The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตัวอย่าง ไฟล์ที่จะนำมาสร้าง E-book ONIE WOW 63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

E-book ONIE WOW 63

ตัวอย่าง ไฟล์ที่จะนำมาสร้าง E-book ONIE WOW 63

แนวทางการขับเคลอ่ื นการดาเนนิ งาน
สานกั งาน กศน.

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

กศน.

WOW

รายละเอียดประกอบการประชมุ

หนา้

รายละเอยี ดขอ้ มลู แนวทางการขบั เคลอื่ น กศน. สู่ กศน. WOW 1
8
ด้านที่ 1.1 การพัฒนาอัตราข้าราชการครู กศน. 15
ดา้ นที่ 1.2 การพฒั นาครูและบุคลากร 25
ด้านท่ี 2.1 เรง่ ยกระดับ กศน.ตาบล 928 แห่ง (อาเภอละ 1 แห่ง) 30
34
เป็น กศน.ตาบล 5 ดี พรีเมยี่ ม 39
ด้านท่ี 2.2 จดั ใหม้ ีศูนยก์ ารเรยี นรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค 46
49
เป็น Co – learning Space 54

ดา้ นท่ี 2.3 พัฒนาหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” จานวน 103 แหง่ 66
ใหเ้ ปน็ Digital Literacy
70
ด้านที่ 2.4 ปรบั ปรุงรถการอ่านเคลอ่ื นที่

ด้านที่ 3.1 พฒั นาการจดั การศกึ ษาออนไลน์ กศน.
ด้านท่ี 3.2 จดั ใหม้ ีหลักสตู รลูกเสอื มัคคุเทศก์
ดา้ นที่ 3.3 เร่งปรับหลักสตู รการจดั การศึกษาอาชพี กศน.

ดา้ นที่ 4.1 – 4.3
- เร่งจดั ทำทำเนียบภมู ปิ ญั ญำทอ้ งถน่ิ ในแตล่ ะตำบล
- ส่งเสริมภมู ปิ ญั ญำทอ้ งถน่ิ สกู่ ำรจดั กำรเรียนรู้ชมุ ชน

- ประสำนควำมร่วมมอื กบั เครอื ข่ำย เพื่อขยำยและพฒั นำกำรศกึ ษำนอกระบบ
และกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั ใหเ้ ข้ำถงึ กลมุ่ เปำ้ หมำยอย่ำงกวำ้ งขวำง

ดา้ นที่ 5.1 – 5.3

- เรง่ จดั ตง้ั ศูนยใ์ หค้ ำปรึกษำและพัฒนำผลติ ภัณฑ์ Brand กศน.
- สง่ เสริมกำรใชเ้ ทคโนโลยใี นกำรปฏบิ ตั ิงำน กำรบรหิ ำรจดั กำร

และกำรจดั กำรเรยี นรู้

- ให้มกี ำรใชว้ ิจัยอย่ำงง่ำยเพ่ือกำรสรำ้ งนวตั กรรมใหม่
ดา้ นที่ 6.1 – 6.2

- ใหเ้ ร่งประสำนกบั สพฐ. เพอ่ื จดั ทำทำเนียบขอ้ มูลโรงเรยี นทย่ี ุบรวม

หรือคำดวำ่ นำ่ จะถกู ยบุ รวม
- ใหส้ ำนักงำน กศน.จงั หวดั ในจังหวดั ทมี่ ีโรงเรียนทถี่ กู ยบุ รวมประสำนขอใช้พ้นื ที่

เพอ่ื จัดตง้ั ศูนยก์ ำรเรียนรทู้ ุกช่วงวยั กศน.



ดา้ นท่ี 1.1
การเพม่ิ อตั ราข้าราชการครู กศน.

รายละเอียดขอ้ มลู การขับเคลือ่ น กศน. สู่ กศน. WOW

ด้านที่ 1 การพฒั นาครู กศน. และบคุ ลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดกจิ กรรมการศึกษาและเรียนรู้ : Good Teacher
ขอ้ ท่ี 1.1 เรื่อง การเพิ่มอัตราขา้ ราชการครู กศน.

1. เปา้ หมาย
1.1) เชงิ ปริมาณ มผี ู้ผ่านการสอบแขง่ ขนั และคัดเลอื กบคุ คลเพ่ือบรรจุและแต่งตัง้ เข้ารับราชการ

เป็นขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครผู ู้ช่วย สงั กัดสานักงาน กศน. จานวน 891 ราย
1.2) เชิงคุณภาพ บุคคลท่ีผ่านการสอบแข่งขันและคัดเลือกบุคคลเพ่ือบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับ

ราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพในการเข้าสู่ตาแหน่งครูผู้ช่วยมีสมรรถนะ
ในการจัดการศึกษา ตามมาตรฐานที่กาหนด ส่งผลให้การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ดาเนินไปอย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ให้ผู้รับบริการพึงพอใจเกิดผลสัมฤทธ์ิต่อการปฏิบัติภารกิจภาครัฐ
ในการจดั และให้บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

2. แนวทางการขับเคลอื่ นระดับหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา
ดาเนินการสอบแข่งขันและคัดเลือกบุคคลเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู

และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย สงั กดั สานักงาน กศน. ตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ดงั นี้
1. ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว 16 ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 เร่ือง

หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลเพ่ือบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา ตาแหน่งครผู ู้ช่วย กรณที ่มี คี วามจาเปน็ หรอื มีเหตุพเิ ศษ

2. ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.6/ว 17 ลงวันท่ี 26 พฤศจิกายน 2557 เร่ือง
หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกพนักงานราชการ ลูกจ้างประจา ครูสอนศาสนาอิสลาม วิทยากรอิสลามศึกษา
พนกั งานจา้ งเหมาบรกิ าร ครอู ัตราจ้างหรือลูกจา้ งชว่ั คราวเพ่อื บรรจแุ ละแตง่ ตง้ั เข้ารบั ราชการเปน็ ข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครูผู้ช่วย ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้
เฉพาะจังหวัดยะลา นราธิวาส ปัตตานี และ 4 อาเภอ ในจังหวัดสงขลา (อาเภอจะนะ อาเภอเทพา อาเภอนาทวี
และอาเภอสะบา้ ยอ้ ย)

3. ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว 5 ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2561 เรื่อง
หลักเกณฑ์และวิธีการสอบแข่งขันเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลา กร
ทางการศกึ ษา ตาแหนง่ ครูผู้ช่วย

3. ขัน้ ตอนการดาเนนิ การขบั เคลือ่ น
1. ขออนุมัติงบประมาณโครงการสอบแข่งขันและคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับ

ราชการเป็นข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครผู ู้ช่วย สังกดั สานกั งาน กศน.
2. กาหนดสัดส่วนในการสอบแข่งขันและคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับราชการเป็น

ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครผู ู้ช่วย สงั กดั สานักงาน กศน.

-2-

3. ดาเนนิ การสารวจกลุ่มวิชา/ทาง/สาขาวชิ าเอก ความตอ้ งการของสถานศกึ ษา
- สถานศึกษาดาเนินการแจ้งข้อมูลความต้องการและความจาเป็นของกลุ่มวิชา/ทาง/สาขา

วิชาเอก
- สานักงาน กศน.จังหวัดดาเนินการรวบรวมและสรุปความต้องการและความจาเป็นของ

สถานศกึ ษาในสงั กดั
4. ดาเนินการประกาศรับสมัครสอบแข่งขันและคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับ

ราชการเป็นขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งครผู ู้ช่วย สังกัดสานักงาน กศน.
5. จัดทาคู่มือและจัดประชุมชี้แจงแนวปฏิบัติในการดาเนินการสอบแข่งขันและคัดเลอื กบุคคลเพื่อบรรจุ

และแตง่ ต้ังเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสานักงาน กศน.
ให้กับสานกั งาน กศน.จังหวดั ซ่ึงทาหนา้ ทีเ่ ป็นหน่วยรบั สมคั ร

6. สานักงาน กศน.จังหวดั เข้าร่วมประชุมเพื่อรบั ฟงั แนวปฏิบัตใิ นการดาเนินการสอบแข่งขนั และ
คัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง
ครผู ู้ช่วย สังกดั สานักงาน กศน.

7. สานกั งาน กศน.จังหวดั ดาเนินการรับสมัครและตรวจสอบคุณสมบัติผ้สู มัครสอบคัดเลือกบุคคล
เพ่ือบรรจุและแต่งตง้ั เข้ารับราชการเป็นข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครผู ู้ช่วย สังกัดสานักงาน
กศน.

8. สานกั งาน กศน.จังหวัดรวบรวมใบสมคั รพร้อมเอกสารหลักฐานส่งให้สานกั งาน กศน.
9. สานักงาน กศน. ดาเนินการรับสมัครและตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครสอบแข่งขันเพ่ือบรรจุและ
แตง่ ต้งั เข้ารบั ราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครผู ู้ชว่ ย สังกดั สานกั งาน กศน.
10. ดาเนนิ การประกาศรายชอ่ื ผู้มสี ิทธิสอบข้อเขยี นท้ังประเภทการสอบแขง่ ขันและคัดเลือกเพ่ือบรรจุ
และแต่งต้งั เขา้ รับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย สังกดั สานกั งาน กศน.
11. ดาเนินการจดั สอบ ดงั นี้

- จดั เตรยี มขอ้ มลู เอกสาร เพ่อื ใชใ้ นการจัดสอบ
- ประสานงานใชส้ ถานท่ีเพ่อื ดาเนนิ การออกข้อสอบและสถานท่ีสอบ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการจัดสอบแข่งขันและคัดเลือกเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับ
ราชการเปน็ ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย สังกดั สานักงาน กศน.
- ดาเนินการออกข้อสอบและจัดพิมพ์ข้อสอบทั้งประเภทการสอบแข่งขันและคัดเลือกเพ่ือบรรจุ
และแตง่ ต้งั เขา้ รับราชการเป็นข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย สังกัดสานักงาน กศน.
- ดาเนินการจัดสอบข้อเขียนทั้งประเภทการสอบสอบแข่งขันและคัดเลือกเพื่อบรรจุและ
แตง่ ตั้งเขา้ รบั ราชการเปน็ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย สงั กดั สานักงาน กศน.
12. ประมวลผลการสอบข้อเขียนและดาเนินการประกาศรายช่ือผู้ผ่านการสอบข้อเขียนทั้งประเภท
การสอบแข่งขันและคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย สังกัดสานกั งาน กศน.
13. ดาเนินการสอบสัมภาษณ์ทั้งประเภทการสอบแข่งขนั และคัดเลอื กเพื่อบรรจุและแต่งตัง้ เข้ารับ
ราชการเปน็ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครผู ชู้ ว่ ย สังกดั สานกั งาน กศน.
14. ประมวลผลการสอบทั้งประเภทการสอบแข่งขันและคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับ
ราชการเปน็ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย สงั กัดสานกั งาน กศน.
15. ประกาศข้ึนบัญชีผู้สอบสอบแข่งขันเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครูผู้ช่วย สังกัด สานักงาน กศน. และประกาศผลการคัดเลือกเพื่อบรรจุและ
แต่งต้ังเขา้ รบั ราชการเปน็ ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย สังกดั สานักงาน กศน.

-3-

16. ดาเนินการเรียกตัวผู้สอบแข่งขันได้และผู้ได้รับการคัดเลือกมารายงานตัวเพ่ือบรรจุและ
แตง่ ตงั้ เข้ารับราชการเปน็ ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครูผู้ช่วย สังกัด สานกั งาน กศน.

17. ดาเนินการบรรจแุ ละแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้และผู้ได้รับการคัดเลอื กมารายงานตัวเพ่ือบรรจุ
และแต่งตงั้ เขา้ รับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครูผ้ชู ่วย สังกดั สานกั งาน กศน.

- สานักงาน กศน.จังหวัด/สถานศึกษาข้ึนตรงแจ้งสานักงาน กศน. เมื่อได้รับรายงานตัว
ผู้สอบแข่งขันได้และผู้ได้รับการคัดเลือกมารายงานตัวเพ่ือบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย สังกัด สานกั งาน กศน.

- สานักงาน กศน.ดาเนินการจัดทาคาส่ังบรรจุและแต่งต้ังผู้สอบแข่งขันได้และผู้ได้รับการ
คัดเลือกมารายงานตัวเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง
ครผู ้ชู ว่ ย สงั กดั สานกั งาน กศน.

4. เกณฑก์ ารประเมินและติดตาม
ตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการที่ก.ค.ศ. กาหนด ในหนงั สือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ีศธ 0206.7/ว 19 ลงวนั ท่ี

25 ตุลาคม 2561 เร่อื ง หลกั เกณฑ์และวิธีการเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตาแหน่งครูผ้ชู ่วย

5. ระยะเวลาขัน้ ตอนการดาเนินงาน

กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ระยะเวลา ไตรมาส 4

1. ขออนุมัตงิ บประมาณโครงการสอบแขง่ ขัน (ต.ค. – ธ.ค. 62) ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 (ก.ค. – ก.ย. 63)
และคดั เลอื กฯ
2. กาหนดสัดส่วนในการสอบแข่งขันและ (ม.ค. – มี.ค.63) (เม.ย. – มิ.ย. 63)
คัดเลอื กฯ
3. ดาเนนิ การสารวจกลมุ่ วชิ า/ทาง/สาขา
วชิ าเอก ความต้องการของสถานศกึ ษา
4. ดาเนินการประกาศรับสมคั รสอบแข่งขัน
และคดั เลือกฯ
5. จดั ทาคู่มือและจดั ประชมุ ชี้แจงแนวปฏิบตั ิ
ในการดาเนินการสอบแขง่ ขันและคัดเลือกฯ
ให้กบั สานกั งาน กศน.จงั หวดั ซ่ึงทาหน้าท่ีเปน็
หนว่ ยรับสมัคร
6. สานกั งาน กศน.จังหวัดเข้ารว่ มประชุมเพ่อื
รบั ฟงั แนวปฏิบตั ใิ นการดาเนินการสอบแข่งขนั
และคัดเลือกฯ

-4-

กจิ กรรมหลกั ระยะเวลา

7. สานักงาน กศน.จังหวดั ดาเนนิ การรับ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
สมคั รและตรวจสอบคณุ สมบตั ิผู้สมัครสอบ
คัดเลือกฯ (ต.ค. – ธ.ค. 62) (ม.ค. – ม.ี ค.63) (เม.ย. – ม.ิ ย. 63) (ก.ค. – ก.ย. 63)
8. สานกั งาน กศน.จังหวัดรวบรวม
ใบสมคั รพร้อมเอกสารหลักฐานสง่
ให้สานักงาน กศน.
9. สานกั งาน กศน. ดาเนนิ การรับสมัครและ
ตรวจสอบคุณสมบตั ิผู้สมัครสอบแข่งขันฯ
10. ดาเนินการประกาศรายช่อื ผ้มู สี ทิ ธิสอบ
ข้อเขียนท้ังประเภทการสอบแขง่ ขนั และ
คดั เลอื กฯ

11. ดาเนนิ การจดั สอบแข่งขันและคัดเลือกฯ

12. ประมวลผลการสอบข้อเขยี นและ
ดาเนนิ การประกาศรายชื่อผผู้ ่านการสอบ
ขอ้ เขียนทั้งประเภทการสอบแข่งขันและ
คัดเลอื กฯ
13. ดาเนนิ การสอบสัมภาษณท์ ั้งประเภท
การสอบแข่งขนั และคัดเลือกฯ
14. ประมวลผลการสอบทั้งประเภทการ
สอบแข่งขันและคดั เลอื กฯ
15. ประกาศข้ึนบญั ชผี ูส้ อบสอบแข่งขนั ฯ
และประกาศผลการคัดเลอื กฯ
16. ดาเนินการเรยี กตวั ผูส้ อบแขง่ ขันได้และ
ผู้ไดร้ บั การคัดเลือกมารายงานตัวฯ
17. ดาเนนิ การบรรจุและแต่งต้ังผสู้ อบแข่งขนั
ได้และผู้ไดร้ บั การคัดเลอื กมารายงานฯ

6. บทบาทหน้าท่ี -5-
หน่วยงาน
บทบาทหนา้ ที่
สานกั งาน กศน.
 ขออนุมัติงบประมาณโครงการสอบแข่งขันและคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุ
สานักงาน กศน. และแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตาแหน่งครผู ู้ช่วย สงั กัดสานกั งาน กศน.
 กาหนดสัดส่วนในการสอบแข่งขันและคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและ
แตง่ ตงั้ เขา้ รบั ราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง
ครผู ูช้ ่วย สงั กัดสานักงาน กศน.
 ดาเนินการสารวจกลุ่มวิชา/ทาง/สาขาวิชาเอก ความต้องการของ
สถานศกึ ษา
 ดาเนินการประกาศรับสมัครสอบแข่งขันและคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุ
และแต่งต้ังเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตาแหนง่ ครผู ู้ช่วย สังกัดสานักงาน กศน.
 จัดทาคู่มือและจัดประชุมชี้แจงแนวปฏิบัติในการดาเนินการสอบแข่งขัน
และคัดเลือกบุคคลเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสานักงาน กศน. ให้กับ
สานักงาน กศน.จังหวัดซึ่งทาหน้าท่ีเป็นหน่วยรับสมัคร
 ดาเนินการรับสมัครและตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครสอบแข่งขัน
เพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย สังกดั สานกั งาน กศน.
 ดาเนิน การป ระกาศรายชื่อผู้มีสิท ธิสอบ ข้อเขียน ทั้ งป ระเภ ท
การสอบแข่งขันและคัดเลือกเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับราชการเป็น
ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครผู ู้ชว่ ย สงั กัดสานักงาน กศน.

 ดาเนินการจัดสอบแข่งขันและคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับ
ราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครูผู้ช่วย
สังกัดสานักงาน กศน.
 ประมวลผลการสอบข้อเขียนและดาเนินการประกาศรายช่ือผู้ผ่าน
การสอบข้อเขียนท้ังประเภทการสอบแข่งขันและคัดเลือกเพ่ือบ รรจุและ
แตง่ ตง้ั เขา้ รบั ราชการเป็นขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่ง
ครูผู้ช่วย สงั กดั สานกั งาน กศน.
 ดาเนินการสอบสัมภาษณ์ทั้งประเภทการสอบแข่งขันและคัดเลือก
เพ่ือบรรจแุ ละแต่งตงั้ เขา้ รับราชการเปน็ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ตาแหน่งครูผู้ชว่ ย สงั กัดสานักงาน กศน.
 ประมวลผลการสอบท้ังประเภทการสอบแข่งขันและคัดเลือกเพื่อบรรจุ
และแต่งต้ังเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตาแหน่งครูผู้ชว่ ย สังกดั สานักงาน กศน.

หน่วยงาน -6-
สานักงาน กศน.
บทบาทหนา้ ที่
สถาบนั กศน.ภาค
สานักงาน กศน.  ดาเนินการเรียกตัวผู้สอบแข่งขันได้และผูไ้ ด้รบั การคดั เลือกมารายงานตัว
จงั หวดั /กทม. เพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ตาแหน่งครผู ูช้ ่วย สังกดั สานกั งาน กศน.
กศน.อาเภอ  ดาเนินการบรรจุและแต่งต้ังผู้สอบแข่งขันได้และผู้ได้รับการคัดเลือก
7. ความคดิ เห็นเพมิ่ เติม มารายงานตัวเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย สังกดั สานักงาน กศน.
-  ประกาศขึ้นบัญชีผู้สอบสอบแข่งขันเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับราชการ
เป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสานักงาน
กศน. และประกาศผลการคัดเลือกเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับราชการเป็น
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสานักงาน
กศน.

 ดาเนินการแจ้งข้อมูลความต้องการและความจาเป็นของกลุ่มวิชา/ทาง/
สาขาวิชาเอก ของสถาบนั กศน.ภาค
 ดาเนนิ การอื่นตามท่สี านกั งาน กศน. มอบหมาย

 ดาเนินการรวบรวมและสรุปความต้องการและความจาเป็นของ
สถานศึกษาในสังกดั
 เข้าร่วมประชุมเพ่ือรับฟังแนวปฏิบัติในการดาเนินการสอบแข่งขันและ
คัดเลือกบุคคลเพ่ือบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย สงั กดั สานกั งาน กศน.
 ดาเนินการรับสมัครและตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครสอบคัดเลือกบุคคล
เพ่ือบรรจุและแต่งต้ังเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษา ตาแหน่งครูผู้ช่วย สงั กดั สานกั งาน กศน. ในเขตพ้นื ทีร่ ับผดิ ชอบ
 รวบรวมใบสมคั รพรอ้ มเอกสารหลักฐานสง่ ให้ สานักงาน กศน.
ดาเนนิ การอน่ื ตามท่สี านักงาน กศน. มอบหมาย
 ดาเนินการแจ้งข้อมูลความต้องการและความจาเป็นของกลุ่มวิชา/ทาง/
สาขาวิชาเอก และรวบรวมสง่ สานักงาน กศน.จงั หวัด
 ดาเนินการอืน่ ตามท่สี านกั งาน กศน.จงั หวัด มอบหมาย

ด้านท่ี 1.2
การพัฒนาครูและบุคลากร

รายละเอยี ดขอ้ มลู การขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน. WOW

ดา้ นท่ี 1 การพัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและเรียนรู้ : Good Teacher
ข้อท่ี 1.2 เรือ่ ง การพฒั นาครูและบคุ ลากร

1. เปา้ หมาย
1. พัฒนาครู กศน.ตาบลเพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเรื่องการพัฒนา

ทกั ษะการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะการจัดกระบวนการเรียนรู้
2. พัฒนาศกึ ษานิเทศก์ ใหส้ ามารถปฏิบัติการนเิ ทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรู้เร่ืองการใช้ประโยชน์จากดิจิทัล

และภาษาตา่ งประเทศทีจ่ าเป็น

2. แนวทางในการขับเคลอื่ น
1. ดาเนินการพัฒนาครู กศน.ตาบลเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเร่ือง

การพฒั นาทักษะการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาตา่ งประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรยี นรู้
2. ดาเนนิ การพัฒนาศกึ ษานเิ ทศก์ ใหส้ ามารถปฏิบตั ิการนิเทศได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
3. ดาเนินการพัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรู้เร่ืองการใช้ประโยชน์

จากดิจิทัล และภาษาต่างประเทศทีจ่ าเปน็

3. ข้นั ตอนการดาเนนิ การขบั เคลือ่ น
1. กลุ่มการเจ้าหน้าท่ี ดาเนินการประสานงานกับกลุ่มแผนงาน จดั ทาแนวทางการขับเคลื่อนในการพัฒนาครู

กศน.ตาบล ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์
1.1 ดาเนินการขออนุมัติงบประมาณในการพัฒนาครู กศน.ตาบล ให้ทักษะการจัดการเรียนการสอน

ออนไลน์
1.2 ดาเนินการจัดทากรอบแนวทาง เพื่อจัดทาเปน็ คูม่ อื การขบั เคลือ่ นการดาเนนิ งาน
1.3 ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการขับเคลื่อนการพัฒนาครู กศน.ตาบล ให้มีความรู้

ความเขา้ ใจ ในการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์
1.4 ดาเนนิ การจัดประชุมช้ีแจงรายละเอียดการขบั เคลื่อนการดาเนนิ งานพัฒนาครู กศน.ตาบล
1.5 ดาเนนิ การพัฒนาครู กศน.ตาบล
1.6 จัดทารายงานผลการพัฒนา

2. กลุ่มการเจ้าหน้าท่ี ดาเนินการประสานงานกับกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย จัดทาแนวทางการขับเคลื่อนในการพัฒนาครู กศน.ตาบลให้มีทักษะภาษาต่างประเทศ และทักษะ
การจดั กระบวนการเรียนรู้

2.1 ดาเนินการขออนุมัติงบประมาณในการพัฒนาครู กศน.ตาบล ให้มีทักษะภาษาต่างประเทศ
และทักษะการจัดกระบวนการเรยี นรู้

2.2 ดาเนินการปรบั ปรุงและทบทวน หลักสูตรเนื้อหา กระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างทักษะพ้ืนฐาน
ท่ีจาเป็น

-2 -

2.3 ดาเนินการแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินการขับเคล่ือนการพัฒนาครู กศน.ตาบล ให้มีความรู้
ความเขา้ ใจ ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ดา้ นการสื่อสารภาษาต่างประเทศ หรือภาษาทอ้ งถิ่นท่ีมีชายแดนตดิ ต่อ
กบั ประเทศไทย

2.4 ดาเนินการพัฒนาครู กศน.ตาบล ในด้านภาษาต่างประเทศ เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนในกระบวนการ
จดั การเรียนรู้

2.5 จัดทารายงานผลการพฒั นา

3. กลุ่มการเจ้าหน้าที่ ดาเนินการจัดทาหลักสูตร หลักเกณฑ์ และวิธีการ รวมทั้งขออนุมัติจัดสรร
งบประมาณสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภท ให้มีความรู้เรื่องการใช้ประโยชน์จากดิจิทัล
และภาษาตา่ งประเทศที่จาเปน็ โดยเป็นการดาเนินงานร่วมกับสถาบนั กศน.ภาค

3.1 ประสานสถาบัน กศน.ภาค ร่วมกันดาเนินการจัดทาหลักสูตร และคู่มือการพัฒนาบุคลากร
ทกุ ระดบั ทกุ ประเภท

3.2 แตง่ ต้ังคณะกรรมการดาเนนิ การขบั เคล่อื นการพัฒนาบคุ ลากร
3.3 ประชุมชแี้ จงแนวทางการดาเนนิ งาน
3.4 มอบหมายสถาบัน กศน.ภาค เป็นหน่วยในการจดั การพฒั นา
3.5 ดาเนนิ การพัฒนาหลกั สูตรที่เหมาะสม
3.6 รายงานผลการดาเนินงานให้สานักงาน กศน. (กลมุ่ การเจา้ หน้าที)่ ทราบ

เกณฑ์การประเมนิ ผลและตดิ ตามผล
มีการติดตามการดาเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของหลักสูตร และรายงานผลให้สานักงาน กศน.

(กลุม่ การเจา้ หน้าที่) ทราบ

-3 -

บทบาทหน้าท่ีแต่ละระดบั

หน่วยงาน บทบาทหนา้ ที่
สานักงาน กศน. การพฒั นาครู กศน.ตาบล ในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์

 กลุ่มการเจ้าหน้าที่ ดาเนินการประสานงานกับกลุ่มแผนงาน จัดทาแนวทาง
การขับเคลือ่ นในการพัฒนาครู กศน.ตาบล ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการ
จัดการเรยี นการสอนออนไลน์

 กล่มุ แผนงาน
- ดาเนนิ การขออนุมัติงบประมาณในการพัฒนาครู กศน.ตาบล ให้ทักษะ
การจดั การเรียนการสอนออนไลน์
- ดาเนินการจดั ทากรอบแนวทาง เพ่อื จดั ทาเป็นคู่มอื การขับเคล่ือนการดาเนินงาน
- ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการขับเคล่ือนการพัฒนาครู กศน.ตาบล
ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
- ดาเนินการจัดประชุมช้ีแจงรายละเอียดการขับเคลื่อนการดาเนินงานพัฒนา
ครู กศน.ตาบล
- ดาเนนิ การพฒั นาครู กศน.ตาบล
- จัดทารายงานผลการพัฒนา

การพัฒนาครู กศน.ตาบล ให้มีทักษะภาษาต่างประเทศ และทักษะการจัด
กระบวนการเรียนรู้

 กลุ่มการเจ้าหน้าท่ี ดาเนินการประสานงานกับกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย จัดทาแนวทางการขับเคลื่อนในการพัฒนาครู กศน.
ตาบลให้มที ักษะภาษาตา่ งประเทศ และทักษะการจดั กระบวนการเรยี นรู้

 กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
- ดาเนินการขออนุมัติงบประมาณในการพัฒนาครู กศน.ตาบล ให้มีทักษะ
ภาษาต่างประเทศ และทกั ษะการจดั กระบวนการเรยี นรู้
- ดาเนินการปรับปรุงและทบทวน หลักสูตรเน้ือหา กระบวนการเรียนรู้ เพ่ือสร้าง
ทักษะพ้ืนฐานทีจ่ าเปน็ และจดั ทาคูม่ ือการดาเนินงาน
- ดาเนินการแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินการขับเคลื่อนการพัฒนาครู กศน.ตาบล
ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านการสื่อสาร
ภาษาตา่ งประเทศ หรอื ภาษาทอ้ งถน่ิ ที่มชี ายแดนตดิ ต่อกับประเทศไทย
- ดาเนินการพัฒนาครู กศน.ตาบล ในด้านภาษาต่างประเทศ หรือภาษาท้องถิ่น
ท่ีมีชายแดนติดต่อกบั ประเทศไทย และทักษะการจดั กระบวนการเรยี นรู้
- จดั ทารายงานผลการพัฒนา

-4 -

การพฒั นาบคุ ลากร กศน.ทกุ ระดับทุกประเภท

 กลุ่มการเจ้าหน้าท่ี ดาเนินการจัดทาหลักสูตร หลักเกณฑ์ และวิธีการ รวมท้ัง
ขออนุมัติจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภท
โดยเป็นการดาเนนิ งานรว่ มกบั สถาบนั กศน.ภาค
- ประสานสถาบนั กศน.ภาค ร่วมกันดาเนินการจัดทาหลักสูตร และคู่มอื การพัฒนา
บคุ ลากร
- แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนนิ การขับเคล่ือนการพฒั นาบุคลากร
- ประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน
- มอบหมายสถาบนั กศน.ภาค เปน็ หนว่ ยในการจดั การพัฒนา
- รายงานผลการดาเนินงานให้สานกั งาน กศน. (กลุ่มการเจา้ หนา้ ท่ี) ทราบ

สถาบัน กศน.ภาค  รองรับการเป็นหน่วยในการจัดการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภท
โดยให้บุคลากรสานกั งาน กศน.จังหวดั /อาเภอ/สถานศึกษาข้ึนตรงเขา้ รับการพฒั นา

 สร้างเครือขา่ ยความรว่ มมอื กับหน่วยงานการศกึ ษา

 จัดดาเนนิ การพัฒนาหลกั สูตรทเ่ี หมาะสม

 รายงานผลการดาเนินงานจัดส่งให้สานักงาน กศน. (กลมุ่ การเจา้ หนา้ ท่)ี

สานกั งาน กศน.  ดาเนนิ การจัดสง่ บุคลากรเข้ารบั การพฒั นากับสถาบันภาคในแต่ละภาค
จงั หวัด
 ดาเนินการจัดหาทรัพยากร เพื่อรองรับการบริหารจัดการ และการเรียนการสอน
ทม่ี ีประสิทธภิ าพ

 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
และระบบบริหารจดั การผา่ นระบบฐานข้อมลู สารสนเทศ

 กากับ นเิ ทศ ติดตามการดาเนินงานของสถานศกึ ษา

กศน.อาเภอ  จัดส่งบุคลากรเข้ารับการพฒั นาผา่ นสานกั งาน กศน.จังหวดั

 จัดหาทรัพยากรเพ่อื จัดการเรยี นการสอนทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
 ดาเนินการจัดการเรียนการสอน และปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ และภารกิจ

ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
 กากบั นิเทศ ติดตามการดาเนินงานของบคุ ลากร

 รายงานผลการดาเนินงานใหส้ านักงาน กศน.จังหวดั ทราบ

-5 -

การพัฒนาศึกษานเิ ทศก์ เพอื่ ขับเคลอื่ น กศน. สู่ กศน. Wow ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

1. เปา้ หมาย
1.1 เชิงปรมิ าณ
1) ศกึ ษานเิ ทศก์ จานวน 43 คน (32 จงั หวดั ไมร่ วมสว่ นกลาง 2 คน)
2) รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด หรือผู้ทาหน้าท่ีนิเทศของสานักงาน กศน.จังหวัด

ในจังหวดั ทไ่ี มม่ ีศึกษานิเทศ จานวน 45 คน
1.2 เชงิ คุณภาพ
ศึกษานิเทศก์ และรองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด หรือผู้ทาหน้าที่นิเทศของสานักงาน

กศน.จังหวดั ดาเนนิ การนเิ ทศตามนโยบาย กศน. สู่ กศน. Wow ได้อย่างมีคณุ ภาพและประสิทธภิ าพ

2. แนวทางในการขับเคลื่อน
ดาเนินการพัฒนาศึกษานิเทศก์ รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด หรือผู้ที่ทาหน้าท่ีนิเทศ

ของสานักงาน กศน.จังหวดั ในจงั หวัดทไี่ มม่ ศี กึ ษานิเทศก์ ใหส้ ามารถปฏิบตั ิการนิเทศได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

ข้ันตอนการดาเนนิ การขับเคล่ือน
กลุ่มการเจ้าหน้าที่ ดาเนินการประสานงานกับหน่วยศึกษานเิ ทศก์ จัดทาแนวทางการขับเคลื่อนในการพัฒนา

ศึกษานเิ ทศก์ ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการนิเทศการขบั เคลือ่ น กศน. สู่ กศน. Wow
1.1 ดาเนนิ การขออนุมตั ิงบประมาณในการพัฒนาศึกษานิเทศกใ์ หส้ ามารถปฏบิ ัติการนิเทศ
1.2 ดาเนินการจัดทากรอบแนวทาง เพ่ือจดั ทาเปน็ ค่มู อื การขบั เคลือ่ นการดาเนินงาน
1.3 ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการขับเคลื่อนการพัฒนาศึกษานิเทศก์ ให้มีความรู้

ความเข้าใจ กจิ กรรม กศน. สู่ กศน. Wow
1.4 ดาเนินการจดั ประชุมช้แี จงรายละเอยี ดการขบั เคลือ่ นการดาเนินงานพัฒนาศึกษานเิ ทศก์
1.5 ดาเนนิ การพัฒนาศกึ ษานเิ ทศก์
1.6 ศึกษานิเทศก์ได้รายงานผลการพัฒนากิจกรรมในพ้ืนที่ รวบรวมปัญหาอุปสรรค แนวทางการ

แกไ้ ขปัญหา
1.7 สรุปผลการพัฒนา

เกณฑ์การประเมนิ ผลและติดตามผล
มีการติดตามการดาเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของหลักสูตร และรายงานผลให้สานักงาน กศน.

(กล่มุ การเจ้าหน้าท)ี่ ทราบ

-6 -

บทบาทหน้าท่แี ต่ละระดบั

หนว่ ยงาน บทบาทหน้าที่
สานักงาน กศน. การพัฒนาศึกษานิเทศก์

 ดาเนินการขออนุมัติงบประมาณในการพฒั นาศึกษานิเทศก์
 ดาเนินการจดั ทากรอบแนวทาง เพือ่ จัดทาเปน็ คู่มือการขับเคลอ่ื นการดาเนนิ งาน

 ดาเนินการแตง่ ต้ังคณะกรรมการดาเนนิ การขบั เคล่ือนการพฒั นาศึกษานิเทศก์
 ดาเนินการพัฒนาศกึ ษานิเทศก์

 ศกึ ษานิเทศก์ไดร้ ายงานผลการพัฒนากจิ กรรมในพ้นื ท่ี รวบรวมปัญหาอุปสรรค แนว
ทางการแกไ้ ขปัญหา

 สรปุ ผลการพฒั นา

สถาบนั กศน.ภาค  ร่วมเปน็ เครอื ข่ายความรว่ มมือในการพฒั นาศึกษานิเทศ

 ร่วมเป็นเครือข่ายในการนิเทศติดตามการดาเนินงานของสานักงาน กศน.จังหวัด
และสถานศกึ ษา

สานกั งาน กศน.  ดาเนินการจดั ส่งบุคลากรเขา้ รับการพฒั นากับหนว่ ยศกึ ษานิเทศก์
จังหวดั  สง่ เสริม สนับสนนุ กากับ นิเทศ ตดิ ตามการดาเนินงานของสถานศกึ ษา

ด้านที่ 2.1
เรง่ ยกระดับ กศน. ตาบล 928 แหง่ (อาเภอละ 1 แหง่ )

เปน็ กศน. ตาบล 5 ดี พรเี มี่ยม

รายละเอียดขอ้ มลู การขับเคล่ือน กศน. สู่ กศน. WOW

ดา้ นท่ี 2 การพฒั นาหน่วยงาน/สถานศกึ ษา ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้

: Good Place – Best Check in

ข้อที่ 2.1 เรอ่ื ง เร่งยกระดบั กศน. ตาบล 928 แหง่ (อาเภอละ 1 แหง่ ) เปน็ กศน. ตาบล 5 ดี พรเี ม่ียม

1. หลักการและเหตผุ ล

การพัฒนาศักยภาพกาลงั คนของประเทศ ถือได้วา่ เป็นภารกิจหน้าท่ีท่สี าคัญมากท่ีสุดประการหน่ึง
ที่รัฐบาลจะต้องดาเนินการให้เกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้เป็นพื้นฐานของการพัฒนาประเทศในมิติต่างๆ
อย่างเป็นระบบ รัฐบาลไทยภายใต้การนาของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กาหนดนโยบาย
ที่เก่ียวข้องกับการดาเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายท่ี 4 การศึกษาและการเรียนรู้ การทะนุบารุง
ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม ข้อ 4.4 การพัฒนาคนทุกชว่ งวยั โดยส่งเสริมการเรียนรตู้ ลอดชีวติ

กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหน่วยงานหลักของประเทศที่รับผิดชอบดูแลในเร่ืองของ
การบริหารจัดการศึกษาและพัฒนาศักยภาพกาลังคนของประเทศ ได้มีแผนพัฒนาการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์
ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ซ่ึงได้กาหนดผลลัพธ์ว่า
ให้ผู้เรียนทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและประเภทการศึกษา สามารถ
เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ไดอ้ ย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สถานศึกษาในภูมิภาค/ชนบท ได้รับการยกระดบั คุณภาพใน
การให้บริการ เดก็ พกิ ารและด้อยโอกาสได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาทั้งในระบบและนอกระบบ

สานักงาน กศน. จึงได้ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ข้ึน
โดยในยุทธศาสตร์ท่ี 3 เป็นยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งมุ่งส่งเสริม
การจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 รวมท้ังความต้องการของ
ประชาชนและชุมชนในรูปแบบท่ีหลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ และตัดสินใจภายใต้ข้อมูล
ท่ีถูกต้อง โดยมี กศน. ตาบล เป็นกลไกในระดับพ้ืนที่ที่มีการดาเนินงานกับประชาชนกลุ่มเป้าหมายโดยตรง
ได้มีการส่งเสรมิ และสนับสนุนให้มีรูปแบบการพัฒนา กศน. ตาบล อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการพัฒนาครูและ
บุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือ
ต่อการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน กศน. ตาบล การเสริมสร้างและให้
ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย และท่ีสาคัญในโลกศตวรรษท่ี 21 จาเป็นอย่างย่ิงที่ต้องมีองค์ประกอบของการ
นาเทคโนโลยีดิจิทัล เข้ามาบูรณาการประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาและขยายบทบาทการ
ดาเนินงานของ กศน. ตาบล ให้สามารถทาหน้าทีเ่ ปน็ กลไกในการพัฒนาศักยภาพและเพ่ิมขีดความสามารถของ
ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ในระดับพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง ครอบคลุม และมีประสิทธิภาพมากข้ึนในอนาคต โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อต้องการสร้าง กศน. ตาบลต้นแบบ “ กศน. 5 ดี พรีเมี่ยม” (อาเภอละ 1 แห่ง) ให้เป็นต้นแบบ
กศน. ตาบลโดยนารูปแบบการบริหารจัดการดังกล่าวข้างต้น มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการ กศน. ตาบล
ให้เกิดผล เปน็ เชงิ ประจกั ษ์ ประชาชนในชมุ ชนเกดิ การเรียนรู้ และการศกึ ษาตลอดชวี ติ ได้

-2-

2. เปา้ หมาย
พัฒนา กศน. ตาบล 928 แห่ง ให้เป็น “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเมี่ยม” เพ่ือเป็นต้นแบบ

ในการจัดการศึกษา กศน. โดยมกี ารพัฒนา 5 ดา้ น
1. ครมู ีสมรรถนะในการจดั การเรยี น การสอน ท่ีมคี ุณภาพ
2. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ของ กศน. ตาบล สะอาด สวยงาม เหมาะกับบริบทของ

พนื้ ทแี่ ละเอ้อื ตอ่ การเรียนรู้
3. กิจกรรมการเรยี นรู้ มคี วามทนั สมยั มีประสิทธภิ าพในการใหบ้ รกิ าร
4. มีภาคเี ครือขา่ ยทีส่ ามารถส่งเสริม สนบั สนุนการจดั การเรยี น การสอนไดอ้ ย่างมีคุณภาพ
5. มีนวตั กรรมท่เี ป็นประโยชน์ และสามารถนาไปใช้ได้จริง

3. แนวทางการขับเคล่อื นระดับหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา
การเร่งยกระดับ กศน. ตาบล 928 แห่ง (อาเภอละ 1 แห่ง) ให้เป็น กศน. ตาบลต้นแบบ

5 ดี พรีเมี่ยม มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้าง กศน. ตาบลต้นแบบให้เป็นต้นแบบในการพัฒนา กศน. ตาบล/แขวง
ให้มีประสิทธิภาพ อันเป็นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชนและ
เป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุง กศน. ตาบล/แขวง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มุ่งส่งเสริมและตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในชุมชนให้เกิดการศึกษาตลอดชีวิตได้อย่างแท้จริง
โดย กศน.ตาบลต้นแบบ จะต้องนารูปแบบการบริหารจัดการมาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลเชิงประจักษ์ ประชาชน
ในชุมชนเกดิ การเรียนรแู้ ละการศกึ ษาตลอดชวี ิต ตามองคป์ ระกอบทง้ั 5 ด้านทกี่ าหนดไว้ ได้แก่

1. การพัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและเรียนรู้
(Good Teacher)

2. การพัฒนา กศน.ตาบลให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ (Good
Place Best Check-In)

3. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ทนั สมัยและมีประสิทธิภาพ ภายใน กศน.ตาบล/แขวง
(Good Activities)

4. เสรมิ สร้างและใหค้ วามร่วมมอื กบั ภาคเี ครือข่าย (Good Partnership)
5. การนาเทคโนโลยีดจิ ิทัล นวตั กรรมเขา้ มาบรู ณาการปรบั ปรงุ พฒั นา และประยุกต์ใช้
ต่อการจดั การศึกษาและกลุ่มเปา้ หมาย (Good Innovation)

ท้งั นี้ กศน.ตาบล ท่ยี กระดบั ใหเ้ ป็น กศน. ตาบลต้นแบบ จานวน 928 แหง่ (อาเภอละ 1 แหง่ )
จะได้รับงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติม (Top up) เพื่อนาไปพัฒนาและปรับปรุง กศน.ตาบล ให้สอดคล้องกับ
แนวทางและหลักเกณฑ์ท่ีสานักงาน กศน. กาหนด หลังจากนั้นจะมีการประเมินและคัดเลือก กศน.ตาบล
ต้นแบบ เพ่ือเป็นตัวแทน กศน.ตาบลต้นแบบจากหน่วยงานระดับเหนือขึ้นไป ต้ังแต่ระดับจังหวัด ระดับกลุ่ม
สานักงาน กศน.จังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ เพ่ือคัดเลือกเป็นต้นแบบระดับจังหวัด ต้นแบบระดับ
กล่มุ จังหวัด ตน้ แบบระดับภาค และต้นแบบระดับประเทศ

-3-

4. ข้ันตอนการดาเนนิ การขบั เคล่ือน กจิ กรรม
1. กาหนดกรอบแนวทางและหลกั เกณฑ์ เพื่อจัดทาเป็นคู่มือการขับเคลื่อนการดาเนนิ งาน

“กศน. ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม”
2. จัดประชมุ ชี้แจงรายละเอียดการขบั เคลอ่ื นดาเนินงาน “กศน. ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรีเมี่ยม”

เพื่อสร้างการรับรู้และสามารถนาไปใช้เป็นฐานข้อมูลในการคัดเลือก “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเมี่ยม”
จากระดบั ตาบล เป็นตัวแทนระดบั อาเภอ/เขต ของตนเอง จานวน 1 แหง่

3. กศน. อาเภอ/เขต คัดเลือก “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ียม” ระดับอาเภอ/เขต
ท่ีมีความพร้อมและมีศักยภาพตามองค์ประกอบท่ีกาหนดไว้ อย่างละ 1 แห่ง/อาเภอ เพ่ือเข้ารับการพัฒนา
และจดั ส่งข้อมลู ดงั กล่าว ใหส้ านักงาน กศน. จงั หวัด/กทม. ทราบ

4. สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. รวบรวมรายช่ือ กศน.ตาบลต้นแบบ จาก กศน.อาเภอ/เขต
ในสังกัดของตนเอง แจ้งให้สานักงาน กศน. ทราบ เพ่ือดาเนินการจัดสรรงบประมาณ ให้ กศน. ตาบลต้นแบบ
ตอ่ ไป

5. โอนจัดสรรงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติม (Top up) ให้ กศน. ตาบลต้นแบบที่ได้รับ
การคัดเลือกในระดับอาเภอ นาไปพัฒนาและปรับปรุงให้ตรงกับแนวทางฯ และหลักเกณฑ์ท่ีสานักงาน กศน.
กาหนด

6. จดั ทาเกณฑป์ ระเมิน “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม”
7. กศน. อาเภอ/เขต ดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม กศน.ตาบลต้นแบบในระดับพื้นที่
ตนเองอยา่ งสม่าเสมอ
8. กศน.ตาบลต้นแบบจัดทาเอกสาร “รายงานผลการขับเคลื่อน กศน. ตาบล สู่ กศน.
ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเมี่ยม” และจัดส่งให้ กศน.อาเภอ/เขต ของตนเอง เพ่ือเข้ารับการประเมินและคัดเลือก
จากคณะกรรมการระดับจังหวดั /กทม. เพ่อื เปน็ ตัวแทนระดบั จังหวดั
9. จัดการประกวด “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ียม” ระดับจังหวัด ระดับกลุม่ จังหวัด
ระดบั ภาค และระดบั ประเทศ
10. สานักงาน กศน. จัดงานเผยแพร่และถอดรูปแบบ “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ียม”
ดีเดน่ ระดบั ประเทศ สรุปผลการดาเนินงาน

5. เกณฑ์การประเมนิ และตดิ ตาม
ตามองค์ประกอบและหลกั เกณฑ์ ทสี่ านักงาน กศน. กาหนด

-4-

หนว่ ยงาน บทบาทหน้าที่ แต่ละระดับ
สานักงาน กศน.
บทบาทหน้าท่ี

 จัดทาแนวทาง การขับเคล่อื น “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ยี ม”
 ประกาศแนวทาง การขบั เคลอื่ น “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม”
 จดั ทาเกณฑก์ ารประเมิน “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม”
 กาหนดแนวทางการประกวด “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเมี่ยม”
 แต่งต้ังคณะกรรมการ ประเมิน/คัดเลือก “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเมี่ยม”

ระดบั ประเทศ
 จัดประชุมคัดเลือก และกล่ันกรองข้อมูล ผู้ผ่านการคัดเลือก “กศน. ตาบลต้นแบบ

5 ดี พรีเมี่ยม” จากระดบั ภาค
 ประกาศผลการคดั เลอื ก “กศน. ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ียม” ระดับประเทศ
 จดั งานเผยแพร่และถอดบทเรียน “กศน. ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรีเมีย่ ม”

สถาบัน กศน.ภาค  แต่งตั้ง คณะกรรมการประเมิน/คัดเลือก “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ียม”
ระดบั ภาค
กลมุ่ สานกั งาน
กศน.จงั หวดั  จัดประชุม เพ่ือประเมิน/คัดเลือก กศน.ตาบลต้นแบบ ระดับสถาบัน กศน.ภาค
จานวน 3 ลาดบั (ลาดบั ท่ี 1, 2 และ 3) เพือ่ เปน็ ตัวแทนคดั เลอื กในระดบั ประเทศ

 จัดทาประกาศสถาบัน กศน.ภาค และจัดส่งข้อมูล (เล่มรายงานผล และประกาศผล
การคดั เลอื ก ระดบั ภาค) ใหส้ านักงาน กศน.

 สรา้ งการรับร/ู้ พัฒนาแต่ละดา้ นของ “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ยี ม”

 นิเทศ ตดิ ตาม การดาเนินงานของ “กศน. ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรเี ม่ียม”

 แต่งต้ัง คณะกรรมการประเมิน/คัดเลือก “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเมี่ยม”
ระดบั กลุ่มสานักงาน กศน. จังหวัด

 จัดประชุม เพ่ือประเมิน/คัดเลือก กศน.ตาบลต้นแบบ ระดับกลุ่มสานักงาน กศน.
จังหวัด ๆ ละ 1 แหง่

 จัดทาประกาศกลุ่มสานักงาน กศน. จังหวัด/กทม. และจัดส่งข้อมูล (เล่มรายงานผล
และประกาศผลการคัดเลือก ระดับกลุ่มสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม.) ให้สถาบัน
กศน.ภาคทราบ เพือ่ เข้ารับการประเมนิ /คดั เลือก เป็นตวั แทนระดบั ภาค

-5-

หนว่ ยงาน บทบาทหน้าที่ แต่ละระดับ
สานักงาน กศน.
จังหวัด/กทม. บทบาทหน้าที่

กศน.อาเภอ  ช้แี จงแนวทางการดาเนนิ งาน “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม” ใหบ้ ุคลากร
ในสังกดั ทราบ

 รวบรวมและจัดส่งรายช่ือ “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม” ระดบั อาเภอ (928 แหง่ )
ให้สานกั งาน กศน. ทราบ เพ่ือนาไปพัฒนา กศน. ตาบลตน้ แบบฯ ระดบั อาเภอ

 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการประเมิน/คดั เลอื ก “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม”
ระดับจงั หวัด

 จดั ประชมุ เพ่ือประเมนิ /คดั เลอื ก กศน.ตาบลต้นแบบ ระดับจงั หวดั ๆ ละ 1 แหง่
 จัดทาประกาศสานักงาน กศน. จังหวัด/กทม. และจัดส่งข้อมูล (เล่มรายงานผล

และประกาศผลการคัดเลือก ระดับสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม.) ให้ประธานระดับ
กลุ่มสานักงาน กศน.จังหวัด ท่ีรับผิดชอบในพื้นท่ีของตนเอง เพ่ือเข้ารับการประเมิน/
คัดเลอื ก เปน็ ตวั แทนระดับกลมุ่ สานักงาน กศน. จังหวัด
 นิเทศ ติดตาม การดาเนนิ งานของ “กศน. ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม”

 รับฟังรายละเอียดข้อมูลการช้ีแจงแนวทางการดาเนินงาน “กศน. ตาบลต้นแบบ
5 ดี พรเี มยี่ ม” จากสานกั งาน กศน. จงั หวดั /กทม.

 ดาเนินการคัดเลือก “กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ียม” ตามหลักเกณฑ์ท่ีสานกั งาน
กศน. กาหนด อาเภอละ 1 แหง่

 แจ้งผลการคัดเลือก “กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเม่ียม” ระดับอาเภอๆ ละ 1 แห่ง
ให้สานกั งาน กศน. จังหวัด/ทราบ

 นิเทศ กากับ ตดิ ตาม กศน.ตาบลต้นแบบในระดบั พื้นที่ตนเองอย่างสม่าเสมอ
 จดั ส่ง “รายงานผลการขับเคล่ือน กศน. ตาบล สู่ กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มี่ยม”

จาก กศน. ตาบลต้นแบบ ระดับอาเภอ ให้สานักงาน กศน. จังหวัด/กทม. ทราบ
เพอื่ ดาเนินการตอ่ ไป

-6-
องคป์ ระกอบ กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม

หัวข้อ องคป์ ระกอบ

1. ครูมสี มรรถนะในการจดั การเรียน 1.1 ด้านวิชาการ
การสอนทม่ี คี ุณภาพในระดบั ต่างๆ 1.1.1 จานวนขอ้ มลู ในระบบฐานขอ้ มุลเพ่อื การบรหิ ารจัดการ (DMIS)
(Good Teacher) 1.1.2 ระดับความสาเรจ็ ของการทาแผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบล/แขวง
1.1.3 จานวนความสาเร็จของการดาเนินงานการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
1.1.4 ร้อยละของผจู้ บหลกั สูตรการศึกษาพ้นื ฐาน
1.1.5 ร้อยละของผเู้ ขา้ สอนปลายภาค
1.1.6 ร้อยละของจานวนผู้เรียนที่มผี ลสมั ฤทธิใ์ นวิชาบังคบั
1.1.7 จานวนผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมการศึกษาต่อเน่ือง เมื่อเทยี บกบั เป้าหมาย
1.1.8 ร้อยละของผู้จบหลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่อื งท่ีนาความรู้ไปใช้

เมือ่ เทียบกบั เป้าหมาย
1.1.9 จานวนผรู้ ับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
1.1.10 จานวนกิจกรรมที่จัดในแหลง่ เรยี นรูบ้ ้านหนงั สอื ชุมชนเมอ่ื เทียบ

กับเปา้ หมาย
1.1.11 ระดบั ความสาเร็จของการมีส่วนร่วมกับภาคเี ครอื ข่ายในชมุ ชน
1.1.12 จานวนงานตามนโยบายเรง่ ดว่ นหรอื งานอนื่ ๆ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
1.1.13 ระดบั ความสาเรจ็ ในการจดั ทาผลการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ี (Best Practice)

1.2 ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
1.2.1 มีจติ สานึกที่ดี ซอื่ สัตย์ สจุ รติ มีความรับผดิ ชอบ
1.2.2 มีการให้บรกิ ารด้วยความรวดเรว็ มอี ัธยาศัยดี ไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิ
1.2.3 มุ่งผลสัมฤทธข์ิ องงาน
1.2.4 ยึดม่ันในจรรยาบรรณของอาชพี
1.2.5 มีความสนใจ ใฝร่ ู้ ส่ังสม ความรคู้ วามสามารถในการปฏิบตั ิงานให้

เกดิ ผลสมั ฤทธิใ์ นเชิงประจักษ์
1.2.6 มคี วามมงุ่ มั่น ต้งั ใจ ในการปฏบิ ัตงิ านรว่ มกบั ผอู้ ื่นและหนว่ ยงาน

ภาคีเครอื ขา่ ย

1.3 ดา้ นความคดิ สรา้ งสรรค์ และความรู้ความสามารถ
1.3.1 มีทักษะ เทคนิค การจัดการเรียนการสอนที่ครอบคลุม และเขา้ ถึง

ความต้องการของผูเ้ รียนอยา่ งเป็นระบบและชัดเจน
1.3.2 มีการจัดทาแผนปฏิบัติการ และเครื่องมือในการสร้างสรรค์

ส่อื การเรยี น การสอนให้มคี วามนา่ สนใจ
1.3.4 มกี ารกระตุ้นการเรียนรู้ และพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง
1.3.5 มเี ทคนิคการประชาสัมพันธ์

-7-

หัวข้อ องคป์ ระกอบ

2. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ของ 2.1 สภาพอาคารอยูใ่ นสถานทมี่ นั่ คง มคี วามเปน็ สัดสว่ นและปลอดภยั
กศน. ตาบล ดึงดดู ความสนใจและ 2.2 มีการจัดสภาพแวดล้อม โดยยดึ หลกั 5 ส (สะสาง, สะดวก, สะอาด,
เอือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ (Good Place
Best-Check In) สขุ ลักษณะ, สรา้ งนิสยั ) และสะดดุ ตา
2.3 ผู้ใชบ้ ริการ เกิดความรูส้ ึกเปน็ มิตร (friendly), สะอาดตา (tidy),

ปลอดภัย (safely), มีชีวิตชีวา (lively) และมีความสุข (happy)
ในการเข้าใชบ้ ริการ
2.4 เป็นจุดทใี่ ชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยีในการเรียนร้แู ละจุดเชค็ อิน
(Check in) สาหรับผู้ใชบ้ ริการ
2.5 มีสงิ่ อานวยความสะดวกท่ีหลากหลายทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้
2.6 มีการจดั ทารหสั ควิ อาร์ (QR Code) เพอ่ื ใช้ในการศึกษา เรยี นรู้
ข้อมลู ตา่ ง ๆ
2.7 ใหม้ เี อกลักษณ/์ อตั ลักษณ์ ของตนเองตามบริบทของพืน้ ท่ี

3. กิจกรรมการเรียนรู้ มคี วาม 3.1 มีการจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง
ทันสมัย มปี ระสทิ ธิภาพในการ และการศึกษาอัธยาศัย อย่างต่อเน่ือง มีผลเชิงประจักษ์ โดดเด่น
ให้บรกิ าร (Good Activities) และมีการปฏิบัติที่ดี รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีใช้ระบบ
ออนไลน์

3.2 มีการบูรณาการ นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอน

3.3 มีการออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ การจดั การเรยี นการสอนท่ีสอดคล้อง
กับสภาพปัญหาของชุมชนและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
อย่างครอบคลุมและเป็นระบบ โดยคานึงถึง ต้นน้า(Upstream)
กลางนา้ (Midstream) ปลายน้า (Downstream)

3.4 มีการใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสมในการจัดกระบวนการเรียนรู้
ทห่ี ลากหลาย

4. มีภาคีเครือขา่ ยท่สี ามารถส่งเสรมิ 4.1 มีภาคีเครอื ขา่ ยในระดบั พน้ื ที่ ในการร่วมจดั สง่ เสรมิ และสนับสนุน
สนับสนนุ การจดั การเรยี น การสอน การจัดการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ ของ กศน.ตาบล อย่างตอ่ เนอ่ื งและ
ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ (Good เข้มแข็ง
Partnership)
4.2 มีอาสาสมัคร กศน. ตาบล อาสาสมัครส่งเสริมการอ่านและอื่น ๆ
เพื่อสง่ เสริมและสนับสนุน การจัดการเรียน การสอนของ กศน. ตาบล
ได้อย่างทว่ั ถึง และมีคุณภาพ

4.3 มีการจดั ทา MOU ร่วมกับหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน ในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ใหท้ าเกณฑ์แยก)

-8-

หัวข้อ องคป์ ระกอบ

5. มีนวตั กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ และ 5.1มีการนาระบบเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการจัด
สามารถนาไปใชไ้ ด้จรงิ (Good กิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้
Innovation) อยา่ งท่วั ถึง และมีคณุ ภาพ

5.2มีรูปแบบการพัฒนาเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการเรียน การสอน
มาปรับใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ สอดคลอ้ งกบั บริบทของชุมชน

5.3มีการทดลอง พัฒนา โดยใช้กระบวนการปฏิบัติที่ดี เพ่ือการสร้าง
นวตั กรรมการเรยี นรู/้ นวัตกรรมอาชพี หรอื นวตั กรรมอ่นื ที่สอดคลอ้ ง
กับบริบทของชุมชนนั้น ๆ อีกท้ังประชาชนสามารถพัฒนาตนเองได้
พฒั นาชมุ ชนได้อย่างยัง่ ยนื

5.4 มี ก า รน า น วั ต ก ร ร ม ท่ี เกิ ด จ า ก ก า ร พั ฒ น า ม า ใช้ ห รื อ เผ ย แ พ ร่ ผ่ า น
ช่องทางต่าง ๆ

-9

กรอบแผนการขับเคลอื่ น

กิจกรรม ต.ค.

1. ประชุมจดั ทารปู แบบ กศน.ตาบลตน้ แบบ กลางเดอื น

2. จัดประชุมคณะทางานเพือ่ จดั ทาเกณฑ์ กศน.ตาบลต้นแบบ

3. จัดประชุมคณะทางานเพือ่ จดั ทาแนวทางการดาเนินงาน กศน.ตาบลต้นแบบ

4. จดั ประชมุ เพอื่ ชี้แจงการดาเนนิ งาน กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรีเมยี่ ม ป
ให้กับสถานศึกษา กศน.ท่ัวประเทศ

5. กศน.อาเภอ/เขต คัดเลือก กศน.ตาบล/แขวง เพ่ือให้เป็น

“กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี พรีเมยี่ ม”

6. จดั ทาเกณฑป์ ระเมนิ “กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี ม่ียม”

7. สานกั งาน กศน.จงั หวดั /กทม.ประเมนิ คดั เลอื ก “กศน.ตาบลตน้ แบบ 5 ดี

พรเี ม่ียม” ระดับจงั หวัด ๆ ละ 1 แหง่

8. กลมุ่ สานกั งาน กศน.จังหวัดประเมินคัดเลือก “กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี

พรเี มยี่ ม” ระดับกลุ่มจงั หวัด ๆ ละ 1 แหง่

9. สถาบัน กศน.ภาคประเมินคัดเลือก “กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรีเมย่ี ม”

ระดับภาคๆ ละ 3 แห่ง

10. สานักงาน กศน.ประเมนิ คัดเลอื ก “กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม”

ระดับประเทศ

11. จดั งานเผยแพรแ่ ละถอดรปู แบบ กศน.“กศน.ตาบลต้นแบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม”

ดีเด่นระดบั ประเทศ พรอ้ มทั้งมอบโล่รางวลั

9-

หว้ งเวลา

พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ตน้ เดอื น
ตน้ เดอื น

ปลายเดือน

ตน้ เดือน
กลางเดือน

 -9-









ด้านท่ี 2.2
จัดใหม้ ศี นู ย์การเรียนรตู้ น้ แบบ กศน. ใน 5 ภมู ภิ าค เปน็ Co-learning Space

รายละเอยี ดขอ้ มูล การขับเคลือ่ น กศน. สู่ กศน. WOW

ดา้ นที่ 2 การพัฒนาหนว่ ยงาน/สถานศึกษา ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่เี อ้ือต่อการเรียนรู้
: Good Place - Best Check In
ข้อท่ี 2.2 เรื่อง จัดให้มีศูนย์การเรียนร้ตู น้ แบบ กศน. ใน 5 ภูมภิ าค เปน็ Co-learning space

1. หลักการเหตุผล
เพื่อเสรมิ สร้างและสนับสนุนใหเ้ ดก็ นักเรียน นักศึกษา ประชาชนท่วั ไปและผู้สูงอายุ ได้ยกระดับ

การเรียนรู้ พัฒนาความสามารถของตนเองอย่างสร้างสรรค์ รองรับการเรียนรู้แบบ Active Learning และเป็น
“ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co – Learning Space)” เพ่ือปลูกฝัง และส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน การเรียนรู้ผ่าน
กระบวนการจัดกิจกรรมเรียนรู้แบบบูรณาการ ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเช่ือมโยงเครือขา่ ย กระจายความรู้
ในลักษณะศูนย์รวมส่ือและข้อมูลท่ีสะดวกในการเข้าถึง เพื่อเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของ
เด็ก นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทวั่ ไปและผ้สู งู อายุ ใหส้ อดคลอ้ งกับบริบทของแต่ละท้องถ่นิ

2. เป้าหมาย
จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค เป็น Co – Learning Space ศูนย์การ

เรยี นรู้ทท่ี นั สมยั สาหรบั ทุกคน และยกระดับการเรียนรู้ จานวน 7 ศนู ย์ ได้แก่
1. จังหวดั เชียงใหม่
2. จงั หวัดชลบรุ ี
3. จังหวดั อบุ ลราชธานี
4. จังหวัดสงขลา
5. จังหวัดนครศรธี รรมราช
6. จังหวัดปราจีนบุรี
7. กรุงเทพมหานคร (สานักงาน กศน.กรงุ เทพมหานคร + ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษา (เอกมัย)

+ สถาบันการศึกษาทางไกล)

3. แนวทางการขบั เคลื่อน
เพ่ือให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่มีความทันสมัย ประกอบด้วยสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับ

การศึกษา ค้นคว้าข้อมูล สื่อ Multimedia เพื่อความรู้และความบันเทิง ห้องกิจกรรม (Activities) สาหรับ
การทางานหรือประชุม รวมทั้งบริการด้านอาหาร เครื่องดื่ม (Café Wi-Fi) และบริการอื่นที่เก่ียวข้อง เสริมสร้าง
และสนับสนุนใหเ้ ดก็ นักเรียน นักศึกษา ประชาชนท่ัวไปและผู้สูงอายุ ได้ยกระดบั การเรยี นรู้ พฒั นาความสามารถ
ของตนเองอย่างสร้างสรรค์ รองรับการเรียนรู้แบบ Active Learning และเป็น “ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ
(Co – Learning Space)” เพ่ือปลูกฝัง และส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน การเรียนรู้ผ่านกระบวนการจัดกิจกรรม
เรียนรู้แบบบูรณาการ ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเชื่อมโยงเครือข่าย กระจายความรู้ในลักษณะศูนย์รวมสื่อ
และข้อมูลที่สะดวกในการเข้าถึง เพ่ือเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของเด็ก นักเรียน นักศึกษา
ประชาชนท่ัวไปและผู้สูงอายุ ให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละท้องถ่ิน พื้นที่ของศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ
ประกอบดว้ ย

-2-

1. โซนทางานหรือประชมุ (Co - working zone)
2. โซนสง่ เสรมิ การอ่าน คน้ ควา้ ขอ้ มลู สอ่ื (Learning zone)
3. ห้องคอมพิวเตอร์ ศนู ย์ภาษา ห้องชมภาพยนตร์ (Multimedia zone and Language Center)
5. ร้านกาแฟ (Coffee shop)
6. โซนกิจกรรม (Activities zone)
7. โซนผ่อนคลาย (Relax zone)

4. ข้นั ตอนการดาเนินงาน
1. กาหนดกรอบแนวทางและหลักเกณฑ์ เพ่ือจดั ทาคู่มือการขับเคลอื่ นการดาเนินงานศนู ย์เรียนรู้

ตน้ แบบ กศน. ใน 5 ภมู ภิ าค เป็น Co – Learning Space
2. จดั ประชุมชี้แจงรายละเอียดการขับเคล่ือนดาเนนิ งานศนู ย์เรียนรู้ตน้ แบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค

เป็น Co – Learning Space
3. สานักงาน กศน.จังหวัด สารวจพื้นที่ที่มีความพร้อมตามแนวทางท่ีกาหนด และจัดส่งข้อมูล

ดงั กล่าวให้สานักงาน กศน. ทราบ
4. โอนจัดสรรงบประมาณให้ สานักงาน กศน.จังหวัด นาไปพัฒนาและปรับปรุงให้ตรงกับ

แนวทางฯ
5. สานักงาน กศน. ดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม และสรุปผลการดาเนินงานศูนย์เรียนรู้

ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค เปน็ Co – Learning Space

5. เกณฑก์ ารประเมินและติดตาม
ตามแนวทางทก่ี าหนด ทส่ี านักงาน กศน. กาหนด

6. เปา้ หมาย
1) เชิงปรมิ าณ : จานวนศูนย์การเรยี นรู้ต้นแบบ (Co – Learning space) ใน 5 ภูมิภาค จานวน

7 ศูนย์ฯ ได้แก่ 1) จังหวัดเชียงใหม่ 2) จังหวัดชลบุรี 3) จังหวัดอุบลราชธานี 4) จังหวัดสงขลา
5) จังหวัดนครศรีธรรมราช 6) จังหวัดปราจีนบุรี 7) กรุงเทพมหานคร (ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (เอกมัย)
+ สถาบันการศึกษาทางไกล + สานักงาน กศน.กรงุ เทพมหานคร)

2) เชิงคุณภาพ : เด็ก นักเรียน นักศึกษา ประชาชนท่ัวไปและผู้สูงอายุ ได้รับบริการที่หลากหลาย
สามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีโอกาสแลกเปลี่ยนและแสดงผลงานท่ีมีความคิดสร้างสรรค์รวมท้ังสามารถ
สรา้ งนวัตกรรมในรปู แบบทีห่ ลากหลาย

-3-

บทบาทหน้าที่ แต่ละระดับ

หนว่ ยงาน บทบาทหนา้ ที่
สานกั งาน กศน.
 จัดทาแนวทาง การขับเคล่ือน “ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค
สานกั งาน กศน. จงั หวดั เป็น Co – Learning Space”

 ประกาศแนวทาง การขับเคล่ือน “ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค
เปน็ Co – Learning Space”

 แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ “ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค
เปน็ Co – Learning Space”

 นเิ ทศ ติดตาม การดาเนินงานของ “ศูนย์เรยี นร้ตู ้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมภิ าค
เปน็ Co – Learning Space”

 สารวจพื้นท่ีท่ีจะจัดทา “ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค
เป็น Co – Learning Space”

 จัดป ระชุมออกแบ บ “ศูน ย์เรียน รู้ต้น แบ บ กศน . ใน 5 ภู มิภ าค
เป็น Co – Learning Space”

 ดาเนินการพัฒนาปรับปรุง “ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค
เปน็ Co – Learning Space”

 พัฒนาและจัดหาระบบการจัดกิจกรรม การประชาสัมพันธ์ “ศูนย์เรียนรู้
ตน้ แบบ กศน. ใน 5 ภูมภิ าค เป็น Co – Learning Space”

 พิธีเปิด “ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค เป็น Co – Learning
Space”

 แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ “ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค
เปน็ Co – Learning Space”

 นเิ ทศ ติดตาม การดาเนินงานของ “ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค
เปน็ Co – Learning Space”

-
กรอบแผนการ

กจิ กรรม ต.ค. พ.ย. ธ.

1. ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อดาเนินงาน

โครงการจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค

เป็น Co - Learning Space

2. ประชุมจัดทารูปแบบ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน.

ใน 5 ภูมภิ าค เป็น Co - Learning Space

3. จัดประชุมคณ ะทางานเพื่อจัดทาแนวทางการ

ดาเนินงาน ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค

เปน็ Co - Learning Space

4. จัดประชุมเพ่ือชี้แจงการดาเนินงาน ศูนย์การเรียนรู้

ตน้ แบบ กศน. ใน 5 ภมู ิภาค เปน็ Co - Learning Space

5. โอนจดั สรรงบประมาณ

6. ดาเนินการปรับ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน.

ใน 5 ภูมิภาค เป็น Co - Learning Space

7. นิเทศติดตามและสรุปผลการดาเนินงาน ศูนย์การ

เรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค เป็น Co - Learning

Space

-4-

รขบั เคล่ือน

ห้วงเวลา
.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ดา้ นที่ 2.3
พฒั นาหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จานวน 103 แหง่

ใหเ้ ป็น Digital Literacy

-1-

รายละเอยี ดข้อมลู การขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน. WOW

ด้านท่ี 2 การพฒั นาหน่วยงาน/สถานศกึ ษา ให้มบี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่ีเอื้อตอ่ การเรียนรู้
: Good Place – Best Check in

ข้อที่ 2.3 เรื่อง พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” ใหเ้ ป็น Digital Library

1. หลักการและเหตผุ ล
ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า

กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชานุญาตให้กระทรวงศึกษาธิการ
โดยสานักงาน กศน. เป็นผู้ขับเคลื่อน และเพื่อเป็นการปลูกฝังให้ประชาชนมีนิสัยรักการอ่าน รักการเรียนรู้
ในรูปแบบของการศึกษาตามอัธยาศัย กล่าวคือสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทั้งจากการอ่านหนังสือท่ีเป็นเล่ม
การเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงปัจจุบันระบบดังกล่าวมีบทบาทมากต่อการดารงชีวิต ดั่งคากล่าวท่ีว่า
“น่ังท่ไี หน อ่านทนี่ ัน่ ”

ดังน้ัน เพ่ือให้มีความพร้อมในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและเรียนรู้ เป็นแหล่งข้อมูล
สาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ เป็นเสมือนคาเฟ่การเรียนรู้สาหรับทุกคนทุกช่วงวัย
มีสิ่งอานวยความสะดวก มีความสวยงามท่ีดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยสาหรับผู้ใช้บริการ จึงได้มี
แนวคิดในการพัฒนาห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” ใหเ้ ป็น Digital Library”

2. เป้าหมายตัวชว้ี ดั
2.1 เชงิ ปรมิ าณ : หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” จานวน 104 แหง่
2.2 เชงิ คุณภาพ : หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เป็นแหล่งเรยี นรูท้ ี่ทนั สมัย

มีคณุ ภาพ งา่ ยต่อการเข้าถึง สะดวก สวยงาม และปลอดภยั

3. แนวทางการขับเคลอื่ น
3.1 กาหนดกรอบแนวทางและหลกั เกณฑ์ เพอื่ จัดทาเปน็ แนวทางการขบั เคลอื่ นการ

ดาเนินงาน
3.2 จัดประชมุ ชแ้ี จงรายละเอยี ดการขับเคลื่อนการดาเนินงาน เพอ่ื สรา้ งการรับรู้รว่ มกนั
3.3 สานกั งาน กศน. โอนจัดสรรเงนิ งบประมาณสนับสนุนการพัฒนาห้องสมุดประชาชน

“เฉลิมราชกุมารี” ให้เปน็ หอ้ งสมดุ Digital Library จานวน 104 แห่ง
3.4 สานักงาน กศน.จงั หวดั / สานักงาน กศน.อาเภอ (ทเี่ กีย่ วขอ้ ง) และสถาบนั การศึกษา

และพฒั นาต่อเน่ืองสริ ินธร ดาเนินการพัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ในพน้ื ท่ี ใหเ้ ปน็ ห้องสมุด
Digital Library โดยดาเนนิ การดังน้ี

-2-

หวั ขอ้ องคป์ ระกอบ

1 พัฒนาอาคารสถานที่ - จดั หอ้ งประชมุ กลุ่มย่อย

ใหม้ บี รรยากาศทีเ่ อื้อ - จดั ห้องแลกเปล่ยี นเรยี นรู้กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรยี นรตู้ ามอธั ยาศัย

ตอ่ การอ่านและการ - แบง่ พ้นื ทเี่ รยี นรู้ใหเ้ ป็นสดั ส่วน สงบ สะดวก สะอาด ปลอดภัย และสะดดุ ตา

เรียนรู้ เปน็ Good - จดั หาสง่ิ อานวยความสะดวกที่หลากหลายท่ีเอ้ือต่อการอ่านและการเรียนรู้

Place – Best ฯลฯ

Check in

2 จัดมุมเรยี นร้ดู ้วย - ตดิ ต้งั เครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต หรือสัญญาณ Wi-Fi ทีเ่ สถยี ร

เทคโนโลยี - จดั หาคอมพวิ เตอรท์ ี่ทนั สมัย รองรับเทคโนโลยใี หม่ ๆ

- จดั หา Smart TV เพื่อรองรับการเช่อื มต่อออนไลนต์ ่าง ๆ

- เพมิ่ สื่อการเรยี นรู้ดจิ ทิ ลั เช่น e-book หนงั สือ AR

- เป็นจุดท่ีผู้ใช้บริการสามารถเรียนร้แู ละได้รับประโยชน์สงู สุดจากการเข้ามาใช้บริการ

- จัดทารหสั ควิ อาร์ (QR Code) เพื่อใชใ้ นการศึกษาและเรยี นร้ขู ้อมลู ต่าง ๆ

ฯลฯ

3 จดั หาหนังสือและสอ่ื - สือ่ หนังสือและส่ือมัลติมีเดียใหม่ และทันสมัย

การเรยี นรู้เพิม่ เตมิ - จัดทาคลังความรูด้ จิ ทิ ลั

- จัดทารหัสคิวอาร์ (QR Code) เพอ่ื สะดวกในการศึกษาและเรยี นรู้

4 ประสานความร่วมมือ เพือ่ เป็นอาสาสมัครร่วมจัด สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน

กับภาคเี ครอื ข่ายทั้ง และการเรียนรู้ ท้ังระบบออฟไลน์และออนไลน์ เช่น กจิ กรรมการเรยี นรู้ดา้ นภาษา

ภาครัฐ และเอกชน กจิ กรรมการเรยี นร้ดู า้ นอาชพี กิจกรรมการเรยี นรู้ออนไลน์ต่าง ๆ ฯลฯ

5 พัฒนาบคุ ลากร ให้มีความรดู้ า้ นเทคโนโลยี และการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้

6 การประชาสมั พันธ์ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น แผ่นพับ ใบปลวิ นิทรรศการเคลื่อนที่ รายงานผ่านเวป็ ไซต์/

เอกสาร ฯลฯ

3.5 นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ การดาเนินการให้เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ที่กาหนด

4. แผนการขับเคลอ่ื น

กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมารส 3 ไตรมาส 4
(ตค. – ธค. 62) (มค. – มคี . 63) (เมย. – มยิ . 63) (กค. – กย. 63)
1 กาหนดกรอบแนวทางและหลักเกณฑ์
เพื่อจัดทาเปน็ แนวทางการขบั เคลอื่ น
การดาเนนิ งาน

2 จดั ประชุมชแี้ จงรายละเอียดการ
ขบั เคล่ือนการดาเนนิ งาน เพอ่ื สร้างการ
รับรู้รว่ มกนั

3 สานกั งาน กศน. โอนจดั สรรเงนิ
งบประมาณสนับสนนุ การพัฒนา
ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี”
ใหเ้ ป็นหอ้ งสมุด Digital Library
จานวน 104 แห่ง

-3-

กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมารส 3 ไตรมาส 4
(ตค. – ธค. 62) (มค. – มีค. 63) (เมย. – มิย. 63) (กค. – กย. 63)
4 สานักงาน กศน.จงั หวดั / สานกั งาน
กศน.อาเภอ (ที่เกี่ยวข้อง) และ
สถาบนั การศึกษาและพฒั นาตอ่ เนือ่ ง
สิรินธร ดาเนนิ การพฒั นาหอ้ งสมุด
ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” ในพืน้ ท่ี
ใหเ้ ป็นหอ้ งสมุด Digital Library

5 นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ การ
ดาเนินการให้เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ท่ี
กาหนด

5. เกณฑ์การประเมนิ และติดตาม
1. ตามองคป์ ระกอบและหลกั เกณฑ์ที่สานักงาน กศน. กาหนด
2. นิเทศ ติดตาม และประเมินการดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ทก่ี าหนด

ดา้ นท่ี 2.4
ปรบั ปรงุ รถการอา่ นเคลื่อนท่ี

รายละเอยี ด ขอ้ มลู การขับเคลอ่ื น กศน. WOW

ดา้ นท่ี 2 การพัฒนาหนว่ ยงาน/สถานศึกษา ใหม้ ีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้
: Good Place – Best Check In
ขอ้ ที่ 2.4 เรื่อง การปรับปรงุ รถการอ่านเคลอ่ื นที่

1. หลกั การและเหตุผล
ตามที่นายกรัฐมนตรี มีสั่งการให้ สานักงาน กศน. ดาเนินการขยายงานการให้บริการส่งเสริมการอ่านโดย

รถห้องสมุดเคล่ือนท่ีและกระทรวงศึกษาธิการโดยสานักงาน กศน. มีนโยบายในการดาเนินการซ่อมแซมปรับปรุง
“รถการอ่านเคล่อื นท”ี่ น้ัน

เน่ืองจาก สานักงาน กศน./จังหวัดทุกแห่ง มีรถห้องสมุดเคลื่อนที่และรถประเภทอ่ืนๆสาหรับใช้ในการจัด
กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านในพื้นท่ีชุมชนเมือง ตลอดจนในชนบทห่างไกล มาเป็นเวลานาน ซ่ึงมีความจาเป็นอย่างย่ิง
ที่จะต้องดาเนินการซ่อมแซม ปรับปรุง “รถการอ่านเคลื่อนที่” ท้ังภายในและภายนอกรถ เพื่อให้อยู่ในสภาพที่
เหมาะสม พร้อมท่ีจะใหบ้ รกิ ารได้หลากหลายครอบคลุมพื้นที่มากยิง่ ขน้ึ อยา่ งมคี ุณภาพและประสทิ ธิภาพ

2. เปา้ หมายตัวชว้ี ัด
2.1 เชงิ ปริมาณ
สานักงาน กศน.กทม./จังหวัดทุกแห่ง สามารถดาเนินการซ่อมแซมปรับปรุง “รถการอ่านเคลื่อนที่”

(ทั้งภายในและภายนอกรถ) รวมท้งั ส้ิน 77 แหง่
2.2 เชิงคณุ ภาพ
สานักงาน กศน. กทม./จังหวัดทุกแห่ง มี “รถการอ่านเคล่ือนท่ี” ท่ีมีความพร้อมสาหรับการจัดให้บริการ

ส่งเสริมการอ่าน แก่ประชาชนทุกกลุ่มทุกวัยได้อย่างทั่วถึง ครอบคลุมพื้นท่ี ทั้งในชุมชนเมืองและชนบทห่างไกล
อย่างมีคุณภาพและประสทิ ธิภาพ

3. แนวทางการขับเคล่ือนระดับหนว่ ยงาน / สถานศกึ ษา
ระดับหน่วยงาน
1. ดาเนินการสารวจข้อมูลเร่งด่วนเก่ียวกับประเภทรถ/จานวนรถการอ่านเคล่ือนท่ี/จานวนงบประมาณท่ี

ต้องใช้ในการปรับปรุงรถการอา่ นเคล่ือนท่ี และปัญหา/ความต้องการ/ข้อเสนอแนะ ที่เกยี่ วข้องในการจัดให้บริการ
รถการอา่ นเคลือ่ นที่

2. ขออนมุ ัตงิ บประมาณ และดาเนนิ การจัดสรรงบประมาณตามทไ่ี ด้รบั จรงิ ตามความเหมาะสม
3. สานักงาน กศน. กทม./จังหวัดทุกแห่ง ท่ีได้รับงบประมาณ (ตามข้อ 2) ดาเนินการปรับปรุง
“รถการอา่ นเคลอื่ นท”ี่

-2-

4. สานักงาน กศน. กทม./จังหวัดทุกแห่ง สามารถจัดทาแผนให้บริการส่งเสริมการอ่านโดย “รถการอ่าน
เคลื่อนท่ี” ในพื้นท่ีต่างๆ ได้หลากหลาย ครอบคลุมพ้ืนที่ และกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น อย่างมีคุณภาพและ
ประสทิ ธภิ าพ

4. เกณฑ์การประเมนิ และติดตามผล
1. สานักงาน กศน. กทม./จังหวัดทุกแห่ง ได้รับจัดสรรงบประมาณอย่างพอเพียง เพื่อให้มี “รถการอ่าน

เคลอ่ื นท”่ี สาหรบั จดั กิจกรรมใหบ้ ริการสง่ เสรมิ การอ่านแกป่ ระชาชนในพืน้ ท่ี
2. สานักงาน กศน. กทม./จังหวัดทุกแห่ง มีแผนการจัดให้บริการส่งเสริมการอ่าน โดย “รถการอ่าน

เคลื่อนท”ี่ และสามารถดาเนนิ การไดต้ ามแผน
3. จัดนิเทศติดตามผล ท้งั ในระดับส่วนกลาง ภาค และจงั หวัด

5. บทบาทหน้าแต่ละระดับ

หนว่ ยงาน บทบาทหนา้ ที่

สานกั งาน กศน.  จดั ทาแบบสารวจข้อมูล “รถการอา่ นเคล่ือนที่” เกย่ี วกับประเภท จานวน/สภาพรถ/

สภาพสือ่ /วัสดุ/อุปกรณ์/เจ้าหน้าที่/บคุ ลากร/งบประมาณ(โดยประหยัด)/ปญั หา/

ความตอ้ งการ และอ่นื ๆทเ่ี ก่ียวข้อง

 เสนอขออนมุ ัตงิ บประมาณและดาเนนิ การจัดสรรงบประมาณตามท่ีได้รับจรงิ ตาม

ความเหมาะสม

 นิเทศ ติดตาม และรายงานผลการดาเนินงานในภาพรวมท่ัวประเทศ

สถาบนั กศน. ภาค  ใหค้ าปรกึ ษา สง่ เสรมิ สนบั สนุน การดาเนินงานปรบั ปรุง “รถการอ่านเคลื่อนที่”
 นเิ ทศ ติดตาม และรายงานผลการดาเนินงานในระดบั ภาค

สานักงาน กศน. กทม./  ดาเนินการสารวจขอ้ มูล เพื่อปรับปรุงรถการอา่ นเคลื่อนท่ีอย่างเร่งด่วน ส่งสานักงาน
จังหวดั ทุกแหง่ กศน. ตามกาหนด

 ดาเนินการปรบั ปรุง “รถการอา่ นเคล่ือนที่” ตามท่ีไดร้ บั จัดสรรและทนุ ทางสังคม
ของพ้ืนท่ีแต่ละแหง่ ตามโอกาสและความเหมาะสม

 ดาเนินการ นิเทศ ติดตาม และรายงานผลการดาเนนิ งานระดับจงั หวัด

สานกั งาน กศน. เขต/  ดาเนินงานปรบั ปรุง “รถการอ่านเคลื่อนท่ี” ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องตามนโยบายและ
อาเภอ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
การสง่ั การของ สานักงาน กศน. จังหวัด

กรอบแผนการขบั เคลอื่ น (ดาเนินงาน)

กจิ กรรม ต.ค.

สานกั งาน กศน.
 จดั ทาแบบสารวจขอ้ มลู “รถการอ่านเคลื่อนที่” เก่ยี วกับประเภท

จานวน/สภาพรถ/สภาพส่อื /วัสด/ุ อปุ กรณ์/เจ้าหนา้ ท่/ี บคุ ลากร/
งบประมาณ(โดยประหยัด)/ปัญหา/ความต้องการ และอืน่ ๆท่ี
เกย่ี วข้อง
 เสนอขออนมุ ัตงิ บประมาณและดาเนินการจัดสรรงบประมาณ
ตามทไี่ ดร้ บั จริงตามความเหมาะสม
 นเิ ทศ ตดิ ตาม และรายงานผลการดาเนินงานในภาพรวมทั่ว
ประเทศ

สถาบัน กศน. ภาค

 ใหค้ าปรกึ ษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดาเนินงานปรบั ปรุง “รถการ
อา่ นเคล่ือนท่ี”

 นเิ ทศ ตดิ ตาม และรายงานผลการดาเนนิ งานในระดบั ภาค

ห้วงเวลา
พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

กิจกรรม ต.ค.

สานักงาน กศน. กทม./จังหวัดทุกแห่ง
 ดาเนินการสารวจข้อมลู เพ่ือปรับปรงุ รถการอา่ นเคล่ือนท่ีอยา่ ง

เร่งดว่ น สง่ สานักงาน กศน. ตามกาหนด
 ดาเนนิ การปรบั ปรุง “รถการอา่ นเคลื่อนที่” ตามที่ไดร้ ับจัดสรร

และทนุ ทางสงั คม ของพน้ื ท่ีแต่ละแห่ง ตามโอกาสและความ
เหมาะสม
 ดาเนนิ การ นิเทศ ติดตาม และรายงานผลการดาเนนิ งานระดับ
จงั หวดั

สานักงาน กศน. เขต/อาเภอ ทีเ่ ก่ียวข้อง

 ดาเนินงานปรับปรุง “รถการอา่ นเคล่ือนท่ี” ในส่วนทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
ตามนโยบายและการส่งั การของ สานักงาน กศน. จังหวัด

-5-

ห้วงเวลา
พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ด้านท่ี 3.1
พฒั นาการจดั การศกึ ษาออนไลน์ กศน.

รายละเอยี ดขอ้ มูล การขับเคลือ่ น กศน. สู่ กศน. WOW

ดา้ นที่ 3 การส่งเสริมการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ีท่ นั สมยั และมปี ระสิทธิภาพ : Good Activities

ขอ้ ท่ี 3.1 เร่อื ง พฒั นาการจัดการศึกษาออนไลน์ กศน.

1. หลักการและเหตผุ ล

การจัดการศึกษาออนไลน์ (Online learning) จัดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาในอีกรูปแบบหนึ่ง
ซึ่งสามารถเปล่ียนแปลงวิธีเรียนในรูปแบบเดิมๆ ให้เป็นการเรียนใหม่ ที่ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยทาการสอน
นอกจากนี้ความหมายอีกในหนึ่งยังหมายถึง การเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บไซต์ โดยมุ่งเน้นการเรียนรู้
ทางผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยอยู่ในรูปแบบของคอมพิวเตอร์ เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ บวกเข้ากับ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สร้างการศึกษาท่ีมีปฏิสัมพันธ์คุณภาพสูง โดยไม่จาเป็นต้องเดินทางของผู้เรียน
เกิดความสะดวกและเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ทุกสถานที่ ทุกเวลา เป็นการสร้างการศึกษาตลอดชีวิ ตให้กับ
ประชาชนและกลมุ่ เป้าหมายท่ตี อ้ งการเรยี นรตู้ ามอัธยาศัย

การจัดการศึกษาในลักษณะดังกล่าว ได้มุ่งส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถเลือก
เรียนตามความสนใจและความถนัดของตนเอง ในส่วนของเนื้อหาของเรียน อาจประกอบด้วย ข้อความ
รูปภาพ เสียง VDO และ Multimedia อ่ืนๆ สิ่งเหล่าน้ีจะถูกส่งตรงไปยังผู้เรียนผ่านกลไกทางเทคโนโลยีใน
ยุคดิจิทัล ทั้งผู้เรียน ผู้สอน และเพ่ือนร่วมชั้นทุกคน สามารถติดต่อ สื่อสาร ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
แบบเดียวกับการเรียนในช้ันเรียนท่ัวไป โดยการใช้ E-mail, Chat, Social Network, Google classroom
เป็นต้น ด้วยเหตุน้ีการเรียนรู้แบบออนไลน์ จึงเหมาะสาหรับทุกคน เรียนได้ทุกเวลา เรียนอยู่ที่ใดก็ได้ เรียน
เวลาใดก็ได้เอาตามความสะดวกของผู้เรียนเป็นสาคัญ เนื่องจากให้บริการตลอด 24 ช่ัวโมง ซ่ึงจะช่วยกระตุ้น
ความสนใจ ในการเรียนรู้ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังทาให้เหตุภาพของเน้ือหาต่างๆง่ายดายมากข้ึน
ผู้เรียนสามารถเลือกวิชาเรียนได้ตามความต้องการเอกสารบนเว็บไซต์ที่มี Links ต่อไปยังแหล่งความรู้อ่ืนๆ
ทาใหข้ อบเขตการเรียนรกู้ ว้างออกไป และเรยี นอย่างรู้ลึกมากขน้ึ

ประโยชน์ของการเรียนการสอนแบบออนไลน์ จะเป็นการช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการเรียนการสอน
เนื่องจากไม่ได้จากัดอยู่ในสถานที่เดียวเท่าน้ัน เกิดเครือข่ายความรู้ โยงใยออกไปไกลเน้นการเรียนแบบผู้เรียน
เป็นศูนย์กลางช่วยลดช่องว่างระหว่างการเรียนรู้ในเมืองกับท้องถ่ิน เป็นการจัดการศึกษาท่ีมีความยึดหยุ่นสูง
เพราะฉะนั้นผู้เรียนจาต้องมีความรบั ผิดชอบในการเรยี นมากกว่าปกติ เพราะไม่มใี ครมานั่งจ้าจ้จี ้าไช ย่ิงเรยี นยิ่ง
ได้กับตัวเอง อีกท้ังยังทราบผลย้อนกลับของการเรียน ท้ังจาก การประเมินย่อย การประเมินผลโดยรวม
โดยอาจมีระบบ e-testing เป็นเครอ่ื งมือในการสอบ รวมทั้งการประเมินผลรวมตามการสอบ เพ่ือเป็นการเช็ค
ว่าผู้เรียนได้เข้ามาเรียนจริง ตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เรียน ว่าสามารถทาข้อสอบได้ มีความเข้าใจใน
เน้อื หาเพื่อสนองนโยบายการจัดการศึกษาให้สอดรับกับเทคโนโลยแี ละความเป็นพลวัตรของสงั คม

ด้วยเหตุน้ี สานักงาน กศน. จึงได้เล็งเห็นความสาคัญต่อการเปล่ียนผ่านรูปแบบการจัดการศึกษาใน
อนาคต จึงเห็นควรให้มกี ารเตรียมความพร้อมทง้ั ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ระบบการจัดการศกึ ษาออนไลน์ ระบบ
สื่อเทคโนโลยี ระบบการวัดและประเมนิ ผล และการปรับหลักเกณฑ์ท่ีเกี่ยวข้องกบั การจัดการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน การจัดการศึกษาตอ่ เน่ือง และการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย เพื่อพัฒนาผู้เรยี นและ
ผ้รู ับบรกิ ารในกลุ่มเป้าหมายของ กศน. ให้สอดรบกับการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีและรปู แบบการจดั การศึกษา
ออนไลน์ในอนาคต

-2-

2. เป้าหมายตัวช้วี ดั

2.1. เชิงปริมาณ

1. มีระบบโครงสร้างพื้นฐาน ระบบข้อมูลผู้เรียน และแพลทฟอรม์ ในการจัดการศึกษาระบบ
ออนไลน์ของ กศน.

2. มีระบบการพัฒนาส่ือดิจิทัล เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ ครอบคลุม
พ้นื ที่ 77 จงั หวัด และรวมถงึ การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยในต่างประเทศ

3. มรี ะบบการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนผา่ นระบบออนไลน์ ครอบคลุมพื้นที่ 77 จังหวัด
และรวมถึงการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในตา่ งประเทศ

4. มีระบบการทดสอบผ่านระบบออนไลน์ ครอบคลุมพื้นที่ 77 จังหวัด และรวมถึงการทดสอบ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในต่างประเทศ

5. มีการประชาสัมพันธ์และการส่ือสารเพ่ือการรับรู้ถึงแนวทางการจัดการศึกษาออนไลน์
ของ กศน.

2.2. เชงิ คณุ ภาพ
1. โครงสร้างพื้นฐาน ระบบข้อมูลผู้เรียน และแพลทฟอรม์ ในการจดั การศึกษาระบบออนไลน์

ของ กศน. มีการลงทนุ และพฒั นาระบบให้เกดิ ประสทิ ธิภาพและย่งั ยนื สามารถรองรับผใู้ ชบ้ รกิ ารในทกุ กลุ่มวยั
2. การพัฒนาสื่อดิจิทัล เพ่ือส่งเสริมการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ มีการกาหนด

แนวทาง หลักเกณฑ์ และรูปแบบของเนื้อหาในการปรับเปล่ียนในรูปแบบดิจิทัลท่ีทันสมัยตอบสนองความ
ต้องการของกลุม่ เป้าหมายไดท้ ุกกลมุ่ วัย

3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ มุ่งส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยน
วิธีการจัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนสามารถสร้างการเรียนรู้ได้ ทุกคน (Anyone) ทุกท่ี (Anywhere) ทุกเวลา
(Anytime) ทุกสถานท่ี (Anyplace) ขึ้นกับความต้องการแสวงหาความรู้ของผู้เรียนพร้อมปรับหลักเกณฑ์และ
วิธกี ารจดั การเรยี นรใู้ ห้ทันสมัย

4. การทดสอบผ่านระบบออนไลน์ จะต้องมีหลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบความก้าวหน้า
และคุณภาพผู้เรียนให้ทันสมัย เน้นแนวทางให้เกิดการประเมินทางเลือก (Alternative Assessment) เพ่ือให้
เกดิ ความยืดหยุ่นแกผ่ ูเ้ รยี น สถานศกึ ษา และการทดสอบระดบั ชาติ

5. ควรต้องประชาสัมพันธ์และการส่ือสารให้หน่วยงาน/สถานศึกษา ผู้เรียน และประชาชน
รับรู้ถงึ แนวทางการจัดการศกึ ษาออนไลน์ของ กศน. ในเชงิ กว้างทางสงั คมและเป็นทย่ี อมรับ

3. แนวทางการขบั เคล่อื นระดบั หน่วยงาน/สถานศึกษา
ระยะที่ 1 พัฒนาระบบการจัดการศึกษาด้วยระบบออนไลน์
1. รปู แบบของระบบ
1) พัฒนาระบบจัดการการเรียนการสอน (LMS : Learning Management System) ให้มี

คุณลักษณะ (features) และเคร่ืองมือ (Tools) ท่ีสามารถรองรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ได้อย่างมี
คุณภาพและประสิทธภิ าพ

2) พัฒนาระบบนาส่งการเรียนการสอน (Delivery System) ท้ังฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ระบบ
(System software) ให้มีความคุณลักษณะ (features) ท่ีสามารถรองรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ

3) พัฒนาระบบซอฟทแ์ วร์และจดั หาอปุ กรณ์ท่ีเกี่ยวข้อง

-3-

2. องคป์ ระกอบของ LMS ประกอบดว้ ย 5 สว่ น ดงั นี้
1) ระบบจัดการหลักสูตร (Course Management) กลุ่มผู้ใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดับคือผู้เรียน

ผู้สอน และผู้บริหารระบบ โดยสามารถเข้าสู่ระบบจากท่ีไหน เวลาใดก็ได้ โดยผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ระบบสามารถรองรับจานวน user และ จานวนบทเรียนได้ ไม่จากัด โดยขน้ึ อยูก่ ับ hardware/software ที่ใช้
และระบบสามารถรองรบั การใช้งานภาษาไทยอย่างเต็มรูปแบบ

2) ระบบการสรา้ งบทเรียน (Content Management) ระบบประกอบดว้ ยเคร่ืองมือในการช่วย
สร้าง Content ระบบสามารถใชง้ านได้ดีท้ังกับบทเรียนในรูป Text - based และบทเรยี นในรปู แบบ Streaming
Media

3) ระบบการทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System) มีระบบคลังข้อสอบ
โดยเป็นระบบการสุม่ ขอ้ สอบสามารถจบั เวลาการทาขอ้ สอบและการตรวจข้อสอบอัตโนมตั ิพร้อมเฉลย รายงาน
สถิติ คะแนน และสถติ ิการเขา้ เรียนของนกั เรยี น

4) ระบบส่งเสริมการเรียน (Course Tools) ประกอบด้วยเครื่องมือต่างๆ ท่ีใช้ส่ือสารระหว่าง
ผู้เรียน - ผู้สอน และ ผู้เรียน - ผู้เรียน ได้แก่ Web board, Chat room, Google Classroom ฯลฯ โดยสามารถ
เกบ็ ประวตั ิของข้อมูลเหล่าน้ไี ด้

5) ระบบจัดการข้อมูล (Data Management System) ประกอบด้วยระบบจัดการไฟล์และ
โฟลเดอร์ ผู้สอนมเี นอ้ื ที่เก็บข้อมลู บทเรียนเป็นของตนเอง โดยได้เน้ือที่ตามที่ Admin กาหนดให้การศึกษาต้อง
ไมย่ ดึ ติดกับรูปแบบเดยี ว ควรนาส่วนดขี องรูปแบบการศกึ ษาอ่ืนๆ นามาใช้

3. กาหนดกรอบทศิ ทางการพฒั นาการจัดการศึกษาออนไลน์ กศน.
1) การศึกษาต้องไม่ยึดติดกับรูปแบบเดียว เป็นการนาส่วนดีของรูปแบบการศึกษาท้ังการศึกษา

ในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั นามาใช้เน้นการเรียนแบบ Active Learning
2) ปรับเปลี่ยนจากการเน้นการสอน มาเป็นเน้นการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้

หรือรว่ มกนั สรา้ งองคค์ วามรู้
3) เนน้ การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง โดยครูเปลย่ี นบทบาทเป็นผ้นู าพากระบวนการเรียนรู้ (Facilitator)
4) ประยุกต์ใช้การจัดการศึกษาออนไลน์ให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบการจัดการศึกษา เพื่อเป็น

ช่องทางไปสู่มวลของความรู้ในโลกกวา้ ง เพ่อื สง่ เสริม สนบั สนุนใหผ้ ู้เรียนเปน็ ผู้แสวงหาความรู้ ไมใ่ ชผ่ ้รู บั ความรู้
5) การวัดผลการเรียนรู้ ควรวัดผลในรูปของแฟ้มสะสมผลงาน วัดความสามารถของความรู้

และพฒั นาการที่เพิ่มขึ้น ฯลฯ

ระยะที่ 2 พฒั นา E-Folio (แฟ้มประวตั ิออนไลน์)
บทบาทสว่ นกลาง

1) ข้อมูลบุคคล ส่วนหน่ึงสามารถดึงข้อมูลบัตร ประชาชนจากโปรแกรม itw51 จากข้อมูล
การศกึ ษาทล่ี งทะเบียนในระบบอ่นื ๆ เชน่ ชอื่ – นามสกุล เลขท่บี ตั รประชาชน ครอบครัว

2) ขอ้ มูลการศึกษาระหวา่ งเรียนดึงจาก itw51 สถานศึกษา
3) ขอ้ มูลอืน่ ๆ เช่น ประวัติการพักงาน (ถ้าม)ี
4) พฒั นาระบบ E-Folio
5) ประชมุ ช้ีแจงอบรมสถานศกึ ษาในการนาภาพ E-Folio ไปใช้
6) ตดิ ตามผลการใชร้ ะบบ E-Folio ส่อื พฒั นาปรับปรงุ

-4-

บทบาทจงั หวดั
1) สง่ เสริม สนับสนนุ การใชภ้ าพ E-Folio
2) ติดตามการประเมนิ ผลการใช้ E-Folio

บทบาท สถานศกึ ษา / กศน.ภาค / ศฝช. /ศว./ศกพ.
1) นาระบบ E-Folio ไปใช้
2) พฒั นาบุคลากรการใชภ้ าพ E-Folio
3) แนะแนวผ้เู รียนในการใช้ E-Folio

ระยะท่ี 3 พัฒนาหลกั เกณฑ์การจัดการศึกษารูปแบบออนไลน์
บทบาทส่วนกลาง

1) ประชุมพัฒนาร่างหลักเกณฑ์การจัดการศกึ ษารปู แบบออนไลน์ บรรณาธกิ าร ตรวจสอบ และ
ขออนุมตั ิประกาศใชห้ ลักเกณฑ์ฯ

2) ประชมุ ชแ้ี จงการนาเอกสารหลักเกณฑ์การจดั การศึกษาออนไลนไ์ ปใช้
3) ติดตามผลการนาเอกสารหลักเกณฑ์ไปใช้เพื่อแก้ไขพัฒนาและปรับปรุงหลักเกณฑ์ให้
เหมาะสมมปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งขนึ้

บทบาทสถานศึกษา/ภาค/ศฝช./ศว./ศกพ.
1) พฒั นาบคุ ลากรในการนาหลกั เกณฑ์การจดั การศึกษารปู แบบออนไลนส์ ่กู ารปฏบิ ัติ
2) แนะแนว ปฐมนเิ ทศ นักศึกษาท่สี นใจเรียนแบบออนไลน์

บทบาท กศน.จังหวัด
1) สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั การศึกษาออนไลน์
2) ติดตามผลและประเมนิ เพื่อปรบั ปรุงและพฒั นา

ระยะที่ 4 กระบวนการขับเคล่อื น Google Classroom และระบบการจัดการศกึ ษาออนไลน์
ใหก้ บั หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ประกอบด้วย 3 ข้นั ตอน

ขัน้ ตอนท่ี 1 ข้ันเตรียมการ
1) มอบหมายให้ครูผูส้ อนทาแผนการจดั กระบวนการเรียนรูร้ ายสัปดาห์ท้ังภาคเรียน โดยจาแนก

เป็นระดับ การกาหนดระดบั ประถม ม.ต้น ม.ปลาย (ใบความรู้/ใบงาน/แบบทดสอบ/แบบฝึกหดั )
2) จดั พฒั นาบคุ ลากรทเ่ี ป็นผสู้ อน โดยมีเน้อื หาการอบรมประกอบดว้ ย
2.1) ความสาคญั ของ Google Classroom
2.2) Application ต่างๆท่ีเก่ียวข้องกับ Google Classroom (ใช้ระยะเวลาการฝึกอบรม

3-5 วัน) ขึ้นอยกู่ ับพ้นื ฐานของผเู้ ขา้ รับการอบรม

ข้นั ตอนที่ 2 ข้นั ดาเนินการ
1) ใหผ้ ้เู รยี นสมัคร g-mail เพอื่ ขอใช้ Username / password
2) ผู้ช้แี จงกระบวนการ/จดั ทาคมู่ อื การเรียนออนไลน์
3) ผู้สร้างห้องเรียน Google Classroom ระดับตาบลโดยจาแนกเป็นระดับการศึกษา ซึ่งใน

หอ้ งเรยี นประกอบดว้ ย

-5-

3.1) แผนการจัดกระบวนการเรยี นรูร้ ายสัปดาห์ 18 สัปดาห์
3.2) ส่ือต่างๆที่มาจากการสร้างร่วมกัน เช่น เนื้อหาความรู้แต่ละวิชา ชิ้นงานของผู้เรียน
(ผู้บริหารสามารถเข้าไปตรวจแผนการสอน ผลงาน ฯลฯ ได)้
3.3) ในห้องเรียนผู้เรียนและครูสามารถสื่อสารสนทนาได้ ท้ังการประกาศ ข่าว เอกสาร
ประชาสมั พันธ์ การนัดหมายทากจิ กรรมตารางสอน ฯลฯ

ขั้นตอนที่ 3 ข้นั ตดิ ตามผล มกี ารติดตาม 2 รปู แบบ
1) ตดิ ตามโดยบุคคล (ผู้บริหารกลบั จังหวดั อาเภอ ศึกษานเิ ทศก์)
2) ลงสถานทจี่ รงิ

ระยะท่ี 5 การทดสอบ วดั ผล และประเมนิ ผล
1. ประชุมเพื่อกาหนดแนวทางหลักเกณฑ์ และวธิ ีการในการกาหนดรูปแบบการทดสอบออนไลน์
2. กาหนดวิธีการวัดและประเมินผล ด้วยการทดสอบก่อนเรียน ทดสอบระหว่างเรียน หรือการ
ประเมนิ รปู แบบอืน่ ๆ
3. ประชุมจดั ทาเกณฑก์ ารวดั และประเมินผลให้สอดคลอ้ งกับการเรียนการสอน พร้อมกาหนดสดั สว่ น
การวดั และประเมินผลผู้เรียน ทั้งการทดสอบระหวา่ งเรยี น และการทดสอบหลังเรียนของเนื้อหา และหลักสูตร
ในภาพรวม เช่น 1) ระหว่างภาคกี่ % หลักเกณฑ์ 2) มีแบบฝึกหัดวัด หลัง-ก่อน การเรียน 3) การประเมิน
โดยโครงงาน ชิ้นงาน 4) สัดส่วนแบบทดสอบระหว่างภาคเป็นอัตนัย/ปรนัย คิดเป็นกี่ % 5) ประชุมพัฒนา
แบบทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรยี น และ/หรอื ปลายภาค
4. กาหนดแนวทางในการติดตามกระบวนการเรียนการสอน และแนวทางการขับเคลื่อนการทดสอบ
วัดผล และประเมนิ ผล ระหว่างหน่วยงานทางการศึกษา

4. เกณฑ์การประเมินและติดตาม
4.1. การประเมนิ ผลและตดิ ตามระหวา่ งการดาเนินงาน โดย
4.1.1 การจัดทาเครื่องมือเพ่ือใช้ในการติดตามและประเมินผลการดาเนนิ การนาร่อง
4.1.2 การประชมุ เพ่ือประเมินผลการดาเนินงานและแลกเปล่ียนเรยี นรู้
4.1.3 ประเมินผลจากรายงานผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
4.1.4 คณะทางาน / ศึกษานิเทศก์ กลุ่มงานทร่ี ับผดิ ชอบดาเนนิ การรวบรวม วเิ คราะห์ และ

สรปุ ผลการติดตามการดาเนนิ งาน เสนอตอ่ สานักงาน กศน.
4.2. การประเมินผลสิน้ สดุ โครงการ/สนิ้ สดุ ปงี บประมาณ
4.2.1 การจดั ทาเครื่องมือประเมนิ ผลการดาเนินงานโครงการ
4.2.2 การประชุมกลมุ่ ยอ่ ย เพ่ือประเมนิ ผลการดาเนินงาน และแลกเปล่ียนเรยี นรู้
4.2.3 คณะทางาน / กล่มุ งานทรี่ บั ผดิ ชอบดาเนนิ การรวบรวม วเิ คราะห์ และสรปุ ผลการดาเนนิ งาน

เสนอต่อสานักงาน กศน.


Click to View FlipBook Version