The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตัวอย่าง ไฟล์ที่จะนำมาสร้าง E-book ONIE WOW 63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

E-book ONIE WOW 63

ตัวอย่าง ไฟล์ที่จะนำมาสร้าง E-book ONIE WOW 63

-6-

บทบาทหน้าที่

หน่วยงาน บทบาทหนา้ ท่ี

สานกั งาน กศน.  กาหนดนโยบายในการจัดการศกึ ษาออนไลน์

 จดั ทาระบบการศึกษาออนไลน์ กศน.

 พัฒนาหลกั เกณฑ์และแนวทางการพัฒนาหลักสตู รออนไลน์

 เผยแพรห่ ลกั สตู รออนไลน์

 จดั ทาคมู่ ือการจดั การศึกษาออนไลน์

 จดั กจิ กรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่ผู้บรหิ าร ครู ครูผูส้ อน บุคลากร วิทยากร
และบคุ ลากรทเ่ี ก่ยี วข้อง เพื่อใหม้ ีศกั ยภาพในการนาระบบออนไลน์ และหลักสูตรไปใช้

 กากบั นเิ ทศ ติดตามการดาเนินงาน

 รายงานผลการดาเนนิ งานต่อสานกั งาน กศน. และผมู้ อี านาจตามลาดับชั้น

สถาบนั กศน.ภาค  พฒั นา รวบรวม และผลิตสื่อออนไลน์ ของการจดั การศึกษาออนไลน์

 สง่ เสรมิ สนบั สนุน สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ ให้แกผ่ ูบ้ ริหาร ครู ครูผู้สอน บคุ ลากร
วทิ ยากร และบุคลากรทเ่ี กยี่ วข้อง เพื่อให้มีศักยภาพในการนาแนวทางการจัดการศกึ ษา
ออนไลน์ และการนาหลักสูตรไปใชใ้ นสถานศกึ ษา

 กากบั นเิ ทศ ติดตามการดาเนินงาน

 รายงานผลการดาเนนิ งานทเี่ กี่ยวขอ้ งในระดบั หนว่ ยงาน

สานักงาน กศน.  สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ ใหแ้ ก่ผบู้ ริหาร ครู ครผู ู้สอน บุคลากร วทิ ยากร และบุคลากร
จังหวดั ทีเ่ กยี่ วข้อง ในระดับพน้ื ทีก่ ากับ

 สง่ เสริม สนับสนุน อบรมพัฒนาแกบ่ ุคลากรในการจัดการศึกษาออนไลน์

 กากับ นิเทศ ตดิ ตามการดาเนินงาน

 รายงานผลการดาเนนิ งานทเ่ี กี่ยวขอ้ งในระดบั ภาคและหน่วยงาน

กศน.อาเภอ  พิจารณาคัดเลือก พัฒนาหลกั สตู ร จดั ทาหลักสูตร และขออนุมัติใชห้ ลักสูตรการศึกษา
ออนไลนข์ องสถานศึกษา

 การจัดกระบวนการเรยี นรู้ และประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลกั สูตรการศกึ ษา
ออนไลน์ทกี่ าหนด

 ตดิ ตามผู้เรยี นเกีย่ วกับความพึงพอใจและคุณภาพของการจัดการศึกษาออนไลน์

 รายงานผลการจดั การศึกษาออนไลน์ในระดบั จงั หวัด

ด้านท่ี 3.2
จัดให้มหี ลกั สูตรลูกเสอื มคั คุเทศก์

รายละเอยี ดขอ้ มลู การขับเคล่ือน กศน. WOW

ดา้ นท่ี 3 การสง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ท่ี นั สมัยและมีประสิทธิภาพ : Good Activities
ขอ้ ท่ี 3.2 เร่ือง จัดให้มหี ลักสูตรลกู เสือมัคคเุ ทศก์

1. หลักการและเหตผุ ล
มัคคุเทศก์เป็นอาชีพบริการที่มีความสาคัญต่อระบบอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก เพราะ

มัคคุเทศก์จะเป็นผู้ทาหน้าที่สื่อสารข้อมูลสถานท่ีท่องเท่ียว กฎ ระเบียบ กติกา มารยาทต่าง ๆ ไปยัง
นักท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและชาวต่างชาติให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และอานวยความสะดวกแกน่ ักท่องเท่ียวให้
เกิดความประทับใจ เปรียบเสมือนทูต หรือเป็นผู้แทนของคนในประเทศหรือคนในท้องถ่ิน สร้างความเช่ือม่ัน
แก่นักท่องเท่ียว ส่งผลดีต่อการท่องเท่ียวภายในประเทศและภาคบริการอื่น ๆ ท่ีเชื่อมโยงกับระบบ
อตุ สาหกรรมทอ่ งเที่ยวกอ่ ให้เกดิ รายไดเ้ ข้าประเทศอยา่ งมหาศาล

การสร้างลูกเสือมัคคุเทศก์เพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยวในแต่ละท้องถิ่นและฝึกให้ลูกเสือเป็นนักนวัตกรรม
มีจิตสาธารณะ โดยมุ่งหวังให้ลูกเสือมีบทบาทในการเป็นมัคคุเทศก์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และเป็นการ
ปลูกฝังให้ลูกเสือเกิดความรัก ความภาคภูมิใจในคุณค่าของท้องถ่ินของตน มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็น
ความสาคัญของการท่องเที่ยว พร้อมเป็นส่วนหน่ึงในการยกระดับคุณภาพของการท่องเท่ียวของประเทศไทย
และดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ส่งเสริมศักยภาพของเด็กและเยาวชนผู้เป็นลูกเสือให้สามารถต่อยอด และส่งเสริม
ทักษะดา้ นการใช้ภาษาใหส้ ามารถพัฒนาเป็นอาชีพในอนาคตได้อย่างแท้จรงิ

สานักงาน กศน. พิจารณาแล้วเห็นว่านักศึกษา กศน. เป็นกลุ่มเป้าหมายสาคัญท่ีจะสามารถขยายผล
และต่อยอดสู่การเป็นลูกเสือมัคคุเทศก์ที่เป็นผู้มีจิตสาธารณะ มีความรู้ ความสามารถ ฉลาดเฉลียว ในการ
ถา่ ยทอดเรื่องราวประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีของท้องถ่ินตนเอง ให้กับนักท่องเทย่ี วผู้มาเยือน
ให้เกิดความประทับใจ ด้วยความอบอุ่นเป็นกันเอง จึงได้จัดให้มีหลักสูตรลูกเสือมัคคุเทศก์และจะได้จัด
ดาเนนิ การอบรมทางวิชาการด้านลูกเสือมัคคุเทศก์ให้มศี ักยภาพเพอื่ ส่งเสริมอาชีพและช่องทางการสรา้ งรายได้
ให้กับประชาชนต่อไป

2. เป้าหมายตัวช้วี ดั
2.1 เชงิ ปรมิ าณ
จานวนนักศึกษา กศน. ที่เข้ารับการอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ 8 จังหวัดนาร่อง ได้แก่ จังหวัดเลย ,

นครราชสีมา, บุรีรมั ย์, เชยี งใหม่, สุโขทยั , พัทลงุ , พระนครศรีอยธุ ยา, และจังหวดั ปราจนี บุรี

2.2 เชงิ คุณภาพ
นักศึกษา กศน. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถถ่ายทอดเร่ืองราวประวัติศาสตร์ มีจิตสาธารณะ
ตลอดจนบูรณาการความรู้ด้านมัคคุเทศก์กับการท่องเท่ียวได้อย่างเหมาะสม เป็นช่องทางการสร้างรายได้และ
สง่ เสรมิ อาชพี

-2-

3. แนวทางการขับเคลือ่ นระดบั หน่วยงาน/สถานศกึ ษา
3.1 จดั ดาเนนิ การอบรมโครงการลูกเสือมัคคุเทศก์ให้กบั นักศึกษา กศน. เพื่อช้ีแจงทาความเข้าใจ ให้

ความรู้ และฝึกปฏิบัติจริง เนื้อหาที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ความรู้ด้านวิชาการเก่ียวกับประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา
ท้องถน่ิ หลกั การมัคคเุ ทศก์ การสอื่ สารความรพู้ ื้นฐานของพืน้ ทแ่ี ละพ้นื ทีใ่ กล้เคยี ง

3.2 ผู้ผ่านการอบรมจะได้รับวุฒิบัตรและสะสมหน่วยการเรียนรู้สาหรับนาไปใช้ประกอบการมี
ใบประกอบวชิ าชีพตอ่ ไป

3.3 ผู้ผ่านการอบรมนาความรทู้ ่ีไดร้ ับเพ่ือฝึกปฏิบตั ิจรงิ แตต่ ่อยอดสกู่ ารประกอบอาชพี มัคคุเทศก์

4.การประเมนิ และตดิ ตาม
4.1 ประเมนิ ผลความพึงพอใจวิทยากรทีบ่ รรยายในการอบรม
4.2 ประเมนิ ความพงึ พอใจในการจัดการอบรมด้านต่าง ๆ ของโครงการ

ด้านท่ี 3.3
เรง่ ปรับหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาอาชพี กศน.

รายละเอียดข้อมูล การขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน. WOW

ดา้ นท่ี 3 การส่งเสรมิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทที่ นั สมยั และมปี ระสทิ ธิภาพ : Good Activities
ข้อที่ 3.3 เรอื่ ง เร่งการปรับหลักสูตรการศกึ ษาอาชีพ กศน.

1. หลักการและเหตผุ ล
ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษา ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์

ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ 4 การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย (2) การสร้าง
เส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทางาน และระบบสนับสนุนท่ีเหมาะสมสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษผ่าน
กลไกตา่ งๆ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงาน กศน. เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ดาเนินการจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
ท่ีมีบทบาทในการจัดการศึกษานอกระบบที่มีรูปแบบการจัดกิจกรรมการศึกษาท่ีมีกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ
และวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ที่ชัดเจน มีรูปแบบ หลักสูตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรระยะสั้น
มีวิธีการจัดและระยะเวลาเรียนหรือฝึกอบรมที่ยืดหยุ่น หลากหลายตามสภาพความต้องการและศักยภาพใน
การเรยี นรู้ของผูเ้ รยี นหรือกลุม่ เป้าหมายนัน้

เพื่อสนองนโยบายการจัดการศึกษาด้านอาชีพให้สอดรับกับอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve)
เฉพาะในพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา และระยอง สานักงาน กศน.
ได้นาหลักสูตรอาชีพเพ่ือการมีงานทามาปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาให้มีความทันสมัย ทันต่อการเปล่ียนแปลง
ของปัจจุบัน โดยกาหนดเป้าหมายการดาเนินงานในการจัดการศึกษาหลักสูตรอาชีพ ให้สถานศึกษานาไปจัด
การศึกษาอาชีพ เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายประชาชนท่ีอบรมจนจบหลักสูตรอาชีพ สามารถมี
ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะไปประกอบอาชีพ หรือทางาน เพื่อสร้างรายได้สาหรบั ตัวเองและครอบครัวให้มี
ความมน่ั คงต่อไป

2. เปา้ หมายตัวชี้วดั
2.1. เชิงปริมาณ
1. มหี ลกั สตู รการศกึ ษาอาชพี กศน. ครอบคลมุ พนื้ ที่ 77 จงั หวัด
2. มผี เู้ รยี นหลกั สูตรการศึกษาอาชพี กศน. ครอบคลุมพน้ื ท่ี 77 จงั หวดั
3. มีคู่มือ/แนวทางการจดั การศกึ ษาอาชีพ กศน. จานวน 1 ชดุ

2.2. เชิงคณุ ภาพ
1. หลักสูตรการศึกษาอาชีพ กศน. ได้รับการปรับปรุง /พัฒนาให้สอดรับกับอุตสาหกรรม

อนาคต (New S-Curve)
2. ได้หลักสูตรท่สี อดคล้องกบั ความตอ้ งการของผูเ้ รยี นหรือกลุ่มเปา้ หมาย
3. บคุ ลากรที่เกยี่ วข้องมคี วามรู้ ความเข้าใจหลักสตู รอาชพี และสามารถนาไปใชใ้ นการอบรม

ให้กับผู้เรยี นหรือกลมุ่ เปา้ หมายได้
4. ผูเ้ รยี นหรอื ประชาชนกล่มุ เปา้ หมายมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ หลักสูตรอาชีพ
5. ผู้เรียนหรือประชาชนกลุ่มเป้าหมายนาความรู้ท่ีได้จากการอบรมจากหลักสูตรอาชีพเพ่ือ

การมีงานทาไปประกอบอาชพี มีรายได้เพ่มิ ขึ้น และเขา้ รับการฝึกทักษะอาชีพในระดบั ทีส่ ูงขน้ึ

-2-

3. แนวทางการขบั เคลอื่ นระดับหน่วยงาน/สถานศึกษา

การดาเนนิ งานระยะที่ 1 การทบทวนผลการดาเนนิ งาน และการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาอาชีพ กศน.

1) การศึกษาข้อมูลผลการดาเนินงาน และปัญหา อุปสรรคจากการดาเนินงานท่ีผ่านมา และความ
ต้องการของสถานศกึ ษา

2) กาหนดประเด็น / กรอบ เพ่อื การพัฒนาหลักสตู รการศึกษาอาชพี กศน. โดยวิเคราะห์เชื่อมโยงกัน
ระหว่างหลกั สูตรอาชีพเพ่ือการมีงานทา และหลกั สูตร OTOP Mini MBA กับข้อมูลจากผลการดาเนินงานและ
ปญั หาอปุ สรรคจากการดาเนินงานทผี่ ่านมา และความตอ้ งการของสถานศึกษา

3) ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาอาชีพ กศน. ซึ่งต้องพัฒนาให้เป็นไปตามกรอบโครงสร้าง
หลักสูตร ดังน้ี ความเป็นมา หลักการของหลักสูตร จุดมุ่งหมาย กลุ่มเป้าหมาย โครงสร้างหลักสูตร การจัด
กระบวนการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การจบหลักสูตร เอกสารหลักฐานการศึกษา
การเทียบโอน

ท้ังนี้ สถานศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตรการศึกษาอาชีพ กศน. เป็นของสถานเองได้
นอกเหนือจากท่ีสานักงาน กศน. กาหนด เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ บริบท และความต้องการของประชาชน
ในชุมชน ทอ้ งถน่ิ

4) จัดทา/พฒั นาเป็นคลังหลกั สตู รการศกึ ษาอาชีพ กศน.
5) ดาเนนิ การจดั ทา/พฒั นาคูม่ อื การจัดการศกึ ษาต่อเน่ือง พร้อมท้ังขออนมุ ัติใชค้ มู่ ือฯ

การดาเนินงานระยะที่ 2 การนาหลักสตู รการศกึ ษาอาชีพ กศน. ไปใช้ในสถานศึกษา
1) กาหนดแนวทางการสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ให้แก่ผูบ้ รหิ าร ครู ครผู ูส้ อน บคุ ลากร วิทยากร และ
บุคลากรทเี่ กี่ยวข้อง เพื่อให้มีศกั ยภาพในการนาหลักสูตรไปใชใ้ นพื้นที่ ซง่ึ อย่างน้อยต้องประกอบด้วย

- รายละเอยี ดหลักสตู ร
- วิธกี ารจดั กระบวนการเรยี นรู้
- การใชส้ อ่ื /อุปกรณเ์ พ่ือการจดั การเรียนรู้
- การวัดและการประเมนิ ผล
- การจดั ทารายงานผลการประเมินผเู้ รยี น
2) ดาเนินการเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ เพื่อการจัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจ เช่น
วิทยากร สื่อประกอบ เป็นตน้
3) ดาเนินการจัดกิจกรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่ผู้บริหาร ครู ครูผู้สอน บุคลากร วิทยากร
และบุคลากรท่ีเก่ยี วข้อง เพือ่ ใหม้ ีศักยภาพในการนาหลกั สูตรไปใช้ในพ้ืนท่ี
4) สถานศึกษาดาเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาอาชีพ กศน. โดยมีสถาบัน
กศน.ภาค สานกั งาน กศน. จังหวัด นิเทศ กากบั ติดตาม การดาเนนิ งานของสถานศึกษา
5) สถานศึกษารายงานผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาอาชีพ กศน. ไปยัง
สานักงาน กศน.

-3-

การดาเนนิ งานระยะท่ี 3 การติดตามและประเมนิ ผลการดาเนินงาน
1) กาหนดแนวทาง / เครื่องมือ เพือ่ ใชใ้ นการกากับ ติดตาม และประเมนิ ผล
2) ดาเนินการติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน ท้ังระหว่างท่ีจัดกระบวนการเรียนรู้ และหลังการจัด
กระบวนการเรยี นรู้ เพือ่ นาขอ้ มูลไปใช้ในการพัฒนา/ปรับปรงุ หลกั สตู รและการดาเนินงานตอ่ ไป
3) รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปผลการการติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน เพื่อเสนอต่อ
สานักงาน กศน.

4. เกณฑ์การประเมินและติดตาม
4.1. การประเมินผลและตดิ ตามระหวา่ งการดาเนนิ งาน โดย
4.1.1 การจัดทาเครื่องมือเพ่ือใชใ้ นการติดตามและประเมินผลการจดั กจิ กรรมภายใตโ้ ครงการ
4.1.2 การประชมุ กลุม่ ย่อย เพ่อื ประเมินผลการดาเนนิ งาน และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
4.1.3 ประเมินผลจากรายงานผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา
4.1.4 คณะทางาน / กลุ่มงานที่รบั ผิดชอบดาเนนิ การรวบรวม วิเคราะห์ และสรปุ ผลการติดตาม

การดาเนนิ งาน เสนอต่อสานกั งาน กศน.

4.2. การประเมนิ ผลสิน้ สดุ โครงการ/สนิ้ สุดปีงบประมาณ
4.2.1 การจดั ทาเคร่ืองมอื ประเมินผลการดาเนินงานโครงการ
4.2.2 การประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย เพอื่ ประเมินผลการดาเนินงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
4.2.3 คณะทางาน / กลุ่มงานท่ีรับผิดชอบดาเนินการรวบรวม วิเคราะห์ และสรุปผลการ

ดาเนนิ งาน เสนอตอ่ สานักงาน กศน.

-4-

บทบาทหน้าที่

หนว่ ยงาน บทบาทหนา้ ที่

สานักงาน กศน.  กาหนดนโยบายในการจดั การศกึ ษาอาชพี กศน.

 พฒั นาหลกั สูตรการศกึ ษาอาชีพ กศน.

 เผยแพร่หลกั สูตรการศกึ ษาอาชพี กศน.

 จัดทาคมู่ อื การจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง

 จัดกิจกรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่ผู้บริหาร ครู ครูผู้สอน บุคลากร วิทยากร

และบคุ ลากรท่เี กีย่ วขอ้ ง เพื่อให้มีศกั ยภาพในการนาหลักสูตรไปใชใ้ นพื้นท่ี

 กากับ นเิ ทศ ติดตามการดาเนนิ งาน

 รายงานผลการดาเนินงานต่อ

สถาบนั กศน.ภาค  หลักสูตรการศึกษาอาชพี กศน.

 ส่งเสริม สนับสนุน สร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่ผู้บริหาร ครู ครูผู้สอน บุคลากร

วทิ ยากร และบุคลากรที่เก่ียวข้อง เพือ่ ให้มศี กั ยภาพในการนาหลกั สูตรไปใช้ในพื้นท่ี

 กากับ นเิ ทศ ติดตามการดาเนินงาน

 รายงานผลการดาเนนิ งานท่ีเก่ียวข้อง

สานกั งาน กศน.  สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่ผู้บริหาร ครู ครผู ูส้ อน บคุ ลากร วทิ ยากร และบุคลากร
จังหวดั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในระดบั พน้ื ทกี่ ากับ

 ส่งเสริม สนับสนุน การจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสตู รการศึกษาอาชพี กศน.

 กากบั นเิ ทศ ตดิ ตามการดาเนินงาน

 รายงานผลการดาเนนิ งานที่เกีย่ วขอ้ ง

กศน.อาเภอ  พจิ ารณาคดั เลือกหลกั สูตร / จดั ทาหลักสูตร และขออนุมตั ิใชห้ ลกั สูตรการศึกษาอาชีพ

กศน. ของสถานศกึ ษา

 การจัดกระบวนการเรียนรู้ และประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษา

อาชีพ กศน.

 ติดตามผู้เรยี นเกี่ยวกับการนาความรูไ้ ปใช้

 สารวจความต้องการในการยกระดับอาชีพของผู้เรียนเพ่ือเป็นฐานข้อมูลในการส่ง

ต่อไปยังหน่วยงาน/สถานศึกษาในสังกัด สอศ. เพ่ือเข้ารับการฝึกทักษะอาชีพในระดับ

ทส่ี งู ข้ึน

 รายงานผลการจดั การเรียนรู้ตามหลักสูตร

ด้านท่ี 4.1 - 4.3
- เร่งจดั ทาทาเนยี บภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ในแตล่ ะตาบล
- สง่ เสรมิ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ สูก่ ารจดั การเรยี นรชู้ ุมชน
- ประสานความร่วมมอื กบั เครือข่าย เพอ่ื ขยายและพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยใหเ้ ขา้ ถงึ กลุ่มเป้าหมายอยา่ งกว้างขวาง

รายละเอียดขอ้ มลู การขับเคลือ่ น กศน. สู่ กศน. WOW

ด้านท่ี 4 เสริมสรา้ งความรว่ มมอื กับภาคีเครือข่าย : Good Partnerships
ขอ้ ท่ี 4.1 เรอื่ ง จดั ทาทาเนยี บภมู ิปญั ญาท้องถนิ่
ขอ้ ท่ี 4.2 เร่ือง ส่งเสรมิ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ สู่การจัดการเรียนรสู้ ่ชู ุมชน
ขอ้ ที่ 4.3 เรอื่ ง ประสานความรว่ มมอื กบั ภาคีเครอื ขา่ ย

1. หลักการและเหตผุ ล
การจัดการศึกษาตลอดชีวิตให้เหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย ซึ่งเป็นภารกิจของสานักงาน กศน.

ด้วยโครงสร้าง บุคลากร งบประมาณและทรัพยากรท่ีมี ย่อมไม่สามารถดาเนินการได้ด้วยตนเองท้ังหมด
มีคว ามจ าเป็ น ต้องแส วงห าภู มิปั ญ ญ าใน ท้ องถิ่น ม าเป็ น วิท ย ากรใน การ จั ดการ เรีย น รู้ ที่ เห มาะส ม ใน ชุม ช น
และแสวงหาภาคีเครือข่ายด้วยการทางานแบบบูรณาการเพื่อยกระดับการจัดการศึกษาตลอดชีวิตให้ตอบโจทย์
ความต้องการที่แท้จริงของประชาชน เพ่ือให้สามารถสร้างงาน สร้างอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต การจัดการศึกษา
ตามอัธยาศัยและจดั การศึกษาขนั้ พื้นฐานไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ และทั่วถึง

การเสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย (Good Partnerships) ด้วยการ “เช่ือมโยง
หนุนเสริม ต่อยอด” เพื่อการขยาย และพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เข้าถึง
กลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มอย่างกว้างขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่ม อสม. โดยใช้หลักการทางาน
แบบบูรณาการ ซ่ึงเป็นการทางานแบบสานพลังร่วมกับทุกภาคส่วนในชุมชน เพื่อเช่ือมโยง หนุนเสริมและต่อยอด
โดยตอ้ งมี Change agent เปน็ ตวั ท่ีสร้างการเปล่ยี นแปลงและตัวกลางในการประสานความรว่ มมือ ด้วยการ

1) “เห็นปัญหา” ทาให้ทุกภาคีเห็นสถานการณ์ด้วยชุดข้อมลู จรงิ ที่เกดิ ขึ้นในเวลานนั้ ที่เป็นปัญหา
ในภาพรวมของชุมชนทุกปัญหา ซ่ึงจะนาไปสู่การออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์น้ันให้แก่
คนทุกชว่ งวยั ที่ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ภาคเี ครือข่ายในท้องถิ่นเข้ามาร่วมหนุนเสริมได้

2) กาหนดเป้าหมาย ประเด็นผลักดัน “เฉพาะ” “ร่วม” บางประเด็น ได้แก่ การเตรียมความพร้อม
คนรุ่นใหม่รองรับ “สังคมสูงอายุ” (ใช้บทเรียนกระบวนการทางานจากการผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุ) ปัญหาสภาพแวดล้อม
ปัญหาเดก็ ในสถานสงเคราะห์

3) “หาแนวร่วม” จัดเวทีแลกเปลี่ยนข้อมูลและความคิดเห็นระหว่างภาคีเครือข่าย : เชื่อมโยง
ข้อมูล งบประมาณ ความเชี่ยวชาญ ระเบียบ ทรัพยากร วัสดุ ครภุ ัณฑ์ สถานท่ี ฯลฯ ที่แต่หนว่ ยงานมีเพื่อการจัดการ
เรยี นรู้

4) บูรณาการงานร่วมกัน และสร้างความภูมิใจร่วมกันเพ่ือเชื่อมโยงแผนงาน โครงการ กิจกรรม
งบประมาณ ความเชี่ยวชาญในการ “หนุนเสริม” การจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกบั ความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย
ในพ้ืนที่ และ “ตอ่ ยอด” เพอื่ พัฒนากิจกรรม กศน. ให้มีคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพมากข้ึน

-2-

2. เป้าหมายตวั ชีว้ ัด
2.1 เชิงปรมิ าณ

1) จานวนภูมปิ ญั ญาท่ีมกี ารบนั ทึกในระบบคลังปญั ญาในอาเภอ/เขต
2) จานวนภูมิปญั ญาท่เี ปน็ วทิ ยากรจดั กิจกรรม กศน. ในอาเภอ/เขต
3) จานวนแหล่งเรยี นรู้ที่มกี ารบันทกึ ในระบบแหลง่ เรยี นรใู้ นอาเภอ/เขต
4) จานวนโครงการ กจิ กรรม ทม่ี กี ารบูรณาการกบั ภาคเี ครอื ข่าย ในอาเภอ/เขต

2.2 เชิงคณุ ภาพ

1) กศน. อาเภอ/เขต มีฐานข้อมูลคลังปัญญา แหล่งเรียนรู้ในการบริหารจัดการและจัดการ
เรียนรู้ ได้หลากหลาย เหมาะสมกับความตอ้ งการของกล่มุ เปา้ หมายในชุมชน

2) บทบาทของภาคี เครือข่ายท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการหนุนเสริม ต่อยอด การจัดกิจกรรม
ของ กศน.อาเภอ/เขต ทม่ี ีประสทิ ธิภาพมากขึ้น

3) กลุ่มเป้าหมายได้รับบริการการจัดการศึกษาของ กศน.อาเภอ/เขต ตรงความต้องการ
ทั่วถึง ท่สี อดคล้องกับสภาพสงั คมที่มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็

3. แนวทางการขับเคล่อื นระดบั หน่วยงาน/สถานศึกษา

จัดทาทาเนียบภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินสกู่ ารจดั การ ประสานความรว่ มมือกบั ภาคี
เครือข่าย
เรียนร้สู ชู่ มุ ชน
1) สานักงาน กศน. จงั หวดั /กทม.
1) กศน. อาเภอ/เขต เก็บขอ้ มลู ดว้ ย 1) พัฒนาภมู ิปญั ญาเฉพาะผู้ทไี่ ดร้ บั การเชิญ สนับสนนุ อานวยความสะดวก
เพ่อื ใหเ้ กิดการสื่อสาร สรส้ งความ
เอกสาร ตาม “แบบบันทึกชดุ ขอ้ มลู คลัง มาเปน็ วิทยากร กศน. ให้มคี วามรคู้ วาม เขา้ ใจกับหวั หน้าส่วนราชการระดบั
จงั หวัดเพอ่ื “เช่ือมโยง หนุนเสรมิ
ปัญญา-ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ” โดยมี เข้าใจในเรื่อง กระบวนการถ่ายทอดความรู้ ตอ่ ยอด” การขับเคลือ่ นงานเชิง
นโยบายแบบบรู ณาการระดบั
เงื่อนไขวา่ ขอ้ มูลท่ีจดั เกบ็ ตอ้ งเปน็ ข้อมูล และวธิ กี ารวดั ผลใหเ้ หมาะกับสภาพจริง จงั หวดั ใหเ้ กิดความเข้าใจ เป็นไปใน
ทศิ ทางเดียวกนั ท้งั จงั หวัด
ปฐมภูมทิ ไ่ี ด้จากการสมั ภาษณภ์ มู ปิ ัญญา เพอ่ื ให้สามารถจดั การเรยี นรู้ในรูปแบบ 2) กศน. อาเภอ/เขต มสี ว่ นร่วมใน
กลไกการขบั เคลื่อนการพัฒนา
ท้องถน่ิ โดยตรงจาก ครู กศน. ในอาเภอ ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม โดยให้ กพ. กป. คุณภาพชีวิตของประชาชนในระดบั
อาเภอ/เขต เช่น คณะกรรมการ
นน้ั ๆ เทา่ น้ัน ไมอ่ นุญาตให้จัดเกบ็ ขอ้ มลู และ ศท. รว่ มกนั สร้างหลักสตู รพฒั นาภูมิ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตระดับอาเภอ
(พชอ.)/คณะกรรมการชุมชนระดบั
โดยวธิ กี ารคดั ลอกขอ้ มลู จากแหลง่ ขอ้ มลู ปญั ญา แบบ Online ผา่ น ETV เขต
3) สานักงาน กศน. จังหวัด/กทม.
อื่น ๆ 2) นาภมู ิปญั ญามาเปน็ วิทยากรจดั การ กศน. อาเภอ/เขต ออกแบบ
กิจกรรม และสรา้ งการมสี ่วนร่วม
2) สถาบนั ฯ ภาคบรรณาธิการ “ชุด เรยี นรู้ ตามหลักสตู รการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ของภาคีเครือข่าย เพ่อื เตรยี มความ

ข้อมูลคลังปญั ญา-ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน” การศกึ ษาต่อเน่ือง และการศกึ ษาตาม

ทีเ่ กบ็ รวบรวมได้ในภาคน้นั ให้ถูกตอ้ ง อธั ยาศัย

ครบถ้วน สมบรู ณก์ อ่ นบันทึกขอ้ มลู ใน 3) พฒั นาพน้ื ท่ีของภมู ปิ ญั ญา ใหเ้ ปน็ แหล่ง

“ระบบคลงั ปญั ญา” ที่ เรยี นรขู้ องชุมชน

https://thaisynergy.org/ 4) จัดกิจกรรมยกย่อง เชดิ ชู แหล่งเรียนรู้ให้

3) พัฒนาบุคลากร เร่ือง การบันทึก เป็นตัวอย่าง หรือต้นแบบของชุมชน

ข้อมูล “ระบบคลังปัญญา” และ“ระบบ 5) กศน. อาเภอ/เขต บนั ทกึ ขอ้ มลู แหล่ง

แหล่งเรียนรู้” แบบ Online โดย สวทช. เรยี นร้ใู น “ระบบแหล่งเรียนรู้” ของ สวทช.

เป็ น วิ ท ย า ก ร เผ ย แ พ ร่ ผ่ า น ETV เพ่ือเผยแพรส่ สู่ าธารณะ

-3-

จัดทาทาเนยี บภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ สง่ เสรมิ ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ สกู่ ารจดั การ ประสานความรว่ มมอื กบั ภาคี

เรียนรสู้ ู่ชมุ ชน เครือข่าย

4) กศน. อาเภอ/เขต บันทึกข้อมูลใน พรอ้ มใหก้ ับคนทกุ ชว่ งวยั ในชมุ ชน

ระบบ “คลังปญั ญา” ของ สวทช. ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมทม่ี กี าร

 ก า ห น ด User Name ใ ห้ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็

กศน. อาเภอ/เขต

 จัดทาคู่มือการใช้ระบบ “คลัง

ปัญญา” และ “ระบบแหล่ง

เรียนรู้”

จัดทา “บันทึกข้อตกลงความร่วมมือการพัฒนา บารุงรักษาและการเผยแพร่แบบ

Online “ระบบคลังปัญญา” และ “ระบบแหล่งเรียนรู้” ระหว่างสานักงาน กศน. และ

สานักงานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช)

หมายเหตุ เป็นความร่วมมือของ 3 หน่วยงาน

1) กศน. รับผิดชอบการสัมภาษณจ์ ัดเก็บข้อมูลภูมปิ ัญญาในท้องถนิ่ และบันทึกข้อมูลใน

ระบบคลงั ปญั ญา

2) สวทช. รับผดิ ชอบการพฒั นา “ระบบคลงั ปญั ญา” และ “ระบบแหลง่ เรียนรู้” www.

และ Server การจัดเก็บฐานขอ้ มูล

3) มสพช. สนับสนุนการจัดการความรู้และเผยแพร่คลังปัญญาเพ่ือสนับสนุนการ

ขับเคลือ่ นการบรู ณาการคณุ ภาพชวี ิตรองรับ “สงั คมสงู อายุ”

4. งบประมาณ 1,520,000 บาท (หนง่ึ ล้านหา้ แสนสองหมนื่ บาทถ้วน)

5. กรอบระยะเวลาการดาเนนิ งาน

กิจกรรม ผ้รู ับผิดชอบ งบประมาณ ต.ค. 2562 ธ.ค. 2563
พ.ย. ม.ค.-เม.ย.
1. จดั ทาทาเนียบภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ
1) กาหนด User Name ให้ กศน. อาเภอ/เขต ศกพ./กป. - 
ในการเขา้ สู่ระบบ “คลงั ปัญญา” และ “ระบบ
แหล่งเรยี นรู้” ศกพ./กป./ 200,000 
2) จดั ทาคมู่ ือการใช้ระบบ “คลังปัญญา” และ สวทช./
“ระบบแหลง่ เรียนรู้” มสพช.

3) กศน. อาเภอ/เขต เกบ็ ข้อมูลด้วยเอกสารตาม กศน. - 
“แบบบันทึกชุดข้อมูลคลังปัญญา-ภูมิปัญญา อาเภอ/เขต
ทอ้ งถนิ่ ”

-4-

กจิ กรรม ผรู้ ับผิดชอบ งบประมาณ 2562 2563
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.-เม.ย.

4) สถาบันฯ ภาค บรรณาธิการ “ชุดข้อมูลคลัง กป./ 1,000,000 

ปญั ญา-ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ” จานวน 928 เรอ่ื ง สถาบนั

ภาค

5) พัฒนาบุคลากร เร่ือง การบันทึกข้อมูล ศกพ./ 

“ระบบคลังปัญญา” และ“ระบบแหล่งเรียนรู้” กป./ศท./

แบบ Online สวทช/

มสพช.

6) จัดทา “บันทึกข้อตกลงความร่วมมือการ ศกพ./ 20,000 

พัฒนา บารงุ รกั ษาและการเผยแพร่แบบ Online กป./

“ระบบคลังปัญญา” และ “ระบบแหล่งเรียนรู้” สวทช/

ระหว่างสานักงาน กศน. และสานักงานพัฒนา มสพช.

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช)

2. ส่งเสรมิ ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นสู่การจัดการเรียนรู้

ส่ชู มุ ชน

1) พฒั นาภูมิปัญญา กพ./ศท. 300,000 

2) นาภมู ิปัญญามาเป็นวิทยากรจดั การเรยี นรู้ กศน. 

3) พัฒนาพ้ืนที่ของภูมิปัญญา ให้เป็นแหล่ง อาเภอ/ 

เรียนรูข้ องชุมชน เขต

4) จัดกิจกรรมยกย่อง เชิดชู แหล่งเรยี นรู้ให้เป็น 

ตัวอย่าง หรือตน้ แบบของชุมชน

5) กศน. อาเภอ/เขต บันทึกข้อมูลแหล่งเรียนรู้ 

ใน “ระบบแหล่งเรยี นรู้”

3. ประสานความรว่ มมือกบั ภาคีเครือข่าย

1) สานักงาน กศน. จังหวัด/กทม. สนับสนุน สานักงาน -    

อานวยความสะดวกเพ่ือให้เกิดการสื่อสาร สร้าง กศน.

ความเข้าใจกบั หัวหนา้ สว่ นราชการระดับจงั หวัด จังหวดั /

กทม.

2) กศน. อาเภอ/เขต มีส่วนร่วมในกลไกการ กศน. -   

ขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน อาเภอ/

ในระดับอาเภอ/เขต เช่น คณะกรรมการพัฒนา เขต

คุณภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.)/คณะกรรมการ

ชุมชนระดับเขต

-5-

กจิ กรรม ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ 2562 2563

3) สานักงาน กศน. จังหวัด/กทม. กศน. อาเภอ/เขต สานักงาน - ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.-เม.ย.
1,520,000
ออกแบบกิจกรรม และสร้างการมีส่วนร่วมของ กศน.  

ภาคีเครือข่าย เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับคน จังหวดั /
กทม. กศน.
ทุกช่วงวัยในชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพสังคม อาเภอ/เขต
ที่มกี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว

รวมท้ังสน้ิ

6. เกณฑ์การประเมนิ และตดิ ตาม
1) ทุกอาเภอ/เขต มีการบันทึกข้อมูลภูมิปัญญาในระบบคลังปัญญา ของ สวทช. อย่างน้อย

อาเภอละ 5 คน
2) สถานศึกษามีการสรา้ งหลักสตู รใหม่ ๆ ในการจัดการศึกษาเพ่อื พฒั นาอาชีพ พัฒนาทักษะชวี ิต

การจัดกลุม่ สนใจ ทีต่ รงกับความตอ้ งการของประชาชนในพ้ืนท่ีได้อย่างน้อย ร้อยละ 30

หนว่ ยงานผู้รบั ผดิ ชอบ
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลุ่มเปา้ หมายพิเศษ (ศกพ.)

เบอรต์ ิดตอ่ 02 281 7217

-6-

ตวั อย่างแบบบนั ทกึ

แบบบันทึกชดุ ขอ้ มลู คลังปญั ญา-ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ พัฒนาขึน้ ภายใต้งานเครอื ข่ายบรู ณาการผ้สู งู อายฯุ มสพช. - กศน.- สวทช. - สสส.

ชดุ ขอ้ มลู คลงั ปัญญาผูส้ งู อายตุ าบล.........................อาเภอ............................จังหวัด..........................

ชื่อภูมิปัญญา.............................................................................................................. ............................
รหัสภมู ปิ ัญญา (รหสั ที่หนว่ ยงานตง้ั ขึ้นเพื่อใชค้ ุมแฟม้ เอกสาร) ...................................................................
สาขาคลังปัญญา (23 สาขา) ..................................................................................................................

สาขาคลังปัญญา 23 สาขา ได้แก่ ด้านการศกึ ษา ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ดา้ นการเกษตร ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ด้านวิศวกรรม ด้านสถาปัตยกรรม ด้านการพัฒนาสังคม พัฒนาชุมชน การจัดสวัสดกิ ารชมุ ชน การสงั คม
สงเคราะห์ ด้านกฎหมาย ด้านการเมืองการปกครอง ด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ด้านศาสนา จริยธรรม ด้านพาณิชย์และ
บริการ ด้านความม่ันคง ด้านบริหารจัดการและบริหารธุรกิจ ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการคมนาคมและการส่ือสาร ด้าน
พลังงาน ดา้ นต่างประเทศ ดา้ นอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม ด้านวาทศิลป์

สาขาของภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน (10 ประเภท) .....................................................................................................

สาขาภูมิปัญญาท้องถิ่น 10 สาขา ได้แก่ สาขาเกษตรกรรม/ สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม/ สาขาการแพทย์แผนไทย/ สาขาการ
จัดการ/ สาขาทรัพยากรธรรมชาติและท้องถ่ิน/ สาขากองทุนและธรุ กิจชุมชน/ สาขาสวัสดิการ/ สาขาศลิ ปกรรม/ สาขาการจัดการองคก์ ร/
สาขาภาษาและวรรณกรรม/ สาขาศาสนาและประเพณี

ข้อมลู พน้ื ฐาน รายบคุ คล เจา้ ของภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น/บุคคลคลงั ปญั ญา

ชอื่ ........................................ นามสกุล.....................................................วันเดือนปเี กิด..................................
ท่ีอยู่ปัจจุบัน (ที่สามารถติดต่อได้) บ้านเลขท่ี ................... หมู่ท่ี .......... ตาบล/แขวง......................................
อาเภอ/เขต.......................................... จังหวดั ......................................รหสั ไปรษณยี ์ ..................................
โทรศพั ท์............................................. โทรสาร.................................... Line ID ...........................................
E-mail address: .................................................. Facebook............................................
พิกัดทางภูมศิ าสตร์ คา่ X: ........................................ คา่ Y: ........................................

กรณีเปน็ กลุ่มทางภูมิปญั ญา ขอ้ มลู พื้นฐาน รายกลุม่
ชอ่ื กลมุ่ .........................................................ผู้ประสานงานกล่มุ .......................................... ............................
ท่ีอยู่ปัจจุบัน (ท่ีสามารถติดต่อได้) บ้านเลขท่ี .................. หมู่ท่ี ..........ตาบล/แขวง......................................
อาเภอ/เขต.......................................... จงั หวัด.......................................รหัสไปรษณีย์ ...................................
โทรศัพท์............................................. โทรสาร.................................... Line ID ...........................................
E-mail address: .................................................. Facebook............................................
พิกัดทางภูมศิ าสตร์ คา่ X: ........................................ ค่า Y: ........................................

-7-

ความเป็นมาของบุคคลคลังปัญญา
................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................

จดุ เด่นของภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
....................................................................................... ...........................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................

วตั ถุดบิ ทใี่ ชป้ ระโยชน์ในผลิตภัณฑท์ เ่ี กิดจากภูมปิ ญั ญา ซงึ่ พ้ืนทอ่ี ่ืนไมม่ ี ไดแ้ ก่
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................

รายละเอียดของภูมิปัญญาท้องถ่ิน (ลักษณะภูมิปัญญา/รูปแบบ/วิธีการ/เทคนิคที่ใช้/ภาพถ่ายหรือภาพวาด
ประกอบ/พัฒนาการของผลิตภัณฑ์หรือผลงาน/กระบวนการสร้างภูมิปัญญา/ลักษณะการใช้ประโยชน์จาก
ภมู ปิ ัญญาทีเ่ กดิ ขนึ้ ฯลฯ)
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
....................................................................................... ...........................................................................................
..................................................................................................................................................................................

-8-

รูปแบบและลักษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น (ที่สะท้อนความน่าเชื่อถือ

การยอมรับผ่านบุคคล/ชุมชน/องค์กร/รางวัล/ใบประกาศ/การจดทะเบียนลิขสิทธ์ิ ส่ือดิจิทัล/เอกสารเผยแพร่

แผ่นพับ คลิป(VDO) ฯลฯ)

 ยังไม่เคยมีการเผยแพร่/ใช้เฉพาะบคุ คล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชมุ ชน

 มกี ารเผยแพร่ผ่านสอ่ื มวลชนและส่อื อ่ืนอย่างแพร่หลาย

 มกี ารดูงานจากบคุ คลภายนอก จานวน ................. ครั้ง จานวน .................... คน

 มกี ารนาไปใช้ ในพ้ืนท่ี ................ คน นอกพืน้ ท่ี ............... คน

 อืน่ ๆ (ระบุ)

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

ลักษณะของภูมิปัญญาท้องถ่ิน การพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาให้เป็นนวัตกรรม คุณค่า (มูลค่า) และ
ความภาคภมู ใิ จ
 ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ /นวตั กรรมทคี่ ดิ คน้ ขึ้นมาใหม่
 ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นดัง้ เดมิ ได้รบั การถา่ ยทอดมาจาก
.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................
 ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ทไ่ี ด้พฒั นาและต่อยอด

แบบเดมิ คือ

............................................................................................................................ ..........................................
............................................................................................................................. .........................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................
การพัฒนาต่อยอดคือ

............................................................................................................................. .........................................

.................................................................................................................................................................... ..
......................................................................................................................................................................

รายละเอียดเพม่ิ เติม (สามารถใสข่ ้อมลู ลงิ ค์วดิ โี อ หรอื เวบ็ ไซตท์ ี่เก่ียวข้อง)................................................

......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

-9-

ถ่ายภาพบคุ คล และอุปกรณ/์ เครอื่ งมอื / สงิ่ ทปี่ ระดิษฐ์ (ชิน้ งานหรือผลงาน)
รูปภาพเจ้าของภูมิปัญญา ... (สามารถนาไฟล์รปู ภาพมาบันทึกลงระบบคอมพวิ เตอรไ์ ด้) ............
รูปภาพภมู ปิ ญั ญา ................ (สามารถนาไฟลร์ ูปภาพมาบันทกึ ลงระบบคอมพวิ เตอร์ได้) .............

ชื่อ – สกลุ ผบู้ นั ทกึ ขอ้ มลู .............................................................. เบอร์ติดตอ่ /LineID ………...………
หนว่ ยงาน/ สถานศึกษา .................................................................... วันท่บี นั ทึกขอ้ มลู ............................

-------------------------------------------------------

- 10 -

ตัวอย่างการบนั ทกึ จดั เก็บข้อมูลคลังปญั ญา ที่ https://thaisynergy.org/ เร่อื งนา่ รู้ คลงั ปัญญา

กระต๊บิ ขา้ วจากใบตาล
โดย: null | วันท่ี 2 ตุลาคม 2562 | อา่ น: 22
โดยคุณปา้ ต่อมคา อนิ นาค @ตาบลเกาะคา อาเภอเกาะคา จังหวดั ลาปาง

กระต๊ิบข้าวจากใบตาล คือภูมปิ ัญญาที่สืบทอดมาต้ังแต่สมัยบรรพบุรุษ สมัยก่อนคนเหนือแทบทุกบา้ นจะมกี ระต๊ิบข้าวจากใบตาล
ไว้ใสข่ า้ วเหนียว สมัยนี้กย็ งั คงมีให้เหน็ อยูม่ าก ทาใหก้ ระตบ๊ิ ข้าวจากใบตาลยงั คงเป็นทต่ี อ้ งการของตลาด

คุณป้าต่อมคา อินนาค คือผู้ท่ีเรียนรู้การทากระต๊ิบข้าวจากใบตาลคุณพ่อคุณแม่ต้ังแต่อายุ 7 ขวบ เนื่องจากเป็นอาชีพของ
ครอบครัว ใบตาลที่นามาใช้ก็มาจากต้นตาลในนาของปู่ย่าตายายท่ปี ลกู เอาไว้ พอทาเสร็จคุณพอ่ คุณแม่กจ็ ะหาบไปขายที่ตลาดโดย
คุณป้าต่อมคาตามไปขายดว้ ย ทาให้คุณปา้ คลุกคลีอยู่การการทาและขายกระติบ๊ ขา้ วจากใบตาลต้ังแตเ่ ดก็ พอโตเปน็ สาวออกเรือนมี
ลูก คุณป้าก็ทานาเปน็ อาชีพหลกั ยามวา่ งก็นาใบตาลมาสานกระติบ๊ ขา้ วขาย โดยจะมีพอ่ คา้ คนกลางมารบั ซ้อื เพ่ือนาไปขายตอ่ ในที่
ต่างๆ เช่นในจังหวัดลาปาง เชียงราย เชียงใหม่และลาพนู เป็นต้น จนกระท่งั ชว่ งอายุ 40 คุณป้าต่อมคาต้องไปอยูก่ รุงเทพเพื่อเลยี้ ง
หลานทาให้ขาดช่วงการสานกระต๊ิบข้าวจากใบตาลไปประมาณ 20 ปี ก่อนที่จะกลับมาอยู่บ้านอีกคร้ัง คุณป้าต่อมคาเล่าถึง
พัฒนาการการสานกระต๊ิบข้าวจากใบตาลให้ฟังวา่ สมัยก่อนจะสานกระติ๊บข้าวเป็นลายธรรมดา ต่อมาเมื่อประมาณ 3-4 ปที ี่ผ่าน
มาคุณป้าได้เหน็ พอ่ ค้าจงั หวดั แพร่นากระตบ๊ิ ข้าวลวดลายสวยงามมาขายก็เกิดความชอบ จงึ ไดซ้ อ้ื มาเพ่ือรือ้ แกะลายด้วยตวั เองทาให้
มลี ายใหม่เพ่ิม 2 ลาย คือลายฉลูหลวงโบราณ กับลายดอกเล็บมอื นาง ส่วนเรื่องใบตาลท่ีใช้ทากระต๊ิบขา้ ว คณุ ป้ายังคงใช้ใบตาล
จากที่นาเดมิ แต่จะจ้างให้คนขน้ึ ไปเก็บมาให้ ค่าจ้างข้ึนต้นตาล 1 ตน้ 300 บาท ได้ใบตาล 10 กว่าใบ เม่ือได้ใบตาลแลว้ คุณป้าจะ
เอามาตากและรีดให้เรียบ ก่อนที่จะนามาสาน โดยช่วงท่ีสานจะมีการนาใบตาลจุ่มน้าเป็นระยะเพอื่ ให้ใบตาลน่ิมสานงา่ ย สาหรับ
ราคาขายถ้าเปน็ ลายดอก กล่องเลก็ ราคา 40 บาท กลอ่ งใหญ่ 50 บาท ถา้ สงั่ ขนาดใหญข่ น้ึ ไปอกี ก็จะบวกราคาเพม่ิ ข้ึน คณุ ป้าต่อม
คาเล่าว่าพอทากระติ๊บข้าวจากใบตาลแบบมีลายทาให้ขายได้ราคาดีกว่าเดิม จากที่ขายลายธรรมดากล่องละ 10-15 บาท
นอกจากนี้ยังทาใหข้ ายไดม้ ากขึน้ กวา่ เดิมดว้ ย ปัจจบุ ันคณุ ป้ากับสามจี ะช่วยกันทากระต๊บิ ขา้ วจากใบตาลกนั 2 คน เน่อื งจากมคี นสง่ั
เป็นจานวนมาก ลูกค้าแต่ละที่จะสั่งทีละ 100-200 ลูก คุณป้ากับสามีจะสามารถทาได้วันละ 7-10 ลูก แล้วแต่ขนาด (ทาท้ัง
กลางวันกลางคนื ) บางครั้งทางโรงเรยี นผสู้ งู อายกุ ็จะตดิ ตอ่ ใหน้ าไปขายในวันที่มกี ารเปดิ การเรียนการสอน

- 11 -

กระติ๊บข้าวจากใบตาลฝีมือคุณป้าต่อมคา เป็นสินค้าท่ีได้รับความนิยมสูง เพราะนอกจากจะสามารถนาไปใส่ข้าวเหนียวได้แล้ว
กระตบิ๊ ข้าวท่ีเป็นแบบลายดอกยังไดร้ ับความนิยมในการนาไปเป็นของฝาก ใส่ของชาร่วย ใส่เครอ่ื งประดับ อกี ท้งั ยงั นาไปใส่ในต้โู ชว์
เพอื่ ให้ลกู หลานดูดว้ ย และทผ่ี า่ นมาคุณปา้ กม็ ักจะได้รบั คาชมจากลกู ค้าบ่อยๆ ทาใหค้ ณุ ปา้ รสู้ ึกภาคภูมิใจมาก

ดา้ นการถ่ายทอดความรู้ คณุ ป้าเคยเป็นวิทยากรสอนเด็กนักเรียนประถมในโรงเรียนวอแก้ววิทยา สอนผู้สูงอายุในโรงเรยี นผู้สูงอายุ
และสอนบุคคลท่วไปท่ีมาขอเรียนท่ีบ้าน แต่ว่าไม่ค่อยมีใครทาได้สวย และหลายคนบอกว่าทายาก ทาให้ทาได้แค่ลายธรรมดา
เท่านั้น ในระยะหลังน้ีคุณป้าต่อมคามีรายได้จากการสานกระติ๊บข้าวเดือนละประมาณ 7,000 บาท แต่คุณป้าก็ไม่ได้เน้นทาเพื่อ
ขายอยา่ งเดยี ว เพราะคุณปา้ ทาแจกคนอน่ื ด้วย ทาไปขายไปแจกไป ทาให้คณุ ป้ามคี วามสุขที่ไดแ้ บ่งปัน
“เรารู้สึกภูมิใจมากท่ีเขาชมว่าเราทากระติ๊บข้าวสวย พอเขาชมเราก็ยิ่งตั้งใจทาแบบละเอียดละออมากขึ้น เวลาทาก็จะรู้สึก
สนกุ มาก ไมเ่ หนือ่ ยเลย” คุณปา้ ต่อมคา กล่าว
จากความรู้ทีส่ ืบทอดมาจากรุ่นพ่อแม่ สู่การทาอาชพี ทสี่ ร้างรายไดใ้ นยามเกษียณ วนั น้คี ุณป้าต่อมคามีความสุขกับการพ่ึงพาตนเอง
ดว้ ยการสานกระต๊ิบข้าวขายเป็นอาชีพ และเผ่ือแผ่สู่ผู้อ่ืน ท้ังการให้กระติ๊บข้าว และการให้ความรู้เร่ืองการสานกระตบิ๊ ข้าวโดยไม่
หวงวิชา.. และนี่กค็ อื ความสขุ ของผสู้ ูงวยั ท่ีมหี ัวใจรกั การสรา้ งงานศิลปะโดยไมค่ ดิ วา่ อายุคอื อปุ สรรคในการสร้างสรรคง์ าน

ขอ้ มลู เพม่ิ เติมครูภมู ปิ ัญญา “กระติ๊บข้าวจากใบตาล”
คณุ ปา้ ต่อมคา อนิ นาค
เกดิ วันท่ี 21 มีนาคม 2490 อายุ 71 ปี
เบอร์โทรตดิ ต่อ 062-295-4733
ขอขอบคณุ
สานักงานกองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส.)
มูลนิธสิ ถาบันวจิ ยั และพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (มสพช.)
สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (กศน.)
ศนู ยเ์ ทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สานักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

ด้านที่ 5.1 - 5.3
- เร่งจดั ต้ังศูนย์ให้คาปรกึ ษาและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ Brand กศน.
- สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยใี นการปฏิบัติงาน การบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรียนรู้

- ใหม้ ีการใช้วิจัยอย่างงา่ ยเพอื่ การสรา้ งนวัตกรรมใหม่

รายละเอยี ดขอ้ มูล การขับเคลอื่ น กศน. สู่ กศน. WOW

ดา้ นท่ี 5 พฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษา เพอ่ื ประโยชนต์ อ่ การจัดการศึกษาและกลมุ่ เปา้ หมาย : Good Innovation
ข้อที่ 5.1 เร่อื ง เรง่ จดั ตั้งศูนย์ใหค้ าปรกึ ษาและพฒั นาผลติ ภัณฑ์ Brand กศน.
ข้อที่ 5.2 เรอื่ ง สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏบิ ตั งิ าน การบริหารจดั การ และการจัดการเรียนรู้
ขอ้ ท่ี 5.3 เรื่อง ให้มีการใชว้ จิ ยั อยา่ งงา่ ยเพ่ือสรา้ งนวตั กรรมใหม่

แนวทางขบั เคลือ่ นโครงการ Digital Community Center
ศูนย์ “Advice Innovative Learning Center”

1. วตั ถปุ ระสงค์
1. เรง่ จัดต้ังศนู ย์ให้คาปรึกษา และพฒั นาผลิตภนั ฑ์ Brand กศน.
2. ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยใี นการปฏิบตั งิ าน การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้
3. ส่งเสริมใหป้ ระชาชนนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาอาชีพและผลิตภัณฑข์ อง

ตนเอง
4. เพ่มิ ช่องทางในการจัดจาหนา่ ย ต่อยอดอาชพี และการขยายผลการพฒั นาอาชีพและผลติ ภณั ฑใ์ ห้

ประชาชน
5. ใหม้ กี ารใชว้ ิจยั อย่างงา่ ยเพื่อการสรา้ งนวตั กรรมใหม่

2. แนวทางในการขับเคลอ่ื น
1. กาหนดแนวทางในการดาเนนิ งานของศนู ย์ “Advice Innovative Learning Center”
2. สรา้ งความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั แนวทางการดาเนินงานของศนู ย์ “Advice Innovative

Learning Center”
3. จดั ต้ังศนู ย์“Advice Innovative Learning Center” จานวน 928 ศูนย์
4. สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยใี นการปฏบิ ัติงาน การบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรยี นรู้
5. สรุปผลการพฒั นา/ปรับปรงุ
6. ให้มีการวจิ ยั อยา่ ง่ายเพอ่ื สรา้ งนวตั กรรม

3. บทบาทหนา้ ท่ี
1. ให้คาปรกึ ษาด้านดจิ ิทลั
2. เปน็ ศูนย์เรียนรู้
3. สือ่ ศนู ยใ์ นการแลกเปล่ยี น จาหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ของประชาชน

กรอบแผนการขับเคลือ่ นศนู ย์ “Adv

กจิ กรรม

1. กาหนดแนวทางในการดาเนินงานของศนู ย์ “Advice Innovative Learning Center”
1.1 กาหนดรูปแบบของศูนย์
1.1.1 สถานที่
1.1.2 เพจ
1.1.3 เวบ็ ไซต์
1.2 จดั ประกวด Brand กศน.
1.3 กาหนดผูร้ ับผดิ ชอบ
1.3.1 ระดบั สานักงาน กศน.
1.3.2 ระดบั จงั หวัด
1.3.3 ระดบั อาเภอ
1.4 กาหนดภารกิจของศูนย์
1.5 องคค์ วามรู้
1.5.1 การบรหิ ารจดั การ
- ช่องทางการประชาสัมพันธ์
- การตลาด
- ชอ่ งทางการจาหน่าย
- การบรหิ ารจัดการศูนย์
1.5.2 สื่อ/สารสนเทศ
1.5.3 การยกระดับการผลิต
1.5.4 การพัฒนาผลติ ภัณฑ์
1.5.5 การจัดประกวด Brand กศน.
1.5.6 ช่องทางการจาหนา่ ย

vice Innovative Learning Center”

ระยะเวลา
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

กรอบแผนการขับเคลื่อนศูนย์ “Adv

กจิ กรรม

2. สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับแนวทางการดาเนินงานของศูนย์ “Advice
Innovative Learning Center”

2.1 ผู้บรหิ าร
2.2 ครู
3. จัดตั้งศนู ย์“Advice Innovative Learning Center” จานวน 928 ศนู ย์
4. ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยใี นการปฏบิ ัติงาน การบริหารจัดการ และการจัดการเรยี นรู้
4.1 เพจ
4.2 เวบ็ ไซต์
5. สรุปผลการพัฒนา/ปรบั ปรงุ
6. ใหม้ กี ารวิจยั อยา่ งา่ ยเพ่อื สร้างนวัตกรรม
6.1 ติดตาม/ประเมินผล

vice Innovative Learning Center”

ระยะเวลา
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ดา้ นท่ี 6.1 - 6.2
- ให้เร่งประสานกบั สพฐ. เพอื่ จดั ทาทาเนยี บขอ้ มลู โรงเรยี นทยี่ บุ รวมหรือคาดวา่

นา่ จะถูกยบุ รวม
- ใหส้ านักงาน กศน. จงั หวดั ในจงั หวดั ทมี่ ีโรงเรียนทถ่ี ูกยุบรวมประสานขอใชพ้ ้นื ที่

เพอ่ื จดั ตงั้ ศนู ย์การเรียนรูท้ กุ ช่วงวยั กศน.

รายละเอยี ดข้อมลู การขับเคล่อื น กศน. สู่ กศน. WOW

ดา้ นที่ 6 จัดตง้ั ศูนย์การเรยี นร้สู าหรบั ทกุ ชว่ งวัย : Good Learning Centre
ขอ้ ที่ 6.1 เร่อื ง เรง่ ประสานงานกับ สพฐ. เพ่ือจัดทาทาเนียบขอ้ มูลโรงเรียนท่ีถูกยุบรวมหรือคาดว่าน่าจะถูกยบุ รวม
ขอ้ ท่ี 6.2 เร่ือง ให้สานักงาน กศน. จังหวัด ในทกุ จงั หวดั ทม่ี โี รงเรียนท่ีถูกยบุ รวมประสานขอใช้พืน้ ที่ เพ่อื จดั ต้ัง

ศูนย์การเรยี นรู้สาหรับทกุ ช่วงวัย กศน.

1. หลกั การและเหตุผล
กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายท่ีจะขับเคล่ือนการศึกษา การจัดการเรียนรู้ภายใต้แผนปฏิรูปประเทศ

ในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ การยกระดับคุณภาพการศึกษา ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา มุ่งความเป็นเลิศ
และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
และกระทรวงศึกษาธิการ ยังได้มีนโยบายในการยุบเลิกโรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ท่ีมีขนาดเล็กและไม่มีผู้เรียน แต่ยังมีอาคารเรียนท่ียังใช้ประโยชน์ได้ และมีหน่วยงานหลายหน่วยงานที่ได้เข้าไปใช้
ประโยชน์จากโรงเรียนท่ไี ม่มีผเู้ รยี น ดังนน้ั เพื่อใหเ้ กิดประโยชนใ์ นด้านการจัดการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง รัฐมนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ (นางกนกวรรณ วิลาวัลย์) ได้มีนโยบายในการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กท่ีไม่มีผู้เรียน ให้เป็น
ศูนย์การเรียนรตู้ ลอดชีวิตที่สามารถให้บรกิ ารประชาชนในชุมชน มีกิจกรรมทห่ี ลากหลาย สนองตอบความต้องการ
ในการเรยี นรู้ของกลมุ่ เป้าหมายได้ทุกคน ทุกช่วงวยั

เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปตามนโยบายของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางกนกวรรณ
วิลาวัลย์) สานักงาน กศน. จึงได้จัดตั้ง “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” (Good Learning Centre)
เป็นศูนย์บริการความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร เป็นศูนย์การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ที่ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย เพื่อส่งเสริมสร้างความสัมพันธ์ของประชาชนทุกช่วงวัย ชุมชน ภาคีเครือข่าย โดยใช้
สถานที่ของโรงเรียนในสังกัด สพฐ. ท่ีถูกยุบเลิก นาร่องในการดาเนินงาน รวม 18 แห่ง และในการดาเนินงาน
ภายในศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน. สานักงาน กศน. ยังได้มีแนวคิดท่ีจะนาเอาระบบดิจิทัลมาเป็น
เครื่องมือในการจัดการศึกษา รูปแบบการเรียนรู้ด้วยระบบออนไลน์ ซึ่งถือได้ว่า เป็นการเรียนรู้ท่ีไม่แบ่งชนช้ัน
ให้โอกาสการเรียนรู้กับประชาชนทุกเพศ ทุกวยั ทุกกลุ่มอายุ สามารถเรยี นได้ทุกที่ ทุกเวลา มีหลักสตู รที่หลากหลาย
เพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนที่สนใจจะเรียนรู้พัฒนาตนเอง พัฒนาทักษะอาชีพ เพ่ือการมีงานทา
นับเป็นการเปล่ียนแปลงท่ีตอบสนองต่อนโยบายการปฏิรูปประเทศของรัฐบาลปัจจุบันเป็นอย่างย่ิง ท้ังน้ี ได้มี
หน่วยงานในสังกดั สานักงาน กศน. ได้เข้าไปใช้ประโยชนจ์ ากพื้นท่ีของโรงเรยี นขนาดเล็กทีย่ ุบเลกิ แล้ว เพอ่ื เป็นที่ตั้ง
ของสถานศกึ ษา และจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของสถานศึกษาในสังกดั สานกั งาน กศน. รวม 44 โรงเรียน

2. เป้าหมายตัวช้ีวดั
2.1 เชงิ ปริมาณ
- จดั ต้งั “ศนู ยก์ ารเรยี นรู้สาหรบั ทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... นารอ่ งในพื้นท่ี รวม 18 แหง่
2.2 เชงิ คุณภาพ
1) “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... ที่จัดต้ังขึ้น จะมีความพร้อมในการ

ใหบ้ ริการแก่กลมุ่ เปา้ หมายทุกชว่ งวยั
2) เป็น “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... ท่ีสามารถจัดกิจกรรมได้

ครอบคลุม ทกุ กลมุ่ ชว่ งวยั ไดแ้ ก่ วยั เด็ก วัยทางาน และวยั สูงอายุ

-2-

3) เปน็ การสรา้ งความสัมพันธ์ในครอบครวั เกดิ ความผูกพันระหว่างคนในครอบครัว
4) เพือ่ ใหเ้ กดิ การรว่ มมือกันระหวา่ งภาคีเครือข่าย และชุมชน

3. แนวทางการดาเนินงาน “ศูนย์การเรยี นรสู้ าหรบั ทุกชว่ งวยั กศน.” กศน.ตาบล...
ภารกิจ
การจัดต้ัง “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้คนใน

ชุมชนใชเ้ ปน็ ที่จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ของชมุ ชน อาทิ
1. กิจกรรมด้านสุขภาวะพื้นฐาน เช่น ออกกาลังกาย เผยแพร่ความรู้ด้านสุขอนามัยเบ้ืองต้นผ่านสอ่ื ต่าง ๆ

เสรมิ สรา้ งความรดู้ า้ นการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ฯลฯ
2. กิจกรรมการเรียนรู้ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น ปลูกต้นไม้ร่วมกันในชุมชน ฝึกให้เด็กรักธรรมชาติ

สนใจสิ่งแวดล้อม ช่วยกนั ลดโลกร้อน ปลกู ผักสวนครวั ฯลฯ
3. กิจกรรมการเรียนรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ในโอกาสสาคัญต่าง ๆ ที่ทุกคนสามารถทาได้

เช่น การทาของขวัญ เครื่องประดับ จัดตั้งชมรมดนตรีไทย ดนตรีสากล ชมรมนาฏศิลป์ไทย กิจกรรมในงาน
เทศกาลวันสาคัญทางศาสนา วาดรูปตามจินตนาการ ระบายสีตามอารมณ์ ทาผ้ามัดย้อม ทาผ้าบาติก ทอผ้า
รวมกลุ่มกันทางานเพ่ือสังคม เช่น ทาบ้านปลาเพื่อนาไปวางกลางทะเลปีละครั้งเพื่อเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของปลา
ตวั เล็ก ๆ ฯลฯ

๔. ศูนย์กลางการจัดกิจกรรมของคนในชุมชนและต่างชุมชน เช่น เวทีชาวบ้าน เวทีประชาคม เวทีแลกเปล่ียน
ความคิดเหน็ สถานที่พบปะเสวนา ตลาดนัดชมุ ชน ฯลฯ

โดยมีแนวทางการดาเนนิ งาน ดงั น้ี
๓.๑ การขบั เคลอ่ื นกิจกรรมของ “ศนู ย์การเรยี นร้สู าหรบั ทุกชว่ งวยั กศน.” กศน.ตาบล...

๑) การจัดตัง้ “ศูนย์การเรียนรสู้ าหรบั ทุกชว่ งวยั กศน.” กศน.ตาบล...
- ใช้พ้ืนที่ของโรงเรียนในสังกัด สพฐ. ที่ถูกประกาศยกเลิก โดยปรับสถานภาพโรงเรียน

ที่ถูกควบรวมให้เป็น “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... โดยปรับปรุง ซ่อมแซม ให้มีสภาพ
และความเหมาะสมในการจดั กิจกรรม

- มีหนงั สอื อนุญาตจากผมู้ ีอานาจให้ใช้สถานท่ี/หรือมีกรรมสิทธิ เพ่ือจัดตง้ั “ศูนย์การเรียนรู้
สาหรบั ทกุ ช่วงวยั กศน.” กศน.ตาบล...

- พัฒนา “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล...เพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้
ตลอดชีวิตของชมุ ชน

๒) แต่งตงั้ ครู กศน.ตาบล เป็นผรู้ ับผดิ ชอบในการปฏิบัตงิ านจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ใน “ศนู ย์การ
เรียนรสู้ าหรับทุกชว่ งวยั กศน.” กศน.ตาบล...

๓) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลและสารสนเทศระดับชุมชนให้ครบถว้ น ถูกต้อง ทนั สมัย เพื่อประโยชน์
ในการวางแผนการจดั การเรียนรู้

๔) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพ่ือเป็นกลไกสาคัญในการส่งเสริม
ใหป้ ระชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมลู ข่าวสารและแหลง่ ความรู้ทีห่ ลากหลาย ได้อย่างทันความต้องการ

๕) นาเสนอความรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันสมัย ตามความต้องการและความสนใจของ
ชุมชนในรปู แบบทหี่ ลากหลาย

-3-

6) พัฒนา ครู กศน.ตาบล ให้เป็นนักจัดการความรู้มืออาชีพ โดยจัดให้มีระบบการพัฒนา
สมรรถนะบคุ ลากรใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล

7) จัดให้มีการพัฒนาความรู้ให้กับคณะกรรมการ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล... เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล... ความร้เู ร่อื งการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

8) จัดทาแผนปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตลอดชีวิตโดยให้คณะกรรมการ กศน.ตาบล
ชุมชน และผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการดาเนินการ

9) พัฒนารูปแบบการให้บริการใน “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล...
ให้มีความสอดคลอ้ งกบั ความต้องการและรปู แบบการดาเนินชีวิตของชมุ ชน

10) ออกแบบกิจกรรม/โปรแกรมการศึกษาที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมาย มีการบูรณาการ
ระหว่างวถิ ชี วี ติ การทางาน และการเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งเป็นเรื่องเดยี วกนั

11) จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
ในชุมชนท้ังท่ีมีรปู แบบและไร้รูปแบบ (ไม่มีรอบ ไม่มีรุ่น ไม่จากดั จานวน) โดยใช้ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรบั ทุกช่วงวัย
กศน.” กศน.ตาบล... เป็นฐานและประสานภาคเี ครือขา่ ยรว่ มดาเนนิ การ

12) ส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในชุมชนใช้ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล... เป็นที่จัดกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน อาทิ ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม กฬี า การส่งเสริมสุขภาพ เวที
ประชาธิปไตย ตลอดจนเป็นเวทแี ลกเปล่ียนเรียนรู้ของคนในชมุ ชนและต่างชมุ ชน

13) ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนและทุกภาคส่วนของชุมชนเห็นความสาคัญ
และเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... ทั้งในฐานะ
ผู้รับบริการ ผู้ให้บริการ และผู้ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงาน “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล...

14) ประสานความร่วมมือในแนวราบกับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ท้ังด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศูนย์ซ่อมสร้าง ช่างชนบท อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน อาชีพ กิจกรรมสาหรับ
เด็ก เยาวชน และผู้สูงอายุ และกิจกรรมตามความสนใจอ่นื ๆ

15) สง่ เสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนรว่ มในการพัฒนางาน “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับ
ทกุ ชว่ งวัย กศน.” กศน.ตาบล... อยา่ งต่อเน่ือง

๓.๒ บทบาทหนา้ ที่
1) บทบาทหน้าที่ของครู กศน.ตาบล ท่ีปฏิบัติงานใน “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”

กศน.ตาบล...
1.1) ศึกษาสารวจชุมชนโดยละเอยี ด เพื่อจัดทาฐานขอ้ มลู ชุมชน ซึ่งประกอบด้วยขอ้ มูลประชากร

จาแนกตามอายุ เพศ อาชพี ฯลฯ ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพทางภมู ิศาสตร์ ประวัติชมุ ชน ขอ้ มลู ดา้ นอาชีพ รายได้ ข้อมูล
ทางสงั คม ประเพณวี ฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น

1.2) จัดเวทีประชาคมร่วมกับชุมชน และหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อร่วมกันจัดทาแผนงานโครงการที่ระบุ
ความต้องการในการพัฒนาชุมชน ความต้องการการเรียนรู้ หรอื การศึกษาตอ่ ฯลฯ ของประชาชนในชุมชน

1.3) จัดทาโครงการ/กิจกรรมร่วมกับชุมชนที่ผ่านความเห็นชอบของชุมชน เพ่ือขอรับการสนับสนุน
งบประมาณ และประสานขอความรว่ มมือจากภาคีเครอื ข่ายในการดาเนินกิจกรรมร่วมกนั

-4-

1.4) ประสานงานแสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้ทรงคุณวุฒิ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนอาสาสมัครต่าง ๆ เพื่อร่วมจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัยของชุมชนท่ีรบั ผิดชอบ

1.5) จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และตรงตามความต้องการของชุมชนทุกชว่ งวัย

๒) บทบาทหน้าท่ีของ “ศนู ยก์ ารเรยี นรู้สาหรบั ทกุ ชว่ งวัย กศน.” กศน.ตาบล...
2.1) การวางแผนการพัฒนาและแผนปฏิทินเป็นรายเดือนของโครงการเพื่อส่งเสริมสนับสนุน

โครงการใน “ศูนย์การเรยี นร้สู าหรับทกุ ชว่ งวัย กศน.” กศน.ตาบล...

- จดั ทาฐานขอ้ มลู ชมุ ชน
- จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี
2.2) จัดให้บริการการเรียนรู้ใน “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... ร่วมกับ
ภาคีเครอื ข่าย
2.3) สร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน โดยการประสานขอความร่วมมือจาก
ภาคีเครือข่าย องค์กรชุมชนผู้รู้ ผู้ทรงคุณวุฒิตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่ือร่วมเป็นอาสาสมคั ร กศน. อาสาสมัคร
สง่ เสรมิ การอ่าน เป็นตน้
2.4) ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่แผนงาน โครงการ กิจกรรมและผลการดาเนินงานของ “ศูนย์การ
เรียนรูส้ าหรบั ทกุ ช่วงวยั กศน.” กศน.ตาบล... ในรูปแบบตา่ ง ๆ
2.5) รายงานผลการปฏิบัตงิ าน

- รายงานข้อมูลท่เี ก่ียวข้องตามแบบและระยะเวลาที่กาหนด
- รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านประจาปี

3) บทบาทหน้าที่ของ กศน.อาเภอ/เขต ท่ีมีต่อ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล...

3.1) สร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิตของคนในชุมชน ตั้งแต่
เดก็ วยั กอ่ นเรยี นจนถงึ วยั ผู้สูงอายุ

3.2) สนบั สนนุ งบประมาณตามแผนปฏิบัติงานประจาปี ของ “ศูนยก์ ารเรยี นร้สู าหรบั ทกุ ช่วงวยั กศน.”
กศน.ตาบล...

3.3) จดั ซ้ือ จัดหาสื่อ วสั ดุ อุปกรณ์ ทีจ่ าเปน็ ต่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้และการใหบ้ ริการ
3.4) พฒั นาอาสาสมัคร และคณะกรรมการ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล...
3.5) ประสานภาคเี ครือข่ายเข้าร่วมจดั กิจกรรม ร่วมกับ “ศูนย์การเรยี นร้สู าหรับทุกชว่ งวัย กศน.”
กศน.ตาบล...
3.6) รว่ มกบั “ศูนย์การเรียนรู้สาหรบั ทกุ ชว่ งวัย กศน.” กศน.ตาบล... จดั กิจกรรมการเรยี นรู้
3.7) นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน “ศูนยก์ ารเรยี นร้สู าหรับทุกช่วงวยั กศน.”
กศน.ตาบล...
3.8) สรปุ วเิ คราะห์ ผลการดาเนนิ งาน “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทกุ ชว่ งวัย กศน.” กศน.ตาบล...
ในระดับอาเภอรายงานสานกั งาน กศน.จงั หวัด
3.9) เสรมิ สรา้ งแรงจูงใจในการปฏิบัติงานในรปู แบบตา่ ง ๆ

-5-

4) บทบาทหน้าท่ีของสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. ที่มตี ่อ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล...

4.1) ชแ้ี จงนโยบายจุดเนน้ การดาเนินงาน
4.2) สนับสนุนงบประมาณตามแผนปฏบิ ัติงานประจาปี “ศูนย์การเรียนรสู้ าหรบั ทุกช่วงวยั กศน.”
กศน.ตาบล...
4.3) พัฒนาครู อาสาสมัคร “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... ให้เป็น
นักจดั การความรมู้ ืออาชพี
4.4) ประสานภาคีเครือข่ายระดับจังหวัดเข้าร่วมจัดกิจกรรม ร่วมกับ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับ
ทุกชว่ งวยั กศน.” กศน.ตาบล...
4.5) กากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล...
4.6) จัดทาเกณฑ์การประเมินผลการดาเนินงานของ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล... ใหเ้ ป็นไปตามทสี่ านักงาน กศน. กาหนด

5) บทบาทหน้าที่ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ศูนย์วิทยาศาสตร์
เพ่ือการศึกษา และสถานศึกษาขึ้นตรงที่อยู่ในจังหวัดนั้น ๆ ท่ีมีต่อ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล...

5.1) ร่วมจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้านอาชพี
5.2) รว่ มจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนด้านวทิ ยาศาสตร์
5.3) ร่วมจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เกษตรทฤษฎใี หม่
ศาสตร์พระราชา

6) บทบาทหน้าที่ของสถาบัน กศน.ภาค ที่มีต่อ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล...

6.1) สนับสนุนสอื่ การเรียนรู้
6.2) ร่วมพฒั นาหลักสูตรการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
6.3) รว่ มพฒั นาครู กศน. ตาบล

7) บทบาทหน้าที่ของสานักงาน กศน. ที่มีต่อ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล...

7.1) วางแผนและจัดรูปแบบ องค์ประกอบ กรอบแนวทางในการขับเคล่ือนกิจกรรมของ
“ศนู ย์การเรยี นรสู้ าหรับทุกช่วงวยั กศน.” กศน.ตาบล...

7.2) ดาเนินงานจัดสรรงบประมาณเพื่อดาเนินงานใน “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล...

7.3) จัดประชุม ชี้แจง ติดตามผลการดาเนินงาน “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล...

-6-

7.4) สรุปรายงานผลการดาเนินงานของ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรบั ทกุ ชว่ งวัย กศน.” กศน.ตาบล...
ให้ผู้บริหาร สานักงาน กศน. ทราบ เพ่ือนาไปใช้เป็นฐานข้อมูลในการวางแผน วิเคราะห์ และพัฒนา “ศูนย์การ
เรยี นรสู้ าหรับทุกช่วงวยั กศน.” กศน.ตาบล... ในอนาคตต่อไป

7.5) แตง่ ตง้ั คณะทางานของ “ศูนยก์ ารเรียนรสู้ าหรับทกุ ชว่ งวยั กศน.” กศน.ตาบล...

3.3 เกณฑก์ ารประเมินและติดตาม
๑) ดาเนินการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดาเนินงานของ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับ

ทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... ร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ รายงานผลต่อที่ประชุม คณะกรรมการศึกษาธิการ
จังหวัด หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง และสานกั งาน กศน. ทราบ

2) เผยแพร่ผลการดาเนินงานในรอบ 6 เดือน ของ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล... เพื่อให้ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบกิจกรรมและความเคล่ือนไหวของ “ศูนย์การเรียนรู้
สาหรับทกุ ช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล...

3) จัดให้มีการจัดทาเกณฑ์และการประกวด“ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล...
เพื่อเปน็ ขวัญและกาลงั ใจในการปฏิบัติงาน และเปน็ การเผยแพรผ่ ลการดาเนินงาน

................................................................................

-7-
รายละเอียดการดาเนินงาน “ศนู ยก์ ารเรยี นรู้สาหรับทุกชว่ งวยั กศน.” กศน.ตาบล... ของพ้ืนทีน่ ารอ่ ง 18 แหง่

กจิ กรรม หว้ งเวลา ปีงบประมาณ 2563
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

(1) ปรับสถานภาพของโรงเรียนใน
สังกัด สพฐ. ที่ถูกประกาศยกเลิก โดย
ปรับปรุง ซ่อมแซม ให้มีสภาพ และ
ความเหมาะสมในการจัดตั้ง “ศูนย์
การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย กศน.”
กศน.ตาบล...

(2) พัฒนาและจัดหาระบบฐานข้อมูล
แ ล ะ ส ารส น เท ศ ระดั บ ชุ ม ช น ให้
ครบ ถ้ วน ถูก ต้ อ ง ทั น ส มั ย เพื่ อ
ประโยชน์ในการวางแผนการจัดการ
เรยี นรู้

(3) จัดกิจกรรมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายใน
ชมุ ชนทัง้ ทีม่ รี ูปแบบและไรร้ ูปแบบ (ไม่
มีรอบ ไมม่ รี ุ่น ไม่จากดั จานวน) โดยใช้
“ศูนยก์ ารเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวยั
กศน.” กศน.ตาบล... เป็นฐาน และ
ประสานภาคเี ครือขา่ ยร่วมดาเนินการ

(4) ส่งเสริมและสนับสนุนให้คนใน
ชุมชนใช้ “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุก
ชว่ งวัย กศน.” กศน.ตาบล... เป็นทจ่ี ัด
กิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน อาทิ
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม กีฬา
การส่งเสรมิ สุขภาพ เวทปี ระชาธิปไตย
ตลอดจนเป็นเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้
ของคนในชุมชนและตา่ งชมุ ชน

(5 ) ติ ด ต า ม ป ร ะ เมิ น ผ ล ก า ร
ดาเนินงาน“ศนู ย์การเรียนรู้สาหรับทุก
ชว่ งวัย กศน.” กศน.ตาบล...

-8-
รายละเอยี ดการดาเนนิ งาน “ศนู ย์การเรียนรสู้ าหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... ของพ้นื ทนี่ าร่อง 18 แห่ง (ต่อ)

กิจกรรม หว้ งเวลา ปีงบประมาณ 2563
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

(6) มีการประชุมจัดทาเกณฑ์การ
พัฒนา “ศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุก
ช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... เพ่ือ
นาไปสู่การประกวด“ศูนย์การเรียนรู้
สาหรับ ทุกช่วงวัย กศน.” กศน .
ตาบล... ในอนาคตตอ่ ไป

(7) มอบรางวัลเพื่อเป็นขวัญและ
กาลงั ใจแก่“ศูนยก์ ารเรียนรูส้ าหรับทุก
ช่วงวยั กศน.” กศน.ตาบล...

-9-

ปฏทิ นิ การดาเนนิ งาน
โครงการจัดตงั้ ศูนยก์ ารเรียนรู้สาหรบั ทกุ ชว่ งวัย กศน.

************************

ระยะเวลา รายละเอยี ดดาเนนิ การ ผู้รับผิดชอบ
ตุลาคม 2562
1. จัดทา โครงการจัดตง้ั ศนู ย์การเรยี นร้สู าหรบั ทุกชว่ งวัย กศน. กลุ่มสง่ เสรมิ ปฏิบตั ิการ
พฤศจิกายน 2562
2. จัดทาคาส่งั คณะทางานจากส่วนกลางและส่วนภูมิภาคที่เกีย่ วขอ้ ง
ธันวาคม 2562
3. รว่ มประชุมเพือ่ จดั ทาแนวทางการขับเคล่ือนการดาเนนิ งาน กศน.
มกราคม – มนี าคม
2563 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เร่อื ง การจัดต้งั ศูนย์การเรียนรู้
เมษายน 2563
สาหรับทุกช่วงวัย กศน. ที่จังหวัดระยอง วันท่ี 31 ตุลาคม 2563
พฤษภาคม –
กนั ยายน 2563 1. สรปุ การจดั ทาแนวทางการดาเนนิ งานของ “ศูนย์การเรียนรูส้ าหรับ คณะทางานส่วนกลางและ
กนั ยายน 2563
ทุกช่วงวยั กศน.” กศน.ตาบล... พืน้ ท่ีท่เี กีย่ วขอ้ ง

2. เสนอขออนุมตั โิ ครงการฯ และขออนุมัตจิ ดั สรรเงนิ งบประมาณ

ปี พ.ศ. 2563 เพื่อเปน็ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน

3. แจ้งแนวทางการดาเนนิ งานใหพ้ ้นื ท่นี าร่อง 18 แห่ง

4. ขออนมุ ัตโิ อนจัดสรรเงินงบประมาณปี พ.ศ. 2563 ใหก้ บั พื้นที่

นารอ่ ง 18 แห่ง

1. ซอ่ มแซมสถานท่ีจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ฯ ในพ้ืนทีน่ าร่อง 1. พนื้ ทน่ี าร่อง 18 แหง่

18 แหง่ 2. คณะทางานส่วนกลาง

2. พน้ื ทน่ี ารอ่ ง 18 แหง่ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน “ศูนยก์ ารเรยี นรู้ และพนื้ ทท่ี ่ีเก่ยี วขอ้ ง

สาหรับทกุ ช่วงวยั กศน.” กศน.ตาบล... ให้ครอบคลุม

3. ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานเชิงประจกั ษ์

1. พ้นื ทน่ี ารอ่ ง 18 แห่ง จดั กิจกรรมการเรียนรูใ้ น “ศูนยก์ ารเรยี นรู้

สาหรับทกุ ช่วงวยั กศน.” กศน.ตาบล... ให้ครอบคลุม

2. ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานเชิงประจกั ษ์ (3 คร้ัง)

1. พื้นท่ีนารอ่ ง 18 แห่ง จัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน “ศนู ย์การเรยี นรู้

สาหรับทุกช่วงวัย กศน.” กศน.ตาบล... ให้ครอบคลมุ

2. ประชุมสรุปผลการดาเนนิ งาน 6 เดอื นแรก/รายงานผูบ้ รหิ าร

3. ตดิ ตามผลการดาเนินงานเชิงประจกั ษ์

1. พ้นื ทน่ี าร่อง 18 แห่ง จดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ น “ศูนยก์ ารเรยี นรู้

สาหรับทุกชว่ งวยั กศน.” กศน.ตาบล... ให้ครอบคลมุ

2. ติดตามผลการดาเนนิ งานเชงิ ประจกั ษ์ (5 ครั้ง)

1. ประชุมสรปุ ผล วเิ คราะห์ปญั หาอปุ สรรค การดาเนนิ งานของศูนยฯ์

ในช่วง 6 เดือนหลงั

2. จัดทารายงานสรุปผลการดาเนนิ งานของศูนย์ฯ /รายงานผบู้ ริหาร


Click to View FlipBook Version