The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chigogu, 2019-07-28 03:16:15

การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

จุดประสงค์รายวิชา
คาอธบิ ายรายวิชา

ศกึ ษาและปฏบิ ัติเกย่ี วกบั ความรูพ้ น้ื ฐานของส่อื สงิ่ พมิ พ์ กระบวนการพมิ พ์ การออกแบบสอ่ื สงิ่ พิมพ์
เทคนคิ การใชภ้ าพถา่ ยในส่ือสิ่งพมิ พ์ และการใชโ้ ปรแกรมผลติ สอื่ สงิ่ พิมพ์

จุดประสงค์รายวชิ า
1.มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับการวิเคราะหแ์ ละจาแนกประเภทของสอื่ ส่ิงพมิ พ์
2.มีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับกระบวนการพิมพ์
3.มที กั ษะในการออกแบบสอื่ ส่งิ พมิ พ์และจัดองค์ประกอบศิลป์ในสอ่ื สง่ิ พมิ พ์
4.ผลิตสอื่ ส่ิงพมิ พ์ด้วยโปรแกรมผลิตสอ่ื สง่ิ พิมพ์
5.มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทด่ี ีในการใชค้ อมพวิ เตอร์

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงความร้เู กยี่ วกบั หลักการพ้นื ฐานของสือ่ สิ่งพมิ พ์
2.การออกแบบสอื่ สิ่งพิมพ์ตามการใชง้ าน
3.ผลิตส่อื สิ่งพมิ พด์ ้วยโปรแกรมผลติ ส่ือสงิ่ พิมพ์

หน่วยท่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั ส่อื สิง่ พิมพ์
ความรูเ้ บอ้ื งต้นเก่ยี วกับสอ่ื สง่ิ พิมพ์

เรมิ่ แรกในระบบการพิมพจ์ ะใช้ชา่ งศิลป์ ช่างทาแม่พมิ พ์ทม่ี ที ักษะและความชานาญในการผลิตสอื่
ส่ิงพมิ พ์เป็นอยา่ งมาก ซง่ึ สิง่ พมิ พเ์ ริ่มแรกนัน้ เป็นการแกะสลกั ตัวอกั ษรลงหนิ จากนั้นก็เขียนบนผา้ ไหม หนงั
สัตว์ จากนน้ั พฒั นาการมาเป็นการเขียนบนกระดาษโดยในปจั จบุ นั ความก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยี
คอมพิวเตอรใ์ ห้การสร้างงานสิ่งพิมพง์ ่ายขน้ึ ก่อนทจ่ี ะเรียนรถู้ ึงกระบวนการทาจะขอกลา่ วถึงความหมายของสอื่
สง่ิ พมิ พ์ ประเภทของสอื่ สิ่งพมิ พ์ ประเภทของโประแกรมทใ่ี ชใ้ นการผลติ สื่อสงิ่ พมิ พ์ กระบวนการผลิตสื่อ
สิ่งพมิ พ์ การเตรยี มงานพิมพก์ อ่ นสโรงพิมพ์ บทบาทของสงิ่ พิมพใ์ นปจั จบุ ัน
1.1 ความหมายและความสาคัญของสอื่ ส่งิ พมิ พ์

พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถานไดใ้ หค้ วามหมายคาทเ่ี กย่ี วกบั “สอ่ื สงิ่ พมิ พ์” ไวด้ ังนี้
คาว่า “ส่งิ พิมพ์” หมายถึงสมุด แผนกระดาษหรอื วัตถใุ ด ๆ ทพ่ี มิ พ์ข้ึน รวมตลอดทง้ั บทเพลง แผนท่ี
แผนผังภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือส่ิงอ่นื ใดอนั มีลกั ษณะเช่นเดียวกัน
“สิ่งพมิ พ์” หมายถึง ขอ้ ความ ขอ้ เขยี น หรือภาพทเ่ี กี่ยวกบั แนวความคิด ข้อมูล สารคดบี ันเทงิ ซงึ่
ถา่ ยทอดดว้ ยการพิมพล์ งบนกระดาษ ฟลิ ม์ หรอื วัสดพุ ้นื เรยี บ
“สอื่ ” หมายถึง การติดตอ่ ใหถ้ งึ กนั ชกั นาให้รจู้ ักกัน หรือตัวกลางทีท่ าการตดิ ต่อใหถ้ งึ กนั
“พิมพ์” หมายถึง ถา่ ยแบบ ใชเ้ ครือ่ งจกั รกดตัวหนงั สอื หรอื ภาพ ใหต้ ิดบนวตั ถุ เช่นแผ่นกระดาษ ผ้า
ทาใหเ้ ป็นตวั หนังสอื หรือรปู รอยอย่างใด ๆ โดยการกดหรือการใชพ้ ิมพ์ หนิ เครื่องกลวิธเี คมหี รอื วธิ อี ่นื ใด อนั
อาจใหเ้ กดิ เป็นสง่ิ พิมพข์ ้ึนหลายสาเนา รปู ร่าง รา่ งกาย แบบ
ดังน้ัน “ สื่อสง่ิ พมิ พ”์ จึงมคี วามหมายว่าจะเปน็ แผน่ กระดาษหรอื วัตถใุ ด ๆ ด้วยวิธีตา่ ง ๆ อันเกดิ เป็น
ชนิ้ งานทม่ี ลี กั ษณะเหมอื นตน้ ฉบบั ขึ้นหลายสาเนา ในปริมาณมากเพือ่ เป็นสิง่ ท่ที าการตดิ ตอ่ หรอื ชกั นาใหบ้ ุคคล
อ่นื ใหเ้ หน็ หรอื ทราบข้อมลู ตา่ ง ๆ” สง่ิ พมิ พ์มหี ลายชนดิ ไดแ้ ก่ เอกสารหนงั สอื่ เรียน หนงั สอื พมิ พ์ นติ ยสาร
วารสาร บันทกึ รายงาน ฯลฯ
1.2 ความเป็นมาของส่อื สงิ่ พิมพ์
ประวัตสิ ่ือส่งิ พมิ พ์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ศลิ ปะไดป้ รากฏบนผนงั ถา้ อลั ตามิรา (Altamira) ในสเปนและถ้าลาสควกั ซ์
(Lascaux) ในฝรั่งเศส มผี ลงานแกะสลักหิน แกะสลักผนัง ถา้ เป็นรปู สตั วล์ ายเสน้ จงึ เป็นหลกั ฐานในการแกะ
พิมพ์ เปน็ คร้ังแรกของมนุษยห์ ลงั จากนัน้ ไดม้ บี คุ คลคดิ วธิ ีการทากระดาษขึ้นมาจนมาเป็นการพมิ พใ์ นปจั จบุ ัน
น่นั คอื ไชลนั่ ซึง่ มีเชอ้ื สายจนี ชาวจีนไดผ้ ลิตทาหมึกแทง่ ซง่ึ เรยี กวา่ “บัก๊ ”
ประวัติการพมิ พ์ในประเทศไทย
ในสมยั สมเดจ็ พระนารายมหาราช กรงุ ศรอี ยธุ ยา ไดเ้ รมิ่ แตง่ และพิมพห์ นังสือคาสอนทางศาสนาคริสต์
ขึน้ และหลงั จากนั้นหมอบรัดเลยเ์ ขา้ มาเมืองไทย และได้เรมิ่ ด้านงานพิมพจ์ นสนใจเป็นธรุ กิจดา้ นการพมิ พ์ ใน
เมืองไทย พ.ศ. 2382 ไดพ้ มิ พเ์ อกสารทางราชการเป็นชิ้นแรกคือหมายประกาศห้ามสูบฝ่ิน ซง่ึ พระบาทสมเดจ็
พระนง่ั เกล้าเจา้ อยหู่ ัวทรงโปรดให้จา้ งพมิ พจ์ านวน 9,000 ฉบับ ต่อมาเมื่อวนั ท่ี 4 ก.ค. 2387 ไดอ้ อกหนังสื่อ

ฉบับแรกข้ึน คือ บางกอกรคี อรด์ เดอร์ (Bangkok Recorder) เปน็ จดหมายเหตุอยา่ งส้ัน ออกเดือนละ 2 ฉบับ
และใน 15 ม.ิ ย. พ.ศ. 2404 ไดพ้ ิมพห์ นังสอื เลม่ ออกจาหน่ายโดยซอื้ ลิขสทิ ธ์จิ าก หนังสือนิราศลอนดอนของ
หม่อมราโชทยั และไดเ้ ริ่มต้นการซ้ือขายลขิ สทิ ธิ์จาหน่ายในเมืองไทย หมอบรดั เลยไ์ ด้ถึงแกก้ รรมในเมอื งไทย
กจิ การการพมิ พ์ของไทยจงึ ไดเ้ รงิ่ เปน็ ตน้ ของไทย หลังจากนน้ั ใน พ.ศ. 2500 ประเทศไทยจึงนาเครอื่ งพมิ พแ์ บบ
โรตารี ออฟเซต (Rotary off set) มาใช้เป็นครงั้ แรก โรงพมิ พไ์ ทยวฒั นาพานชิ นาเคร่ืองหล่อเรียงพมิ พ์
(Monotype) มาใชก้ ับตวั พิมพ์ภาษาไทยธนาคารแหง่ ประเทศไทยได้จดั โรงพมิ พธ์ นบัตรในเมืองไทขนึ้ ใช้เอง
1.3 ประเภทของส่ือส่งิ พมิ พ์

ในปัจจบุ นั สามารถแบง่ ประเภทของสือ่ สง่ิ พิมพไ์ ด้มามายหลายประเภท โดยท้ังสงิ่ พมิ พ์ 2 มิติ และ
ส่งิ พมิ พ์ 3 มติ ิ คอื สิ่งพมิ พ์ทม่ี ลี กั ษณะเป็นแผ่นเรยี บ ใชว้ สั ดจุ าพวกกระดาษและมเี ป้าหมายเพอื่ นาเสนอเน้อื หา
ขา่ วสารต่าง ๆ เชน่ หนังสือ นติ ยสาร จุลสาร หนงั สอื พมิ พ์ แผน่ พบั โบชวั ร์ ใบปลวิ นามบัตร แมกกาซนี พอ็ ก
เก็ตบุค๊ เปน็ ต้น

รูปภาพสง่ิ พิมพป์ ระเภท 2 มิติ

สว่ นส่ิงพมิ พ์ 3 มิติ คอื ส่ิงพิมพท์ ่ีมลี ักษณะพเิ ศษทีต่ อ้ งอาศัยระบบการพิมพแ์ บบพเิ ศษ และสว่ นใหญ่
จะเปน็ การพมิ พโ์ ดยตรงลงบนผลิตภัณฑท์ สี่ รา้ งรูปทรงมาแลว้ สาหรับตัวอย่างการพมิ พแ์ บบ 3 มิตไิ ดแ้ ก่ การ
พมิ พส์ กีนบนภาชนะต่าง ๆ เชน่ แก้ว กระปอ๋ ง พลาสติก การพิมพร์ ะบบแพดบนภาชนะท่ีมีผวิ ตา่ งระดบั เชน่
เคร่อื งปนั้ ดนิ เผา เคร่ืองใช้ไฟฟ้า การพมิ พ์ระบบพ่นหมกึ เชน่ การพิมพ์วันหมดอายุของอาหารกระป๋องต่าง ๆ
โดยสามารถจาแนกประเภทของสอื่ สง่ิ พิมพไ์ ด้ ดงั น้ี

รปู ภาพสงิ่ พิมพ์ 3 มิติ
สอ่ื ส่งิ พิมพ์ประเภทหนังสอื

หนังสือสารคดีตาราแบบเรียน เปน็ หนงั สอื สงิ่ พิมพท์ ่ีแสดงเน้อื หาวชิ าการศาสตรค์ วามรตู้ า่ ง ๆ เพอ่ื สอ่ื
ใหผ้ ู้อา่ นเขา้ ใจความหมายดา้ นความรูท้ ่เี ปน็ จรงิ จงึ เป็นสือ่ สิ่งพิมพท์ เี่ น้นความรู้อย่างถูกตอ้ ง
หนังสือบัยนเทิงคดี เป็นสอ่ื สง่ิ พิมพท์ ผ่ี ลิตขนึ้ โดยใชเ้ ร่ืองราวสมมติ เพอ่ื ใหผ้ อู้ า่ นได้รบั ความเพลดิ เพลนิ
สนกุ สนาน มกั มีขนาดเลก็ เรยี กวา่ หนังสือฉบบั กระเปา๋ หรอื PocketBook ได้

ส่ือสิ่งพมิ พ์เพอื่ เผยแพรข่ า่ วสาร
หนงั สือพิมพ์ (Newspapers) เป็นสอื่ สงิ่ พิมพท์ ผ่ี ลติ ขนึ้ โดยนาเสนอเร่ืองราวขา่ วสารภาพ และความ

คดิ เหน็ ในลกั ษณะของแผ่นพมิ พ์ แผ่นใหญ่ ทใี่ ช้วธิ ีการพบั รวมกบั ซ่งึ สื่อสง่ิ พมิ พ์ชนิดน้ไี ด้พิมพ์ออกเผยแพรท่ งั้
ลักษณะหนงั สือพิมพร์ ายวนั รายสปั ดาห์ และรายเดอื น

วารสาร นิตยสาร
เป็นส่ือสงิ่ พมิ พท์ ี่ผลติ ข้ึนโดยนาเสนอสาระข่าว ความบนั เทิง ทมี่ รี ปู แบบการนาเสนอ ทโ่ี ดเด่น สะดดุ

ตา และสร้างความสนใจใหก้ บั ผอู้ ่าน ทงั้ น้ีการผลิตนน้ั มกี ารกาหนดระยะเวลาการออกแบบเผยแพรท่ แ่ี นน่ อน
ทง้ั ลกั ษณะวารสาร นิตยสารรายปกั ษ์ (15 วัน) และรายเดือน จุลสาร เป็นสื่อสง่ิ พมิ พ์ทผี่ ลิตขึ้นแบบไม่มงุ่ หวัง
ผลกาไร เป็นแบบใหเ้ ปล่าโดยใหผ้ อู้ า่ นศกึ ษาหาความรู้ ทีก่ าหนดออกแบบเผยแพร่เป็นคร้ัง ๆ หรอื ลาดับตา่ ง ๆ
ในวาระพิเศษ

สง่ิ พิมพโ์ ฆษณา
โบชัวร์ (Brochure) เป็นสอ่ื สง่ิ พิมพท์ ม่ี ลี กั ษณะเปน็ สมุดเลม่ เล็ก ๆ เย็บติดกันเป็นเล่มจานวน 8 หนา้

เป็นอยา่ งนอ้ ยมปี กหนา้ และปกหลงั ซง่ึ ในการแสดงเน้ือหาจะเก่ยี วกบั โฆษณาสนิ คา้

ใบปลิว (Leaflet, Handbill) เป็นส่ือสิง่ พิมพ์ใบเดียว ทเ่ี นน้ การประกาศ มักมีขนาด A4 เพ่อื ง่ายใน
การแจกจา่ ย ลักษณะการแสดงเน้ือหาเป็นขอ้ ความทผี่ ู้อา่ นแล้วเข้าใจงา่ ย

แผ่นพับ (Folder) เป็นสื่อสง่ิ พิมพท์ ี่เน้นการผลติ โดยเน้นการเสนอเนือ้ หา ซงึ่ เนอื้ หาท่ีนาเสนอนน้ั เปน็
เนอ้ื หาทส่ี รปุ ใจความสาคัญ ลักษณะเป็นการพบั เปน็ รปู เล่มตา่ ง ๆ

ใบปดิ (Poster) เปน็ สอ่ื สงิ่ พิมพโ์ ฆษณา โดยใชป้ ิดตามสถานที่ตา่ ง ๆ มีขนาดใหญเ่ ป็นพเิ ศษซง่ึ เน้นการ
นาเสนออย่างโดเด่นดงึ ดดู ความสนใจ

ส่ิงพมิ พเ์ พอ่ื การบรรจภุ ัณฑ์
เป็นสงิ่ พิมพ์ทใี่ ช้ในการหอ่ หมุ้ ผลติ ภัณฑก์ ารค้าตา่ ง ๆ แยกเปน็ สิ่งพมิ พห์ ลัก ได้แก่สง่ิ พิมพท์ ใ่ี ช้ปดิ รอบ

ขวด หรอื กระป๋องผลิตภณั ฑ์การค้า สิ่งพมิ พร์ อง ได้แก่ สง่ิ พมิ พท์ ่เี ปน็ กล่องบรรจหุ รอื ลงั

สิง่ พิมพ์มีค่า เป็นส่ือสง่ิ พมิ พท์ ่ีเนน้ การนาไปใชเ้ ปน็ หลกั ฐานสาคญั ตา่ ง ๆ ซงึ่ กาหนดตามกฎหมาย เชน่
ธนาณัติ บตั รเครดิต เชค็ ธนาคาร ต๋ัวแลกเงิน หนงั สอื เดินทาง โฉนด เป็นต้น

สง่ิ พิมพ์ลกั ษณะพเิ ศษ เปน็ สื่อสงิ่ พิมพม์ กี ารผลติ ขนึ้ ตามลกั ษณะพิเศษแลว้ แตก่ ารใช้งาน ได้แกน่ ามบัตร บัตร
อวยพร ปฏิทนิ ใบสง่ ของ ใบเสร็จรับเงิน สง่ิ พมิ พบ์ นแกว้ ส่ิงพมิ พ์บนผ้า เปน็ ต้น

สง่ิ พิมพอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ สือ่ สิ่งพมิ พท์ ผี่ ลิตข้นึ เม่อื ใชง้ านในคอมพิวเตอร์ หรอื ระบบเครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ต
ได้แก่ Document Formats, E-book for Palm/PDA เปน็ ตน้

1.4 ขอ้ ดีและข้อเสียของสื่อส่งิ พมิ พ์
หนงั สอื พมิ พ์ Newspaper

หนังสอื พิมพ์เปน็ สอื่ ทมี่ ีความสาคญั ได้รบั ความสนใจและมอี ทิ ธิพลต่อชวี ติ ประจาวนั ของผูบ้ ริโภคอย่าง
ยง่ิ โดยเฉพาะในชวี ิตประจาวันของคนเมอื งทม่ี ีความเจริญแลว้ ยิ่งจะไดร้ บั ความสนใจในการอา่ นกนั อย่าง
แพร่หลาย การเลอื กใช้ส่ือโฆษณาทางหนงั สอื พิมพเ์ พอื่ นาขา่ วสารโฆษณาไปสู่กลุ่มเปา้ หมายเราจึงต้องมีความ
เข้าใจลักษณะของตวั สื่อหนงั สอื พิมพ์ นนั่ ก็จะทาใหก้ ารโฆษณาของเรามปี ระสทิ ธิภาพ
โฆษณาในหนังสือพิมพแ์ บ่งออกเป็น 2 ประเภท

1. โฆษณาเด่ยี ว (Display Advertising) เปน็ การโฆษณาสนิ คา้ เต็มหนา้ หนงั สอื พิมพ์ โดยไมม่ ีโฆษณา
อน่ื มาปะปนกนั เป็นโฆษณาท่สี รา้ งความตื่นเตน้ หรหู รายงิ่ ใหญ่เป็นเอกเทศถ้าเป็นสีกจ็ ะทาให้เกิดควาสะดุดตา
มากยิ่งขึ้น

2. โฆษณาหมู่ (Classified Advertising) เป็นการลงโฆษณาสนิ ค้าในพื้นทท่ี หี่ นงั สือพมิ พจ์ ัดไว้ให้
โดยเฉพาะ จะมีสินคา้ หลากหลายชนิดลงโฆษณาปะปนกัน เชน่ โฆษณาขายที่ดนิ รถยนต์มอื สอง เรยี น
ภาษาอังกฤษ คอมพวิ เตอร์ โปรแกรมหนงั ฯลฯ

ข้อดี
1.เข้าถงึ กลมุ่ เป้าหมายไดอ้ ย่างกว้างขวาง
2.เลือกกลมุ่ เป้าหมายทางภูมิศาสตรไ์ ด้
3.สง่ ข่าวสารไดร้ วดเร็วทันสมยั ทนั เวลา
4.ค่าใชจ้ า่ ยเฉลี่ยตอ่ หวั ถกู กว่าส่อื ชนดิ อ่ืนๆ(ในประเภทส่ือสง่ิ พิมพ์)
5. เปน็ สื่อที่มคี วามน่าเช่ือถอื จากคนทั่วไป

ข้อเสยี
1.ไมส่ ามารถเจาะจงกลมุ่ เปา้ หมายแบบเฉพาะกลมุ่ ได้
2.รูปภาพสีสนั และคุณภาพกระดาษคอ่ นข้างตา่
3. อายขุ องหนังสื่อพมิ พ์จะสั้น ทาใหผ้ า่ นตาผบู้ รโิ ภคได้นอ้ ยครั้ง

นติ ยสาร Magazine
นิตยสารเปน็ สิงพมิ พท์ ร่ี วมเนอื้ หาสาระประเภทตา่ งๆเข้าไวด้ ว้ ยกนั ทม่ี คี วามน่าสนใจหลายๆเรอ่ื งแต่

เปน็ เรอ่ื งประเภทเดยี วกันทาใหส้ ามารถเลือกกลุ่มเป้าหมายเฉพาะได้ตรงกบั กลมุ่ เปา้ หมายของสนิ คา้ และ
จดั พมิ พ์ออกมาเป็นเลม่ วางตลาดเป็นรายคาบ (Periodical Publication) คอื รายสปั ดาห์ รายปกั ษ์ รายเดอื น
เปน็ ตน้
ประเภทนิตยสาร
วางจาหนา่ ยทว่ั ไปในทอ้ งตลาด มีจานวนมากกวา่ 15 ประเภทเชน่

1.นติ ยสารการเมือง
2.นติ ยสารกีฬา
3.นิตยสารสาหรับเดก็
4.นติ ยสารทางการถ่ายภาพและภาพพิมพ์
5.นิตยสารการท่องเที่ยว
6.นติ ยสารทางธรุ กจิ และทางการโฆษณา
7.นติ ยสารบนั เทงิ
8.นติ ยสารบา้ น
9.นติ ยสารผหู้ ญิง
10.นิตยสารผชู้ าย
11.นติ ยสารรถ
12.นิตยสารทางศิลป-วัฒนธรรม
13.นติ ยสารเศรษฐกจิ
14.นิตยสารสขุ ภาพ
15. นติ ยสารครอบครัว

ข้อดี
1.เป็นส่ือทสี่ ามารถเจาะจงกลมุ่ เป้าหมายได้งา่ ย
2. สอ่ื มอี ายยุ าวนาน ทาให้โฆษณาผ่านตาผบู้ รโิ ภคบอ่ ยครงั้
3. สอ่ื มีคณุ ภาพ เพราะกระดาษมีคณุ ภาพ และการพิมพม์ คี ณุ ภาพสูง
4.มจี านวนผูอ้ า่ นต่อฉบับสงู
5.เขา้ ถึงผบู้ รโิ ภคไดใ้ นวงกว้าง
6.ระยะเวลาในการวางแผงจาหน่ายไม่ตรงเวลาทาให้ขา่ วสารเกดิ ความล่าชา้ จนบางครงั้ ข้อมลู ดเี ดย์

อาจพ้นกาหนดไปแลว้
ขอ้ เสีย
สอ่ื ทางไปรษณยี ์ Mail-order advertising

เอ็ดเวริ ์ดเอ็นเมเยอร์(EdwardN. Mayer) นักโฆษณาทางไปรษณยี ์ ของสหรฐั อเมริกาไดใ้ หข้ อ้ คดิ เปน็
หลักการของการดาเนินการโฆษณาทางไปรษณยี ไ์ ว้ "ถงึ แม้ชิน้ งานโฆษณาทางไปรษณยี ์ของคุณจะเลศิ สัก
เพยี งใดกต็ าม ขอ้ ความและคาโฆษณายอดเยี่ยม รูปแบบการจัดภาพในงานศิลปกรรมของคณุ ก็เป็นท่ีพงึ พอใจ
ศิลปการพมิ พก์ ็สามารถชนะการประกวดได้รางวลั ยอดเยยี่ ม แสตมป์ของคุณกเ็ ปน็ แสตมปร์ ่นุ ใหม่หายากและ
เหมาะแก่การเกบ็ เป็นของทรี่ ะลกึ แต่ถ้าชนิ้ งานโฆษณาทางไปรษณียน์ ั้นสง่ ไปยงั บุคคลที่ไมเ่ หมาะสมกบั สนิ ค้า
ของคณุ และเขาไม่สามารถซอื้ สินคา้ คุณได้ ความพยายามทั้งหมดของคณุ กค็ ือ ความล้มเหลว ซงึ่ กลบั
กลายเป็นการสญู เสียที่แพงยงิ่ "
รปู แบบการโฆษณาทางไปรษณยี ์

1. จดหมายขาย Sales Letters เป็นรปู แบบการโฆษณาทใ่ี ช้ข้อความตัวอกั ษรเปน็ หลกั มลี ักษณะ
คลา้ ยจดหมายสาคัญทางราชการหากมีการเซ็นตช์ อ่ื ผสู้ ง่ ด้วยลายเซ็นตข์ องตนเองแล้วยิ่งทาใหผ้ บู้ รโิ ภคเกดิ
ความรสู้ กึ ทด่ี ี

2. โปสการ์ด Postcards สามารถใช้ไปรษณียบัตรพมิ พ์ข้อความโฆษณาที่เตรียมไว้ หรือใชว้ ธิ กี าร
พิมพไ์ ปรษณยี บตั รขึ้นมาใหม่แลว้ ส่งใหล้ ูกคา้ เป้าหมายขอ้ ความโฆษณาจะเป็นข้อความทสี่ น้ั ๆ

3. ใบปลิว Leaflets เปน็ ใบโฆษณาเล็กๆ แนบมากบั จดหมาย นามาเสรมิ เพราะใบปลวิ สามารถพมิ พ์
รูปแบบการโฆษณาได้สวยงามและมเี น้อื หาทนี่ า่ สนใจ

4. แผน่ พบั Folder or Brochure มลี ักษณะคล้ายใบปลิวผสมจลุ สาร บางครง้ั สามารถพับใหเ้ ป็นตัว
ซองจดหมายไดใ้ นตัว

5. จุลสาร Booklets มลี ักษณะคลา้ ยหนังสือเลม่ บางๆเล็กๆมีเนือ้ หาหลายหนา้ กระดาษบรรจขุ า่ วสาร
รายละเอียดได้อยา่ งครบถว้ นแมจ้ ลุ สารจะมีคา่ ใชจ้ ย่ ทส่ี ูงแตก่ ใ็ หผ้ ลทางด้านความรสู กึ ที่คุม้ คา่

6. แค็ตตาล็อก Catalogs เปน็ เอกสารหนงั สือทอี่ ธบิ ายรายละเอียดของสนิ คา้ ทส่ี มบรู ณ์ทส่ี ุดจะมภี าพ
สินคา้ ขนาดนา้ หนกั สีและรหัสสนิ ค้าเพอื่ ใช้อ้างองิ ในการส่ังซอ้ื ได้ทนั ทีโดยไมจ่ าเป็นตอ้ งไปดสู ินค้าจริง

ภาพตัวอย่างการโฆษณาทางไปรษณีย์แบบแคต็ ตาลอ็ ก

ขอ้ ดี
1. สามารถเลือกกลมุ่ เป้าหมายกลมุ่ ใดกลมุ่ หนึ่งได้
2. สามารถสง่ ข่าวสารถงึ กลมุ่ เปา้ หมายหลายกลมุ่ ได้ในเวลาที่พร้อมกนั ได้
3. เปน็ สื่อทเ่ี หมาะกบั การสง่ ข่าวสารแบบเทศกาลและการสง่ เสรมิ การขายพเิ ศษ
4. สามารถออกแบบรปู แบบส่ือได้เต็มท่เี พราะไมม่ ขี ้อจากัดด้านเนอื้ ที่ขนาด
5. มผี ู้โฆษณาเพียงรายเดียวทาใหผ้ บู้ ริโภคไม่สบั สน

ขอ้ เสยี
1. ค่าใช้จ่ายต่อหัวสงู
2. โฆษณาจะสมั ฤทธิผ์ ล จะขน้ึ อยกู่ บั คุณภาพของรายช่ือลูกค้าเปน็ สาคญั

หน่วยที่ 2
การออกแบบและกระบวนการการผลิตส่ือส่ิงพิมพ์
บทนา
การออกแบบมคี วามสาคญั ในการผลิตสอื่ สง่ิ พมิ พ์ เพราะการออกแบบคอื การวางแผนในการทางานซง่ึ
เป็นขั้นตอนหนง่ึ ทส่ี าคญั ของกระบวนการผลิตส่ือสิ่งพมิ พ์ใหป้ ระสบผลสาเรจ็ การอออกแบบในลักษณะใดก็
ตามต้องอาศยั สว่ นประกอบงานศิลปอ์ ันได้แก่ เสน้ รปู ร่าง สี ลกั ษณะผิว เพอื่ นามาประกอบกนั เปน็ ผลงานท่ีดมี ี
ความสวยงาม เหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ จึงทาใหเ้ กิดผลงานท่มี ีรปู แบบที่ดี
สอ่ื สงิ่ พมิ พท์ ่ีจะสาเรจ็ บรรลุจดุ มุ่งหมายได้นน้ั นอกจากการออกแบบทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพแล้วกระบวนการ
ผลติ สอ่ื สิ่งพมิ พ์กม็ คี วามสาคัญอยา่ งยง่ิ ท้งั ในดา้ นการวางแผน การเตรยี มการก่อนพิมพ์ การทาต้นฉบับ การ
เลือกประเภทของการพิมพเ์ พื่อใหเ้ หมาะสมกบั สื่อสิ่งพมิ พ์ และสง่ ผลใหก้ ารผลิตสือ่ สิ่งพมิ พส์ าเรจ็ บรรลุ
จุดมุง่ หมาย
2.1การออกแบบสื่อส่ิงพมิ พ์
การอออกแบบเป็นการนาองค์การประกอบมูลฐานมาจดั หรอื รวบรวมเขา้ ไว้ด้วยกันอย่างมรี ะบบใน
งานออกแบบ ไมว่ ่าจะเป็นตวั อักษร ภาพ หรอื พ้นื ทว่ี ่างๆเพอ่ื ให้การออกแบบสอ่ื สง่ิ พิมพเ์ ปน็ ไปตาม
วัตถุประสงคท์ ่ีตอ้ งการ
2.1.1 วัตถุประสงคข์ องการออกแบบสอื่ ส่งิ พมิ พ์
1. ใช้เปน็ แนวทางในการผลิตสือ่ สิ่งพมิ พ์ เพือ่ รับรรู้ ปู แบบ รปู ร่าง ลักษณะ และส่วนประกอบในการ
พิมพ์
2. เพื่อสรา้ งความสวยงามทางศลิ ป์ของสอื่ สงิ่ พมิ พ์
3. เพ่ือดงึ ดูดความสนใจของผูพ้ บเห็นและผ้อู า่ น
4. เพอื่ เสนอข่าวสารและงา่ ยตอ่ การจดจาเนือ้ หา
5. เพ่อื ปิดบงั ความด้อยตอ่ คุณภาพสื่อสิ่งพมิ พ์
6. เพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการสอ่ื สาร
2.1.2 หลักการออกแบบสื่อสงิ่ พมิ พ์
การออกแบบส่ือสิ่งพมิ พ์ใหม้ ีความนา่ สนใจและสะดุดตาแกผ่ อู้ ่าน สามารถทาไดต้ ามหลกั การออกแบบ
สอ่ื สง่ิ พิมพ์ดังนี้
1. ออกแบบใหด้ ึงดดู ความสนใจของผอู้ า่ นและพบเหน็
2. ออกแบบสื่อสง่ิ พมิ พ์ใหเ้ ปน็ ทส่ี ังเกตหรือจดจาไดง้ า่ ย
3. นาข่าวสารไปสผู่ ้อู า่ น ด้วยการออกแบบทมี่ ลี กั ษณะของการเสนอเน้อื หาในรปู แบบทสี่ วยงาม และ
สะดวกต่อการทาความเขา้ ใจในเนอ้ื หา
4. ใชศ้ ลิ ปะของการออกแบบปดิ บังความด้อยในคณุ ภาพของวสั ดพุ มิ พ์
5. ใหผ้ ูอ้ ่านเขา้ ใจเน้อื หาได้งา่ ยและสะดวกขน้ึ

6. เป็นการออกแบบทม่ี ลี ักษณะเหมาะสม ตรงกบั ความมุ่งหมายตามประโยชนใ์ ช้สอยมคี วามกลมกลืน
ตามหลกั เกณฑค์ วามงามของสังคม และสามารถปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงได้

7. เปน็ การออกแบบทมี่ ีลกั ษณะง่าย มีจานวนผลติ ผลตามความตอ้ งการของสังคมและมกี ระบวนการ
ผลิตไมย่ งุ่ ยากซบั ซอ้ น

รปู ที่ 2.1 สือ่ ส่ิงพิมพ์ทมี่ ลี กั ษณะสะดดุ ตาและน่าสนใจ
8. มสี ดั สว่ นทด่ี ี มีความกลมกลืนกนั ทงั้ สว่ นรวม เชน่ รปู แบบ ลกั ษณะผวิ เส้น สี เป็นต้น มสี ดั ส่วนท่ี
เหมาะสมในการใชง้ าน
9. มคี วามเหมาะสมกบั วัสดแุ ละวิธีการ มีคุณภาพ มีวธิ กี ารใช้ง่ายสะดวก
10. มลี กั ษณะของการตกแตง่ อย่างพอดี ไมร่ กรงุ รงั
11. มีโครงสรา้ งทเี่ หมาะสมกลมกลนื กบั วฒั นธรรมและความตอ้ งการของสงั คม
12. ไมค่ วรสน้ิ เปลืองเวลามากนัก
2.1.3 หลักในการพิจารณาออกแบบสือ่ ส่ิงพิมพ์
ก่อนทผี่ อู้ อกแบบตัดสนิ ใจผลติ สอื่ สง่ิ พิมพ์ ผอู้ อกแบบจาเปน็ จะตอ้ งพจิ ารณาองค์ประกอบของการ
พิมพ์เปน็ ข้อมลู สาคญั ตอ่ การออกแบบองคป์ ระกอบในการพมิ พ์ ดงั น้ี
1.วัตถปุ ระสงค์ของการพมิ พ์ การกาหนดเป้าหมายของสอื่ สง่ิ พมิ พว์ า่ เปน็ ส่อื สิ่งพมิ พส์ าหรบั บุคคลวัย
ใด หนังสอื สาหรับเด็กหรือผู้ใหญ่ เพศใด สาหรบั ผหู้ ญิงหรอื ผชู้ าย การศกึ ษาระดบั ใดลกั ษณะของสอ่ื สง่ิ พมิ พ์
ได้แก่ หนังสือทางวิชาการ สารคดี รอ้ ยแก้ว ร้อยกรอง

รูปท่ี 2.2 สอื่ สงิ่ พมิ พท์ ผ่ี ลิตจากกระดาษท่ตี ่างกัน

2.รูปร่างของสอ่ื ส่ิงพมิ พ์ ตามปกติมรี ูปรา่ งมาตรฐานเป็นรปู ส่ีเหล่ียมผืนผ้าตามลกั ษณะของกระดาษ
ขนาดมาตรฐาน ดงั้ น้นั การกาหนดสื่อสิง่ พมิ พ์ใหม้ รี ปู ร่างสเ่ี หล่ียมผืนผ้าจึงไม่ทาใหก้ ระดาษเสียเศษ ซง่ึ มีทงั้
สเ่ี หลยี่ มผนื ผา้ แนวต้งั และสี่เหลี่ยมผนื ผ้าแนวนอน

รปู ที่ 2.3 รปู รา่ งของหนงั สอื สาหรบั เดก็
3.ตาแหน่งจดุ แห่งความสนใจในสื่อส่ิงพิมพ์ โดยปกตผิ อู้ อกแบบสอ่ื สง่ิ พิมพม์ ักจะใหค้ วามสาคญั แก่
ปกหน้าพเิ ศษมากกว่าส่วนอกี ท้งั น้เี พราะเป็นจุดดงึ ดดู สายตาและสามารถสร้างความน่าสนใจแกผู้ดใู นกรณีทมี่ ี
การแข่งขนั กับสื่อสงิ่ พมิ พ์อนื่ ๆสาหรบั การจัดหนา้ ภายในหนงั สือน้นั สมัยกอ่ นมักให้ความสาคญั แกห่ น้าขวามอื
หรือหน้าคี่ ได้แก่ 1,3,5,7 ไปตามลาดบั

รูปที่ 2.4 จดุ รวมสายตาอยสู่ ว่ นบนของร่างกายมากกว่าสว่ นล่าง
4.ขนาดของสือ่ สิง่ พิมพ์ ขึน้ อยกู่ ับขนาดของกระดาษเป็นสาคญั จะเหน็ ไดว้ า่ หนังสอื ขนาด 8 หน้า
ยก (7.5 นิว้ *10.25นว้ิ ) ทพี่ มิ พ์ในปัจจบุ นั มีขนาดรปู เลม่ ท่ีแทจ้ รงิ ไม่เท่ากนั ทั้งนี้เนอื่ งจากขนาดของกระดาษท่ี
ใช้พมิ พไ์ ม่เทา่ กนั ไดแ้ ก่ กระดาษขนาด 31 นิว้ *43 น้ิว และกระดาษขนาด 24 นิ้ว *35 น้วิ

รูปที่ 2.5 กระดาษชุดเอ

2.1.4 หลักการออกแบบสงิ่ พมิ พ์
สงิ่ พมิ พ์ท่ีพบเหน็ โดยท่ัวไปประกอบด้วยองคป์ ระกอบสาคญั หลายอย่าง ได้แก่ ตวั อกั ษรหรอื ขอ้ ความ
ภาพประกอบเนอื้ ทวี่ า่ ง และสว่ นประกอบอื่น การออกแบบส่งิ พิมพท์ ต่ี ้องคานึงถงึ การจดั วางองคป์ ระกอบตา่ ง
ๆ ดงั กล่าวเขา้ ด้วยกันโดยใช้หลกั การ ดังนี้

1. ทิศทางและการเคลือ่ นไหว (Direction & Movement) เมอ่ื ผรู้ บั สารมองดูสือ่ สิง่ พมิ พ์ การรบั รู้
เกิดขึ้นเป็นลาดบั ตามการมองเห็น กลา่ วคือ เกดิ ตามการวาดสายตาจากองค์ประกอบหนง่ึ ไปยงั อกี
องคป์ ระกอบหนง่ึ จึงมีความจาเป็นอยา่ งยงิ่ ท่ีจะตอ้ งมีการดาเนินการวางแผน กาหนดและชกั จงู สายตาผู้รบั
สารใหเ้ คลอื่ นไหวในทศิ ทางทถ่ี ูกต้อง ตามลาดับขององค์ประกอบทตี่ ้องการใหร้ บั รู้กอ่ นหลงั โดยทว่ั ไปหากไมม่ ี
การสร้างจุดเด่นขนึ้ มา สายตาของผรู้ บั สารจะมองดหู นา้ กระดาษที่เป็นสอื่ สงิ่ พิมพใ์ นทิศทางทีเ่ ปน็ ตัวอักษร
(Z) ในภาษาอังกฤษ คอื จะเรมิ่ ทม่ี มุ บนดา้ นขวาตามลาดบั การจัดองค์ประกอบท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติการ
มองน้ี เป็นสว่ นชว่ ยใหเ้ กดิ การรบั ร้ตู ามลาดบั ท่ตี อ้ งการ

2. เอกภาพและความกลมกลนื (Unity & Harmony) เอกภาพคอื ความเปน็ อนั หน่งึ อันเดยี วกัน ซง่ึ ในการ
จัดทาเลยเ์ อาตห์ มายถึงการเอาองคป์ ระกอบทแ่ี ตกตา่ งกันมาวางไว้ในพน้ื ที่หนา้ กระดาษเดียวกนั อยา่ งกลมกลืน

ทาหนา้ ทส่ี อดคลอ้ งและสง่ เสริมกนั และกนั ในการส่อื สารความคดิ รวบยอด และบุคลกิ ภาพของสอ่ื ส่งิ พิมพ์นน้ั ๆ
การสรา้ งเอกภาพนสี้ ามารถทาไดห้ ลายวิธีเช่น

รปู ที่ 2.7 การจดั องคป์ ระกอบตามหลกั การการสร้งความตอ่ เนื่องกนั ใหอ้ งคป์ ระกอบ
– การเลอื กใชอ้ งค์ประกอบอย่างสมา่ เสมอ เชน่ การเลอื กใช้แบบตัวอักษรเดียวกนั การเลือกใช้ภาพขาว ดา
ทั้งหมด เปน็ ตน้

รูปที่ 2.8 การจดั องคป์ ระกอบตามหลักการการเลอื กช้องคป์ ระกอบอย่างสมา่ เสมอ
– การสร้างความต่อเนื่องกันให้องค์ประกอบ เช่น การจัดใหพ้ าดหวั วางทบั ลงบนภาพการใชต้ ัวอกั ษรที่เป็น
ขอ้ ความ ล้อตามทรวดทรงของภาพ เปน็ ต้น
– การเวน้ พ้ืนท่ีว่างรอบองค์ประกอบท้ังหมด ซ่ึงจาทาใหพ้ นื้ ทว่ี ่างนน้ั ทาหนา้ ท่ี เหมอื นกรอบสีขาวลอ้ มรอบ
องค์ประกอบท้ังหมดไวภ้ ายใน ช่วยให้องคป์ ระกอบทั้งดเู หมอื นว่าอยู่กันอยา่ งเป็นกลมุ่ เป็นก้อน

รูปท่ี 2.9 การจัดองคป์ ระกอบตามหลักการการเวน้ พนื้ ทว่ี ่างรอบองค์ประกอบทงั้ หมด
3. ความสมดลุ (Balance) หลกั การเร่อื งความสมดลุ นี้เปน็ การตอบสนองธรรมชาติของผรู้ ับสาร ในเรอ่ื งของ
แรงโน้มถว่ ง โดยการจัดวางองคป์ ระกอบทั้งหมดในพน้ื ที่หนา้ กระดาษ จะตอ้ งไม่ขัดกบั ความรสู้ ึกนี้ คอื จะต้องไม่
ดเู องเอียงหรือหนักไปด้านใดดา้ นหนงึ่ โดยไม่มอี งค์ประกอบมาถว่ งในอกี ดา้ น การจดั องคป์ ระกอบใหเ้ กดิ ความ
สมดุลแงได้เป็น 3 ลักษณะคอื
– สมดลุ แบบสมมาตร (Symmetrical Balance) เปน็ การจัดวางองคโ์ ดยใหอ้ งค์ประกอบในดา้ นซา้ ยและ
ด้านขวาพน้ื ท่ีหน้ากระดาษมลี กั ษณะเหมอื นกนั ทงั้ สองข้าง ซงึ่ องคป์ ระกอบทเ่ี หมอื นกันในแตล่ ะดา้ นนจ้ี ะถ่วง
น้าหนกั กันและกนั ให้ความรสู้ กึ สมดุล
– สมดลุ แบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance) เปน็ การจกั วางองคป์ ระกอบโดยให้องคป์ ระกอบใน
ดา้ นซา้ ยและด้านขวาพน้ื ท่ีหนา้ กระดาษมลี กั ษณะไม่เหมอื นกันทง้ั สองข้าง แม้องค์ประกอบจะไม่เหมอื นกันใน
แตล่ ะด้านแตก่ จ็ ะถ่วงนา้ หนักกนั และกนั ใหเ้ กดิ ความสมดลุ
– สมดลุ แบบรศั มี (Radial Balance) เป็นการจดั วางองคป์ ระกอบ โดยใหอ้ งค์ประกอบแผไ่ ปทุกทิศทางจาก
จุดศนู ยก์ ลาง
4. สัดสว่ น (Proportion) การกาหนดสดั สว่ นนี้เปน็ การกาหนดความสมั พนั ธใ์ นเรือ่ งของขนาดซง่ึ มี
ความสมั พันธโ์ ดยเฉพาะในหนา้ กระดาษของสอื่ สง่ิ พิมพท์ ี่ต้องการใหม้ จี ดุ เด่น เช่น หนา้ ปกหนังสือเป็นตน้
เพราะองคป์ ระกอบทม่ี สี ัดสว่ นแตกต่างกันจะดงึ ดดู สายตาไดด้ กี ว่าการใช้องค์ประกอบทั้งหมดในสัดสว่ นที่
ใกล้เคียงกัน ในการกาหนดสัดสว่ นจะตอ้ งกาหนดองคป์ ระกอบท้งั หมดในพ้นื ที่หนา้ กระดาษไปพร้อม ๆ กันว่า
ควรจะเพม่ิ หรือลดองค์ประกอบใดไมใ่ ชค่ ่อย ๆ ทาไปทลี ะองค์ประกอบ
5. ความแตกต่าง (Contrast) เป็นวธิ ีทงี่ ่ายทส่ี ุด โดยการเน้นใหอ้ งคป์ ระกอบใดองคป์ ระกอบหนงึ่ เดน่ ข้ึนมา
ด้วยการเพิ่มขนาดใหญ่กวา่ องคป์ ระกอบอืน่ ๆ โดยรอบ เชน่ พาดหวั ขนาดใหญ่ เป็นต้น ซึง่ โดยธรรมชาตแิ ล้วผู้
ดจู ะเลอื กดูองคป์ ระกอบใหญ่ก่อน
– ความแตกตา่ งโดยขนาด เปน็ วธิ ีการท่ีง่ายทสี่ ด โดยการเน้นใหอ้ งคป์ ระกอบใดองคป์ ระกอบหน่ึง เด่น
ข้ึนมาด้วยการเพมิ่ ขนึ้ มาดว้ ยการเพิม่ ขนาดใหญก่ ว่าองค์ประกอบอ่ืน ๆ โดยรอบ เช่น พาดหัวขนาดใหญ่ เป็น
ตน้ ซ่งึ โดยธรรมชาติแล้วผ้ดู ูจะเลอื กดอู งค์ประกอบใหญก่ ่อน

– ความแตกตา่ งโดยรูปรา่ ง เป็นวิธที ี่เนน้ องคป์ ระกอบใดองคป์ ระกอบหนงึ่ เดน่ ข้นึ มาดว้ ยการใช้รูปรา่ งที่
แตกต่างกันออกไปจากองค์ประกอบอื่นในหนา้ กระดาษ เชน่ การไดต้ ัดภาพคนตามรูปรา่ งของร่างกายแล้ว
นาไปวางทห่ี นา้ กระดาษทมี่ ีภาพแทรกเลก็ ๆ ที่อยู่ในกรอบสเ่ี หล่ียม เปน็ ต้น
– ความแตกตา่ งโดยความเข้ม เป็นวธิ ีการทเี่ น้นให้องค์ประกอบใดองคป์ ระกอบหนง่ึ เด่นข้ึนมาดว้ ยการใช้เพ่ิม
หรอื ลดความเข้มหรือนา้ หนกั ขององคป์ ระกอบนัน้ ให้เข้มหรอื อ่อนกวา่ องคป์ ระกอบอื่น ๆ ท่อี ย่รู วมกนั ใน
หนา้ กระดาษ เชน่ การใช้ตวั อักษรทเ่ี ปน็ ตวั หนาในย่อหน้าทต่ี อ้ งการเน้นเพยี งย่อหนา้ เดยี วในหน้ากระดาษ เปน็
ตน้
6. จงั หวะ ลีลา และการซา้ (Rhythm & Repetition) การจดั วางองค์ประกอบหลาย ๆ ชน้ิ โดยกาหนด
ตาแหน่งใหเ้ กดิ มมี ชี อ่ งวา่ เป็นช่วง ๆ ตอน ๆ อย่างมกี ารวางแผนลว่ งหน้า จะทาใหเ้ กิดลลี าข้นึ และหากว่า
องค์ประกอบหลาย ๆ ชิ้นนัน้ มลี ักษณะซา้ กนั หรอื ใกลเ้ คยี งกัน ก็จะยงิ่ เป็นการเน้นใหเ้ กิดจงั หวะลลี า ได้ชดั เจน
ยิง่ ขนึ้ ลกั ษณต์ รงขา้ มกับแบบแรก จงั หวะและลลี าลักษณะนจ้ี ะกอ่ ให้เกิดความรูส้ ึก ที่ตืน่ เต้นดเู คลื่อนไหวและมี
พลัง

2.2 การผลติ ส่ือสงิ่ พิมพค์ อมพวิ เตอรแ์ บบต้งั โตะ๊
2.2.1 ความหมายของการผลิตสอื่ ส่งิ พิมพ์ด้วยคอมพิวเตอรแ์ บบต้ังโต๊ะ

“การจดั พิมพด์ ว้ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบตงั้ โต๊ะ” เปน็ ศพั ทบ์ ญั ญัติตามหนงั สอื ศัพทค์ อมพิวเตอร์ ฉบบั ราช
บัณฑติ ยสาร พ.ศ. 2538 มาจากคาภาษาอังกฤษว่า “Desktop Publishing” หมายถงึ การใชค้ อมพิวเตอรส์ ่วน
บุคคล (คอมพวิ เตอรฺแบบตง้ั โตะ๊ ) ในระบบการผลติ สงิ่ พิมพ์ดว้ ยตน้ ทุนทไ่ี ม่สงู มากนกั เพ่อื การเรียงพมิ พ์ขอ้ ความ
และภาพกราฟกิ กระบวนการของการจดั พมิ พด์ ้วย คอมพวิ เตอรแ์ บบตั้งโตะ๊ จะประกอบดว้ ยเครื่อง
ไมโครคอมพวิ เตอร์ และโปรแกรมกราฟกิ และเครอื่ งพิมพ์เลเซอร์ เพ่ือผลติ ส่งื พมิ พ์นานาประเภทไดอ้ ยา่ ง
สวยงาม และประหยัด การจดั พมิ พด์ ว้ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบตง้ั โต๊ะนจ้ี ะมีโปรแกรมเฉพาะในการทางาน เชน่
โปรแกรม PageMaker และโปรแกรม QuarkXPress เพื่อการจัดขอ้ ความและภาพกราฟิกให้รวมอย่หู น้า
เดียวกนั ไดอ้ ยา่ งสวยงาม โดยการจดั ส่ิงต่างๆ บนจอภาพใหเ้ รยี บร้อยก่อนทีจ่ ะพิมพล์ งกระดาษดว้ ยเครอ่ื งมอื
พิมพ์เลเซอรท์ ่ีมคี วามคมชดั สงู สามารถใชโ้ ปรแกรมในการจดั ทาส่ิงพมิ พ์ตา่ ง ๆ เช่น จุลสาร จดหมายขา่ ว แผ่น
พับ นามบตั ร หรอื การเตรยี มตน้ ฉบับ นิตยสาร หรือหนงั สอื เพอ่ื ส่งโรงพิมพใ์ ห้ทาฟลิ ม์ หรอื เพลทได้ทันที การใช้

การจัดพมิ พด์ ้วยคอมพวิ เตอรแ์ บบต้งั โต๊ะนจี้ ะได้สง่ิ พิมพ์ทผี่ ลติ ออกมามคี ุณภาพดปี ระหยดั กาลงั คนและสามารถ
ลดข้ันตอนการทางานไดเ้ ป็นอย่างมาก ทาใหป้ ระหยดั เวลาไดเ้ ป็นอยา่ งดี สามารถลดต้นทุนในการผลิต สง่ิ พมิ พ์
ได้มากถงึ 75% โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรือ่ งของความสามารถในการเปล่ียนแปลงเน้ือหาทพ่ี มิ พ์ไวแ้ ล้วได้ทกุ
โอกาส นับวา่ เปน็ จดุ เดน่ สาคญั ของเทคโนโลยกี ารพมิ พป์ ระเภทน้ี และยงั ใหผ้ ู้ใช้โปรแกรมทั่วไปสามารถผลิตสื่อ
สิง่ พมิ พ์บางประเภทไดด้ ้วยตนเอง โดยไม่ต้องจา้ งโรงพมิ พเ์ หมือนเมอื่ ก่อน ด้วยเหตผุ ลดงั กล่าวแลว้ จงึ ทาใหก้ าร
พิมพด์ ้วยคอมพิวเตอรแ์ บบตงั้ โต๊ะเป็นที่นิยมใชก้ ันอยา่ งแพรห่ ลายในนปจั จุบัน
2.2.2 ปจั จยั ทาให้การจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอรแ์ บบตงั้ โต๊ะเป็นที่นิยม
การจดั พมิ พ์ดว้ ยคอมพวิ เตอร์แบบตั้งโตะ๊ ไดร้ ับความนยิ มอยา่ งแพร่หลายรวดเรว็ เนื่องมาจากวัตกรรม
สาคัญ 4 อยา่ ง ได้แก่
1. เครือ่ งคอมพวิ เตอร์มรี าคาถูกลง และมีประสิทธภิ าพในการใชง้ านมากข้ึนโดยเฉพาะด้านการพมิ พ์อกั ษร
และภาพกราฟกิ ไดใ้ นเวลาเดยี วกัน
2. โปรแกรมสาเรจ็ รปู ในการจดั หน้า เช่น PageMaker, QuarkXPressและ Ventura Publisher ไดร้ บั การ
พฒั นาให้มปี ระสทิ ธภิ าพในการทางานสงู มากขึ้นเรื่อย ๆ
3. พฒั นาการทางด้านการพมิ พต์ ัวอักษร เช่น PostScript ทาให้สามารถพมิ พ์ตัวอกั ษรไดส้ วยงามชดั เจน
4. เครอ่ื งพมิ พเ์ ลเซอร์มรี าคาถกู ลง ทาให้ผใู ช้สามารถซอ้ื มาใชง้ านไดม้ ากข้นึ
2.2.3 องค์ประกอบของการจัดพมิ พด์ ้วยคอมพิวเตอรแ์ บบตั้งโต๊ะ

การจัดพมิ พด์ ว้ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบตัง้ โต๊ะประกอบดว้ ยอุปรณ์และวสั ดดุ ังต่อไปนค้ี อื
1. เครอ่ื งไมโครคอมพิวเตอร์

เครอื่ งคอมพิวเตอร์ท่ใี ช้ในการจดั ดพิมพ์ดว้ ยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโตะ๊ สามารถใช้ได้ทั้งเครื่องใน
ระบบ Macintosh และ PC (Personal Computer) แตเ่ ดมิ น้ัน การจัดพมิ พ์ด้วยคอมพวิ เตอร์แบบตั้งโตะ๊ จะ
นิยมใชก้ ับเครอื่ ง Macintosh มากกว่า PC เนอ่ื งจากเคร่ือง Macintosh มีการทางานทง่ี ่ายและสะดวกกวา่
ประกอบกบั มโี ปรแกรมการพมิ พแ์ ละจัดหน้าใหเ้ ลอื กใช้ได้มากกว่า แตใ่ นปัจจุบนั การใช้เครือ่ ง PC
ในการจดั ดพมิ พด์ ้วยคอมพิวเตอรแ์ บบตัง้ โต๊ะกไ็ ด้รบั ความนยิ มมากข้ึน ทั้งนเี้ พราะมีการพฒั นาการทางดา้ น
ระบบปฏิบตั กิ าร Windows รวมทั้งเครือ่ ง PC มีโปรแกรมให้เลือกมาก ๆ พอ กับเคร่อื ง Macintosh
2. โปรแกรมสาเร็จรูปในการจัดหนา้

ในการจดั พมิ พ์ด้วยคอมพิวเตอรแ์ บบตัง้ โต๊ะน้นั ถ้าจะใหส้ งิ่ พมิ พ์มีคณุ ภาพดีแล้ว จะต้องอาศัย
โปรแกรมสาเร็จรูปหลายโปรแกรมประกอบกัน ซึ่งในปจั จบุ นั มีใหเ้ ลือกใช้มากมายหลายโปรแกรม แตล่ ะ
โปรแกรมจะมคี ุณสมบตั ทิ ่แี ตกต่างกนั ไป ได้แก่ โปรแกรมพมิ พ์ขอ้ ความและวาดภาพกราฟิกแบบงา่ ย ๆ
โปรแกรมวาดภาพ โปรแกรมตกแตง่ ภาพถา่ ย และโปรแกรมสาหรบั การจัดหน้า การใชโ้ ปรแกรมสาหรบั เคร่ือง
ไมโครคอมพวิ เตอรจ์ ะต้องดูวา่ เปน็ โปรแกรมสาหรับเครื่อง PC หรือ Macintosh ด้วย ท้งั น้เี พราะโปรแกรมใน
ช่อื หน่ึงอาจจะผลิตออกมาสาหรบั เคร่ืองทง้ั สองระบบ
3. เครอ่ื งพมิ พ์เลเซอร์

เครือ่ งพิมพเ์ ลเซอร์เปน็ เครือ่ งพมิ พค์ วามเรว็ สงู ทใ่ี ชล้ าแสงเลเซอร์ทาให้ตัวอักษรหรอื ภาพรวมตัวกนั

เปน็ จดุ ก่อน แล้วจงึ ใช้การถา่ ยโอนทางไฟฟา้ เพอ่ื พมิ พล์ งบนกระดาษอกี ทีหนึง่ อตั ราความเร็วในการพิมพว์ ัดได้
จากจานวนหน้าที่พมิ พอ์ อกมาในหนงึ่ นาที (Page per minute: ppm) คณุ ภาพของการพมิ พด์ ูจากความ
ละเอียดของจานวนจดุ ในหน่งึ น้วิ (dot per inch: dpi) ตามปกตแิ ลว้ งานพิมพ์ทีจ่ ะมคี ณุ ภาพจะพมิ พด์ ว้ ย
เครอ่ื งพมิ พเ์ ลเซอร์ทมี่ ีความคมชัดในการพมิ พส์ งู ตงั้ แต่ 300-1200 จุดต่อนิว้ หรอื มากกวา่ นัน้ ซึง่ จานวนความ
ละเอยี ดของจุดจะดูได้จากเครอ่ื งพมิ พ์แตล่ ะเครื่องที่ระบไุ วเ้ ช่น 300และ 600 จดุ ต่อจดุ เปน็ ต้น

หน่วยที่ 3
การจดั รูปแบบและจดั หน้าส่ือส่งิ พมิ พ์
บทนา
การจัดรูปแบบการจัดหน้าสอื่ สงิ่ พมิ พ์ เป็นการจัดองค์ประกอบต่างๆในหนา้ ทสี่ ่ือสง่ิ พมิ พ์ให้มีความ
สมบรู ณต์ รงกับวตั ถุประสงค์ในการผลติ ไดแ้ ก่ การเลอื กรปู แบบตัวอักษร สตี ัวอักษร ชนดิ ของกระดาษ ขนาด
กระดาษ การตั้งค่าหนา้ กระดาษ การกาหนดตาแหน่งภาพ ตาแหนง่ ข้อความ และวสั ดุในการผลิตสอื่ สง่ิ พิมพ์
รปู แบบของส่อื ส่ิงพมิ พ์ที่มคี วามหลากหลายตามลกั ษณะการใชง้ าน สง่ ผลใหก้ ารเลือกวสั ดทุ ใี่ ช้ในการผลิต
แตกต่างกันออกไป การจดั รูปแบบและจัดหนา้ สื่อส่ิงพมิ พจ์ งึ เปน็ ขั้นตอนทีส่ าคัญในการผลิตส่ือสิง่ พมิ พ์
3.1 รปู แบบของส่อื สงิ่ พมิ พ์
ส่อื ส่ิงพมิ พใ์ นปัจจบุ ันมหี ลากหลายรปู แบบ ด้วยเทคโนโลยแี ละเคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ้ นการผลติ ส่อื ส่งิ พมิ พ์ท่ี
ทนั สมยั การพมิ พจ์ งึ ไมใ่ ช่การพมิ พบ์ นวัตถทุ เ่ี ปน็ กระดาษเพยี งอยา่ งเดียวแตร่ วมถงึ วัตถุอนื่ ๆมากมายเพื่อ
ตอบสนองตอ่ ความต้องการของผู้ทใี่ ชต้ ่างกนั ในการผลิตส่ือสง่ิ พมิ พ์ให้ได้ตามรูปแบบทีต่ ้องการเมาะสมกบั การ
ใช้งานจะขนึ้ อย่กู ับข้ันตอนในการผลิตสอื่ ส่ิงพมิ พใ์ ห้ได้รปู แบบทตี่ อ้ งการในการผลติ สอื่ สง่ิ พิมพ์ตง้ั แต่เร่มิ ตน้ จน
สนิ้ สดุ ไดแ้ ก่ การกาหนดวตั ถปุ ระสงคใ์ นการผลิตส่ือสง่ิ พมิ พว์ ่าจะผลติ เพอ่ื อะไรเหมาะสมกบั ใครวัยใดคานงึ ถงุ
รปู แบบของเลเอาต์ การจัดองคป์ ระกอบในสอ่ื ส่งิ พมิ พ์ การจดั ตาแหนง่ ขอ้ ความ ตาแหน่งรูปภาพ ประเภทการ
พมิ พ์ วัตถทุ ี่ใชใ้ นการพิมพเ์ ชน่ กระดาษ พลาสติก โลหะ เป็นต้น ส่ือสง่ิ พมิ พจ์ งึ มีรปู แบบที่หลากหลายและ
แตกต่างดงั น้ี
3.1.1 สื่อส่งิ พมิ พ์เชงิ พาณิชย์
ส่อื สงิ่ พิมพ์เชงิ พาณชิ ย์เป็นสอ่ื สง่ิ พิมพท์ ี่นยิ มใช้ในวงการธุรกจิ ทางดา้ นการตลาด การตดิ ตอ่ ซือ้ ขาย
การโฆษณาและประชาสมั พันธเ์ ช่น หนังสอื นามบัตร โบว์ชวั ร์ เป็นต้น

รูปที่ 3.1 ส่อื สิ่งพมิ พร์ ปู แบบ สอื่ สง่ิ พิมพเ์ ชงิ พาณิชย์

3.1.2 สอ่ื สิ่งพมิ พ์รปู แบบบตั รพลาสตกิ (PlasticCard)
บัตรพลาสตกิ เปน็ ส่อื สงิ่ พมิ พส์ าหรับงานทต่ี อ้ งการความแตกตา่ งและปอ้ งกนั การปลอมแปลง

รูปท่ี 3.2 สือ่ สง่ิ พมิ พ์รปู แบบบัตรพลาสติก
3.1.3 ส่ือสงิ่ พิมพร์ ปู แบบเครือ่ งเขียน (Stationery)

ส่ือสง่ิ พมิ พใ์ นรูปแบบของเครอื่ งเขยี นมีท้งั ที่เหมาะสมกบั นกั เรยี นคนทางาน และคนท่วั ไปเคร่ืองเขยี น
ทีผ่ ลติ เพ่ือจาหน่ายเนน้ ทกี่ ารใช้ประโยชนค์ วามสวยงาม และความแปลกใหม่ของสนิ ค้า

สมดุ โนต้

ออกาไนเซอร์

กระดาษโนต้

แผ่นรองเมาส์
รปู ท่ี 3.3 สื่อส่ิงพมิ พร์ ปู แบบเครอ่ื งเขยี น
3.1.4 ส่อื สิง่ พมิ พร์ ปู แบบบรรจุภัณฑ์ (Packaging)
บรรจุภัณฑ์เพ่ือสร้างมูลคา่ ใหก้ ับตวั สินค้าด้วยรปู แบบท่หี ลากหลาย

กลอ่ งพลาสตกิ

กลอ่ งกระดาษ
รูปท่ี 3.4 สอื่ สิ่งพมิ พร์ ูปแบบของบรรจุภณั ฑ์
3.1.5 ส่อื สงิ่ พมิ พร์ ปู แบปฏิทิน(Calender)
ปฏิทินมีรปู แบบท่ีเป็นแบบปฏทิ ินตง้ั ตัง้ โต๊ะ ปฏทิ นิ แขวน ปฏิทนิ พกพา และตารางเวลารอบปี

ปฏทิ นิ ต้งั โต๊ะ

ตารางเวลารายปี

ปฏิทนิ พก

ปฏิทนิ แขวน
รูปท่ี 3.5 ส่อื สงิ่ พิมพร์ ปู แบบปฏทิ ิน
3.1.6 ส่ือส่งิ พิมพร์ ูปแบบของพรเี มีย่ ม (Premium)
ส่อื สง่ิ พมิ พร์ ปู แบบของพรเี ม่ยี มเป็นสอ่ื ส่ิงพมิ พท์ ี่ตอ้ งใชเ้ ทคนคิ พเิ ศษและวสั ดหุ ลากหลายเพ่ือสรา้ ง
ความน่าสนใจใช้เก็บเป็นของสะสมหรอื ใช้ในลกั ษณะสอ่ื ประชาสัมพนั ธ์

ของเล่นโฟม

กระดานเกม
รปู ที่ 3.6 สอ่ื ส่ิงพมิ พร์ ปู แบบของพรเี ม่ยี ม
3.1.7 สอื่ สง่ิ พมิ พร์ ูปแบบของเล่น (Toye)
สื่อสง่ิ พมิ พ์รปู แบบของเล่นเป็นสอ่ื สง่ิ พมิ พท์ ่ีใช้ความคิดสรา้ งสรรค์และการออกแบบในการสร้างเกมส์
เพื่อใหเ้ ด็กเลน่ และเรยี นรจู้ ากสัมผสั ซึง่ ใชว้ ัสดุที่ปลอดภยั สาหรบั เด็ก

กระดานเกม

สตกิ๊ เกอรแ์ ทตทู
รูปท่ี 3.7 สื่อสิง่ พมิ พร์ ูปแบบของเล่น

3.1.8 สื่อส่ิงพมิ พ์รปู แบบปา้ ยโฆษณา (Display)
ปา้ ยโฆษณาเพือ่ เผยแพรท่ โฆษณาประชาสมั พนั ธข์ า่ วสาร สนิ ค้า และบรกิ ารต่างๆปา้ ยโฆษณาทน่ี ยิ มใชใ้ น
ปจั จุบนั ได้แก่ โปสเตอร์ ธงโฆษณาสนิ ค้าปา้ ยชนิดหมนุ ไปมา

โปสเตอร์

ที่แขวนหมุนไปมา
รูปที่ 3.8 สอ่ื สงิ่ พมิ พ์แบบปา้ ยโฆษณา

3.2 การจดั หน้าส่ือส่ิงพมิ พ์
การจดั หน้าสอ่ื สงิ่ พิมพ์ เป็นการกาหนดจัดวางตาแหน่งของขอ้ ความและรปู ภาพใหอ้ ยู่ในตาแหนง่ ที่

เหมาะสมตามรปู แบบของการจดั หนา้ ส่อื ส่งิ พมิ พ์
3.2.1 รปู แบบการจดั หน้าสอื่ สง่ิ พิมพ์

1.รปู แบบการจดั หนา้ แบบแบ่งออกเป็นส่วน คือ การแบ่งหน้าออกเป็น 4 ส่วนโดยใช้เส้นตามรอยพบั
ครึ่งตามแนวนอนและแนวตั้งแตล่ ะส่วนมจี ดุ สาคัญในตัวเอง ใหด้ ้านซึง่ อยตู่ รงขา้ มกนั ตามเส้นทแยงมมุ มคี วาม
สมดลุ

รูปที่ 3.9 รปู แบบการจดั หน้าแบบแบง่ ออกเปน็ สว่ น
2.รูปแบบการจัดหนา้ แบบสมดลุ เป็นการจดั สว่ นประกอบในหน้ากระดาษ เช่น หัวเร่ืองภาพ
ล้อมรอบ เนอ้ื เรือ่ งจะใหอ้ ยใู่ นตาแหนง่ สมดลุ เปน็ ตน้ ซง่ึ สามารถแบ่งออกไดด้ งั น้ี

(1) รปู แบบสมรปู คอื การสมดุลแบบซ้ายขวาเท่ากัน

รปู ท่ี3.10 รปู แบบการจดั หนา้ แบบสมรปู

(2) รูปแบบอสมรูป คือ การสมดลุ แบบซา้ ยและขวาไมเ่ ทา่ กนั

รปู ท่ี 3.11 รูปแบบการจดั หนา้ แบบอสมรปู
3. รูปแบบการจัดหน้าตามแนวนอน (Horizontal) คือการวางหวั เรื่องหลายๆคอลมั น์ตาม

ขวางของหน้ากระดาษเน้ือหาสว่ นใหญ่จะจดั เป็นคอลมั น์ส้นั ๆเขา้ กันภายใต้หัวเรอื่ ง
4.รปู แบบการจดั หน้าตามแนวติง่ (Vertical) หรือตามความยาวของคอลัมนเ์ น้อื หาเรียงตามเปน็
ความยาวของคอลมั นภ์ ายใตห้ วั ขอ้ นัน้ ๆ

รปู ที่ 3.13 รปู แบบการจดั หน้าตามแนวดง่ิ
5.รูปแบบการจดั หน้าตามความนิยม
(1) แบบมอนเตรยี น (Mondrian) มจี ุดเด่นท่ีมกี ารนารปู ทรงเลขาคณิตมาประกอบใหเ้ ป็นสดั สว่ น นิยมใช้
รปู ทรงเนอื้ ที่แบบส่ีเหล่ียมผืนผา้

รปู ท่ี 3.14 รูปแบบการจัดหนา้ แบบมอนเดรียม

(2)แบบการเน้นภาพ (Picture window Layout) เป็นแบบท่ีนิยมใช้กนั มากโดยมจี ดุ เดน่ อยู่ทีภ่ าพเพราะ
เปน็ การใช้ภาพทีม่ ีขนาดใหญเ่ พยี งภาพเดียวโดยกินเนอ้ื ทีเ่ กอื บทั้งหมดและมขี อ้ ความเกอื บเลก็ น้อยอยเู่ บอื้ งล่าง
ซง่ึ คลา้ ยกบั การจ้องมองไปทห่ี นา้ ตา่ งและมองบนภาพ

รูปที่ 3.15 รูปแบบการจัดหนา้ แบบการเนน้ ภาพ
(3) แบบเน้อื กรอบภาพ เปน็ การนาสว่ นประกอบต่างๆวางไว้ภาพใตก้ รอบภาพเพอื่ ใหร้ ู้วา่ เปน็ เรือ่ งราวของ
ช้ินงาน

รูปท่ี 3.16 รปู แบบการจดั หนา้ แบบเนน้ กรอบภาพ
(4) แบบตัวอักษรใหญ่ (Big Type Layout) จัดหน้าโดยนาภาพท่ผี ู้อา่ นสงสัยเพ่อื จะได้แสวงหาคาตอบ
เกย่ี วกับสง่ิ ทีเ่ สนอ

รปู ที่ 3.17 รูปแบบการจดั หนา้ แบบตัวอักษรใหญ่

(5) แบบละครสตั ว์ (Circus Layout) เป็นการจดั วางหน้าสงิ่ พมิ พต์ ามทผ่ี ู้ออกแบบเห็นว่ามีความสวยงาม
ด้วยการบรรจสุ งิ่ ต่างๆเขา้ ด้วยกันโดยวางกระจดั กระจายระเกะระกะเหมือนละครสตั ว์ทม่ี สี ตั ว์หลายชนดิ อยู่
ด้วยกัน

รูปท่ี 3.18 รปู แบบการจัดหน้าแบบละครสัตว์
(6) แบบชอ่ งแถบซอ้ น (Multipanel Layout) เปน็ การวางหนังสอื การต์ ูนท่ีแบง่ เปน็ ช่องๆ และมขี ้อความ
แทรกไวใ้ ตภ้ าพหรอื แจ้งเรื่องราวอย่างตอ่ เนื่อง

รูปท่ี 3.19 รปู แบบการจัดหน้าแบบช่องแถบซ้อน
(7) แบบเข้าโค้งเงาทึบ (Silhouette Layout) การจัดหนา้ โดยการคานึงถงึ เงาเคา้ โครงของภาพวตั ถทุ ี่ต้อง
นามาวางบนงานพมิ พโ์ ดยมสี ่วนประกอบอืน่ ๆ เปน็ องคป์ ระกอบ

รูปท่ี 3.20 รปู แบบการจดั หนา้ แบบเค้าโครงเงาทบึ

3.2.2 การเตรยี มข้อมูลเพ่อื จัดหนา้ สือ่ สง่ิ พมิ พ์
การเตรยี มขอ้ มลู เพ่อื จัดหน้าสอ่ื สง่ิ พมิ พป์ ระกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดงั นี้
1.เตรียมสว่ นประกอบต่างๆ สอื่ สงิ พิมพ์จะมีส่วนประกอบหลายอย่างเพือ่ นามาจดั วางใน

หนา้ กระดาษในขนั้ ตอนนจ้ี งึ เป็นการจดั เตรียมข้อมลู เช่น พมิ พ์เน้ือหาเรอื่ งราวเตรียมภาพและส่วนปรกอบทห่ี า
เพ่มิ เตมิ หรอื จากแฟม้ ท่มี อี ยู่ วาดประกอบภาพเตรยี มแผนภมู หิ รอื สถติ ิต้องใช้เปน็ ตน้ สงิ่ เหลา่ นจี้ ะต้องทางาน
จัดเตรยี มใหเ้ รยี บรอ้ ยเสยี กอ่ นทจี่ ะทางานกบั โปรแกรม

2. จัดวางข้อความและภาพ จะเปน็ การใช้โปรแกรมสาเรจ็ รปู ในการผลิตสอื่ สง่ิ พิมพโ์ ปรแกรม
สาเรจ็ รูปท่นี ยิ มใช้ ได้แกโ่ ปรแกรมอะโดบเี พจเมกเกอร์โปนแกรมอะโดบอี นิ ดีไซตโ์ ดยอาจจะใช้แม่แบบ เชน่
แผน่ พบั ปกเทป เป็นต้น เพอ่ื นาส่วนประกอบทเี่ ตรยี มไว้ใสล่ งในแมแ่ บบหรือจะสรา้ งหน้ากระดาษขึ้นขน้ึ ใหม่
โดยจัดขอบว่างตามขนาดทก่ี าหนดไว้ มเี ส้นแนวในการจัดวางขอ้ ความและภาพเมอ่ื กาหนดตาแหน่งหน้า
สิ่งพมิ พเ์ รียบร้อยแล้วจงึ ทาการจดั วางข้อความภาพรวมถงึ สว่ นประกอบอ่ืนๆทเ่ี ตรยี มไว้แร้วลงในหนา้ สื่อ
สง่ิ พมิ พ์ตามกาหนด

3.ปรบั แตง่ สอื่ สิง่ พิมพ์ ได้แก่ การปรบั แต่งรายละเอียดต่างๆเช่นปรับระยะหา่ งระหว่างไมบ้ รรทัด จัด
ยอ่ หนา้ ขอ้ ความ จัดแต่งหวั เร่ืองโดยอาจเปล่ยี นแบบอักษรหรอื ขนาดใหมใ่ หเ้ หมาะสมการตกแต่งสขี อ้ ความ
เปน็ ต้น เพ่ือใหไ้ ด้สื่อสง่ิ พมิ พ์ทส่ี วยงาม

4. จัดทาสารบัญและดชั นี ในกรณีทเ่ี น้ือหาจัดการพิมพ์มเี นื้อหามากควรอานวยสะดวกแก่ผอู้ า่ นดว้ ย
การทาสารบัญและดัชนเี พื่อช่วยในการอา่ นและบางคร้งั อาจอาจมรี ายการตารางและรายการภาพประกอบเพอ่ื
ความละเอยี ดยงิ่ ขึ้นและจากทจี่ ัดแตง่ หนา้ กระดาษสือ่ สง่ิ พิมพเ์ รียบรอ้ ยแลว้ ถา้ ผจู้ ดั ทามีเครอื่ งพิมพเ์ ลเซอรห์ รือ
เครอื่ งพิมพพ์ น้ หมกึ ก็สามารถผลติ ส่ือส่งิ พิมพ์น้นั ได้แตถ่ ้าเปน็ การผลติ จานวนมากก็จาเปน็ ต้องสง่ ตน้ ฉบบั ที่
จดั ทาไปโรงพมิ พ์เพอ่ื จัดพมิ พ์ตอ่ ไป
สรปุ สาระสาคญั

รปู แบบของสือ่ สงิ่ พมิ พใ์ นปจั จบุ ันมหี ลากหลายเพอื่ ให้ผู้ใช้และผอู้ า่ นสามารถเลือกไดต้ ามความต้องการ
สื่อสง่ิ พิมพ์แตล่ ะชนดิ มคี วามน่าสนใจดงึ ดูดใจท่ีแตกตา่ งกนั ข้ึนอยกู่ บั รปู แบบการออกแบบใหเ้ หมาะสมกับการ
ใชง้ านบางชนิดมีรปู แบบเป็นเลม่ ขนาดใหญ่ เลม่ ขนาดเลก็ เปน็ แบบใบเดยี วมคี วามแตกต่างกันในการเลือกใช้
วตั ถใุ นการผลิต เช่น ผลติ จากกระดาษ พลาสติด โลหะ ยางเปน็ ต้น

การจดั รูปแบบตัวอักษรและการพิมพ์ มคี วามสาคญั ต่อการจดั การส่ือสงิ่ พิมพเ์ พราะส่อื ส่ิงพิมพ์แตล่ ะ
ประเภทมีการใช้พมิ พ์และตัวอกั ษรทีแ่ ตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ ลกั ษณะตัวอกั ษร ขนาดตัวอกั ษร ตาแหน่งตวั อักษร การ
จัดตาแหนง่ ขอ้ ความ ผผู้ ลิตส่อื สงิ่ พมิ พ์ควรพจิ ารณาตัวอักษรใหม้ ีความเหมาะสม นอกจากใหค้ วามสาคญั
ตวั อักษรและตวั พมิ พแ์ ลว้ ในการจัดหนา้ ส่ือสงิ่ พมิ พก์ ็เปน็ สิง่ ท่ีทาใหส้ ่ิงพมิ พ์มีความแตกต่างกนั และดงึ ดูดใจ
ผอู้ า่ นได้หลากหลายกลุม่ รปู แบบการจัดหน้าส่ือสง่ิ พมิ พม์ หี ลายรปู แบบเพอ่ื ให้ผผู้ ลติ ไดเ้ ลอื กใชเ้ หมาะสมกับ
งาน ไดแ้ ก่ รปู แบบการจดั หน้าออกเปน็ สว่ นการจัดหนา้ แบบสมดุลรปู แบบสมดลุ รูปแบบอสมรปู การจดั หน้า
ตามความนิยมมอนเดรียม แบบการเนน้ ภาพ แบบเนน้ กรอบภาพ แบบตัวอกั ษรใหญ่ แบบละครสัตว์ แบบช่อง
แถบซอ้ น แบบเค้า

โครงเงาทบึ การจัดหนา้ ตามแนวนอน การจัดหน้าตามแนวดงิ่ ผู้ผลติ สอ่ื สงิ่ พมิ พส์ ามารถนาความรู้ ความเขา้ ใจ
ในการจัดรูปแบบและจัดหน้าส่อื สง่ิ พิมพม์ าใชผ้ ลิตส่ือสง่ิ พิมพไ์ ด้ตรงวัตถุประสงค์และคณุ ภาพ

หน่วยท่ี 4
สีในสอ่ื สิง่ พมิ พ์
บทนา
สี เป็นส่ิงที่ปรากฏอยบู่ นโลก ทกุ ๆส่งิ ทเี่ รามองเห็นรอบๆตวั นั้น ล้วนแตม่ สี ี โลกของเราถูกจรรโลง และ
แตง่ แต้มดว้ ย สีสันหลายหลาก ทง้ั สสี นั ตามธรรมชาติ และสที ี่มนุษย์รงั สรรค์ข้ึน หากโลกนไี้ มม่ สี ี หรือมนุษย์ไม่
สามารถ รบั รเู้ กี่ยวกบั สีได้ ส่ิงน้นั อาจเปน็ ความพกพร่องทย่ี ง่ิ ใหญ่ของธรรมชาติ เพราะสมี ีความสาคัญตอ่ วฏั
จกั รแห่งโลก และเกย่ี วขอ้ งกับ วิถีชีวติ มนษุ ย์ จนแยกกันไมอ่ อก เพราะมนุษย์ไดต้ ระหนกั แลว้ วา่ สีนั้นสง่ ผลตอ่
ความรูส้ กึ นึกคิด อารมณ์ จินตนาการ การสอื่ ความหมาย และความสขุ สาราญใจในชวี ิตประจาวันมาช้านานแล้ว
ดงั นนั้ จึงอาจกล่าวได้ว่า สี มอี ิทธิพลตอ่ มนษุ ยเ์ ราเปน็ อยา่ งสงู และมนุษย์ก็ใชป้ ระโยชน์ จากสีอย่าง เอนกอนนั ต์
ในการสรา้ งสรรค์ สงิ่ ตา่ งๆอยา่ งไมม่ ที ส่ี ้นิ สุด
4.1 ความรู้เบ้อื งต้นเกย่ี วกับสี
1. ความหมายและการเกิดสี
คาว่า สี (Colour) ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน หมายถงึ ลกั ษณะของแสง ท่ปี รากฏแก่
สายตาเรา ใหเ้ หน็ เป็น สีขาว ดา แดง เขยี วฯลฯหรือการสะท้อนรัศมีของแสงมาสูต่ าเราสี ท่ีปรากฏในธรรมชาติ
เกิดจากการสะทอ้ นของแสงสว่าง ตกกระทบ กบั วัตถุแล้ว เกดิ การหกั เหของแสง ( Spectrum ) สเี ป็นคลน่ื
แสงชนดิ หนึ่ง ซง่ึ ปรากฏใหเ้ หน็ เมือ่ แสงผา่ นละอองไอนา้ ในอากาศ หรอื แทง่ แกว้ ปริซมึ ปรากฏเปน็ สตี ่างๆ
รวม 7 สี ไดแ้ ก่ สแี ดง ม่วง ส้ม เหลือง นา้ เงิน คราม และเขยี ว เรยี กว่า สรี งุ้ ทป่ี รากฏบนทอ้ งฟา้ ตามธรรมชาติ
ในแสงนัน้ มีสีตา่ งๆรวมกนั อยูอ่ ย่างสมดลุ ย์เป็น แสงสขี าวใส เมื่อแสงกระทบ กับสขี องวตั ถุ ก็จะสะทอ้ นสีวตั ถุ
นน้ั ออกมาเขา้ ตาเรา วัตถุสีขาวจะสะทอ้ นได้ทกุ สี ส่วนวัตถสุ ีดานั้น จะดูดกลนื แสงไว้ ไม่สะท้อนสีใด ออกมา
เลย

ศิลปะการใช้สี
2. ประเภทของสี

สี มอี ยทู่ ัว่ ไปในสงิ่ แวดลอ้ มรอบๆตวั เรา สีทป่ี รากฏอยู่ในโลกสามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภทใหญ่ๆ
คือ

· 2.1 สที ่เี กิดในธรรมชาติ มีอยู่ 2 ชนิดคือ
ก. สที เ่ี ปน็ แสง ( Spectrum ) คือ สที เ่ี กดิ จากการหักเหของแสง เชน่ สรี งุ้ สจี ากแทง่ แกว้ ปรซิ ึม

สที ี่เปน็ แสง
ข. สีท่ีอย่ใู นวัตถุ หรือเนอ้ื สี ( Pigment ) คือ สที ีม่ ีอยใู่ นวัตถุธรรมชาติทัว่ ไป เชน่ สีของพืช สตั ว์ หรอื แร่ธาตุ
ตา่ งๆ

สที ี่มนษุ ยส์ ร้างข้ึน
· 2.2 สีที่มนษุ ยส์ รา้ งข้นึ คอื สีท่ีได้จากการสงั เคราะห์ เพ่ือใช้ประโยชนใ์ นงานต่างๆ เชน่ งานศิลปะ
อุตสาหกรรม การพาณชิ ย์ และในชีวติ ประจาวนั โดยสงั เคราะหจ์ ากวสั ดธุ รรมชาติ และจากสารเคมี ทเ่ี รียกวา่
สวี ทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ สที ี่ได้จาก การสงั เคราะหส์ ามารถนามาผสมกัน ให้เกิดเป็น สีตา่ งๆอกี มากมาย

สีที่มนษุ ย์สร้างขึ้น

3. การรบั รู้เรือ่ งสี (Colour Perception)
· การรับร้ตู อ่ สขี องมนษุ ย์ เกิดจากการมองเหน็ โดยใชต้ า เปน็ อวยั วะรบั สัมผสั ตาจะตอบสนองตอ่ แสงสี
ต่างๆ โดยเฉพาะแสงสวา่ ง จากดวงอาทิตย์ และจากดวงไฟ ทาให้มองเหน็ โดยเรมิ่ จากแสงสะท้อนจากวตั ถุ
ผ่านเข้านัยน์ตา ความเข้มของแสงสว่าง มผี ลต่อ การเหน็ สี และความคมชดั ของวตั ถุ หากความเขม้ ของแสง
สว่างปรกติ จะทาให้มองเหน็ วตั ถชุ ดั เจน แตห่ ากความเข้มของแสงสวา่ งมนี อ้ ย หรอื มดื จะทาใหม้ องเห็นวัตถุ
ไม่ชัดเจน หรอื พร่ามัว นักวิทยาศาสตร์ได้เคยทา การศกึ ษาเกีย่ วกับ ความไวในการรับร้ตู ่อสีต่างๆของมนุษย์
ปรากฏวา่ ประสาทสัมผัสของมนษุ ย์ ไวตอ่ การรบั รู้สีแดง สเี ขยี ว และสีมว่ งมากกวา่ สีอนื่ ๆ ส่วนการรับรขู้ องเดก็
เกยี่ วกับสนี ้นั เด็กสว่ นใหญ่ จะชอบภาพ ท่มี สี ีสะอาดสดใส มากกว่า ภาพขาวดา ชอบภาพหลายๆสีมากกวา่ สี
เดียว และชอบภาพทีเ่ ปน็ กลมุ่ สรี อ้ นมากกว่าสเี ย็น (โกสมุ สายใจ, 2540) ตาของคนปกตจิ ะสามารถ แยกแยะ
สตี า่ งๆได้ถกู ต้อง แตห่ ากมองเหน็ สีนน้ั ๆเปน็ สอี ่ืนท่ผี ดิ เพี้ยนไป เรียกว่า ตาบอดสี เชน่ เหน็ วัตถุสแี ดง เป็นสอี ืน่
ที่มิใช่สีแดง กแ็ สดงว่า ตาบอดสแี ดง หากเหน็ สนี ้าเงินผดิ เพยี้ น แสดงวา่ ตาบอดสนี ้าเงนิ เป็นต้น ซงึ่ ตาบอดสี
เป็นความบกพร่องทางการมองเห็นอยา่ งหนงึ่ บคุ คลใดทตี่ าบอดสีกจ็ ะเป็นอปุ สรรคตอ่ การทางานบางประเภท
ได้ เช่น งานศลิ ปะ งานออกแบบ การขบั รถ ขบั เครื่องบนิ งานดา้ นวิทยาศาสตร์ เปน็ ตน้
4. จิตวทิ ยาสกี บั ความรู้สึก ( Psychology of Colour)

ในดา้ นจติ วิทยา สี เปน็ ตวั กระตุ้นความรูส้ กึ และมผี ลต่อจติ ใจของมนุษย์ สีต่างๆจะให้ความรสู้ ึกที่
แตกตา่ งกัน ดังนน้ั เราจงึ มักใชส้ เี พ่ือส่อื ความรสู้ กึ และความหมายต่างๆ ไดแ้ ก่

▪ สีแดง ใหค้ วามรสู้ ึกเรา่ รอ้ น รุนแรง อนั ตราย ต่ืนเตน้
▪ สีเหลือง ให้ความรสู้ กึ สว่าง อบอ่นุ แจ่มแจง้ รา่ เริง ศรทั ธา ม่ังคั่ง
▪ สีเขยี ว ให้ความรสู้ กึ สดใส สดช่นื เยน็ ปลอดภยั สบายตา มงุ่ หวัง
▪ สีฟ้า ใหค้ วามรสู้ กึ ปลอดโปลง่ แจม่ ใส กวา้ ง ปราดเปรอื่ ง
▪ สมี ่วง ใหค้ วามรสู้ ึก เศรา้ หมน่ หมอง ลกึ ลับ
▪ สดี า ใหค้ วามรู้สกึ มดื มดิ เศรา้ นา่ กลวั หนักแน่น
▪ สีขาว ให้ความรสู้ กึ บริสทุ ธ์ิ ผุดผอ่ ง ว่างเปลา่ จดื ชืด
▪ สีแสด ใหค้ วามรสู้ กึ สดใส รอ้ นแรง เจดิ จา้ มีพลงั อานาจ
▪ สีเทา ใหค้ วามรู้สกึ เศรา้ เงียบขรมึ สงบ แกช่ รา
▪ สนี ้าเงนิ ใหค้ วามรู้สกึ เงียบขรมึ สงบสขุ จรงิ จงั มสี มาธิ
▪ สีนา้ ตาล ให้ความรสู้ ึก แหง้ แลง้ ไมส่ ดชน่ื น่าเบอื่
▪ สีชมพู ให้ความรสู้ ึก ออ่ นหวาน เป็นผหู้ ญงิ ประณตี รา่ เรงิ
▪ สที อง ให้ความรสู้ กึ มง่ั ค่ัง อุดมสมบรู ณ์
5. คุณลกั ษณะของสี (Characteristics of Colours)
ในงานศลิ ปะ สี นบั เป็นองคป์ ระกอบพื้นฐานทีม่ คี วามสาคญั มาก โดยเฉพาะในงานจติ รกรรม สถี อื เป็น
ปัจจยั สาคญั ท่ชี ว่ ยใหศ้ ลิ ปนิ สามารถสร้างสรรคผ์ ลงานไดต้ ามเจตนารมณ์ ซ่ึงคณุ ลกั ษณะของสีในงานศลิ ปะท่ี
ต้องนามาพจิ ารณามีอยู่ 3 ประการ คอื

5.1 สแี ท้ (Hue) หมายถงึ ความเป็นสนี ั้นๆ ทม่ี ิได้มีการผสมใหเ้ ข้มข้ึน หรือจางลง สีแทเ้ ป็นสใี นวงจรสี
เชน่ สแี ดง นา้ เงนิ เหลือง สม้ เขยี ว ม่วง ฯลฯ

สแี ท้
5.2 น้าหนักของสี ( Value) หมายถงึ ค่าความออ่ นแก่ หรอื ความสว่างและความมืด ของสี โดย
แบง่ เปน็ 2 ลกั ษณะคอื
5.2.1 สแี ท้ถูกทาให้ออ่ นลงโดยผสมสีขาว เรียกวา่ สนี วล (Tint)
5.2.2 สีแทถ้ ูกทาใหเ้ ข้มขึน้ โดยผสมสดี า เรียกว่า สีคล้า (Shade)
5.3 ความจดั หรอื ความเข้มของสี (Intensity) หมายถงึ ความสดหรือความบรสิ ทุ ธข์ิ องสีๆหนงึ่ ท่ีมิได้
ถูกผสมใหส้ ีหม่นหรอื อ่อนลง หากสีน้ันอยทู่ า่ มกลางสีทม่ี นี า้ หนกั ต่างคา่ กันจะเห็นสภาพสีแทส้ ดใสมากขึ้น เชน่
วงกลมสีแดง บนพนื้ สีนา้ เงินอมเทา

ความจัดหรอื ความเข้มของสี
5.4 คา่ ความเป็นสกี ลาง (Neutral) หมายถงึ การทาให้สแี ทท้ ่ีมีความเขม้ ของสนี น้ั หมน่ ลง โดยการ
ผสมสตี รงขา้ ม เรียกว่า การเบรกสี เชน่ สีแดงผสมกบั สเี ขียว หรือผสมดว้ ยสีที่เป็นกลาง เชน่ สเี ทา สีน้าตาล
ออ่ น สีครีม และขาว เพือ่ ลดความสดของสแี ทล้ ง
6. หน้าที่ของสี
สีมีคณุ ประโยชน์ต่อโลก และ มนุษย์เรารจู้ ักการใช้สมี าชา้ นาน
6.1 สีทีม่ ีอยู่ในธรรมชาติ เป็นปรากฏการณ์ท่ธี รรมชาติสร้างข้ึนมาเพื่อแสดงถงึ ความเป็นไป ของสง่ิ ทมี่ ี
อยูบ่ นโลก ซง่ึ สจี ะเป็นตัวบง่ บอก สง่ิ ต่างๆ ไดแ้ ก่

• ความเปลย่ี นแปลง หรอื วิวฒั นาการ ของธรรมชาติ หรอื วัตถธุ าตุ เมือ่ กาลเวลาเปล่ยี นไป สอี าจกลาย
สภาพจากสีหนงึ่ ไปเปน็ อีกสีหนงึ่ เช่น การเปลี่ยนสีของใบไม้

• ความแตกต่างของชนดิ หรอื ประเภทของวตั ถุธาตุ ไดแ้ ก่ สขี องอญั มณี เช่น แรไ่ พลนิ มสี ีนา้ เงนิ แร่
มรกตมสี ีเขียว แร่ทบั ทมิ มีสแี ดง เป็นตน้

• แบ่งแยกเผา่ พนั ธ์ุของส่ิงมชี วี ิต ไดแ้ ก่ สผี ิวของมนุษย์ทตี่ ่างกนั เชน่ คนยโุ รปผิวขาว คนเอเซยี ผิวเหลอื ง
และคนอาฟรกิ นั ผวิ ดา ดอกไม้ หรอื แมลงมสี หี ลากสี ข้นึ อยกู่ บั ชนิดและเผ่าพันธุ์ของมนั
6.2 สีในงานศิลปะ ทาหนา้ ที่ เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ทท่ี าให้งานศิลปะช้นิ น้ันมีคุณค่าทางสุนทรียะ

หนา้ ทีห่ ลกั ของสใี นงานศลิ ปะ คอื

• ใหค้ วามแตกต่างระหว่างรปู กบั พืน้ หรอื รปู ทรงกบั ทว่ี า่ ง

• ให้ความรู้สกึ เคลอ่ื นไหวดว้ ยการนาสายตาของผู้ดบู รเิ วณที่สตี ัดกันจะดึงดดู ความสนใจ

• ใหค้ วามเป็นมิติแก่รปู ทรง และภาพด้วยนา้ หนกั ของสที ่ีต่างกนั

• ใหอ้ ารมณค์ วามรู้สกึ ไดด้ ว้ ยตัวมนั เอง
6.3 ในดา้ นกายภาพ สมี ักนามาใชเ้ พอ่ื สง่ ผลตอ่ อณุ หภมู ิ เช่น สดี า จะดดู ความร้อนไดม้ ากกวา่ สีขาว

และดา้ นความปลอดภัย สีทส่ี วา่ งจะช่วยในเรอื่ งความปลอดภยั ไดด้ กี วา่ สีมืด
ทฤษฎสี ี ( Theory of Colour)

มนุษย์เราไดม้ ีการศึกษาค้นคว้า และทดลองเก่ยี วกบั สมี านานแลว้ เพอื่ คน้ หาคุณสมบตั ทิ ่แี ทจ้ ริง เพ่อื
นาสมี าใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด เริ่มต้นจาก เม่อื ประมาณปี คศ. 1731 เจ ซี ลี โบลน (J.C.Le Blon) ได้
ทาการศกึ ษาวเิ คราะห์ธรรมชาติหรือคณุ ลักษณะเฉพาะของสี และได้กาหนดสีขั้นตน้ เปน็ แดง เหลือง และนา้
เงนิ แลว้ นาสที ้งั สามมาจับคผู่ สมซง่ึ กนั และกัน ทาใหเ้ กดิ สตี า่ งๆอกี มากมาย (โกสมุ สายใจ, 2540) การค้นพบ
คุณสมบัตเิ ก่ยี วกับสนี ี้ ไดถ้ ูกกาหนดเป็น "ทฤษฎสี ี" ขึ้นมา และตอ่ มาได้มผี ู้นาหลกั ทฤษฎีสี นไี้ ปศึกษา ค้นควา้
ต่อ และได้ค้นพบคณุ สมบตั ิของสีอีกหลายประการดว้ ยกัน ซงึ่ ความรู้เกย่ี วกบั ทฤษฎสี ี สามารถนามาประยกุ ตใ์ ช้
ให้ เกดิ ประโยชนใ์ นงานดา้ นต่างๆได้อีกมากมายตามมา

1. วงจรสี (Colour Wheel)
วงจรสี คอื สีทเี่ กิดจากการผสมกนั เปน็ คู่ เรมิ่ ตั้งแต่ แม่สี 3 สี แล้วเกิดเปน็ สใี หม่ข้นึ มา จนครบวงจร จะไดส้ ี
ท้ังหมด 12 สี ซ่ึงแบง่ สีเป็น 3 ขั้นคือ

1.1 สขี น้ั ที่ 1 (Primary Colours) คอื แม่สี 3สี ได้แก่ สีแดง เหลือง และนา้ เงนิ
1.2 สีข้ันที่ 2 (Secondary Colours) คอื สีท่ีเกิดจากการผสมกนั เป็นคูๆ่ ระหว่างแมส่ ี 3 สี
จะได้สีเพ่มิ ขน้ึ อีก 3สี
1.3 สีขั้นที่ 3 (Tertiary Colours) คอื สีทเ่ี กดิ จากการผสมกนั เปน็ ค่ๆู ระหวา่ งแมส่ ี 3 สี
กบั สขี นั้ ที่ 2 จะไดส้ ีเพม่ิ ขนึ้ อกี 6สี

วงจรสี
1.4 สีกลาง (Neutral Colour) คอื สที เี่ กิดการผสมสีทกุ สี ในวงจรสี หรอื แม่สี 3สี ผสมกนั
จะไดส้ เี ทาแกส่ ีทงั้ 3ข้นั เมอ่ื นามาจดั อยเู่ ปน็ วงจรจะได้ลกั ษณะเป็นวงล้อสี
2. วรรณะของสี (Tone of Colour)
วรรณะสี คือ ความแตกต่างของสแี ต่ละกลมุ่ ในวงจรสีโดยแบ่งตามความรสู้ ึกด้านอุณหภมู ิ โดยแบ่ง
ออกเปน็ 2 วรรณะ คือ
2.1 สวี รรณะรอ้ น (Warm Tone) ประกอบด้วยสเี หลือง, สม้ เหลือง, ส้ม, ส้มแดง, แดง และ
มว่ งแดง
2.2 สีวรรณะเยน็ (Cool Tone) ประกอบด้วยสีมว่ ง, ม่วงน้าเงิน, นา้ เงนิ , เขียวน้าเงิน, เขยี ว
และเขียวเหลือง
3. สตี รงขา้ ม (Comprementary Colour)
สตี รงข้าม หมายถงึ สที อ่ี ยู่ในตาแหนง่ ตรงขา้ มกันในวงจรสี และมีการตัดกันอยา่ งเด่นชดั ซ่ึงจะให้
ความรู้สกึ ท่ขี ัดแย้งกัน หากนามาผสมกนั จะได้สกี ลาง (เทา) ซ่ึงมีทง้ั หมด 6คู่ ไดแ้ ก่
- สีเหลอื ง ตรงขา้ มกับ สีมว่ ง
- สแี ดง ตรงขา้ มกบั สเี ขียว
- สนี า้ เงนิ ตรงขา้ มกบั สสี ม้
- สีเขยี วเหลอื ง ตรงข้ามกบั สมี ่วงแดง
- สีส้มแดง ตรงขา้ มกับ สเี ขยี วนา้ เงนิ
- สมี ่วงนา้ เงิน ตรงขา้ มกับ สีส้มเหลือง

สตี รงข้าม

4. สขี า้ งเคียง ( Analogous Colour)

4.1 สขี ้างเคยี ง หมายถงึ สที อ่ี ยู่เคียงขา้ งกันทง้ั ซ้ายและขวาในวงจรสี มีความคลา้ ยคลึงกนั หากนามา
จดั อยู่ดว้ ยกนั จะมคี วามกลมกลืนกนั หากอยหู่ า่ งกันมากเทา่ ใดความกลมกลืนก็จะย่ิงนอ้ ยลงความขัดแย้งกจ็ ะมี
มากขน้ึ สว่ นใหญจ่ ะเป็นสี ในวรรณะเดยี วกนั (ภาพที่ 6) สขี า้ งเคียงไดแ้ ก่

- สแี ดง - ส้มแดง - สม้ หรือ มว่ งแดง -แดง - ส้มแดง
- สีสม้ เหลอื ง - เหลอื ง - เขยี วเหลอื ง หรือ ส้มแดง - สม้ - สม้ เหลอื ง
- สเี ขียว - เขยี วน้าเงิน - นา้ เงิน หรือ เขียวนา้ เงนิ - เขยี ว - เขยี วเหลอื ง
- สมี ว่ งนา้ เงิน - มว่ ง - มว่ งแดง หรอื ม่วงนา้ เงนิ - นา้ เงิน - เขียวนา้ เงิน

สขี ้างเคยี ง
4.2 ทฤษฎีสี
4.2.1ความหมายของทฤษฎีสี
สี(COLOUR) หมายถงึ ลกั ษณะกระทบตอ่ สายตาใหเ้ ห็นเปน็ สมี ผี ลถึงจิตวทิ ยา คือมอี านาจใหเ้ กดิ
ความเข้มของแสงท่ีอารมณแ์ ละความรสู้ กึ ได้ การทไ่ี ดเ้ หน็ สจี ากสายตาสายตาจะสง่ ความรสู้ ึกไปยังสมองทาให้
เกดิ ความรสู้ กึ ตา่ งๆตามอิทธพิ ลของสี เช่น สดช่นื ร้อน ต่ืนเตน้ เศรา้ สีมคี วามหมายอยา่ งมากเพราะศิลปิน
ต้องการใช้สเี ป็นสอื่ สร้างความประทบั ใจในผลงานของศลิ ปะและสะท้อนความประทบั ใจนนั้ ใหบ้ งั เกิดแกผ่ ู้ดู
มนุษย์เกย่ี วข้องกบั สีตา่ งๆ อยูต่ ลอดเวลาเพราะทกุ ส่งิ ท่ีอยรู่ อบตวั นั้นลว้ นแตม่ ีสสี ันแตกตา่ งกนั มากมาย สีเปน็
สง่ิ ทคี่ วรศกึ ษาเพ่ือประโยชนก์ บั ตนเองและ ผู้สร้างงานจิตรกรรมเพราะ เรอ่ื งราวองสนี น้ั มีหลกั วชิ าเปน็
วิทยาศาสตรจ์ งึ ควรทาความเขา้ ใจวทิ ยาศาสตร์ ของสจี ะบรรลผุ ลสาเร็จในงานมากข้ึน ถ้าไม่เขา้ ใจเรอื่ งสีดี
พอสมควร ถา้ ไดศ้ ึกษาเรื่องสดี พี อแล้ว งานศลิ ปะกจ็ ะประสบความสมบรู ณเ์ ปน็ อยา่ งยงิ่
คาจากดั ความของสี
1. แสงที่มีความถี่ของคลืน่ ในขนาดที่ตามนุษยส์ ามารถรบั สมั ผัสได้
2. แม่สีที่เปน็ วตั ถุ (PIGMENTARY PRIMARY) ประกอบด้วย แดง เหลือง น้าเงนิ
3. สีทเ่ี กดิ จากการผสมของแมส่ ี
คุณลักษณะของสี
สีแท้ (HUE) คอื สีท่ียงั ไมถ่ ูกสีอ่ืนเขา้ ผสม เปน็ ลักษณะของสแี ท้ทีม่ ีความสะอาดสดใส เช่น แดง เหลอื ง
นา้ เงนิ สอี อ่ นหรอื สจี าง (TINT) ใชเ้ รียกสีแทท้ ่ีถกู ผสมดว้ ยสขี าว เช่น สีเทา, สชี มพู สีแก่ (SHADE) ใชเ้ รยี กสแี ท้
ที่ถกู ผสมด้วยสีดา เช่น สีน้าตาล
ประวัตคิ วามเปน็ มาของสี

มนษุ ยเ์ รมิ่ มีการใชส้ ตี ง้ั แต่สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ มที งั้ การเขยี นสีลงบนผนงั ถ้า ผนังหนิ บนพ้นื ผิว
เคร่ืองปนั้ ดนิ เผา และทอ่ี ่นื ๆภาพเขียนสีบนผนงั ถา้ (ROCK PAINTING) เรม่ิ ทาต้ังแต่สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ใน
ทวปี ยโุ รป โดยคนกอ่ นสมยั ประวตั ิศาสตรใ์ นสมัยหินเก่าตอนปลาย ภาพเขยี นสที ม่ี ีช่ือเสียงในยคุ นีพ้ บทปี่ ระเทศ
ฝรงั่ เศสและประเทศสเปนในประเทศ ไทย กรมศลิ ปากรไดส้ ารวจพบภาพเขยี นสสี มยั ก่อนประวัตศิ าสตรบ์ น
ผนงั ถ้า และ เพงิ หินในท่ตี า่ งๆ จะมีอายรุ ะหว่าง 1500-4000 ปี เป็นสมยั หนิ ใหม่และยคุ โลหะไดค้ ้นพบตั้งแตป่ ี
พ.ศ. 2465 ครงั้ แรกพบบนผนงั ถ้าในอา่ วพงั งา ตอ่ มากค็ ้นพบอกี ซงึ่ มีอยทู่ ่วั ไป เช่น จงั หวดั กาญจนบรุ ี อุทัยธานี
เป็นต้นสที ีเ่ ขยี นบนผนงั ถา้ สว่ นใหญเ่ ปน็ สแี ดง นอกน้นั จะมสี สี ้ม สเี ลอื ดหมู สเี หลอื ง สนี ้าตาล และสีดาสีบน
เคร่อื งป้ันดินเผา ไดค้ ้นพบการเขยี นลายครั้งแรกท่บี า้ นเชียงจังหวดั อุดรธานเี มื่อปี พ.ศ.2510 สีทเ่ี ขยี นเปน็ สี
แดงเป็นรปู ลายก้านขดจิตกรรมฝาผนังตามวดั ต่างๆสมยั สโุ ขทัยและอยธุ ยามหี ลกั ฐานวา่ ใชส้ ีในการเขียนภาพ
หลายสี แต่ก็อยใู่ นวงจากดั เพียง 4 สี คือ สีดา สขี าว สีดินแดง และสเี หลืองในสมัยโบราณนน้ั ชา่ งเขยี นจะเอา
วตั ถตุ ่างๆในธรรมชาตมิ าใชเ้ ป็นสสี าหรบั เขยี นภาพ เช่น ดนิ หรือหินขาวใชท้ าสีขาว สีดากเ็ อามาจากเขมา่ ไฟ
หรอื จากตวั หมกึ จนี เป็นชาติแรกทพ่ี ยายามคน้ คว้าเร่อื งสธี รรมชาตไิ ด้มากกว่าชาติอนื่ ๆ คอื ใช้หนิ นามาบดเป็น
สีต่างๆ สเี หลอื งนามาจากยางไม้ รงหรือรงทอง สคี รามก็นามาจากต้นไมส้ ่วนใหญ่แล้วการค้นคว้าเรอื่ งสกี ็
เพ่อื ทจี่ ะนามาใช้ ยอ้ มผา้ ต่างๆ ไม่นิยมเขียนภาพเพราะจีนมคี ติในการเขียนภาพเพียงสเี ดยี ว คอื สดี าโดยใช้
หมกึ จนี เขยี นสสี ามารถแยกออกเปน็ 2 ประเภทคือ

1. สีธรรมชาติ
2. สีทมี่ นษุ ย์สรา้ งขน้ึ
สธี รรมชาติ เป็นสีทเี่ กิดขึ้นเองธรรมชาติ เชน่ สขี องแสงอาทติ ย์ สขี องท้องฟ้ายามเช้า เยน็ สขี องรงุ้ กินนา้
เหตุการณ์ที่เกดิ ขึ้นเองธรรมชาติ ตลอดจนสขี อง ดอกไม้ ตน้ ไม้ พ้นื ดนิ ท้องฟา้ น้าทะเล
สที ีม่ นุษยส์ ร้างขนึ้ หรือได้สงั เคราะห์ข้ึน เชน่ สีวทิ ยาศาสตร์ มนุษย์ไดท้ ดลองจากแสงตา่ งๆ เชน่ ไฟฟา้ นามา
ผสมโดยการทอแสงประสานกัน นามาใช้ประโยชนใ์ นดา้ นการละคร การจัดฉากเวที โทรทัศน์ การตกแตง่
สถานที่
แม่สี (PRIMARIES) สตี า่ งๆน้ันมอี ยู่มากมายแหลง่ กาเนดิ ของสีและวธิ ีการผสมของสีตลอดจนรสู้ กึ ทม่ี ตี อ่ สขี อง
มนุษยแ์ ต่ละกลุม่ ยอ่ มไมเ่ หมอื นกนั สีต่างๆทปี่ รากฎนั้นยอ่ มเกดิ ข้นึ จากแมส่ ใี นลกั ษณะที่แตกตา่ งกนั ตามชนิด
และประเภทของสนี ้ัน
แม่สี คอื สที ่ีนามาผสมกันแล้วทาใหเ้ กิดสใี หม่ ท่ีมลี ักษณะแตกตา่ งไปจากสเี ดมิ
แม่สี มอื ยู่ 2 ชนิด คือ
1. แมส่ ีของแสง เกดิ จากการหกั เหของแสงผ่านแทง่ แกว้ ปริซมึ มี 3 สี คือ สแี ดงสีเหลอื ง และสนี า้ เงนิ อยใู่ นรูป
ของแสงรงั สี ซง่ึ เป็นพลงั งานชนิดเดียวทม่ี สี ี คณุ สมบตั ขิ องแสงสามารถนามาใช้ ในการถ่ายภาพ ภาพโทรทัศน์
การจัดแสงสีในการแสดงตา่ ง ๆ เป็นต้น (ดูเรอื่ ง แสงสี )
2. แมส่ ีวัตถุธาตุ เปน็ สที ีไ่ ดม้ าจากธรรมชาติ และจากการสังเคราะหโ์ ดยกระบวนทางเคมี มี 3 สี คอื สีแดง สี
เหลอื ง และสนี ้าเงนิ แมส่ ีวัตถธุ าตุเป็นแมส่ ีทนี่ ามาใช้ งานกันอยา่ งกว้างขวาง ในวงการศลิ ปะ วงการ
อุตสาหกรรม ฯลฯ แม่สีวตั ถุธาตุ เม่อื นามาผสมกนั ตามหลกั เกณฑ์ จะทาใหเ้ กิด วงจรสี ซงึ่ เปน็ วงสี

ธรรมชาติ เกิดจากการผสมกนั ของแม่สีวตั ถธุ าตุ เป็นสหี ลกั ทใี่ ช้งานกันทั่วไป ในวงจรสี จะแสดงส่งิ ต่าง ๆ
ดงั ต่อไปน้ี
แมส่ ีวัตถธุ าตุ (PIGMENTARY RRIMARIES)

แม่สีวัตถุธาตุน้นั หมายถึง “วัตถุท่ีมีสอี ยูใ่ นตัว” สามานามาระบาย ทา ย้อม และผสมไดเ้ พราะมเี นอ้ื สี
และสเี หมือนตวั เอง เรียกอีกอย่างหนึง่ วา่ แม่สีของช่างเขยี นสตี ่างๆจะเกดิ ข้ึนมาอีกมากมาย ด้วยการผสมของ
แม่สีซง่ึ มอี ยู่ดว้ ยกัน 3 สคี ือ

1. น้าเงนิ (PRUSSIAN BLUE)
2. แดง (CRIMSON LEKE)
3. เหลอื ง (GAMBOGE TINT)
สีแดง (CRIMSION LAKE) สะทอ้ นรงั สขี องสแี ดงออกมาแลว้ ดึงดูดเอาสีนา้ เงนิ กบั สเี หลืองซ่ึงตา่ งผสม
กันในตัวแลว้ กลายเป็นสเี ขยี ว อันเป็นคูส่ ขี องสีแดง
สเี หลอื ง (GAMBOGE YELLOW) สะทอ้ นรังสีของสีเหลืองออกมาแลว้ ดึงดูดเอาสแี ดงกับสนี า้ เงนิ ซง่ึ
ผสมกนั ในตวั แลว้ กลายเปน็ สมี ่วง อนั เปน็ คู่สขี องสีเหลือง
สนี ้าเงนิ (PRESSION BLUE) สะทอ้ นรงั สขี องสนี า้ เงนิ ออกมาแล้วดึงดูดเอาสแี ดงกับสเี หลืองเข้ามาแลว้
ผสมกันกจ็ ะกลายเป็นสสี ม้ ซง่ึ เป็นค่สู ีของสีนา้ เงิน
การผสมสี วตั ถุธาตุ
แม่สีวัตถธุ าตุ แดง เหลอื ง และสีน้าเงนิ นนั้ ผสมกันแลว้ เกิดสีข้นึ อกี หลายสแี ม่สีวัตถธุ าตุ
(PIGMEMPAR Y PRIMARIES) หรอื เรียกอกี อยา่ งหน่ึงว่า สขี ้ันทีห่ น่ึง
ขั้นท่ี 1 คอื สี
1. น้าเงนิ (PRUSSIAN BLUE)
2. แดง (CRIMSOM LEKE)
3. เหลือง (GAMBOGE TINT)
แมส่ ีทง้ั สามถา้ นามาผสมกัน จะไดเั ป็นสีกลาง (NEUTRAL TINT)
สขี น้ั ท่ี 2 (SECONTARY HUES) เกิดจากการนาสแี ท้ 2 สมี าผสมกันในปริมาณเท่ากันจะเกดิ สใี หมข่ ึน้ นา้ เงิน
ผสม แดง เปน็ ม่วง (VIOLET)
นา้ เงนิ ” เหลือง ” เขยี ว (GREEN)
แดง ” เหลอื ง ” สม้ (ORANGE)
สีข้ันที่ 3 (TERTIARY HUES) เกิดจากการผสมสีขั้นที่ 2 กับแม่ (สีขั้นท่ี 1) ได้สีเพม่ิ ขนึ้ อกี คอื
เหลอื ง ผสม เขยี ว เปน็ เขยี วออ่ น (YELLOW – GREEN)
นา้ เงนิ ” เขยี ว ” เขียวแก่ (BLUE – GREEN)
น้าเงิน ” มว่ ง ” มว่ งน้าเงิน (BLUE – VIOLET)
แดง ” มว่ ง ” ม่วงแก่ (RED – VIOLET)

แดง ” ส้ม ” แดงส้ม (RED – ORANGE)

เหลือง ” สม้ ” ส้มเหลือง (YELLOW – ORANGE)

แผนภาพสรปุ วงจรสี

การผสมกนั ของแมส่ ชี ่างเขยี นไดส้ อี ยู่ 3 ข้ัน ดงั น้ี

สีขนั้ ที่ 1 แม่สปี ฐมภูมิ (Primary Color) ไดแ้ ก่

สแี ดง สเี หลือง สีนา้ เงนิ

แมส่ ปี ฐมภมู ิ

สีขั้นท่ี 2 แมส่ ีทตุ ิยภูมิ (Secondary Hues) เป็นการนาเอาแมส่ มี าผสมกันในปรมิ าณเทา่ ๆ กัน จะไดส้ ี
ใหมอ่ กี 3 สี ดงั นี้
สแี ดง ผสมกบั สีเหลือง เปน็ สสี ม้
สแี ดง ผสมกบั สีน้าเงนิ เป็น สมี ว่ ง
สีเหลืองผสมกับ สนี ้าเงิน เปน็ สีเขียว

แมส่ ีทตุ ิยภมู ิ

สขี น้ั ที่ 3 สตี ติยภูมิ (Tertiary Hues) เกดิ จากนาเอาแมส่ มี าผสมกับสีขน้ั ที่ 2 โดยจะได้สีใหมเ่ พิม่ อกี 6 สี
ดังน้ี
สแี ดง ผสม สมี ่วง เป็น สีมว่ งแดง
สแี ดง ผสม สีสม้ เปน็ สสี ้มแดง
สเี หลอื ง ผสม สสี ม้ เป็น สสี ้มเหลือง
สีเหลือง ผสม สเี ขยี ว เป็น สีเขยี วเหลอื ง
สีนา้ เงิน ผสม สมี ว่ ง เป็น สีมว่ งน้าเงิน
สีนา้ เงิน ผสม สีเขยี ว เปน็ สีเขียวนา้ เงนิ

สตี ติยภมู ิ
วรรณะของสี
วรรณะของสี คอื สีท่ใี หค้ วามรู้สกึ รอ้ น-เย็น ในวงจรสจี ะมสี รี อ้ น 7 สี และสเี ยน็ 7 สี ซึง่ แบง่ ท่ี สีมว่ งกบั สเี หลือง
ซึง่ เปน็ ไดท้ ั้งสองวรรณะ แบ่งออกเปน็ 2 วรรณะ
1.วรรณะสรี อ้ น (WARM TONE) ประกอบด้วยสเี หลือง สสี ม้ เหลือง สีสม้ สสี ้มแดง สมี ว่ งแดงและสมี ่วง สี
ใน วรรณะร้อนนจี้ ะไม่ใชส่ สี ดๆ ดงั ท่ีเหน็ ในวงจรสเี สมอไป เพราะสใี นธรรมชาตยิ ่อมมีสแี ตกตา่ งไปกว่าสใี น
วงจรสีธรรมชาติอีกมาก ถ้าหากวา่ สใี ด คอ่ นข้างไปทางสีแดงหรอื สสี ้ม เช่น สนี ้าตาลหรอื สเี ทาอมทอง กถ็ อื วา่
เป็นสวี รรณะรอ้ น
2.วรรณะสเี ยน็ (COOL TONE) ประกอบด้วย สเี หลือง สีเขยี วเหลอื ง สเี ขียว สเี ขยี วน้าเงนิ สีน้าเงนิ สมี ว่ งน้า
เงิน และสมี ่วง ส่วนสอี ื่นๆ ถ้าหนกั ไปทางสนี า้ เงินและสีเขยี วก็เป็นสีวรรณะเย็นดงั เช่น สเี ทา สดี า สเี ขียวแก่
เป็นตน้ จะสงั เกตได้วา่ สเี หลอื งและสมี ว่ งอยู่ทง้ั วรรณะรอ้ นและวรรณะเย็น ถ้าอยใู่ นกลมุ่ สวี รรณะร้อนกใ็ ห้
ความรสู กึ รอ้ นและถ้า อยใู่ นกลุม่ สีวรรณะเยน็ กใ็ หค้ วามรสู้ กึ เย็นไปดว้ ย สเี หลืองและสีม่วงจงึ เปน็ สไี ดท้ ง้ั วรรณะ
ร้อนและวรรณะเย็น

วรรณะร้อนและวรรณะเย็น
4.3 ระบบสี

โดยท่ัวไปสีในธรรมชาตแิ ละสที ส่ี ร้างขึ้น จะมรี ูปแบบการมองเหน็ ของสที ีแ่ ตกต่างกนั ซง่ึ รูปแบบการ
มองเห็นสี ทใ่ี ชใ้ นงานด้านกราฟิกทั่วไปนั้นมอี ยู่ดว้ ยกัน 4 ระบบ คือ

1. ระบบสีแบบ RGB ตามหลกั การแสดงสีของเคร่อื งคอมพิวเตอร์
2. ระบบสีแบบ CMYK ตามหลกั การแสดงสขี องเคร่อื งพิมพ์
3. ระบบสีแบบ HSB ตามหลกั การมองเหน็ สขี องสายตามนษุ ย์

4. ระบบสแี บบ Lab ตามมาตรฐานของ CIE ซ่งึ ไมข่ ึน้ อยกู่ บั อปุ กรณใ์ ดๆ
1. ระบบสแี บบ RGB

เปน็ ระบบสีทปี่ ระกอบด้วยแม่สี 3 สคี อื แดง (Red), เขียว (Green) และ น้าเงนิ (Blue) ในสัดส่วนความ
เข้มขน้ ทแ่ี ตกต่างกัน เม่ือนามาผสมกนั ทาให้เกิดสตี า่ งๆ บนจอคอมพวิ เตอรไ์ ดม้ ากถงึ 16.7 ลา้ นสี ซึ่งใกลเ้ คียง
กับสที ต่ี าเรามองเห็นไดโ้ ดยปกติ และจดุ ทสี่ ที ั้งสามสรี วมกนั จะกลายเปน็ สีขาว นยิ มเรยี กการผสมสีแบบนี้ว่า
แบบ “Additive” หรอื การผสมสแี บบบวก ซ่งึ เป็นการผสมสีขน้ั ที่ 1 หรือถ้านาเอา Red Green Blue มาผสม
คร้ังละ 2 สี ก็จะทาใหเ้ กดิ สีใหม่ เช่น

Blue + Green = Cyan
Red + Blue = Magenta
Red + Green = Yellow
แสงสี RGB มักจะถกู ใช้สาหรบั การส่องสวา่ งทัง้ บนจอทวี ีและจอคอมพิวเตอร์ ซงึ่ สรา้ งจากการให้กาเนิด
แสงสีแดง สีเขยี ว และสนี ้าเงนิ ทาให้สีดสู ว่างกวา่ ความเปน็ จรงิ

อา้ งองิ - ภาพ http://www.urlnextdoor.com

2.ระบบสแี บบ CMYK
เป็นระบบสที ใี่ ช้กับเครอื่ งพมิ พ์ทพี่ ิมพ์ออกทางกระดาษ ซงึ่ ประกอบดว้ ยสีพืน้ ฐาน คอื สฟี า้ (Cyan), สี

มว่ งแดง (Magenta), สเี หลือง (Yellow), และเมื่อนาสีทงั้ 3 สมี าผสมกนั จะเกิดสเี ปน็ สดี า (Black) แต่จะไม่
ดาสนิทเนอื่ งจากหมกึ พิมพ์มีความไมบ่ ริสทุ ธ์ิ โดยเรยี กการผสมสีท้งั 3 สีขา้ งต้นว่า “Subtractive
Color” หรอื การผสมสีแบบลบ หลกั การเกิดสีของระบบนคี้ อื หมึกสหี น่ึงจะดูดกลืนสจี ากสีหนง่ึ แล้วสะทอ้ น
กลับออกมาเป็นสตี า่ งๆ เช่น สฟี า้ ดูดกลืนสมี ่วงแล้วสะทอ้ นออกมาเป็นสนี า้ เงนิ ซง่ึ จะสังเกตได้วา่ สที ส่ี ะทอ้ น
ออกมาจะเปน็ สหี ลกั ของระบบ RGB การเกิดสนี ี้ในระบบนจี้ งึ ตรงข้ามกบั การเกิดสีในระบบRGB

3. ระบบสีแบบ HSB
เปน็ ระบบสีพนื้ ฐานในการมองเห็นสีด้วยสายตาของมนษุ ย์ ประกอบด้วยลกั ษณะของสี 3 ลักษณะ คอื
- Hue คือ สตี า่ งๆ ที่สะทอ้ นออกมาจากวตั ถุเขา้ มายงั ตาของเรา ทาให้เราสามารถมองเหน็ วัตถุเป็นสีต่างๆ

ได้ ซ่งึ แตล่ ะสจี ะแตกตา่ งกันตามความยาวของคลืน่ แสงทมี่ ากระทบวัตถแุ ละสะท้อนกลับทตี่ าของเรา Hue ถูก
วัดโดยตาแหน่งการแสดงสีบนStandard Color Wheel ซงึ่ ถูกแทนด้วยองศา 0 ถงึ 360 องศา แต่โดยทว่ั ๆ
ไปแลว้ มักจะเรยี กการแสดงสนี ้ันๆ เป็นช่ือของสีเลย เช่น สแี ดง สีม่วง สเี หลือง

- Saturation คอื ความสดของสี โดยค่าความสดของสจี ะเร่มิ ที่ 0 ถึง 100 ถา้ กาหนด Saturation ท่ี 0 สี
จะมีความสดนอ้ ย แตถ่ ้ากาหนดที่ 100 สีจะมคี วามสดมาก ถา้ ถูกวัดโดยตาแหน่งบน Standard Color
Wheel ค่า Saturation จะเพ่มิ ขน้ึ จากจุดกึ่งกลางจนถึงเสน้ ขอบ โดยคา่ ทีเ่ ส้นขอบจะมสี ที ่ีชดั เจนและอมิ่ ตวั
ทส่ี ดุ

- Brightness คือ ระดบั ความสวา่ งและความมดื ของสี โดยค่าความสว่างของสจี ะเรมิ่ ท่ี 0 ถงึ 100 ถา้
กาหนดท่ี 0 ความสว่างจะน้อยซ่งึ จะเปน็ สดี า แต่ถา้ กาหนดท่ี 100 สีจะมีความสวา่ งมากทส่ี ุด ยิ่งมี
ค่า Brightness มากจะทาใหส้ ีน้ันสว่างมากข้นึ

อ้างองิ - ภาพ http://www.tomjewett.com

4. ระบบสีแบบ Lab
ระบบสแี บบ Lab เปน็ คา่ สที ีถ่ กู กาหนดข้นึ โดย CIE (Commission Internationale d’

Eclarirage) เพื่อใหเ้ ป็นสมี าตรฐานกลางของการวดั สที กุ รูปแบบ ครอบคลมุ ทุกสีใน RGB และ CMYK และ
ใชไ้ ด้กบั สีทเ่ี กิดจากอปุ กรณท์ กุ อยา่ งไมว่ ่าจะเปน็ จอคอมพิวเตอร์ เคร่อื งพิมพ์ เคร่อื งสแกนและอ่นื ๆ
สว่ นประกอบของโหมดสนี ้ไี ด้แก่

L หรอื Luminance เป็นการกาหนดความสวา่ งซง่ึ มีค่าตง้ั แต่ 0 ถงึ 100 ถา้ กาหนดท่ี 0 จะกลายเปน็ สดี า
แตถ่ ้ากาหนดที่100 จะกลายเปน็ สีขาว

A เปน็ ค่าของสีทีไ่ ล่จากสเี ขียวไปสีแดง
B เปน็ ค่าของสีทไี่ ลจ่ ากสีนา้ เงนิ ไปสเี หลอื ง

หน่วยที่ 5
ภาพในสื่อส่งิ พมิ พ์
บทนา
ภาพประกอบในสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ ทง้ั ท่เี ปน็ ภาพวาดและภาพถ่ายตา่ งกใ็ ชเ้ พอื่ สอื่ ความหมายเชน่ เดียวกับ
ตวั อักษร แต่มลี กั ษณะพเิ ศษคือใหร้ ายละเอียดได้มากกวา่ และยังสามารถทาใหเ้ ห็นภาพได้เหมือนจรงิ การได้
มองเหน็ ภาพจะทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจได้ทันทีโดยไมต่ ้องใชเ้ วลาตีความหรอื ทาความเขา้ ใจ นอกจากนี้ภาพถอื ว่า
เป็นภาษาสากล แมค่ นท่ีไม่รหู้ นังสอื กส็ ามารถดรู ู้เรื่องได้ การใชภ้ าพประกอบจงึ มคี วามหมายและสาคัญต่อ
สิง่ พมิ พไ์ มน่ อ้ ยไปกวา่ ตวั พมิ พ์
5.1 ไฟล์ภาพและคุณสมบัตขิ องไฟล์ภาพ
5.1.1 ความหมายของภาพ
“ภาพ” ในความหมายตามพจนานกุ รมไทย ฉบบั ราชบัณิตยสถาน พ.ศ. 2542 มายถงึ ความมีความเปน็
มกั ใชป้ ระกอบสว่ นท้ายของคาสมาน เชน่ ภาพ มรณภาพ เป็นตน้ รปู ทป่ี รากฏเห็น หรือ นึกเหน็ เชน่ ทวิ ทศั น์
ภาพในฝนั เปน็ ต้น สิง่ ทีว่ าดขึ้น เปน็ รปู หรอื ส่งิ ท่ีถ่ายแบบไว้ เชน่ ภาพสีน้ามัน ภาพถ่าย เป็นตน้
ภาพประกอบสอ่ื สงิ่ พิมพ์ หมายถึง เนื้อหาสว่ นท่ีเปน้ ภาพทป่ี รากฏอย่ใู นเอกสารสือ่ สิง่ พมิ พ์ตา่ งๆ
นอกจากเน้อื หาและข้อความตวั อกั ษร ภาพเหล่านี้อาจเป็นภาพวาดและภาพถา่ ยก็ได้ และยงั รูปถึงภาพกราฟิก
ต่างๆ เชน่ จุดเส้นสี แถบกราฟกิ และภาพเลขาคณติ อนื่ ๆ ท่ีใช้ในการตกแตง่ ส่อื ส่งิ พมิ พ์ เป็นต้น
5.1.2 ความละเอียดของภาพ (Resolution)
งานส่อื ส่ิงพมิ พส์ ว่ นใหญแ่ ล้วเป็นงานที่ดใู นระยะใกล้ และเป็นงานทผี่ ่านระบบการพมิ พ์คุณภาพสูง
ดังนนั จึงมีความละเอยี ดของภาพสุงกวา่ งานท่ีนาเสนอบนจอภาพ สือ่ สิ่งพมิ พค์ ณุ ภาพสูงส่วนใหญพ่ ิมพด์ ว้ ย
ความละเอียด 300 ดีพีไอ (Dot Per Inch = DPI ) แตส่ ง่ิ พมิ พ์บางประเภทอาจมคี วามละเอียดท่ีแตกต่างออกไป
เช่น หนังสือพมิ พ์ หรือปา้ ยโฆษณาแผ่นใหญอ่ าจใชค้ วามละเอยี ดภาพท่ตี ่าเพราะไมต่ ้องการคณุ มากนัก ส่วน
ความละเอยี ดของจอภาพนัน้ ทวั่ ไปจะเปน็ 72 พีพีไอ (Pixels Per Inch = PPI) ดงั นนั้ การทางานเพ่อื แสดงผล
บนจอภาพควรใชค้ า่ ความชัดเจน 72 พพี ไี อ เปน็ ตน้
5.1.3 คุณสมบตั ขิ องไฟลร์ ปู ภาพสาหรบั งานนาเสนอจอภาพ
การทางานทกุ คร้ัง้องคานงึ ถงึ คณุ สมบัติของไฟลร์ ปู ภาพท่ีตอ้ งการใช้ในการนาเสนอ เชน่ ภาพทจี่ ะ
ปรากฏน้ันจะมขี นาดเท่าไร ต้องใชค้ วามละเอยี ด ของภาพเทา่ ไร ควรใชร้ ะบบสีแทบใด และเลือก
รูปแบบ (Format) ของรปู ภาพใด เพื่อใหเ้ หมาะสมในการนาไปใช้งาน ทง้ั น้ขี นึ้ อยูก่ ับประเภทของงาน ที่จะ
นาไปใชด้ ว้ ย เชน่ ภาพท่ใี ช้ทาเวบ็ กบั ภาพทีใ่ ช้ทาโปสเตอรก์ ต็ อ้ งมคี ณุ ภาพท่ีแตกต่างกัน โดยท่วั ไปจะแบ่ง
ลักษณะงานออกเปน็ สองสายตามรปู แบบของสอ่ื ในการนาเสนอ
ภาพท่ีปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร์ เกดิ จากการทางานของโทน
สอี ารจ์ บี ี (RGB) ซ่งึ ประกอบด้วยสแี ดง (RED) สเี ขียว (GREEN) และสีน้าเงิน (Blue) โดยใชห้ ลักการยิงประจุ
ไฟฟา้ ให้เกดิ การเปลง่ แสงของสที งั้ 3 สี มาผสมกันทาใหเ้ กิดเปน็ จุดเลก็ ๆ ท่เี รยี กว่า พิกเซล (Pixel) โดยในหนงึ่

พกิ เซลประกอบดว้ ยหลายสี เมอ่ื นามาวางต่อกนั จะเปน็ รูปภาพ ภาพท่ีนิยมใชก้ บั เครอื่ งคอมพวิ เตอร์

มี 2 ประเภทคือ

1.ภาพกราฟกิ แบบบติ แมป (Bitmap Graphics) หรอื แบบราสเตอร์ (Raster Graphics)

เปน็ ภาพกราฟิกทเ่ี กดิ จากการเรยี งตวั กนั ของสี่เหล่ยี มเลก็ ๆหลายสคี ลา้ ยกบั การปกู ระเบอื้ ง เรียกวา่ พกิ เซล ซ่งึ

ในแตล่ ะพกิ เซลถกู รบุดว้ ยขอ้ มลู สี ขึน้ อยู่กบั ภาพนัน้ ๆ วา่ ใชโ้ หมดสแี บบใดการสร้างภาพ แตล่ ะพิกเซลจะมีค่า

ของตาแหนง่ และคา่ สีของตัวเอง ดว้ ยเหตุทพ่ี กิ เซลมีขนาดเล็ก จึงเห็นวา่ ภาพมคี วามละเอียดสวยงามไมม่ ี

ลักษณะของกรอบสเ่ี หล่ยี มให้เห็น แต่ถ้าขยายขนาดภาพก็จะเห็นกรอบเลก็ ๆหรอื พิกเซลทีป่ ระกอบกันขึ้นมา

เป็นภาพ ดังน้ันเมอ่ื ทางานกับภาพแบบมติ แมปหรอื ราสเตอร์เปน็ ภาพทีข่ ้ึนอยกู่ ับความละเอียด

(Resolution) เมอื่ ทางานกบั ภาพแบบมิตแมปหรอื แบบราสเตอร์กาหนดจานวนพกิ เซลใหก้ บั ภาพทต่ี อ้ งการ

สรา้ ง ถ้ากาหนดจานวนพิกเซลนอ้ ยเมอ่ื ทาการขยายภาพให้ใหญ่ขนึ้ จะทาใหม้ องเหน็ ภาพเปน็ จดุ สเี่ หลี่ยมเล็กๆ

หรือถา้ กาหนดจานวนพิกเซลมากกจ็ ะทาใหแ้ ฟม้ ภาพมีขนาดใหญ่ ของดีของภาพแบบบติ แมปแบบราสเตอร์

คอื สามารถแก้ไข ปรบั แต่งตกแตง่ ภาพได้งา่ ยและสวยงาม

ตารางท่ี 5.1 ชนิดของกราฟิกไฟลป์ ระเภทบิตแมปหรอื ราสเตอร์

ชนดิ ของไฟล์ ลกั ษณะการใชง้ าน

บีเอ็มพี (Bitmap Senquence = BMP ถูกสรา้ งขน้ึ เพอ่ื ใช้แสดงผลภาพกราฟิกบนโปรแกรม

วินโดวส์ เปน็ ไฟลท์ ี่ไมม่ ปี ระโยชนใ์ นด้านการใชง้ าน

มากนกั จะใช้เพอ่ื เกบ็ กราฟกิ ไฟล์ทเ่ี ป็นตน้ แบบ และ

ใชใ้ นการแสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์

ทิฟ (Tagged image file format = TIF ) เป็นกราฟิกไฟล์ทส่ี รา้ งมาเพอื่ โปรแกรมประเภท จดั

หน้าหนงั สือ (Desktop Publlshing) สามารถเกบ็

ข้อมลู รายละเอียดของภาพไดค้ ่อนขา้ งมาก ใชไ้ ด้ทง้ั

ในอมค (Mac)และพีชมี ีหลายเวอร?ทชัน่ แตท่ ีน่ ยิ มใช้

กัน คือ เวอรช์ น่ั 4และ 5

กฟิ (Compuseve Graphic Interchange File = ถูกสรา้ งข้ึนมาโดยบริษัทคอมพวิ เชริ ์ฟ (Compu

GIF Surve)ซงึ่ เปน็ บรษิ ทั ทใี่ หบ้ รกิ ารดา้ นเครอื ขา่ ยของ

สหรัฐ เหมาะกบั การเกบ็ ไฟลร์ ูปภาพขนาดเลก็ และ

จานวนสีนอ้ ย มีขนาดไฟลเ์ ล็กเพราะสร้างขน้ึ มาเพื่อ

ใช้ในระบบเครือขา่ ย

เจเปก (Joint Photographic Expers Group = เปน็ ไฟลท์ ี่ถกู สรา้ งขึน้ มาเพอื่ บีบอัดขอ้ มลู ภาพให้มี

JPG ) ขนาดกะทัดรดั เพอื่ นาไปใช้งานในระบบอินเตอรเ์ นต็

นิยมนามาใชใ้ นการแสดงผลูปภาพบนเครอื ข่าย

อนิ เทอร์เนต็ เชน่ เดียวกบั กฟิ


Click to View FlipBook Version