนิ เทอรเ์ น็ต
ความสาคญั ของการนาอนิ เทอร์เนต็ มาใช้ในงานธุรกจิ ด้านต่างๆ
ความสาคัญของการนาอินเทอร์เนต็ มาใชใ้ นงานธรุ กิจดา้ นต่างๆ มดี ังนี้
1.การนาอนิ เทอร์เนต็ มาใชใ้ นงานด้านธุรกิจการศึกษา (Education) เช่น

- การเรยี นรูผ้ า่ นระบบอนิ เทอร์เน็ต
- การดผุ ลการเรยี น
2.การนาอนิ เทอร์เน็ตมาใช้ในงานด้านธรุ กจิ การเงินและการธนาคาร (Finance) เช่น
- การให้บรกิ ารกับลูกค้าด้านการเงิน
-การชาระค่าบริการต่างๆ เปน็ ตน้
3.การนาอินเทอร์เนต็ มาใชใ้ นงานทางด้านธรุ กิจโรงแรม (Hotel) เช่น
- การสั่งจองท่ีพัก
-การเขา้ ไปดูรายละเอยี ดที่พัก
4.การนาอินเทอรเ์ น็ตมาใช้ในงานดา้ นธุรกจิ สายการบนิ (Airway) เช่น
- การตรวจดูตารางการบิน
- การสัง่ จองตว๋ั เครื่องบิน
5.การนาอินเทอร์เนต็ มาใช้ในงานดา้ นธรุ กิจการแพทย์ (Medical Profession) เช่น
- การวนิ จิ ฉยั โรค
- การเอ็กซเรย์
6.การนาอนิ เทอรเ์ นต็ มาใชใ้ นงานด้านธรุ กจิ บนั เทิง เช่น
- การดูตารางการฉายภาพยนตร์
- การฉายภาพยนตรต์ วั อย่าง
7.การนาอินเทอร์เนต็ มาใช้ในงานด้านธุรกจิ การส่ือสาร (Communication) เช่น
- การรบั -สง่ จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์
8.การนาอินเทอร์เน็ตมาใชใ้ นงานดา้ นธุรกจิ ตลาดหลักทรัพย์ (Stock Exchange) เช่น
- การดูขอ้ มลู การซ้ือ-ขายหุน้
9.การนาอนิ เทอร์เน็ตมาใช้ในงานดา้ นธรุ กจิ สื่อส่งิ พิมพ์ (Printing Media) เช่น
-การดขู ้อมูลขา่ วสารประจาวัน
ลกั ษณะของธรุ กิจพาณิชย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Commerce)

ลกั ษณะของธรุ กิจพาณชิ ย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) คอื ธุรกจิ ที่ดาเนนิ การซ้ือขายบน
อนิ เทอรเ์ นต็ อย่างเป็นระบบและเปน็ การดาเนินธรุ กิจทน่ี า่ เชอื่ ถอื มากกว่า

ข้อดี
- สามารถดาเนินการได้ 24 ช่ัวโมง
- ลดปญั หาในการเดินทาง

ขอ้ เสีย
-ผซู้ ้อื และผ้ขู ายจะต้องเป็นผทู้ ี่มคี วามร้แู ละมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอนิ เทอรเ์ น็ต
-ตอ้ งมีระบบรักษาความปลอดภยั ทนี่ ่าเชอ่ื ถือและไวว้ างใจได้

ประโยชนข์ องพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์
1.ประโยชน์ตอ่ ผบู้ ริโภค
-ได้รับความสะดวกรวดเร็วในการซื้อสนิ ค้า
-ทาให้สินคา้ นัน้ ถูกลง เพราะไมต่ อ้ งผา่ นคนกลาง
2.ประโยชน์ตอ่ ผู้ผลิต
- สามารถขยายตลาดใหม่ได้มากขนึ้
- ลดค่าใช้จ่ายในการจดั เกบ็ เอกสาร
- เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการดาเนินงานและการขาย
- สามารถเขา้ ถึงลกู ค้าได้ทว่ั โลก

วัตถุประสงคข์ องการนาอนิ เทอรเ์ น็ตมาใชใ้ นงานธุรกิจ
สรปุ ไดด้ งั น้ี

1.เพื่อให้ธรุ กจิ ของตนเองพร้อมใหบ้ รกิ ารแกล่ กู คา้ บนอินเทอร์เน็ต
2.เพ่อื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการสร้างเครือขา่ ยของธุรกจิ
3 .เพ่อื ให้ขอ้ มลู ของธุรกิจพร้อมใหล้ กู ค้าเขา้ มาค้นหาได้
4.เพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพในการให้บริการลูกคา้
5.เพอื่ ขยายผลและขอบเขตการโฆษณาและประชาสัมพันธใ์ ห้มากขน้ึ
6.เพื่อขจัดปัญหาดา้ นเวลาดาเนนิ การของธรุ กิจ
7.เพอ่ื ขายสินคา้ หรือบรกิ าร
8.เพ่อื นาเสนอข้อมลู ของธุรกิจแบบมัลติมเี ดีย (Multimedia)
9.เพื่อเขา้ สตู่ ลาดทีล่ ูกคา้ มีความต้องการบริโภคสินคา้ สูง (Highly Desirable Demographic Market)

หน่วยที่ 3
การคน้ หาขอ้ มลู ด้วย Search Engin

ความหมายของ Search Engine
Search Engine หมายถงึ เครอ่ื งมือที่ชว่ ยในการคน้ หาข้อมลู ตา่ งๆ ผา่ นระบบเวบ็ ไซต์และเครือข่าย

อนิ เทอรเ์ น็ต เพื่อเข้าถึงเว็บไซต์ข้อมลู ที่ต้องการคน้ หา เรยี กอย่างเปน็ ทางการวา่ “โปรแกรมช่วยในการสืบค้น
ขอ้ มลู ”
ประโยชน์ของ Search Engine

1.สามารถค้นหาเว็บไซต์ท่ตี ้องการไดส้ ะดวก รวดเรว็
2.สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้
3.สามารถค้นหาเวบ็ ไซตเ์ ฉพาะทางทม่ี กี ารจากดั ไว้
4.มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล
5.รองรับการค้นหาภาษาไทย
ลกั ษณะการทางานของ Search Engine
Search Engineแต่ละประเภทจะมีการทางานท่ีคล้ายๆ กนั คอื การส่ง Web Crawler หรือ Spider ไป
เก็บข้อมลู เวบ็ ไซต์ตา่ งๆ เข้ามาเก็บไวใ้ นระบบ เพื่อจดั ทาเป็นดัชนี (Index)
Search Engine ทนี่ ยิ มใชใ้ นปัจจุบนั ไดแ้ ก่
- www.google.com
- www.google.co.th
- www.youtube.com
- www.sanook.com
การคน้ หาข้อมูลด้วย Google
1.เข้าเว็บไซต์ www.google.co.th
2.พมิ พ์ขอ้ ความท่ีต้องการค้นหา (Keyword)
3.เสร็จแลว้ กดแปน้ Enter จะปรากฏรายละเอียดเวบ็ ไซต์ท่เี ก่ยี วขอ้ ง เพ่ือให้คลกิ เขา้ ไปรายละเอยี ด
การค้นหาขอ้ มูลด้วย Youtube
1.เขา้ เวบ็ ไซต์ www.youtube.com แล้วพมิ พช์ อ่ื เรื่องที่ต้องการค้นหา
2.เมื่อพิมพ์ชื่อเรือ่ งท่ีต้องการแลว้ ให้กดแป้น Enter
3.คลิกทีร่ ูปหรอื ไฟล์วิดโี อทต่ี อ้ งการ
การค้นหาขอ้ มูลด้วย Wikipedia
1.เขา้ เวบ็ ไซต์ www.wikipedia.org
2.เลอื กภาษาที่ตอ้ งการ
3.ใหพ้ ิมพช์ อ่ื เรื่องทีต่ ้องการ ในช่อง คน้ หา ทีอ่ ยูด่ า้ นขวามือ
4.กดแป้น Enter จะปรากฏข้อมูลเก่ยี วกับช่ือท่ีคน้ หา
การคน้ หาข้อมลู ด้วย Sanook
การคน้ หาโดยเว็บไซต์ www.sanook.com จะปรากฏหน้าจอ ดงั น้ี

การคน้ หาขอ้ มลู ด้วย Thaiware
เวบ็ ไซต์ www.thaiware.com เป็นเว็บไซต์ท่ใี ช้ในการค้นหาโปรแกรมตา่ งๆ ท่ีใช้งาน

การคน้ หาขอ้ มูลด้วย Yahoo
เวบ็ ไซต์ www.yahoo .com เปน็ เว็บไซตข์ องตา่ งประเทศ ทม่ี ีผนู้ ยิ มใช้ในการรับ-สง่ อเี มลมากที่สดุ

เว็บไซต์หนึ่ง

ประเภทไฟล์ขอ้ มูล
ไฟล์ข้อมูลสว่ นใหญ่จะมอี ยู่ 3 ประเภท คอื
1.ไฟล์ PDF เปน็ ไฟลท์ เี่ ปิดด้วยโปรแกรม Acrobat
2.ไฟล์ DOC เปน็ ไฟล์ข้อมลู ทีจ่ ดั ทาโดยโปรแกรม Microsoft Word
3.ไฟล์ PPT เป็นไฟลข์ ้อมลู ที่จัดทาโดยโปรแกรม Microsoft PowerPoint

หน่วยท่ี 4
การรับ-สง่ ข้อมูลบนเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต
ความหมายของการรบั -สง่ ข้อมูลบนเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็
การรบั -ส่งข้อมูลบนเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต หมายถึง การสือ่ สารหรือการสง่ ข้อความจากคอมพวิ เตอร์
เคร่ืองหนึ่งผ่านไปเข้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์อีกเคร่ืองหน่งึ โดยส่งผ่านทางระบบเครือขา่ ย (Network) ผ้สู ่งจะต้องมี
เลขทอ่ี ยู่ (E-mail Address) ของผรู้ ับ และผรู้ บั สามารถเปิดคอมพิวเตอรเ์ รียกข่าวสารนั้นออกมาดูเม่ือใดก็ได้
ประโยชนข์ องการรับ-ส่งข้อมลู ทางจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์
1.ทาใหก้ ารติดต่อส่ือสารทั่วโลกเปน็ ไปอยา่ งรวดเร็วทันที
2.สามารถส่งจดหมายถึงผ้รู บั ท่ีตอ้ งการได้ทุกเวลา
3.สามารถสง่ จดหมายถงึ ผูร้ บั หลายๆ คนได้ในเวลาเดยี วกนั
4.ชว่ ยประหยัดเวลาในการเดินทางไปสง่ จดหมายที่ตู้ไปรษณยี ์หรอื ท่ีทาการไปรษณยี ์
5.ผู้รบั จดหมายสามารถเรียกอ่านจดหมายได้ทุกเวลาตามสะดวก
6.สามารถถา่ ยโอนแฟ้มข้อมลู (Transferring Files)
เว็บไซตท์ ่ีให้บรกิ ารฟรอี ีเมล
•การใช้ฟรีอเี มลของ sabuyjia.com

•การใชฟ้ รอี ีเมลของ narakmai.com

•การใช้ฟรอี ีเมลของ Hotmail.com

การใช้ฟรีอีเมลของ Gmail.com
1.เข้าเว็บไซต์ www.gmail.com
2.จะปรากฏหน้า ดังน้ี
3.ถา้ ต้องการสมัครใหม่ ให้คลิกที่ เพ่ิมบญั ชี
4.คลกิ ทสี่ รา้ งบญั ชี ทาการกรอกรายละเอียดเปน็ ภาษาไทย
5.เมื่อกรอกเสร็จให้คลกิ ยอมรับข้อกาหนด
6.ทาการยนื ยนั รหัสผ่าน sms
7.คลกิ ท่เี ลือกรปู โปรไฟล์ เลือกรูปที่ต้องการแลว้ ปรบั สว่ นที่จะแสดง
8.คลิกขนั้ ตอนถดั ไป จะปรากฏข้อความยินดตี ้อนรบั

คาศพั ท์ท่เี กยี่ วข้องกับอเี มล
1.TO หมายถงึ ชอื่ E-mail สาหรับผรู้ ับ
2. FROM หมายถึง ช่ือ E-mail สาหรบั ผสู้ ง่
3.SUBJECT หมายถงึ ช่อื เรื่องหรือหวั ขอ้ เน้ือหาของจดหมาย
4. CC หมายถึง สาเนา E-mail ฉบับนไ้ี ปใหบ้ คุ คลหน่ึง
5.BCC หมายถึง สาเนา E-mail ฉบับนี้ไปให้อีกบุคคลหนึ่ง แตผ่ รู้ บั (TO) จะไม่ทราบวา่ เราสาเนาให้

ใครบ้าง หรอื เรยี กว่า สาเนาซ่อน
6.ATTACHMENT หมายถงึ การแนบไฟล์ข้อมลู ไปพรอ้ มกับ E-mail
7. Sign in หมายถึง การลงชื่อเข้าใช้
8. Sign out หมายถึง การลงช่ือออกจากการใช้

หน่วยที่ 5
การใช้บรกิ ารท่ีมีอยบู่ นสังคมออนไลน์

บรกิ ารเวลิ ด์ไวด์เวบ็ (WWW)

เวลิ ด์ไวด์เวบ็ ( World Wide Web ) หรือเครือข่ายใยแมงมุม เหตทุ ีเ่ รยี กชือ่ นเ้ี พราะเปน็ ลักษณะของ

การเช่ือมโยงข้อมลู จากทห่ี น่ึงไปยังอีกท่ีหนึง่ เรื่อยๆ เวิลดไ์ วด์เวบ็ เปน็ บรกิ ารทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มมากท่สี ุดในการ

เรยี กดูเวบ็ ไซต์ที่อาศัยโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ ( Web Browser ) ในการดขู ้อมลู เว็บเบราว์เซอรท์ ่ไี ดร้ ับความ

นิยมใช้ในปัจจบุ นั เชน่

- Internet Explorer - Firefox

- Google Chrome - Safari

บรกิ ารจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Mail)

การใชง้ านอีเมล แบง่ ไดด้ งั น้ี คอื

1. Corporate E-mail คือ อเี มลท่ีหนว่ ยงานตา่ งๆ สรา้ งข้นึ ให้กบั พนักงานหรือบุคลากรในองค์กรนนั้

เชน่ [email protected]

2. Free E-mail คือ อเี มลที่สามารถสมคั รได้ฟรตี าม Web Mail ต่างๆ เชน่ Hotmail, Yahoo,Mail,

Gmail

บริการโอนย้ายไฟล์ (File Transfer Protocol)

บริการโอนย้ายไฟล์ เป็นบริการทเี่ กย่ี วข้องกบั การโอนยา้ ยไฟลผ์ า่ นระบบอนิ เทอรเ์ นต็ การโอนย้าย

ไฟล์แบง่ ได้ ดังน้ี

1. การดาวน์โหลดไฟล์ (Download File) คือ การรับข้อมูลเข้ามายงั เครื่องคอมพิวเตอรข์ อง

ผใู้ ช้ เชน่ www.download.com, www.thaiware.com

2. การอัพโหลดไฟล์ (Upload File) คือ การนาไฟลข์ ้อมูลจากเคร่ืองของผ้ใู ช้ไปเก็บไว้ในเคร่ืองที่

ให้บริการ (Server) ผา่ นระบบอินเทอรเ์ นต็

บรกิ ารรับฝากไฟล์และข้อมลู

เช่น www.skydrive.com , www.youtube.com

บริการสนทนาบนอนิ เทอรเ์ นต็
คอื การสง่ ข้อความโดยทนั ที เช่น MSN Messenger , Yahoo Messenger , Skype , Line เปน็ ตน้

การบริการคน้ หาข้อมูลบนอินเทอรเ์ น็ต
1. Web Directory เชน่ www.sanook.com
2. Search Engine เช่น www.google.com
3. Meta Search เชน่ www.search.com

บรกิ ารกระดานขา่ วหรอื เว็บบอรด์
เช่น www.pantip.com

บริการหอ้ งสนทนา (Chat Room)
เช่น www.siamnarak.com

บรกิ ารอีคอมเมริ ซ์ (Electronic Commerce : E-Commerce)
เป็นบริการในการทาธรุ กรรมซื้อขายหรือแลกเปลย่ี นสินค้าและบริการผา่ นทางอินเทอร์เน็ต

เชน่ www.amazon.com , www.ebay.com
บรกิ ารวทิ ยุและโทรทศั น์ออนไลน์

เปน็ บรกิ ารท่ผี ู้ใชส้ ามารถฟงั วิทยแุ ละรายการโทรทศั นผ์ ่านทางอินเทอรเ์ น็ต เช่น www.ch7.com
, www. siamha.com

หน่วยที่ 6
โปรแกรมจดั การสารสนเทศสว่ นบคุ คล

ความหมายของโปรแกรมจดั การสารสนเทศส่วนบุคคล
การจัดการสารสนเทศส่วนบคุ คล (Personal Information Manager) หมายถึง การพฒั นากลยทุ ธท์ ่ี

ชดั เจนในการดาเนนิ การกบั สารสนเทศท่ีได้รบั
สารสนเทศ (Information) หมายถงึ ข้อมูลข่าวสารทุกประเภทท่ไี ด้รับ
ส่วนบคุ คล (Personal) หมายถงึ การทีบ่ ุคคลมีความต้องการหรือความจาเปน็ ในการใชส้ ารสนเทศ

หน่งึ ๆ
ความสาคัญของการจัดการสารสนเทศสว่ นบุคคล

1. วิเคราะห์ความต้องการดา้ นสารสนเทศของตนเอง
2. สารวจและทดลองระบบ
3. พัฒนาความรแู้ ละทักษะที่จาเปน็ เพอื่ ใหส้ ามารถกาหนดระบบทเ่ี หมาะสมท่สี ุด
4.นาระบบทกี่ าหนดแล้วมาใช้งาน
5.ศึกษาหาความร้เู พิ่มเตมิ เก่ียวกับเทคโนโลยใี หมๆ่
องค์ประกอบของระบบการจดั การสารสนเทศส่วนบุคคล
ส่วนรับเข้า (Input Unit)

- ความต้องการด้านสารสนเทศของผู้ใช้
- ขอ้ มลู ทเี่ ขา้ สรู่ ะบบ
ส่วนประมวลผล (Processing Unit)
สว่ นแสดงผล (Output Unit)
ประเภทของระบบการจัดการสารสนเทศสว่ นบุคคล
*ประเภทของระบบการจัดการสารสนเทศสว่ นบุคคล จาแนกตามรปู ลักษณ์
1.ประเภทโปรแกรมสาเรจ็ รูป
2.ใชไ้ มโครคอมพิวเตอรใ์ นลักษณะการใช้งานอิสระ
3.ฟงั ก์ชนั การทางานหลกั
4.โปรแกรมสาเร็จรปู ท่ีใช้งานในสานักงานทัว่ ไป
*ประเภทของระบบการจดั การสารสนเทศส่วนบุคคลจาแนกตามฟังก์ชนั
1.ประเภทพนื้ ฐาน
2.ประเภทกึ่งซบั ซอ้ น
3.ประเภทซบั ซ้อน
ระบบนัดหมายส่วนบุคคล
มปี ระโยชน์ ดังนี้
1.การใชง้ านระบบ
2.เปน็ ระบบที่ใชง้ านงา่ ย
3.ระบบมกี ารบันทึกขอ้ มูลแบบลดั
4.มีสญั ญาณเตือนการนัดหมาย
5.มรี ะบบชว่ ยจา

6.ป้อนข้อความเตือนความจาเข้าสรู่ ะบบนดั หมายอัตโนมัติ
ระบบการติดตามงานส่วนบุคคล

1.ระบบตดิ ตามงานสว่ นบคุ คล เป็นโปรแกรมอรรถประโยชนเ์ ชน่ เดยี วกับนาฬกิ าปลุกและเคร่ืองคดิ เลข
2.ระบบติดตามงานสว่ นบุคคล หมายถึง บัญชีรายการงานทย่ี ังไมไ่ ด้ดาเนินการ
3.ระบบติดตามงานสว่ นบุคคล เป็นเคร่ืองมืออย่างหน่ึงในการบริหารงานและเวลาของแตล่ ะบคุ คล
4.มนี ิสยั ผดั วนั ประกันพรุ่ง จึงจอ้ งทางานแบบเร่งรีบในชว่ งเวลาสดุ ทา้ ย
พัฒนาการของระบบการจดั การสารสนเทศส่วนบคุ คล
1.ระบบการจัดการสารสนเทศสว่ นบคุ คลในรปู กระดาษท่มี ีมาตง้ั แต่อดตี จนถึงปัจจุบนั
2.ระบบสารสนเทศสว่ นบคุ คล มคี วามหลากหลายท้ังดา้ นรปู ลกั ษณ์ ระดบั ความสามารถในการทางาน
และราคา
3.ระบบการจดั การสารสนเทศของกลมุ่
เกณฑก์ ารเลือกระบบการจดั การสารสนเทศส่วนบุคคล
1.ความตอ้ งการดา้ นสารสนเทศ
2.ความต้องการระบนัดหมายสว่ นบคุ คล
3.ความตอ้ งการระบติดตามงานหรือไม่
4.ความตอ้ งการระบบตดิ ตอ่ สื่อสารในลกั ษณะใด
5.สภาพแวดล้อในการทางาน
6.การทางานในลักษณะคนเดยี วหรือกลุม่
7.การทางานภายในหรอื ภายนอกองคก์ ร
8.การติดต่อสือ่ สารกับบุคคลอน่ื
9.ความสามารถในการทางาน
10.การรับฟังความคิดเห็น

หนว่ ยที่ 7
การเรียนรูผ้ า่ นระบบเครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็

ความหมายของเครอื ข่ายการเรียนรู้
หมายถงึ การเรยี นรใู้ นระบบคอมพวิ เตอร์ เพอ่ื ใช้ประกอบกจิ กรรมทางการศึกษาทกุ ระดับ มี

องค์ประกอบสาคัญ คอื อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์
คุณลกั ษณะพิเศษของเครอื ข่ายการเรียนรู้

1.สามารถเข้าถงึ ไดก้ ว้างขวาง ง่าย สะดวก เรียกข้อมูลมาใช้ไดง้ า่ ย
2.เปน็ การเรียนแบบร่วมกันและทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม
3.สร้างกจิ กรรมการเรยี นรู้
4.ผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลางเรียนการสอน
5.จัดให้เครอื ข่ายการเรยี นรเู้ ป็นเสมอื นชมุ ชนของการเรยี นรู้แบบออนไลน์
แนวทางการบริหารจดั การและพฒั นาเครือข่ายการเรียนรู้
1. ข้ันการก่อรูปเครือขา่ ยการเรียนรู้ (Leaning Network Forming)
2. ขน้ั การจดั ระบบบริหารเครือข่ายการเรยี นรู้ (Leaning Network Organizing)
3. ข้ันการใชเ้ ครือขา่ ยการเรียนรู้ (Leaning Network Utilizing)
4. ข้นั การธารงรกั ษาเครือข่ายการเรยี นรู้ (Leaning Network Maintaining)
กระบวนการและวธิ ีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้
มีข้ันตอนและวธิ ีตา่ งๆ ดังนี้
1.การตระหนกั ถึงความจาเป็นในการสรา้ งเครือข่าย
2.การตดิ ตอ่ กับองค์กรทจ่ี ะร่วมเป็นเครือข่าย
3.การสร้างพันธกรณีร่วมกนั
4.การพฒั นาความสมั พนั ธร์ ว่ มกนั
5.การทากจิ กรรมรว่ มกนั
6.การรวมตวั กนั จัดต้งั องค์กรใหมร่ ่วมกัน
ความหมายของ E-Learning
หมายถงึ การเรียนการสอนในลักษณะใดก็ได้ ทใี่ ชก้ ารถา่ ยทอดเนือ้ หาผา่ นทางอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์
โดยผา่ นทางเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ หรอื ระบบอ่นื ๆ ทคี่ ล้ายคลงึ กัน ซึง่ เนื้อหา หรอื สารสนเทศสาหรับการสอน
หรอื การอบรม ใชก้ ารนาเสนอตวั อกั ษร ภาพน่ิง ผสมผสานกับการใช้ภาพเคลอ่ื นไหว วดี ที ัศน์และเสียง
E-Learning ในประเทศไทย
แบ่งได้ 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ
- การนาเสนอในลักษณะ Web Based Instruction (WBI)
- การนาเสอนในลักษณะ E-Learning
ปัญหาการพฒั นาระบบการเรียนรผู้ า่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตในประเทศไทย
1. ปญั หาการสนับสนนุ ดา้ นงบประมาณและบุคลากร
2. ปญั หาเรอื่ งราคาของซอฟต์แวร์ CMS/LMS และการลขิ สิทธิ์
3. ปญั หาเรอ่ื งทมี งานดาเนนิ การ
4. ปัญหาเกย่ี วกบั Infrastructure

5. ปญั หาเกย่ี วกบั มาตรฐานการจัดทาระบบ CMS/LMS

ขอ้ ดีและข้อเสยี ของการเรยี นรผู้ า่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต
ขอ้ ดี

1.ผเู้ รยี นและผู้สอนไม่ตอ้ งการเรยี นสอนในเวลาเดยี วกัน
2.ผู้เรยี นและผสู้ อนไม่ตอ้ งมาพบกนั ในห้องเรยี น
ข้อเสยี
1.ไม่สามารถรับรู้ความรสู้ ึก ปฏกิ ริ ยิ าทแี่ ทจ้ ริงของผ้เู รยี นและผู้สอน
2.ไมส่ ามารถส่ือความรู้สึกอารมณใ์ นการเรียนรู้ได้อยา่ งแท้จรงิ
ขอ้ คานึงในการจดั การเรียนรผู้ ่านระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต
1. ความพรอ้ มของอุปกรณ์และระบบเครอื ข่าย
2. ทักษะใชค้ อมพิวเตอรแ์ ละอินเทอรเ์ น็ต
3. ความพร้อมของผู้เรียน
4. ความพรอ้ มของผสู้ อน
5. เน้ือหา บทเรยี น
เว็บไซตท์ ่ีเป็นเครือข่ายการเรียนรู้
♣ Trueplookpanya.com

♣ Kroobannok.com

หน่วยท่ี 8
การป้องกันและกาจัดไวรัส

ความหมายของไวรัส (Virus)
ไวรสั คอมพิวเตอร์ เปน็ โปรแกรมชนิดหน่งึ ท่ีมีความสามารถในการสาเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบ

คอมพวิ เตอร์ได้ เม่ือไวรัสเขา้ มาอยใู่ นคอมพิวเตอร์แล้ว อาจจะทาความเสยี หายแก่ขอ้ มลู ทอี่ ย่ใู นคอมพวิ เตอร์ได้
ประเภทของไวรัส

1. ไฟล์ไวรสั (File Virus)
2. บู๊ตเซกเตอร์ไวรัส (Boot Sector Virus)
3. มาโครไวรัส (Macro Virus)
4. หนอนไวรัส (Worm)
5.โทรจนั (Trojan)
สปายแวร์ (Spyware)
คอื โปรแกรมท่ีถูกเขียนขน้ึ มาสอดสอ่ ง หรือดักจบั ข้อมลู การใชง้ านคอมพิวเตอร์
สปายแวร์ตดิ เครื่องคอมพิวเตอร์ได้อยา่ งไร
1. เข้าเยย่ี มเว็บไซตต์ า่ งๆ
2. เปิดโปรแกรมท่สี ง่ มากับอีเมล
วิธปี ้องกนั เพ่ือไม่ใหถ้ ูกโจมตีจากสปายแวร์
1. ติดตง้ั โปรแกรม (Anti-Spyware)
2. ไมด่ าวน์โหลดข้อมลู ทไ่ี ม่นา่ เช่ือถือ
การป้องกนั สปายแวร์และซอฟตแ์ วร์ท่ไี ม่พึงประสงค์
ขน้ั ตอนท่ี 1 อัพเดทซอฟตแ์ วร์ท่ใี ชอ้ ยู่
ขน้ั ตอนท่ี 2 ปรบั แตง่ ตัวแปรระบบ รักษาความปลอดภัยของ Internet Explorer
ขั้นตอนท่ี 3 ใชไ้ ฟรว์ อลล์ (Firewall)
ขั้นตอนที่ 4 ท่องเวบ็ ไซตแ์ ละดาวน์โหลดขอ้ มูลอย่างรอบคอบ
วธิ ีการปอ้ งกนั ไวรสั คอมพวิ เตอร์
1. ติดต้งั โปรแกรมป้องกันไวรสั และอัพเดทอยู่เสมอ
2. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรสั ทีเ่ หมาะสมกับระบบปฏบิ ตั ิการของเครื่อง
3. เปดิ ใชง้ าน auto-protect ถา้ โปรแกรมสนบั สนุน
4. ตรวจสอบหาไวรสั ทุกคร้งั ทจ่ี ะเปิดไฟลใ์ ช้งาน
โปรแกรมทน่ี ิยมใช้ในการป้องกันไวรสั
1. AVG Antivirus Free Edition 2011

2. Avast Free Antivirus
3. PC Tools Antivirus Free

หนว่ ยที่ 9
จริยธรรมและกฎหมายที่เก่ยี วข้องกบั การใช้อนิ เทอร์เน็ต

ความหมายของจริยธรรมในการใช้อินเทอรเ์ น็ต
หมายถงึ หลักการทีม่ นุษย์ในสังคมยึดถือปฏบิ ตั ิ เพ่ือการอยูร่ ว่ มกันอยา่ งเป็นสุขในสงั คม สรปุ ได้ 4

ประเด็น ดังนี้
1. ความเปน็ ส่วนตวั (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3. ความเป็นเจา้ ของ (Information Property)
4. การเขา้ ถึงข้อมูล (Data Accessibility)

คุณธรรมและจรยิ ธรรมในการใช้อนิ เทอรเ์ นต็
1. จรรยาบรรณสาหรบั ผู้ใชไ้ ปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนิกส์

- ตรวจสอบจดหมายใหบ้ อ่ ยครั้ง
- ลบขอ้ ความทีไ่ ม่ต้องการออกจากระบบกล่องจดหมาย
2. จรรยาบรรณสาหรบั ผูส้ นทนา
- ควรสนทนากับผทู้ เ่ี รารู้จักและต้องการสนทนาด้วย
- ควรใชว้ าจาสภุ าพ
3. จรรณาบรรณสาหรับผใุ้ ชก้ ระดานขา่ ว เวบ็ บอรด์ หรือสือ่ ทางข่าวสาร
- เขยี นเรอื่ งให้กระชับ
- ไมค่ วรคัดลอกจากที่อ่นื
4. บญั ญตั ิ 10 ประการ
อินเทอร์เนต็ กับผลกระทบต่อสังคมไทย
ผลกระทบทางบวก
- ชว่ ยพฒั นาประสทิ ธภิ าพการทางาน
- ช่วยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
ผลกระทบทางลบ
- กอ่ ใหเ้ กิดความเครียดของคนในสงั คม
- เกดิ การแลกเปล่ียนวฒั นธรรมจากสังคมหน่งึ ไปสู่อีกสังคมหนง่ึ
กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ งกับการใช้อนิ เทอรเ์ น็ต

- ลขิ สิทธิ์ (Copyright)
- งานอนั มลี ิขสิทธ์ิ
- การได้มาซงึ่ ลิขสทิ ธ์ิ
- การคมุ้ ครองลิขสทิ ธ์ิ
- ประโยชน์ต่อผบู้ รโิ ภค
พระราชบญั ญัตลิ ขิ สิทธ์ิ

ในประเทศไทยได้ประกาศใช้พระราชบญั ญตั ิลิขสทิ ธิ์ พ.ศ. 2537 เพ่อื ใช้บังคบั แทนพระราชบญั ญตั ิ
ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521 โดยมผี ลบังคับใชเ้ ม่ือวันท่ี 21 มีนาคม 2538

พระราชบญั ญัตลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537 ให้ความหมายของคาวา่ "ลิขสิทธ์"ิ วา่ หมายถึง สทิ ธแิ ต่เพยี งผูเ้ ดยี ว
ท่จี ะทาการใดๆ
*การละเมิดลิขสทิ ธิ์

- การละเมิดลิขสิทธโ์ิ ดยตรง คอื การทาซา้ ดดั แปลง
- การละเมิดลขิ สิทธิโ์ ดยอ้อม คือ การกระทาทางการคา้
คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์
ของผู้สาเร็จการศกึ ษาตามระดับคุณวฒุ ิอาชีวศึกษา

1. รับผดิ ชอบ
2. ขยัน
3. ประหยัด
4. ซื่อสตั ย์
5. จติ อาสา
6. สามคั คี
7. มวี นิ ยั
8. สะอาด
9. สภุ าพ
10. ละเวน้ อาบายมุข

หนว่ ยที่ 10
พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระทาความผดิ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์

พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ใหป้ ระกาศว่า
โดยทเ่ี ปน็ การสมควร มกี ฎหมาย ว่าดว้ ยการกระทาความผิดเกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกล้า
ฯ ใหต้ ราพระราชบัญญตั ิ ขน้ึ ไวโ้ ดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัตแิ ห่งชาติ ดงั ต่อไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญตั นิ ี้เรียกวา่ “พระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยการกระทาความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตนิ ี้ใหใ้ ชบ้ งั คับเม่ือพน้ กาหนดสามสบิ วนั นบั แตว่ ันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเป็นตน้ ไป

มาตรา 3 ในพระราชบัญญตั นิ ้ี “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความวา่
อุปกรณ์หรือชดุ อปุ กรณ์ของคอมพิวเตอรท์ ีเ่ ช่ือมการทางานเขา้ ดว้ ยกัน โดยไดม้ กี ารกาหนดคาสั่ง
ชุดคาสง่ั หรือสง่ิ อ่ืนใด และแนวทางปฏบิ ตั ิงานให้อุปกรณ์หรอื ชุดอุปกรณท์ าหนา้ ท่ปี ระมวลผลขอ้ มลู โดย
อัตโนมตั ิ
“ข้อมูลคอมพวิ เตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ขอ้ ความ คาสั่ง ชุดคาส่ังหรือสิง่ อนื่ ใดบรรดาทีอ่ ยใู่ น
ระบบคอมพวิ เตอร์ในสภาพท่ีระบบคอมพวิ เตอร์อาจประมวลผลได้
“ข้อมลู จราจรทางคอมพวิ เตอร์” หมายความวา่ ข้อมูลเก่ยี วกับการติดต่อส่ือสารของระบบ
คอมพิวเตอร์
“ผใู้ ห้บรกิ าร” หมายความวา่

(1) ผู้ใหบ้ ริการแก่บุคคลอนื่ ในการเข้าสอู่ ินเทอร์เน็ต หรอื ให้สามารถติดต่อถงึ กันโดย
ประการอนื่ โดยผา่ นทางระบบคอมพวิ เตอร์ ทัง้ นี้ ไมว่ ่าจะเป็นการใหบ้ ริการในนามของตนเอง หรือในนาม
หรอื เพ่ือประโยชน์ของบคุ คลอ่ืน

(2) ผ้ใู หบ้ ริการเก็บรกั ษาข้อมลู คอมพิวเตอรเ์ พ่อื ประโยชน์ของบุคคลอืน่
“ผ้ใู ชบ้ รกิ าร” หมายความว่า ผู้ใช้บรกิ ารของผู้ใหบ้ รกิ ารไม่วา่ ตอ้ งเสยี คา่ ใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนกั งานเจา้ หนา้ ที่” หมายความว่า ผ้ซู ึง่ รฐั มนตรแี ตง่ ตง้ั ใหป้ ฏบิ ัตกิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รฐั มนตรีผรู้ ักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้
มาตรา 4 ให้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารรกั ษาการตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ี และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง เพือ่ ปฏิบัตกิ ารตามพระราชบญั ญตั ินี้ กฎกระทรวงนนั้ เมื่อ
ไดป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาแล้วให้ใช้บงั คับได้

หมวด 1
ความผดิ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถงึ โดยมิชอบซ่ึงระบบคอมพิวเตอรท์ ี่มมี าตรการป้องกนั การเข้าถงึ โดยเฉพาะ
และมาตรการนนั้ มิได้มีไวส้ าหรบั ตน ตอ้ งระวางโทษจาคุกไมเ่ กินหกเดือน หรือปรบั ไมเ่ กินหนึง่ หมื่นบาท

มาตรา 6 ผ้ใู ดลว่ งรู้มาตรการป้องกันการเขา้ ถึงระบบคอมพวิ เตอร์ท่ผี ู้อน่ื จดั ทาขนึ้ เปน็ การเฉพาะ
ถา้ นามาตรการดังกลา่ วไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่นา่ จะเกดิ ความเสียหายแก่ผอู้ ่ืน ตอ้ งระวางโทษจาคุก
ไม่เกินหนึ่งปี หรอื ปรับไม่เกินสองหมนื่ บาท

มาตรา 7 ผใู้ ดเข้าถึงโดยมชิ อบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอรท์ ่มี ีมาตรการป้องกนั การเข้าถงึ โดยเฉพาะ
และมาตรการนนั้ มิได้มีไว้สาหรบั ตน ต้องระวางโทษจาคุกไมเ่ กินสองปีหรอื ปรับไม่เกนิ สีห่ ม่ืนบาท

มาตรา 8 ผูใ้ ดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธกี ารทางอิเลก็ ทรอนิกส์เพอ่ื ดักรับไวซ้ ่งึ
ขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ของผูอ้ ื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพวิ เตอร์นน้ั มิไดม้ ีไวเ้ พ่ือ
ประโยชนส์ าธารณะหรอื เพื่อใหบ้ คุ คลท่วั ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หก
หม่นื บาท

มาตรา 9 ผู้ใดทาใหเ้ สียหาย ทาลาย แก้ไข เปลยี่ นแปลง หรอื เพม่ิ เติมไม่วา่ ท้ังหมดหรอื บางส่วน
ซึ่งขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ของผู้อ่ืนโดยมชิ อบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหา้ ปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ หนงึ่ แสน

มาตรา 10 ผ้ใู ดกระทาด้วยประการใดโดยมชิ อบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของ
ผู้อ่ืนถกู ระงบั ชะลอ ขดั ขวาง หรอื รบกวนจนไมส่ ามารถทางานตามปกติไดต้ ้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินหา้ ปี
หรือปรบั ไม่เกนิ หนึ่งแสนบาท

มาตรา 11 ผใู้ ดส่งขอ้ มลู คอมพิวเตอรห์ รอื จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์แก่บุคคลอน่ื โดยปกปดิ หรือ
ปลอมแปลงแหลง่ ท่มี าของการสง่ ข้อมูลดงั กลา่ ว อันเป็นการรบกวนการใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอืน่ โดย
ปกตสิ ุข ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกินหนงึ่ แสนบาท

มาตรา 12 ถ้าการกระทาความผดิ ตามมาตรา 9 หรือมาตรา 10
(1) กอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หายแกป่ ระชาชน ไมว่ า่ ความเสียหายน้ันจะเกดิ ข้ึนในทนั ที

หรือในภายหลั และไมว่ า่ จะเกิดขึ้นพร้อมกันหรือไม่ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ สบิ ปี และปรบั ไมเ่ กนิ สองแสน
บาท

(2) เป็นการกระทาโดยประการท่ีน่าจะเกดิ ความเสียหายต่อ
ข้อมลู คอมพวิ เตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอรท์ ่เี กีย่ วกับการรักษาความมนั่ คงปลอดภยั ของประเทศ ความ
ปลอดภัยสาธารณะ ความมน่ั คงในทางเศรษฐกิจของประเทศ

มาตรา 13 ผู้ใดจาหน่ายหรอื เผยแพร่ชุดคาส่งั ทจี่ ดั ทาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนาไปใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือใน
การกระทาความผดิ

มาตรา 14 ผูใ้ ดกระทาความผิดที่ระบุไวด้ งั ต่อไปน้ี ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินหา้ ปี หรอื ปรับไม่
เกินหน่งึ แสนบาท

(1) นาเขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงขอ้ มูลคอมพิวเตอรป์ ลอมไม่วา่ ทัง้ หมดหรอื
บางส่วน หรือขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ อนั เปน็ เทจ็ โดยประการทีน่ า่ จะเกิดความเสยี หายแกผ่ ู้อน่ื หรอื ประชาชน

(2) นาเข้าสรู่ ะบบคอมพวิ เตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการท่ี
นา่ จะเกิดความเสียหายต่อความมัน่ คงของประเทศหรือก่อใหเ้ กิดความต่ืนตระหนกแกป่ ระชาชน

(3) นาเขา้ สรู่ ะบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงขอ้ มลู คอมพวิ เตอรใ์ ด ๆ อนั เปน็ ความผิด
เกีย่ วกบั ความม่นั คงแห่งราชอาณาจักรหรอื ความผิดเก่ยี วกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา

(4) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพวิ เตอรใ์ ด ๆ ท่ีมีลักษณะอนั ลามกและ
ข้อมลู คอมพิวเตอรน์ นั้ ประชาชนท่วั ไปอาจเข้าถึงได้

(5) เผยแพร่หรือสง่ ต่อซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอรโ์ ดยรอู้ ยู่แลว้ ว่าเป็นข้อมลู คอมพวิ เตอร์
ตาม (1)(2) (3) หรือ (4)

มาตรา 15 ผูใ้ ห้บริการผใู้ ดจงใจสนับสนนุ หรอื ยินยอมใหม้ ีการกระทาความผิดตามมาตรา 14 ใน
ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีอยใู่ นความควบคุมของตน ตอ้ งระวางโทษเช่นเดียวกบั ผกู้ ระทาความผิดตามมาตรา 14

มาตรา 16 ผู้ใดนาเขา้ สู่ระบบคอมพวิ เตอร์ท่ปี ระชาชนทวั่ ไปอาจเข้าถึงไดซ้ ึ่งขอ้ มูลคอมพวิ เตอรท์ ่ี
ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และภาพน้นั เปน็ ภาพทีเ่ กิดจากการสร้างขน้ึ ตัดตอ่ เติม หรอื ดัดแปลงด้วยวธิ ีการทาง
อเิ ล็กทรอนิกส์หรือวธิ กี ารอนื่ ใด ท้งั นี้ โดยประการทน่ี ่าจะทาให้ผอู้ นื่ น้นั เสียชอื่ เสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลยี ดชัง
หรือได้รับความอบั อาย

มาตรา 17 ผู้ใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตนิ น้ี อกราชอาณาจักรและ
(1) ผู้กระทาความผดิ นั้นเป็นคนไทย และรฐั บาลแห่งประเทศท่ีความผิดได้เกิดขึ้น

หรอื ผู้เสียหายไดร้ อ้ งขอใหล้ งโทษ หรอื
(2) ผกู้ ระทาความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผ้เู สียหาย

และผเู้ สียหาย ได้รอ้ งขอให้ลงโทษจะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร

หมวด 2
พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี

มาตรา 18 ภายใต้บังคบั มาตรา 19 เพอื่ ประโยชนใ์ นการสืบสวนและสอบสวนในกรณีท่ีมเี หตอุ นั ควรเช่อื ได้ว่า
มีการกระทาความผิด

ตามพระราชบญั ญัตินี้ ให้พนกั งานเจ้าหน้าท่ีมีอานาจอย่างหนงึ่ อยา่ งใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะท่จี าเป็นเพ่ือ
ประโยชน์ในการใช้เป็นหลักฐานเก่ียวกับการกระทาความผิดและหาตัวผกู้ ระทาความผดิ

(1) มหี นังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลทีเ่ กย่ี วข้องกับการกระทาความผดิ ตาม
พระราชบัญญัตินม้ี าเพอื่ ให้ถอ้ ยคา สง่ คาชแ้ี จงเป็นหนังสือ หรือส่งเอกสาร ขอ้ มลู หรือหลกั ฐานอื่นใดท่ีอยูใ่ น
รูปแบบท่ีสามารถเขา้ ใจได้

(2) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอรจ์ ากผใู้ ห้บรกิ ารเก่ียวกบั การตดิ ต่อสอื่ สารผา่ น
ระบบคอมพิวเตอร์ หรือจากบุคคลอน่ื ท่เี กยี่ วข้อง

(3) สง่ั ให้ผใู้ หบ้ ริการสง่ มอบข้อมูลเก่ยี วกบั ผู้ใช้บริการท่ีต้องเก็บตามมาตรา 26 หรอื
ทอี่ ยใู่ นความครอบครอง หรอื ควบคุมของผใู้ ห้บริการใหแ้ ก่พนักงานเจ้าหน้าที่

(4) ทาสาเนาขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ ขอ้ มูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากระบบ
คอมพิวเตอร์ทม่ี เี หตุอันควรเช่ือได้ว่ามี การกระทาความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอร์
นั้นยังมิได้อยใู่ นความครอบครองของพนักงานเจ้าหน้าที่

(5) ส่งั ให้บคุ คลซึ่งครอบครองหรือควบคุมข้อมลู คอมพวิ เตอร์ หรืออปุ กรณท์ ่ีใชเ้ ก็บ
ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ สง่ มอบข้อมูลคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่พนกั งานเจ้าหน้าที่

(6) ตรวจสอบหรือเขา้ ถึงระบบคอมพวิ เตอร์ ข้อมลู คอมพวิ เตอร์ ข้อมูลจราจรทาง
คอมพิวเตอรห์ รืออุปกรณ์ที่ใช้เกบ็ ข้อมลู คอมพวิ เตอร์ของบุคคลใด อันเป็นหลกั ฐานหรอื อาจใช้เป็นหลกั ฐาน
เกย่ี วกับการกระทาความผดิ หรอื เพื่อสืบสวนหาตวั ผูก้ ระทา ความผดิ และส่ังใหบ้ ุคคลนน้ั | ส่ง
ข้อมลู คอมพิวเตอรข์ ้อมลู จราจรทางคอมพิวเตอร์ ทเี่ กย่ี วข้องเทา่ ท่ีจาเปน็ ใหด้ ว้ ยก็ได้

(7) ถอดรหัสลับของข้อมลู คอมพิวเตอร์ของบคุ คลใด หรอื สัง่ ให้บุคคลท่ีเก่ียวข้องกบั
การเขา้ รหสั ลบั ของข้อมูลคอมพิวเตอร์ทาการถอดรหัสลบั หรอื ให้ความร่วมมอื กบั พนักงานเจ้าหน้าท่ใี นการ
ถอดรหสั ลับดงั กลา่ ว

(8) ยดึ หรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าท่ีจาเปน็ เฉพาะเพ่ือประโยชน์ในการทราบ
รายละเอียดแหง่ ความผดิ และผูก้ ระทาความผิดตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

หมวด 2
พนกั งานเจา้ หน้าที่

มาตรา 19 การใชอ้ านาจของพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา 18 (4) (5) (6) (7) และ (8) ให้
พนกั งานเจ้าหน้าท่ีย่นื คารอ้ ง ตอ่ ศาลท่ีมเี ขตอานาจเพอื่ มคี าสั่งอนุญาตให้พนกั งานเจา้ หน้าที่ดาเนินการตามคา
รอ้ ง ทง้ั นี้ คาร้องต้องระบุเหตุอันควรเชอื่ ได้วา่ บุคคลใดกระทาหรอื กาลงั จะกระทาการอย่างหนงึ่ อย่างใดอนั เปน็
ความผดิ ตามพระราชบัญญัตินี้ เหตทุ ่ตี ้องใช้อานาจ ลกั ษณะของการกระทาความผดิ รายละเอยี ดเกย่ี วกบั
อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการกระทาความผิดและผ้กู ระทาความผิด เท่าทส่ี ามารถจะระบุได้ประกอบคาร้องด้วยในการ
พจิ ารณาคาร้องให้ศาลพิจารณาคาร้องดังกลา่ วโดยเรว็ เม่ือศาลมีคาสั่งอนุญาตแล้ว ก่อนดาเนนิ การตามคาสั่ง
ของศาล ให้พนักงานเจา้ หนา้ ท่สี ่งสาเนาบันทึกเหตุอนั ควรเช่อื ท่ีทาให้ต้องใช้อานาจตามมาตรา 18 (4) (5) (6)
(7) และ (8) มอบใหเ้ จา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองระบบคอมพวิ เตอรน์ ้ันไว้เป็นหลักฐาน แต่ถ้าไมม่ ีเจา้ ของหรอื ผู้
ครอบครองเครอื่ งคอมพวิ เตอร์อยู่ ณ ท่นี ้ัน ให้พนักงานเจา้ หน้าทส่ี ง่ มอบสาเนาบนั ทึกนน้ั ให้แกเ่ จ้าของหรือผู้
ครอบครองดงั กลา่ วในทันทีที่กระทาไดใ้ ห้พนักงานเจา้ หน้าท่ีผ้เู ปน็ หัวหน้าในการดาเนนิ การตามมาตรา 18 (4)
(5) (6) (7) และ (8) ส่งสาเนาบันทกึ รายละเอยี ดการดาเนินการและเหตผุ ลแหง่ การดาเนินการให้ศาลท่ีมเี ขต
อานาจภายในสีส่ ิบแปดชว่ั โมงนับแตเ่ วลาลงมือดาเนนิ การ เพือ่ เปน็ หลักฐานการทาสาเนาขอ้ มลู คอมพิวเตอร์
ตามมาตรา 18 (4) ให้กระทาไดเ้ ฉพาะเม่อื มเี หตอุ ันควรเชื่อไดว้ ่ามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ี้
และตอ้ งไม่เปน็ อุปสรรคในการดาเนินกจิ การของเจ้าของหรือผคู้ รอบครองข้อมูลคอมพิวเตอรน์ ้ันเกนิ ความ
จาเป็น การยึดหรืออายัดตามมาตรา 18 (8) นอกจากจะต้องส่งมอบสาเนาหนังสอื แสดงการยึดหรืออายัดมอบ
ให้เจ้าของหรอื ผู้ครอบครองระบบคอมพวิ เตอร์นัน้ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานแลว้ พนักงานเจา้ หน้าทจ่ี ะสัง่ ยดึ หรอื อายดั
ไว้เกนิ สามสบิ วนั มิได้

มาตรา 20 ในกรณีทีก่ ารกระทาความผิดตามพระราชบญั ญัติน้ีเป็นการทาใหแ้ พร่หลายซ่ึงข้อมูล
คอมพิวเตอร์ ที่อาจกระทบกระเทือนตอ่ ความมนั่ คงแห่งราชอาณาจักร ตามท่ีกาหนดไว้ในภาคสองลักษณะ 1
หรอื ลักษณะ 1/1 แหง่ ประมวลกฎหมายอาญา หรือท่ีมลี ักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรอื ศลี ธรรมอนั ดีของ
ประชาชน พนักงานเจ้าหน้าท่ีโดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรอี าจย่ืนคาร้อง พร้อมแสดงพยานหลกั ฐาน
ตอ่ ศาลท่ีมเี ขตอานาจขอให้มีคาสงั่ ระงบั การทาให้แพร่หลายซ่ึงขอ้ มูลคอมพวิ เตอรน์ ั้นได้

มาตรา 21 ในกรณที ีพ่ นักงานเจา้ หน้าที่พบว่า ข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดมีชุดคาส่งั ไม่พึงประสงค์
รวมอยู่ด้วย พนักงานเจ้าหนา้ ท่ีอาจยืน่ คาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อขอให้มคี าสงั่ หา้ มจาหน่ายหรือเผยแพร่
หรอื สัง่ ใหเ้ จา้ ของหรือผู้ครอบครองข้อมลู คอมพวิ เตอรน์ ้นั ระงบั การใช้ ทาลายหรอื แกไ้ ขข้อมูลคอมพิวเตอรน์ ั้น
ได้ หรอื จะกาหนดเง่ือนไขในการใช้ มไี วใ้ นครอบครอง หรอื เผยแพรช่ ดุ คาส่งั ไม่พึงประสงค์ดังกลา่ วกไ็ ด้ชุดคาสง่ั
ไม่พึงประสงค์ตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคาส่ังท่ีมีผลทาให้ข้อมลู คอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพวิ เตอร์หรือ
ชดุ คาส่งั อนื่ เกิดความเสยี หาย ถกู ทาลาย ถูกแก้ไขเปล่ียนแปลงหรือเพิ่มเติมขัดข้อง หรือปฏบิ ัตงิ านไม่ตรงตาม
คาสัง่ ทีก่ าหนดไว้ หรอื โดยประการอ่นื ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวงทงั้ นี้ เวน้ แตเ่ ป็นชุดคาส่ังท่มี ่งุ หมายในการ
ปอ้ งกนั หรือแกไ้ ขชดุ คาส่ังดังกล่าวขา้ งต้น ตามท่รี ัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

มาตรา 22 หา้ มมใิ หพ้ นักงานเจ้าหนา้ ท่ีเปดิ เผยหรือสง่ มอบขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ ขอ้ มลู จราจรทาง
คอมพวิ เตอร์ หรือข้อมลู ของผู้ใช้บริการ ทีไ่ ด้มาตามมาตรา 18 ให้แกบ่ ุคคลใดความในวรรคหนึง่ มิให้ใชบ้ ังคับ
กับการกระทาเพื่อประโยชนใ์ นการดาเนินคดีกบั ผกู้ ระทาความผิดตามพระราชบญั ญตั ินี้ หรือเพ่ือประโยชนใ์ น
การดาเนินคดีกบั พนักงานเจ้าหนา้ ที่เกย่ี วกับการใชอ้ านาจหน้าที่

โดยมชิ อบ หรอื เป็นการกระทาตามคาส่ังหรือที่ได้รบั อนุญาตจากศาลพนักงานเจา้ หน้าท่ีผู้ใดฝา่ ฝืนวรรคหนง่ึ
ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกนิ สามปี หรือปรบั ไม่เกนิ หกหมน่ื บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา 23 พนักงานเจา้ หนา้ ท่ีผใู้ ดกระทาโดยประมาทเปน็ เหตใุ หผ้ อู้ ืน่ ลว่ งรู้ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์
ขอ้ มูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือขอ้ มูลของผูใ้ ช้บริการ ท่ีได้มาตามมาตรา 18 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ
หนง่ึ ปี หรือปรบั ไม่เกนิ สองหมื่นบาท หรือท้ังจาท้งั ปรบั

มาตรา 24 ผ้ใู ดล่วงรูข้ อ้ มลู คอมพวิ เตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพวิ เตอร์หรือขอ้ มูลของผูใ้ ชบ้ ริการ
ทพี่ นักงานเจา้ หน้าท่ีได้มาตามมาตรา 18 และเปดิ เผยข้อมลู นั้นต่อผหู้ นึง่ ผใู้ ด ตอ้ งระวางโทษจาคุกไมเ่ กนิ สองปี
หรอื ปรับไม่เกนิ สีห่ ม่ืนบาท หรือทั้งจาท้ังปรับ

มาตรา 25 ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือขอ้ มูลจราจรทางคอมพวิ เตอร์ที่พนักงานเจา้ หนา้ ท่ี
ไดม้ าตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ใหอ้ ้างและรับฟังเป็นพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวธิ ี
พิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอน่ื อนั วา่ ดว้ ยการสบื พยานได้ แต่ต้องเป็นชนิดท่ีมิได้เกิดขน้ึ จากการจงู ใจมี
คามนั่ สญั ญา ขูเ่ ข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอืน่

มาตรา 26 ผู้ให้บรกิ ารต้องเกบ็ รกั ษาข้อมลู จราจรทางคอมพิวเตอร์ไวไ้ ม่น้อยกว่าเก้าสบิ วันนบั แต่
วันทข่ี ้อมูลน้ันเขา้ สู่ระบบคอมพวิ เตอร์ แตใ่ นกรณจี าเป็นพนักงานเจา้ หนา้ ท่จี ะส่ังใหผ้ ใู้ หบ้ ริการผู้ใดเก็บรักษา
ข้อมูลจราจรทางคอมพวิ เตอร์ไว้เกนิ เกา้ สิบวัน แต่ไม่เกนิ หน่ึงปีเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้ ผู้
ใหบ้ ริการจะต้องเก็บรกั ษาข้อมูลของผใู้ ชบ้ ริการเท่าท่ีจาเป็นเพ่ือใหส้ ามารถระบตุ วั ผ้ใู ช้บริการ นบั ตัง้ แตเ่ ริม่ ใช้
บริการและต้องเกบ็ รกั ษาไวเ้ ป็นเวลาไมน่ ้อยกวา่ เก้าสิบวนั นับต้งั แต่การใช้บรกิ ารส้นิ สดุ ลง ความในวรรคหนง่ึ จะ
ใช้กับผใู้ หบ้ ริการประเภทใด อยา่ งไร และเมื่อใด ให้เป็นไปตามท่ีรฐั มนตรปี ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาผู้
ใหบ้ รกิ ารผู้ใดไมป่ ฏบิ ัตติ ามมาตราน้ี ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท

มาตรา 27 ผ้ใู ดไมป่ ฏิบตั ิตามคาสงั่ ของศาลหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ที ่ีส่งั ตามมาตรา 18 หรอื
มาตรา 20 หรอื ไม่ปฏบิ ัตติ ามคาสงั่ ของศาลตามมาตรา 21 ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินสองแสนบาทและปรบั
เป็นรายวันอกี ไมเ่ กนิ วันละห้าพนั บาทจนกวา่ จะปฏบิ ตั ใิ หถ้ ูกต้อง

มาตรา 28 การแต่งตง้ั พนักงานเจ้าหน้าทีต่ ามพระราชบญั ญตั ินี้ ให้รฐั มนตรีแต่งตง้ั จากผู้มคี วามรู้
และความชานาญเกย่ี วกับระบบคอมพิวเตอร์ และมีคณุ สมบัติตามทร่ี ัฐมนตรีกาหนด

มาตรา 29 ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทีต่ ามพระราชบัญญัติน้ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นพนกั งานฝา่ ย
ปกครองหรือตารวจชัน้ ผู้ใหญ่ตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญามีอานาจรับคาร้องทุกขห์ รือรบั คา
กล่าวโทษ และมีอานาจในการสืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ ในการจับ ควบคมุ ค้น
การทาสานวนสอบสวนและดาเนินคดีผกู้ ระทาความผิดตามพระราชบญั ญตั ิน้ี

มาตรา 30 ในการปฏิบัติหนา้ ที่ พนักงานเจา้ หนา้ ทตี่ อ้ งแสดงบตั รประจาตัวต่อบุคคลซง่ึ เก่ยี วข้อง
บตั รประจาตัวของพนักงานเจ้าหนา้ ท่ีใหเ้ ปน็ ไปตามแบบท่ีรัฐมนตรปี ระกาศในราชกิจจานุเบกษา


Click to View FlipBook Version