สารประชาสัมพันธ์
การพัฒนาระบบบริหาร สสช.
ฉบับท่ี 1/2561
สานักงานสถิติแห่งชาติ
กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม
สารบัญ
1 การประเมนิ สว่ นราชการตามมาตรการ
ปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการ
6 การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐระดับพื้นฐาน
(PMQA Fundamental Level ฉบับที่ 2)
15 การพัฒนาองค์การ
18 ภาพกิจกรรม
“ “การประเมินสว่ นราชการตามมาตรการ
ปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการ”
ท่ีมา :
พระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2545
มาตรา 3/1 “การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธ์ิ
ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดข้ันตอนการ
ปฏิบตั ิงาน การลดภารกจิ และยุบเลกิ หน่วยงานท่ีไม่จาเป็น …”
พระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการบรหิ ารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี พ.ศ. 2546
มาตรา 12 “เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อ
คณะรัฐมนตรี เพ่ือกาหนดมาตรการกากับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทาความตกลงเป็น
ลายลักษณอ์ กั ษร หรือโดยวธิ ีการอน่ื ใด เพื่อแสดงความรับผดิ ชอบตอ่ การปฏิบัตริ าชการ”
มาตรา 45 “กาหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดาเนินการประเมินผล
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เกย่ี วกับผลสมั ฤทธ์ิของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความ
พึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
ระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กาหนด ”
คาสง่ั หัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 5/2559
เรื่อง มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ เพ่ือประโยชน์ในการปฏิรูป
ระบบการบริหารราชการแผน่ ดิน มีผลบังคบั ใช้ ณ วนั ท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2559
มติคณะรฐั มนตรี 5 เมษายน 2559
เห็นชอบการประเมิน โดยแบบประเมินข้าราชการพลเรือนในความรับผิดชอบของ
ฝ่ายบริหารและแบบประเมินส่วนราชการ ตามคาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ท่ี 5/2559 และให้นาแบบประเมินฯ น้ีไปใช้ในการประเมินข้าราชการและการประเมิน
สว่ นราชการในรอบการปฏบิ ัติงานตง้ั แต่วันท่ี 1 ตุลาคม 2558
จุดเน้น : - เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ แผนฯ 12 นโยบายรัฐบาล คาสั่ง/ข้อสั่งการ นรม. แนวทาง
การพัฒนาประเทศไทย 4.0 การพัฒนาท่ียั่งยืน (SDG) และ International KPIs โดยบูรณาการ
ตัวชี้วัดของหนว่ ยงานกลาง เพอื่ สะท้อนผลสัมฤทธ์ิและเชื่อมโยงสเู่ ป้าหมายระดับชาติ
- กาหนดค่าเป้าหมายตัวชี้วัดท่ีชัดเจน โดยเป็นการ top down โดยไม่มีข้ันตอน
การเจรจาตวั ช้ีวดั กับสว่ นราชการ
1
การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพ
ในการปฏิบตั ิราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561
การติดตามประเมนิ ผล
ระบบ e-SAR
ระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพ
ในการปฏบิ ตั ิราชการ (ม. 44) http://esar.opdc.go.th
1 ปีงบประมาณ แบ่งการประเมินเป็น 2 รอบ
รอบท่ี 1 : 1 ต.ค. 60 - 31 ม.ี ค. 61
รอบที่ 2 : 1 เม.ย. 61 - 30 ก.ย. 61
เกณฑ์การประเมินสว่ นราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติราชการ
1. ตัวชีว้ ัด พิจารณาจากผลการดาเนินงานเทียบกบั ค่าเปา้ หมาย ทไี่ ดก้ าหนดไว้ในแต่ละ
รอบการประเมิน โดยมเี กณฑ์ การประเมิน 2 กรณี ดังน้ี
ผ่าน ผลการดาเนนิ งานเป็นไปตามเป้าหมาย หรอื สงู กว่าเปา้ หมายท่ีต้งั ไว้
ไม่ผา่ น ผลการดาเนนิ งานต่ากว่าเป้าหมายท่ีตัง้ ไว้
2. องคป์ ระกอบ แบ่งเกณฑ์การประเมินเป็น 3 กรณี ดังนี้
สงู กว่าเป้าหมาย - ผา่ นทกุ ตวั ช้วี ัด
- ผ่าน 3 ตัวชีว้ ดั จาก 4 ตวั ชว้ี ัด
- ผา่ น 4 ตวั จาก 5 ตัวช้ีวัด
เปน็ ไปตามเป้าหมาย
- ผา่ น 1 ตัวชวี้ ัดจาก 2 ตวั ชี้วัด
- ผา่ น 2 ตวั ชีว้ ดั จาก 3 ตัวชว้ี ัด
- ผา่ น 2 ตัวชว้ี ดั จาก 4 ตวั ชว้ี ัด
- ผ่าน 3 ตัวช้ีวัดจาก 5 ตวั ชีว้ ัด
ตา่ กว่ากว่าเปา้ หมาย - ไม่ผ่านทุกตัวชว้ี ัด
- อื่นๆ ที่ไมเ่ ขา้ หลกั เกณฑ์เป็นไปตามเปา้ หมาย หรือสูงกวา่ เป้าหมาย
2
3. ส่วนราชการ พจิ ารณาในภาพรวมทงั้ 5 องคป์ ระกอบของสว่ นราชการ โดยแบ่ง
เกณฑ์การประเมินเป็น 3 ระดับ ดังนี้
ระดับคณุ ภาพ ผลการดาเนินงานอยูใ่ นระดบั สูงกวา่ เป้าหมายทกุ องคป์ ระกอบ
ระดบั มาตรฐาน
ผลการดาเนนิ งานอยใู่ นระดบั สงู กวา่ เป้าหมายไม่ทุกองคป์ ระกอบแต่
ไม่มอี งค์ประกอบใดองค์ประกอบหน่ึงไดร้ บั การประเมินในระดับตา่
กว่าเป้าหมาย
ผลการดาเนนิ งานอยู่ในระดบั ตา่ กว่าเปา้ หมายในองค์ประกอบใน
ระดบั ตอ้ งปรับปรงุ องค์ประกอบหนง่ึ (แมว้ ่าจะไดร้ บั การประเมนิ ในองค์ประกอบอน่ื ใน
ระดบั เป็นไปตามเปา้ หมายหรือสงู กว่าเป้าหมาย)
ตัวชว้ี ัดของสานักงานสถติ ิแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
1. ประสิทธิภาพในการดาเนินงานตามหลักภารกิจพ้ืนฐาน งานประจา งานตามหน้าท่ปี กติ
(Functional Base)
ตัวชี้วดั เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน
1. จานวนขอ้ มูลด้านเศรษฐกิจ - รอบการประเมินที่ 1 : 11 เรอื่ ง อย่รู ะหว่าง
และสังคมท่ีต้องการเผยแพรต่ อ่ - รอบการประเมินที่ 2 : 23 เรอ่ื ง ติดตามผล
ประชาชนหรือผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี รอบประเมนิ 1/60
(สม. สศ. สค.)
2. ร้อยละของชดุ ขอ้ มลู ตามตัวช้วี ัด - รอบการประเมินที่ 1 : 6 ตัวช้ีวัด อยู่ระหวา่ ง
- รอบการประเมินท่ี 2 : 12 ตวั ชี้วัด
SDGs ท่ีหนว่ ยงานรับผิดชอบการ ตดิ ตามผล
จัดเกบ็ มีความถูกตอ้ ง ครบถ้วน รอบประเมนิ 1/60
ทันสมัย
(พก. สศ. สค.
เปน็ ตวั ชี้วดั กระทรวง)
3
ตัวช้วี ดั เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน
3. ความสาเร็จในการแปลงแผนแมบ่ ทระบบสถิติประเทศไทยส่กู ารปฏบิ ัติ
3.1 รอ้ ยละของขอ้ มลู สถิติทางการที่ - รอบการประเมินท่ี 1 : ตรวจสอบ อยรู่ ะหว่าง
สาคัญ จาเป็นของประเทศท่ีมีความ และรวบรวมรายการสถติ ิทางการ ติดตามผล
ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน ทันสมัย รายสาขาท่พี รอ้ มเผยแพรข่ อง รอบประเมิน 1/60
(บส. ศย.) หนว่ ยงานภายนอก และสรปุ
รายการสถิตทิ างการภายใต้ความ
รับผิดชอบของหน่วยงาน
- รอบการประเมินท่ี 2 : รอ้ ยละ 80
3.2 รอ้ ยละของจงั หวัดที่มขี ้อมูล - รอบการประเมินท่ี 1 : ทบทวน อยู่ระหวา่ ง
Product Champion ที่สอดคล้อง รายการขอ้ มูลสถติ ิและจดั ประชุม ติดตามผล
กบั แผนพัฒนาจังหวดั คณะกรรมการสถติ ิระดับพ้ืนท่ี รอบประเมิน 1/60
(บส. สถจ.) - รอบการประเมินท่ี 2 : รอ้ ยละ
80 ของ 76 จงั หวดั
2. ประสิทธิภาพในการดาเนนิ งานตามหลกั ภารกจิ ยุทธศาสตร์ นโยบายเร่งดว่ น หรือภารกิจ
ทไี่ ดร้ บั มอบหมายเป็นพิเศษ (Agenda Base)
ตวั ช้ีวดั เป้าหมาย การดาเนนิ งาน
2.1 การสร้างความรบั รู้ความเขา้ ใจ - รอบการประเมินท่ี 1 : รอ้ ยละ 100 อยู่ระหว่าง
แกป่ ระชาชน (ตวั ช้ีวัดบงั คบั ) - รอบการประเมินท่ี 2 : ร้อยละ 100 ติดตามผล
2.1.1 ร้อยละการดาเนนิ การ รอบประเมนิ 1/60
ตามแผนการสรา้ งความรับรู้ความ
เขา้ ใจแกป่ ระชาชน
2.1.2 ร้อยละการชแี้ จงประเดน็
ท่ีทันตอ่ สถานการณ์ (ถา้ ม)ี
(สลก. : กปส.)
2.2 ความสาเร็จของการจดั ระบบ - รอบการประเมินที่ 1 : สารสนเทศ อยู่ระหว่าง
ขอ้ มลู และสารสนเทศเพอื่ การ
บริหาร (Management เพอื่ การบริหาร จานวน 1 เร่ือง ตดิ ตามผล
Information System : MIS)
(บส. ศย.) - รอบการประเมินที่ 2 : สารสนเทศ รอบประเมนิ 1/60
เพื่อการบรหิ าร จานวน 3 เร่อื ง
4
ตัวชี้วัด เป้าหมาย การดาเนนิ งาน
2.3 ความสาเร็จของการจดั ทา - รอบการประเมินที่ 1 : นาข้อมูล อยู่ระหว่าง
รายงานผลการสารวจภาวะการ ผลการสารวจฯ เขา้ ระบบฯ (นาร่อง) ติดตามผล
ทางานของประชากร ท่รี ายงาน - รอบการประเมินท่ี 2 : นาเสนอ รอบประเมิน 1/60
ครม. ให้อยู่ในรปู BI (Business ข้อมลู ผลการสารวจฯ ด้วย BI
Intelligence) ตอ่ ครม.
(สค. ศท. พก.)
3. ประสิทธิภาพในการดาเนินงานตามหลักภารกิจพื้นที่/ท้องถ่ิน ภูมิภาค จังหวัด กลุ่มจังหวัด
(Area Base)
ตวั ชี้วดั เป้าหมาย การดาเนนิ งาน
- สสช. ไมม่ ีตัวช้ีวัดในองค์ประกอบนี้ -
4. ประสิทธิภาพในการบรหิ ารจดั การและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบงาน
งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล (Innovation Base)
ตัวช้ีวัด เป้าหมาย การดาเนนิ งาน
4.1 การพัฒนานวตั กรรม
เรือ่ งพัฒนาระบบรบั สมัคร - รอบการประเมินท่ี 1 : ส่งขอ้ เสนอ ส่งขอ้ เสนอการพัฒนา
ฝึกอบรมออนไลน์
(ศท.) การพฒั นานวตั กรรม นวตั กรรมของ สสช.
4.2 การพฒั นาประสิทธภิ าพ - รอบการประเมินที่ 2 : ผลการ เรียบรอ้ ยแล้ว
ในการปฏบิ ัติงาน ประเมินตั้งแต่ 50 คะแนนขน้ึ ไป
(ศนู ย/์ กอง ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง) 50 - 80 คะแนน = ผ่านแบบ
มาตรฐาน
มากกว่า 80 คะแนน = ผา่ นแบบ
คุณภาพ
- รอบรอบการประเมินท่ี 1 : ดาเนนิ อยู่ระหวา่ ง
กิจกรรมไดผ้ ลผลิตตามแผน รอ้ ยละ ติดตามผล
80 ข้นึ ไป รอบประเมิน 1/60
- รอบการประเมินที่ 2 : ดาเนิน
กิจกรรมไดผ้ ลผลิตตามแผน ร้อยละ
80 ขึ้นไป
5
5. ศกั ยภาพในการดาเนินการของส่วนราชการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(Potential Base)
ตวั ชีว้ ดั เปา้ หมาย การดาเนินงาน
5.1 การจัดทาและดาเนินการตาม
แผนการขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์ชาติ - รอบการประเมินท่ี 1 : วัดผลการ อย่รู ะหวา่ ง
ดาเนินงาน และ การใชจ้ า่ ยเงิน ติดตามผล
(สลก. : กยง.) งบประมาณ รอบประเมิน 1/60
- รอบการประเมินท่ี 2 : วดั ผลผลิต
5.2 การดาเนินการจัดทาแผน และการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ
ปฏิรูปองค์การ
- รอบการประเมินท่ี 1 : ความ จดั ทาแผนปฏิรูป
(สลก. : กยง. กกจ , พร.) ครบถว้ นของข้อมลู ทก่ี าหนดให้ องคก์ ารแลว้ เสร็จ
จดั ทาตามแผนปฏิรูปองคก์ าร ครบถว้ น 100%
100%
- รอบการประเมินที่ 2 : ความ
ครบถว้ นของแผนปฏริ ูปองค์การที่
ปรบั ตามข้อสังเกตคณะกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ 100% (กรณีท่ีไม่มี
การแกไ้ ขในรอบการประเมินท่ี 2
จะถือว่าผา่ นการประเมิน)
สานักงาน ก.พ.ร. เปิดระบบ e-SAR
ให้รายงานผลการประเมินส่วนราชการ
ฯ รอบการประเมินที่ 1 (1 ต.ค. 60 -
31 มี.ค. 61) พร้อมแนบหลักฐาน
อ้ า งอิ งป ระ ก อ บ ก า รด า เนิ น งา น
ระหวา่ งวนั ที่ 1 - 20 เม.ย. 61
http://esar.opdc.go.th/e-SAR/#/login
6
“การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ”
PMQA
ผอู้ านวยการสานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติกับการพัฒนาองค์การ
ผอู้ านวยการ สสช. (นายภชุ พงค์ โนดไธสง) ได้ให้ความสาคัญกับ
“การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector
Management Quality Award : PMQA) เพ่ือใช้ในการบริหารงาน”
เพื่อประเมินโครงการต่างๆ ที่ดาเนินการ ลูกค้าหรือผู้รบั บริการเป็นใครบ้าง ผู้รับบริการแต่ละ
ภาคส่วนนาผลผลิตไปใช้อย่างไร เกิดประโยชน์มากน้อยเพียงใด มีความพึงพอใจหรือไม่ สสช.
จะตอ้ งฟังผูร้ ับบริการและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียเพ่อื นามาปรบั ปรุงผลผลติ และกระบวนการทางาน
เน้นการบริหารจัดการในเชิงคุณภาพมากข้ึน ต้องพิจารณากระบวนการทางานท่ีซ้าซ้อนเพ่ือ
ลดขั้นตอน เพ่ิมบทบาทการบูรณาการ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก อย่าง Data Analytics
ให้มากข้ึนจนถงึ ข้นั Policy Implication คอื เป็นผ้เู สนอแนวทางการพัฒนา หรอื แก้ไขปญั หา
ทม่ี า : การประชุมมอบนโยบาย ผสช. 25 ก.ค. 2560
# โครงสร้างของเกณฑ์ PMQA FL2
7
# การเตรยี มความพรอ้ มสาหรับการตรวจประเมิน
สสช. ได้จัดโครงการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมการเข้ารับ “การตรวจประเมิน
เกณฑ์คุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) ฉบับที่ 2”
เม่ือวันพฤหัสบดีท่ี 18 มกราคม 2561 เวลา 9.00 - 16.00 น. ณ ห้องอบรม 1 (ทิศใต้) โดยเชิญ
นายกิตติพัทธ์ จิรวัสวงศ์ ท่ีปรึกษา และผู้ตรวจประเมินฯ FL2 มาบรรยายและให้แนวทาง
การเตรียมความพร้อมแก่ สสช. โดยมคี ณะทางาน PMQA และผูเ้ ก่ียวข้องเข้ารว่ มการอบรมฯ
สาหรับการตรวจรับรองการผ่านเกณฑ์ PMQA FL2 เป็นเกณฑ์ท่ีสานักงาน ก.พ.ร. ได้
พัฒนาขึ้น เพอ่ื ให้ส่วนราชการใชเ้ ป็นเครื่องมือในการพัฒนาส่อู งคก์ ารคณุ ภาพ และดาเนินการ
ตรวจรับรองการผ่านเกณฑ์ฯ ให้กับส่วนราชการท่ผี ่านการรับรอง PMQA FL1 แต่ยังไมไ่ ดร้ ับ
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 - 2561 ตามความพร้อม
และความสมคั รใจ ทั้งนี้ เพื่อให้เกคิ วามมัน่ ใจว่า
1) สว่ นราชการมแี นวทางหรือระบบตา่ งๆ ที่ตอบสนองตามเกณฑค์ ณุ ภาพ
การบรหิ ารจัดการภาครฐั ระดบั พนื้ ฐาน
2) มีการปฏิบตั ติ ามแนวทาง และระบบการพฒั นาคุณภาพอยา่ งต่อเนอื่ ง
3) มีการปรับปรงุ แนวทางหรอื ระบบใหม้ คี วามเหมาะสม
8
# การตรวจรับรองคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั ระดบั พ้นื ฐาน ฉบบั ที่ 2 (Certified FL)
สสช. ได้จัดประชมุ เพื่อตรวจรบั รองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ฉบับที่
2 เม่ือวันจันทร์ท่ี 26 มีนาคม 2561 ณ ห้องประชุม 401 โดยผู้เข้าร่วมการตรวจประเมินฯ
ประกอบด้วย คณะผบู้ รหิ าร สสช. คณะทางาน PMQA และผู้เกี่ยวขอ้ ง
ผู้ตรวจรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ฉบับท่ี 2 ในครง้ั น้ี จานวน
2 ท่าน ได้แก่ คณุ ดารัตน์ บริพันธกุล คุณชุมพล อาสานเสน และเจ้าหน้าที่สานักงาน ก.พ.ร.
คณุ สุภสั ณี ดลุ ยเกษม
ในการตรวจประเมิน ท่ปี ระชุมฯ ได้รว่ มกันนาเสนอผลการดาเนนิ งานในรอบปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 ตอ่ เนอ่ื งถงึ ปี 2561 เปน็ รายหมวด (หมวด 1 - หมวด 7) พรอ้ มแสดงหลักฐานการ
ดาเนินงาน เพ่อื ประกอบการประเมินตามข้อซักถามของผูต้ รวจประเมนิ ฯ
9
PMQA 4.0
การยกระดบั หน่วยงานภาครฐสั รู่ ะบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
คณุ ลักษณะสาคญั 10 ประการของระบบราชการ 4.0
1. ทางานอยา่ งเปดิ เผย โปรง่ ใส เอือ้ ใหบ้ ุคคลภายนอกและประชาชนเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได้
2. ทางานเชิงรุก แกไ้ ขปญั หา ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน และสร้างคณุ ค่า
3. แบง่ ปนั ขอ้ มลู ระหวา่ งหนว่ ยงานเชื่อมโยงการทางานซ่ึงกันอยา่ งเป็นเอกภาพเบด็ เสร็จในจดุ เดียว
4. ใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการบริหารจดั การ มีฐานขอ้ มูลที่ทนั สมัยเพ่ือสนบั สนุนการวางแผนยุทธศาสตร์
และการตดั สินใจในการทางาน
5. ปรบั รปู แบบการทางานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะเครือข่าย
6. ทางานอยา่ งเตรยี มการไวล้ ่วงหนา้ ตอบสนองตอ่ สถานการณท์ ันเวลา มกี ารวิเคราะห์ความเสี่ยง
ท้ังในระดับองคก์ ารและในระดบั ปฏิบัตกิ าร
7. เปิดกว้างให้ภาคส่วนอ่นื เขา้ มามสี ว่ นร่วม ถ่ายโอนภารกจิ ไปดาเนินการแทนได้
8. ส่งเสรมิ ให้เกิดนวตักรรม ความคดริ เิ ริ่มและการประยกุ ต์ใชอ้ งค์ความรูใ้ นการทางานที่ทันต่อการ
เปลยี่ นแปลง
9. บุคลากรทกุ ระดบั พร้อมปรับเปล่ียนตวั เองสอู่ งค์การท่ีมคี วามทนั สมยั และมงุ่ เนน้ ผลงานที่ดี
10. ให้ความสาคัญกบั บุคลากร ดงึ ดูดบุคลากรทีมีศกั ยภาพสูง พัฒนาอยา่ งเหมาะสมตามบทบาทหนา้ ที่
สร้างความผกู พนั สร้างแรงจงู ใจ มแี ผนเชงิ รุกรองรบั การเปลี่ยนแปลงดา้ นบุคลากร
10
นิยาม PMQA 4.0
“เคร่ืองมอื การประเมนิ ระบบการบรหิ ารของสว่ นราชการในเชิงบรู ณาการ เพื่อเชอ่ื มโยง
ยทุ ธศาสตรข์ องสว่ นราชการกบั เปา้ หมายและทศิ ทางการพฒั นาของประเทศ
โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพือ่ เป็นแนวทางให้หนว่ ยงานภาครัฐพัฒนาไปส่รู ะบบราชการ 4.0”
แนวคิดของ PMQA 4.0
o การใช้กรอบแนวคิดเชิงบูรณาการของ PMQA มาใชใ้ นการประเมิน
o การเปลยี่ นแปลงจาก Gov 3.0 ไปสู่ Gov 4.0
o คณุ ลกั ษณะขององค์กรทปี่ ระสพความสาเรจ็ ในศตวรรษท่ี 21
o การปรบั เปล่ียนทีเ่ กดิ จาก Digitalized government และกลไกสรา้ งขดี ความสามารถ
ในการแข่งขันอ่นื ๆ
เทียบเคยี ง PMQA กบั PMQA 4.0 PMQA 4.0
เกณฑ์ PMQA 2558
o ประเมินโดยยึดบริบทของระบบ
o ประเมินโดยยึดบริบทขององค์การ ราชการ 4.0 เป็นตัวตั้งต้น
เป็นตัวต้ังต้น
o เข้าใจความท้าทายของทั้งองค์การ
o เข้าใจความท้าทายขององค์การ และของประเทศ เพื่อต้ังเป้า
เพื่อต้ังเป้ายุทธศาสตร์ท่ีท้าทาย ยุทธศาสตร์ที่ท้าทายและเชื่อมโยง
สู่การพัฒนาประเทศ
o ยึดค่านิยม 11 ประการของเกณฑ์
และขององค์การในการขับเคลื่อน o ยึดปัจจัยความสาเร็จ 3 ประการ
ของระบบราชการ 4.0 ในการ
o ประเมินเพ่ือตอบสนองผลลัพธ์ ขับเคล่ือน
ตามพันธกิจขององค์การ
o ประเมินเพื่อตอบสนอง
- ผลลัพธ์ตามพันธกิจขององค์การ
- การเช่ือมโยงผลลัพธ์ขององค์การ
สู่การบรรลุยุทธศาสตร์ชาติ และ
ส่งเสริมการพัฒนาประเทศ
11
ระดบั การพฒั นาของ PMQA 4.0
1. ระดับพนื้ ฐาน 300 คะแนน (Basic)
2. ระดบั ก้าวหน้า 400 คะแนน (Advance)
3. ระดบั พัฒนาจนเกิดผล 500 คะแนน
(Significance)
ข้ันตอนการวิเคราะหโ์ ดยใข้ PMQA 4.0
1. วิเคราะห์ลักษณะสาคัญขององค์การ (ของ PMQA 4.0)
2. วิเคราะห์ผลกระทบจาการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน
3. ศึกษาแนวทางการประเมินหน่วยงานตนเองตามแนวทาง PMQA 4.0
4. รวบรวมข้อมูลและตัววัด (โดยเฉพาะผลกระทบ)
5. ประเมินตนเองเรียงลาดับจาก พ้ืนฐาน ก้าวหน้า พัฒนาจนเกิดผล
6. สรุปผลและเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุง
เกณฑ์ PMQA 4.0
หมวด 1 การนาองค์การ
12
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
หมวด 3 การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
13
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร
14
หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ
15
“การพฒั นาองค์การ”
แผนพฒั นาประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั งิ าน (ตวั ชี้วดั ท่ี 4.2)
การพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของ สสช. ตามกรอบ “ตัวชี้วัดตาม
มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2561” ประกอบด้วย
กจิ กรรมเพือ่ พัฒนาประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงาน จานวน 12 กจิ กรรม ไดแ้ ก่
1. การลดพลังงาน (สลก. : กชอ.)
2. การลดกระดาษ (สลก. : กพด.)
3. การประหยัดงบประมาณ (สลก. : กยง.)
4. การพฒั นาระบบลงทะเบียนฝึกอบรมออนไลน์ (ศทก. : กพส.)
5. การประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ (ITA)
(สลก. : กคธ.)
6. จัดทาข้อตกลงในการสารวจการทางานของเด็กในประเทศไทยกับกระทรวง
แรงงาน (สค. : กสง.)
7. พฒั นาระบบการจัดการเผยแพรเ่ อกสารรายงาน (e-Stock) (ศท. : กพส.)
8. พัฒนา Mobile Website (ศท. : กพส.)
9. พัฒนาโปรแกรมสาหรบั บนั ทกึ ขอ้ มลู ด้วย Tablet (นว , ศท. : กพจ.)
10. พัฒนาระบบตรวจสอบและควบคมุ ครภุ ณั ฑอ์ อนไลน์ (ศท. : กพส.)
11. พัฒนาแอพพลเิ คชั่นบนอุปกรณ์เคล่อื นท่ี (Mobile Application) (ศท. : กพส.)
12. พฒั นาระบบจ่ายเงนิ ปันผล (ศท. : กพส.)
การติดตามผลการดาเนินงานของตัวช้ีวัดที่ 4.2 กาหนดให้ส่วนราชการ ต้องรายงาน
ความก้าวหน้าของผลการดาเนินงานเป็นรายเดือน สาหรับกิจกรรมท่ีมีแผนการดาเนินงาน
ในเดือนน้ัน ๆ ทังน้ี ทุกหน่วยงานท่ีรับผิดชอบได้มีการรายงานผลการดาเนินงานมาอย่าง
ตอ่ เนื่อง (อยรู่ ะหวา่ งติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน ในรอบการประเมนิ ท่ี 1/60)
สาหรับกิจกรรมที่ต้องอาศัยความร่วมมือของทุกหน่วยงาน เพ่ือให้การดาเนินงาน
บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ กิจกรรม การลดพลังงาน การลดกระดาษ และการประหยัด
งบประมาณ
16
การลดพลงั งาน เป็นกจิ กรรมที่ สสช. ดาเนินการมาอยา่ ง
ตอ่ เน่ือง โดยมเี ปา้ หมายเพ่ือลดการใช้พลงั งาน (เม่อื เทยี บ
ตามค่ามาตรฐาน) ใหไ้ ด้ร้อยละ 10 ทุกเดอื น
มาตรการประหยัดพลังงาน ของ สสช.
มาตรการประหยดั พลังงานกระแสไฟฟา้
1. กาหนดการตั้งอุณหภูมิเคร่อื งปรับอากาศ ให้ต้ังอุณหภูมิไว้ไม่ต่ากว่า 25 องศาเซลเซียส
(ยกเว้นพืน้ ท่ที ่มี ีหลอ่ เย็นเขา้ ไปไม่ถึง)
2. กาหนดชว่ งเวลาเปิด-ปิดเครอ่ื งปรบั อากาศ
2.1 ในเวลาราชการปกติ
- เช้าเปดิ เวลา 09.00 น. ปดิ ไม่เกินเวลา 11.30 น.
- บ่ายเปดิ เวลา 13.30 น. ปิดไมเ่ กนิ เวลา 15.30 น.
2.2 นอกเวลาราชการ
สาหรับศูนย์/กอง และกลุ่มขึ้นตรง ผสช. ท่ีมีงานเร่งด่วนต้องปฏิบัติงานนอก
เวลาในวนั ทาการ (ชว่ งเย็น) หรอื วันหยุดราชการ มีเจ้าหน้าทีป่ ฏบิ ัตงิ านไม่มาก
นัก หากระบบหลอ่ เยน็ เพียงพอ ไม่ควรเปดิ เครื่องปรบั อากาศเพม่ิ อีก
3. การเปิด-ปิดไฟฟ้าแสงสว่างและอุปกรณ์ไฟฟ้า ภายในพ้ืนท่ีสานักงานสถิติแห่งชาติ
ให้ศูนย์/กอง และกลุ่มข้ึนตรง ผสช. กาชับเจ้าหน้าท่ีในการเปิดไฟฟ้าส่องสว่างและ
อปุ กรณ์ไฟฟ้าเท่าท่ีจาเป็นและปิดไฟฟา้ สอ่ งสว่างในช่วงเวลาหยุดพักกลางวนั และขอ
ความรว่ มมือใชส้ วิตซก์ ระตุก เมอ่ื ไม่มคี วามจาเปน็ ใช้ไฟฟา้ บรเิ วณทีต่ ดิ ตง้ั สวติ ซก์ ระตกุ
ไวแ้ ลว้
4. การขอใช้ห้องประชุมส่วนราชการของสานักงานสถิติแห่งชาติ ให้พิจารณาความ
เหมาะสมตามขนาดของห้องประชุมกบั จานวนผู้เข้าประชุม
5. เครื่องคอมพวิ เตอรค์ วรปิดหน้าจอเมื่อไมม่ กี ารใช้งาน ปิดสวิตซไ์ ฟใตโ้ ต๊ะเม่ือเลกิ ใชง้ าน
และมเี จ้าหน้าทีเ่ วรตรวจสอบก่อนเลิกงาน
17
การลดกระดาษ
มีเป้าหมายเพื่อลดงบประมาณการจัดซื้อกระดาษ ใน
ปีงบประมาณ พ .ศ. 2561 ร้อยละ 5 (รอบ 6 เดือน) และ
ร้อยละ 10 (รอบ 12 เดือน นับสะสม) เมื่อเทียบกับจานวน
เงินงบประมาณทต่ี งั้ ไว้สาหรับการจดั ซอ้ื กระดาษของปฯี 61
สสช. ได้แต่งตั้ง “คณะทางานจัดทาแผนรณรงค์การลดใช้พลังงานงาน การประหยัด
น้า และการลดกระดาษ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างจิตสานึกการประหยัดพลังงาน
การประหยัดน้า และการลดกระดาษ ใหก้ บั บคุ ลากรของ สสช.
การประหยัดงบประมาณ
มีเป้าหมายประหยัดงบประมาณในปีงบประมาณ พ .ศ. 2561 ร้อยละ 2 (รอบ 6
เดือน) และร้อยละ 5 (รอบ 12 เดือน นับสะสม) โดยงบประมาณที่จะนามาประหยัด
เป็นงบประมาณที่ส่วนราชการเห็นวา่ จะสามารถนามาประหยัดได้ (ยกเว้นงบบุคลากร)
สาหรับกิจกรรมอื่นๆ ศูนย์/กองท่ีเกี่ยวข้อง สามารถดาเนินการได้เป็นไปตามเป้าหมาย
เชน่
การพัฒนาแอพพลเิ คชั่นบนอุปกรณเ์ คลอ่ื นที่
(Mobile Application)
พัฒนาระบบลงทะเบยี นฝึกอบรมออนไลน์
http://nsotraining.nso.go.th/index.php
18
ภาพกจิ กรรม
โครงการอบรมเพ่ือเตรียมความพร้อม “การตรวจประเมินเกณฑ์คุณภาพการ
บริหารจดั การภาครฐั ระดับพ้ืนฐาน (Fundamental Level) ฉบบั ท่ี 2” เม่ือวันพฤหสั บดที ี่
18 มกราคม 2561 เวลา 9.00 - 16.00 น. ณ ห้องอบรม 1 โดยท่าน ผสช. ได้ให้เกียรติเป็น
ประธานการอบรม และมีนายกิตตพิ ทั ธ์ จริ วัสวงศ์ ผ้ตู รวจประเมนิ ฯ FL2 เป็นผู้บรรยาย
การสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัติการ เรอ่ื ง “การจัดทาแผนปฏิรูปองค์การ กระทรวงดิจิทัลเพ่ือ
เศรษฐกิจและสังคม” ระหว่างวันท่ี 5 - 6 กุมภาพันธ์ 2561 (ตัวช้ีวัด 5.2 การจัดทาแผน
ปฏิรูปองค์การ) ณ ห้องประชุม MDES ชนั้ 9 สานักงานปลดั กระทรวงจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกิจและ
สังคม
19
การตรวจรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ฉบับท่ี 2
โดยผู้เข้าร่วมการตรวจประเมินฯ ประกอบด้วย คณะผบู้ รหิ าร สสช. คณะทางาน PMQA และ
ผเู้ กีย่ วขอ้ ง เมอื่ วนั จนั ทรท์ ่ี 26 มีนาคม 2560 ณ ห้องประชุม 401 ชน้ั 4 สสช.
ขอขอบคุณแหล่งท่ีมา อ้างอิง ข้อมูล พร.สสช. ขอขอบคุณ คณะผู้บรหิ าร
และภาพประกอบ คณะทางาน PMQA และผู้เก่ยี วข้องทุกท่าน
ทีร่ ว่ มกนั ดาเนนิ การและประเมนิ องคก์ าร
www.opdc.go.th ตามเกณฑ์ PMQA การเตรยี มหลกั ฐาน
www.google.co.th/search ตลอดจน การตอบข้อซักถามในการตรวจ
www.hiracle.net รับรองฯ PMQA FL 2
www.clipartfreefor.com
https://moodle.unitec.ac.nz 20
https://www.shareicon.net
http://energy.go.th
ยทุ ธศาสตร์ สสช.
วสิ ยั ทัศน์ : เป็นศนู ยก์ ลางข้อมูลสถิติและสารสนเทศเพื่อการตัดสนิ ใจของประเทศ
“SMART Statistical Center for Decision Making”
ศูนย์กลางข้อมลู สถิตแิ ละสารสนเทศ หมายถงึ คณุ ภาพ มาตรฐาน ความครบถว้ นสมบรู ณ์
ทนั เวลา และทันสมยั ต่อเนอื่ งของข้อมูลและสารสนเทศ เขา้ ถงึ งา่ ย ตรงกบั ความตอ้ งการ
พันธกจิ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์
1. บริหารจัดการสถิติ และสารสนเทศของชาติ 1. บูรณาการ เช่ือมโยง และแลกเปล่ียนข้อมูล
ให้เป็นระบบ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาและ ส ถิ ติ ที่ ส า คั ญ แ ล ะ จ า เป็ น ข อ งป ร ะ เท ศ ให้ มี
เสริมสรา้ ง ศกั ยภาพการแขง่ ขนั ของประเทศ คณุ ภาพและเปน็ ไปตามมาตรฐานสากล
2. จัดทาสามะโนหรือสารวจด้วยตัวอย่าง หรือ 2. พัฒนากระบวนการผลิตและการบริการด้าน
อานวยการ เพื่อให้ได้ฐานข้อมูลทางด้าน สถิตใิ ห้มคี ุณภาพตอบสนองความต้องการของ
เศรษฐกิจ สังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ผใู้ ชท้ กุ ภาคส่วน
อื่นๆ ของประเทศ 3. พัฒนาบุคลากรทางด้านสถิติของประเทศ
3. บริการข้อมูล องค์ความรู้ วิชาการด้านสถิติ ให้มีความร้คู วามชานาญ เป็นมืออาชพี
และสารสนเทศแก่ผใู้ ชบ้ ริการทกุ ภาคส่วน 4. ส่งเสริมการนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศไปใช้
4. พัฒนาบุคลากรทางด้านสถิติของประเทศให้ ในการวางแผนและตดั สินใจ
มคี วามเปน็ มืออาชีพ
5. ร่วมมือและประสานงานกับต่างประเทศและ คา่ นยิ ม วัฒนธรรมองค์การ
องค์กรระหว่างประเทศในงานเกย่ี วกับสถติ ิ ยึดหลักวชิ า
S = Standard
M = Mastery
เป้าประสงค์ A = Activeness พร้อมหาสง่ิ ใหม่
1. ประเทศมีฐานข้อมูลสถิติที่สาคัญ จาเป็น R = Responsibility ใสใ่ จลกู คา้
มคี ุณภาพ สามารถสนับสนุนการตัดสินใจได้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ T = Teamwork ศรัทธาองค์กร
เอ้อื อาทรต่อกนั
2. มีกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว รักมน่ั สสช.
และมีการให้บริการท่ีหลากหลาย เข้าถึงง่าย
ตอบสนองความตอ้ งการของผูใ้ ช้งาน
3. บคุ ลากรด้านสถิตขิ องประเทศมีความรู้ความ
ชานาญ เป็นมอื อาชพี
4. ทุ ก ภ าคส่ วน มี ก ารน าข้ อ มู ลสถิ ติ แ ล ะ
สารสนเทศไปใช้ในการวางแผนและตัดสนิ ใจ
มั่นใจในสานักงานสถิติแห่งชาติ
รัฐและราษฎร์จะก้าวไปอย่างม่ันคง