The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

8 ฐานคนดี KSB MODEL

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by adisakbut789, 2022-09-16 05:12:59

8 ฐาน

8 ฐานคนดี KSB MODEL

Keywords: 8 ฐานคนดี KSB MODEL

โรหงเนรึงียโนรงบเ้รานียนคาํ หสนมึงบนูรวณัตก์ บรึงรเมจริญ
เรือง

8 ฐานคนดี KSB MODEL

โรงเรยี นบา้ นคําสมบรู ณบ์ งึ เจริญ
ต.บงึ โขงหลง อ.บึงโขงหลง จ.บงึ กาฬ
สํานักงานเขตพืนทกี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบงึ กาฬ

บทท่ี 1

ความเป็นมา

๑. ความสำคัญของผลงานโมเดล

โรงเรียนบา้ นคำสมบูรณ์บงึ เจริญเปน็ โรงเรยี นขนาดเล็กประสบปญั หา จำนวนนักเรียนลดลงอยา่ ง
ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2561 ในภาคเรยี นท่ี 2 นักเรียนไดย้ ้ายออกเหลือเพียง 51 คน ทางโรงเรียนจงึ ได้
ประชุมอยา่ งเรง่ ดว่ นรว่ มกบั คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั ฐานของโรงเรียน ผนู้ ำชมุ ชน ตลอดจน
ผู้ปกครองนักเรียน เพ่ือสบื หาเหตุผลท่ีทำใหจ้ ำนวนนักเรยี นลดลง ซึ่งคำตอบท่ไี ดค้ ือ 1. ครูมาโรงเรยี น
สาย ปลอ่ ยให้นักเรยี นทำกจิ กรรมจนขนึ้ ชน้ั เรียน 2. เวลาสอนจะใช้การเรยี นทางไกลผา่ นดาวเทยี มเปน็
หลกั และครูไม่ได้ทบทวนและทำความเขา้ ใจแก่นักเรียน ทำใหเ้ หมือนดูโทรทศั น์อยา่ งเดียวในความคิด
ของผปู้ กครอง และ 3. นักเรียนอย่างหนงั สือไม่ค่อยออก หลงั จากได้คำตอบทางโรงเรยี น ผ้บู รหิ าร
คณะครกู ็ได้หารือ วางแผนพัฒนาให้จำนวนนกั เรียนไม่ลดลงไปอีก โดยการสรา้ งศรัทธาให้กลบั คนื มา
แก่โรงเรียน แกค่ ณะครู ทางโรงเรียนได้หารือขอคำแนะนำจากทางทางสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา
ประถมศึกษาบึงกาฬ ไดค้ ำช้ีแนะว่าใหน้ ำโรงเรยี นคณุ ธรรมมาลงโรงเรียน โรงเรยี นบ้านคำสมบรู ณ์
บงึ เจริญ ก็ไดส้ มัครเขา้ ร่วมโครงการ เพื่อเป็นเครื่องมือในการพฒั นาและสร้างศรัทธาในด้านการเรียน
การสอนกลบั มาสโู่ รงเรียน โดยการที่ไดศ้ ึกษาขอ้ มูล วธิ ีการดำเนนิ งานของโรงเรียนคุณธรรม ตลอดจน
การศกึ ษาดูงาน การไดร้ ับคำแนะนำจากวิทยากรระดบั ประเทศ คำแนะนำจากศกึ ษานเิ ทศก์ทร่ี ับผิดชอบ
โครงการ ทางโรงเรียนก็ไดแ้ นวทางการจดั กิจกรรมเพื่อฝึกฝนพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีคุณธรรมดังคุณธรรม
อตั ลักษณ์ ตลอดจนคณะครกู ็คอยชีแ้ นะแนวทาง พานักเรียนปฏบิ ตั ิตน ผบู้ ริหารทำตัวเป็นแบบอยา่ งแก่
นักเรียนและคณะครู ทำให้ไดม้ าซึ่งกระบวนการจดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งพฒั นา คุณธรรมจริยธรรม ของท้ัง
ผบู้ รหิ าร คณะครูและนกั เรยี นในการปฏบิ ตั กิ ิจวตั รในโรงเรียนแต่ละวัน นั่นกค็ ือ โมเดล 8 ฐานคนดี KSB
โมเดลนั่นเอง

2. จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมาย
1. เพื่อสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนได้มีความรบั ผดิ ชอบ มวี ินัย ตามคุณธรรมอตั ลักษณ์ของโรงเรียนคอื

ความรับผิดชอบ และความมวี ินัย (สอดคล้องกับข้อ 3 การส่งเสริมการเรียนรู้ของนกั เรียนทมี่ คี ุณภาพ
ใหส้ ามารถดำรงชีวติ อย่ใู นชุมชนและสังคมได้อยา่ งมีความสขุ )

2. เพ่อื พฒั นาศักยภาพของผบู้ รหิ าร คณะครูในการปฏิบตั ิตนและการจดั การเรียนการสอน
บูรณาการความรูค้ ู่ความดี และเป็นตน้ แบบที่ดงี ามของนักเรยี น (สอดคล้องกบั ข้อ 3 การสง่ เสรมิ การ
เรียนรขู้ องนักเรียนที่มีคุณภาพ ให้สามารถดำรงชีวิตอยใู่ นชมุ ชนและสังคมได้อยา่ งมีความสขุ )

3. เพอ่ื ใหค้ รแู ละนกั เรียนทุกคนได้รบั การพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรมแบบองคร์ วมเนน้
กระบวนการมสี ่วนร่วม เปน็ เคร่อื งมือในการเรยี นรู้ความดี จากการลงมือปฏิบตั จิ รงิ (สอดคล้องกบั ข้อ 4
การสง่ เสรมิ สนับสนุนใหน้ ักเรยี นอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ ขนบธรรมเนียม ประเพณแี ละ
วัฒนธรรม)

3. นิยามศพั ท์เฉพาะ
1. 8 ฐานคนดี KSB โมเดล คือแนวทางการจดั กจิ กรรมในโรงเรียนบา้ นคำสมบรู ณบ์ งึ เจริญใน

การพฒั นาผเู้ รยี นให้มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ดงั ตามคุณธรรมอักลักษณ์ของโรงเรียนคือ รับผดิ ชอบ มวี ินยั
โดยแบ่งเปน็ 8 ฐาน ตามกจิ วตั รประจำวนั ของนกั เรียน

2. คุณธรรมอตั ลกั ษณข์ องโรงเรียนบา้ นคำสมบรู ณ์บึงเจรญิ ทรี่ ะดมสมองจากทุกภาคสว่ นที่มีส่วน
ได้สว่ นเสยี กบั ทางโรงเรยี นโดยการคน้ หาสาเหตุทจ่ี ำนวนนกั เรียนลดลงก็คือ รบั ผิดชอบ มวี นิ ยั โดย
กำหนดพฤติกรรมบง่ ชีเ้ ชงิ บวกท่จี ะชว่ ยให้เกิดการพัฒนาท้ังคณุ ธรรมจริยธรรมและผลสัมฤทธท์ิ างการ
เรยี นทีส่ ูงขนึ้ ดงั นี้

คณุ ธรรมอตั ลักษณ์ พฤติกรรมบ่งชเ้ี ชิงบวก

รับผดิ ชอบ ผูบ้ รหิ าร ครู นักเรยี น

มีวินยั 1.นเิ ทศการสอนของครู 1. เขา้ สอนตรงเวลาและ 1.ส่งงานทไี่ ด้รับ

ทุกเดือน สอนครบตามเวลาทุก มอบหมายครบทุกวชิ า

ชวั่ โมงทีท่ ำการสอน

2.เป็นแบบอยา่ งในการ 2. ทำหนา้ ทค่ี รเู วร 2. ทำเขตพนื้ ที่ที่

เข้าร่วมกจิ กรรม Zero ประจำวนั ตามวันท่รี บั รับผดิ ชอบสะอาดทุกวนั

waste school ทุก มอบหมายครบทุก

กิจกรรม กิจกรรม

1.เปน็ แบบอย่างในการ 1.แตง่ กายถูกระเบยี บที่ 1. แตง่ กายถกู ระเบียบท่ี

แต่งกายตามกำหนดในแต่ กำหนดในแตล่ ะวนั กำหนดในแตล่ ะวนั

ละวัน

2.เปน็ แบบอย่างในการมา 2. ดำรงตนตาม 2. อ่านคำพ้ืนฐานเม่ือถึง

ทำงานเช้า ก่อนเวลา จรรยาบรรณวชิ าชีพครู กำหนดอา่ นของตนเองทกุ

07.40 น.และกลับบ้าน อย่างเคร่งครดั ครั้ง

หลัง 16.00 น. ทกุ วนั

บทที่ 2

เอกสารแนวคิด ทฤษฎีเก่ยี วข้อง

ในการสร้างโมเดล 8 ฐานคนดี KSB โมเดลนี้ เป็นชุดแนวทางการจัดกิจกรรมฝึกนักเรียนให้มีคุณธรรม
จริยธรรมตามคุณธรรมอัตลักษณ์ โรงเรียนบ้านคำสมบูรณ์บึงเจริญ ผู้สร้างโมเดลได้ศึกษาเอกสารและ
งานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง ดงั น้ี

1. ธอร์นไดค์ (Edward L. Thorndike.1874-1949)
นักการศึกษาและจิตวทิ ยาชาวอเมริกาผ้ใู ห้กำเนดิ ทฤษฎแี ห่งการเรียนรู้ เปน็ ทย่ี อมรับกนั อยา่ ง

แพร่หลายในทฤษฎีการเรยี นรู้ของธอร์นไดค์ ที่เชือ่ ในเร่ืองของทฤษฎสี ัมพันธเ์ ชื่อมโยง (Connectionism
Theory) ธอร์นไดค์ ได้ศกึ ษาเรือ่ ง การเรียนร้ขู องสตั ว์ และตอ่ มาไดก้ ลายมาเปน็ ทฤษฎกี ารเรียนรทู้ ่ัวไปโดย
อาศยั วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์น้ัน เปน็ ท่ีรจู้ กั กนั ดีในนามทฤษฎีความสัมพนั ธ์เชือ่ มโยง ในเรือ่ งน้ี นอกจากธอร์น
ไดค์ จะได้ยำ้ ในเร่ืองการฝกึ หัดหรอื การกระทำซ้ำแล้ว เขายังให้ความสำคญั ของการให้รางวลั หรือการลงโทษ
ความสำเร็จหรือความผดิ หวงั และความพอใจหรอื ความไมพ่ อใจแก่ผ้เู รียนอย่างทัดเทยี มกันด้วย ทฤษฎี
สัมพันธ์เช่ือมโยงของธอรน์ ไดค์ เน้นท่คี วามสัมพนั ธเ์ ช่อื มโยงระหวา่ งสง่ิ เร้า (Stimulus) กับการตอบสนอง
(Response) ทช่ี ่อื ว่า การเรียนรจู้ ะเกิดขึน้ ได้ดว้ ยการทีม่ นุษย์หรือสตั ว์ไดเ้ ลือกเอาปฏกิ ิริยาตอบสนองท่ถี ูกต้อง
นน้ั มาเชอ่ื มต่อเข้ากับสง่ิ เร้าอย่างเหมาะสม หรือการเรยี นรู้จะเกดิ ขนึ้ ได้ โดยการสร้างสิ่งเช่อื มโยงระหว่างส่งิ เร้า
กบั การตอบสนอง เรียกทฤษฎกี ารเรียนรูข้ องธอร์นไดคว์ ่า ทฤษฎเี ช่ือมโยงระหวา่ งสิ่งเร้ากบั ตอบสนอง (S-R
Bond Theory) หรือทฤษฎสี มั พนั ธเ์ ชื่อมโยง (Connectionisms Theory) จากการทดลองและแนวความคดิ
ตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วกบั การเรยี นรูข้ องธอร์นไดค์ ดงั กลา่ วมาขา้ งต้น เขาได้เสนอกฎการเรยี นรู้ที่สำคัญขึน้ มา 3 กฎ
อนั ถือว่าเปน็ หลกั การเบ้ืองต้นทนี่ ำไปสู่เทคโนโลยที างการศึกษาและการสอนกฎทง้ั 3 ได้แก่

1. กฎแห่งการฝึกหัดหรอื การกระทำซ้ำ (The Law of Exercise or Repetition) ช้ใี หเ้ ห็นว่า การ
กระทำซำ้ หรือการฝกึ หัดน้ี หากได้ทำบอ่ ย ๆ ซำ้ ๆ ซาก ๆ จะทำให้การกระทำนั้น ๆ ถูกต้องสมบูรณ์และ
ม่นั คง

2. กฎแหง่ ผล (The Law of Effect) เปน็ กฎที่มชี ่ือเสยี งและไดร้ บั ความสนใจ
มากทสี่ ุด ใจความสำคัญของกฎนีก้ ค็ อื รางวัลหรอื ความสมหวัง จะชว่ ยส่งเสริมการแสดงพฤติกรรม
น้นั มากข้ึน แตก่ ารทำโทษหรือความผิดหวังจะลดอาการแสดงพฤติกรรมน้ันลง

3. กฎแห่งความพร้อม (The Law of Readiness) กฎนห้ี มายถึงความพร้อม
ของรา่ งกาย ในอนั ทจ่ี ะแสดงพฤติกรรมใด ๆ ออกมา
2. ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสังคมเชิงพุทธิปัญญา (Social Cognitive Learning Theory) ซึ่งเปน็ ทฤษฎี

ของศาสตราจารย์บันดูรา แห่งมหาวทิ ยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford) ประเทศสหรฐั อเมริกา บนั
ดรู ามีความเชอ่ื วา่ การเรียนร้ขู องมนุษย์สว่ นมากเป็นการเรยี นร้โู ดยการสังเกตหรือการเลยี นแบบ (Bandura
1963) จึงเรียกการเรยี นรจู้ ากการสงั เกตวา่ “การเรียนรู้โดยการสังเกต” หรอื “การเลียนแบบ” และ
เน่ืองจากมนษุ ย์มีปฏสิ ัมพนั ธ์ (Interact) กับส่งิ แวดล้อมท่อี ยู่รอบ ๆ ตัวอยเู่ สมอ บันดูราอธิบายว่าการเรียนรู้
เกิดจากปฏิสมั พันธร์ ะหว่างผูเ้ รยี นและสิง่ แวดล้อมในสงั คม ซ่งึ ทง้ั ผเู้ รียนและสง่ิ แวดล้อมมีอทิ ธพิ ลต่อกนั และ
กัน บันดรู า (1969, 1971) จึงเปล่ียนชื่อทฤษฎีการเรียนร้ขู องท่านวา่ การเรียนรทู้ างสังคม (Social

Learning Theory) แตต่ ่อมาไดเ้ ปลยี่ นเป็น การเรียนรูท้ างสังคมเชิงพุทธปิ ญั ญา (Social Cognitive
Learning Theory) อีกครั้งหน่ึง ทงั้ นี้ เนอื่ งจากบันดูราพบจากการทดลองว่า สาเหตทุ ีส่ ำคัญอย่างหนึ่งในการ
เรียนรู้ดว้ ยการสงั เกต คือ ผเู้ รยี นจะต้องเลอื กสงั เกตสิง่ ท่ีตอ้ งการเรียนร้โู ดยเฉพาะ และสิง่ สำคัญอีกอยา่ งหนึง่ ก็
คอื ผเู้ รยี นจะต้องมีการเข้ารหสั (Encoding) ในความทรงจำระยะยาวไดอ้ ย่างถูกต้อง นอกจากน้ี ผ้เู รียนตอ้ ง
สามารถท่จี ะประเมินได้ว่าตนเลียนแบบไดด้ หี รือไม่ดอี ย่างไร และจะต้องควบคุมพฤติกรรมของตนเองได้ดว้ ย
(metacognitive) บันดรู า Bandura, 1986 จงึ สรปุ วา่ การเรียนร้โู ดยการสงั เกตจงึ เป็นกระบวนการทางการ
รคู้ ิดหรอื พุทธปิ ัญญา (Cognitive Processes) การเรยี นรโู้ ดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ (Observational
Learning หรอื Modeling)บันดูรา (Bandura) มีความเหน็ วา่ ทง้ั ส่งิ แวดลอ้ ม และตวั ผเู้ รยี นมคี วามสำคญั เท่า
ๆ กนั บนั ดรู ากลา่ ววา่ คนเรามีปฏิสมั พนั ธ์ (Interact) กบั สิ่งแวดลอ้ มท่ีอยู่รอบ ๆ ตัวเราอยเู่ สมอการเรียนรู้
เกิดจาก ปฏิสมั พันธ์ระหว่างผเู้ รยี นและส่งิ แวดลอ้ ม ซงึ่ ทง้ั ผู้เรียนและสงิ่ แวดล้อมมีอิทธพิ ลต่อกันและกัน
พฤติกรรมของคนเราสว่ นมากจะเปน็ การเรยี นรูโ้ ดยการสงั เกต (Observational Learning) หรือการ
เลียนแบบจากตัวแบบ (Modeling) สำหรับตัวแบบไม่จำเป็นต้องเปน็ ตัวแบบทีม่ ีชวี ติ เทา่ นั้น แตอ่ าจจะเป็นตวั
สญั ลักษณ์ เช่น ตัวแบบท่ีเห็นในโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์หรืออาจจะเปน็ รูปภาพการ์ตูนหนงั สอื ก็ได้
นอกจากนี้ คำบอกเล่าดว้ ยคำพดู หรอื ข้อมูลทีเ่ ขียนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรกเ็ ปน็ ตัวแบบได้ การเรยี นรู้โดยการ
สังเกตไมใ่ ชก่ ารลอกแบบจากสง่ิ ทีส่ งั เกตโดยผู้เรียนไม่คิด คุณสมบัติของผเู้ รียนมีความสำคญั เช่น ผู้เรยี น
จะตอ้ งมีความสามารถทีจ่ ะรบั รสู้ ง่ิ เร้า และสามารถสรา้ งรหัสหรือกำหนดสัญลักษณ์ของส่ิงท่สี งั เกตเกบ็ ไว้ใน
ความจำระยะยาว และสามารถเรียกใช้ในขณะท่ีผสู้ ังเกตต้องการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ บนั ดูราได้
เรม่ิ ทำการวิจยั เก่ียวกับการเรียนรู้โดยการสังเกต หรอื การเลียนแบบ ตั้งแตป่ ี ค.ศ. 1960 เป็นตน้ มา ได้ทำ
การวจิ ัยเป็นโครงการระยะยาว และไดท้ ำการพสิ ูจน์สมมติฐานท่ตี งั้ ไว้ทลี ะอย่าง โดยใชก้ ล่มุ ทดลองและ
ควบคุมอย่างละเอยี ด และเป็นขั้นตอน ต่อไปน้ีเป็นตัวอย่างของการวจิ ยั ท่ีบันดูราและผู้รว่ มงานเกี่ยวกับการ
เรียนรู้โดยการสงั เกตผลการวิจัยทไ่ี ด้รับความสนใจจากนักจิตวิทยาเป็นอนั มาก และมผี นู้ ำไปทำงานวจิ ัยโดยใช้
สถานการณ์แตกตา่ งไป ผลที่ได้รับสนับสนุนขอ้ สรุปของศาสตราจารยบ์ นั ดูราเกี่ยวกับการเร่ียนรูโ้ ดยการสังเกต
การทดลองอนั แรกโดย บันดูรา รอ็ ส และรอ็ ส (Bandural, Ross&Roos, 1961) เปน็ การแสดงพฤติกรรม
ก้าวร้าวโดยการสังเกต บนั ดูราและผู้รว่ มงานไดแ้ บง่ เด็กออกเป็น 3 กลมุ่ กล่มุ หน่ึงให้เห็นตวั อยา่ งจากตัวแบบ
ท่มี ีชีวิต แสดงพฤตกิ รรมก้าวร้าว เด็กกลุม่ ท่ีสองมตี ัวแบบทีไ่ ม่แสดงพฤตกิ รรมก้าวรา้ ว และเดก็ กลุ่มทีส่ ามไม่มี
ตัวแบบแสดงพฤตกิ รรมใหด้ ูเป็นตัวอย่าง ในกลุ่มมีตัวแบบแสดงพฤตกิ รรมกา้ วร้าวการทดลองเรมิ่ ดว้ ยเด็กและ
ตัวแบบเล่นตุก๊ ตา (Tinker Toys) สกั ครหู่ นึ่งประมาณ 1 – 10 นาที ตวั แบบลุกขึน้ ตอ่ ย เตะ ทุบ ตุ๊กตาที่ทำ
ดว้ ยยางแลว้ เป่าลม ฉะน้นั ตุ๊กตาจงึ ทนการเตะต่อยหรอื แมว้ ่าจะนง่ั ทับหรือยนื ก็ไม่แตก สำหรบั เด็กกลุ่มทีส่ อง
เดก็ เล่นตุ๊กตาใกล้ ๆ กับตวั แบบ แต่ตวั แบบไม่แสดงพฤติกรรมก้าวรา้ วให้ดเู ป็นตัวอย่าง เด็กกล่มุ ท่สี ามเลน่
ต๊กุ ตาโดยไม่มีตัวแบบ หลังจากเลน่ ตุก๊ ตาแลว้ แม้ผู้ทดลองพาเด็กไปดูห้องทมี่ ีตุ๊กตาทีน่ า่ เล่นมากกว่า แตบ่ อกวา่
ห้ามจบั ตุก๊ ตา เพอื่ จะให้เด็กรู้สกึ คับข้องใจ เสรจ็ แล้วนำเด็กไปอีกห้องหน่ึงทลี ะคน ซึ่งมีตุ๊กตาหลายชนดิ วางอยู่
และมตี ุ๊กตายางที่เหมือนกบั ตุ๊กตาทต่ี วั แบบเตะต่อยและทบุ รวมอย่ดู ้วย ผลการทดลองพบว่า เดก็ ท่อี ยู่ในกลุ่มที่
มตี วั แบบแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวจะแสดงพฤตกิ รรมก้าวร้าว เตะตอ่ ยทบุ รวมทงั้ น่งั ทบั ตุ๊กตายางเหมือนกับท่ี
สงั เกตจากตวั แบบแสดงและค่าเฉลย่ี (Mean) ของพฤตกิ รรมก้าวรา้ วทแี่ สดงโดยเด็กกลุม่ นท้ี งั้ หมดสูงกว่า
ค่าเฉลย่ี ของพฤติกรรมก้าวรา้ วของเด็กกลุ่มทสี่ องและกลุ่มท่ีสามการทดลองท่สี องก็เปน็ การทดลองของบนั ดรู า

ร็อส และ รอ็ ส (1963) วิธีการทดลองเหมือนกับการทดลองที่หน่งึ แตใ่ ชภ้ าพยนตรแ์ ทนของจริง โดยกล่มุ หน่ึง
ดภู าพยนตรท์ ีต่ ัวแบบ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว อกี กลุ่มหน่ึงดูภาพยนตร์ท่ีตวั แบบไม่แสดงพฤติกรรมกา้ วร้าว
ผลของการทดลองท่ีได้เหมือนกับการทดลองทหี่ น่ึง คือ เด็กที่ดภู าพยนตร์ที่มตี วั แบบแสดงพฤติกรรมก้าวรา้ ว
จะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวมากกว่าเด็กทอ่ี ยู่ในกลมุ่ ทด่ี ูภาพยนตรท์ ตี่ ัวแบบไม่แสดงพฤติกรรมทก่ี ้าวรา้ ว บัน
ดรู า และเม็นลอฟ (Bandural & Menlove, 1968) ไดศ้ ึกษาเกย่ี วกบั เด็ก ซ่ึงมคี วามกลวั สัตว์เลยี้ ง เชน่ สนุ ขั
จนกระทัง่ พยายามหลีกเลี่ยงหรอื ไม่มีปฏสิ มั พนั ธ์กบั สตั วเ์ ลี้ยง บันดูราและเมน็ ลอฟได้ให้เดก็ กลุ่มหนึง่ ที่มีความ
กลัวสนุ ัขไดส้ งั เกตตวั แบบท่ีไม่กลวั สนุ ัข และสามารถจะเล่นกบั สนุ ัขได้อย่างสนุก โดยเร่ิมจากการค่อย ๆ ใหต้ ัว
แบบเลน่ แตะ และพดู กับสนุ ัขทอ่ี ยู่ในกรงจนกระทัง่ ในท่สี ุดตัวแบบเข้าไปอยใู่ นกรงสุนขั ผลของการทดลอง
ปรากฏว่าหลงั จากสังเกตตัวแบบท่ีไม่กลวั สนุ ขั เด็กจะกลา้ เลน่ กบั สนุ ขั โดยไม่กลัว หรอื พฤตกิ รรมของเดก็ ที่กลา้
ท่จี ะเล่นกบั สนุ ัขเพิ่มข้นึ และพฤติกรรมท่แี สดงว่ากลัวสนุ ัขจะลดน้อยไป การทดลองของบันดรู าทเ่ี กย่ี วกับการ
เรยี นรโู้ ดยการสังเกตหรือเลยี นแบบมผี นู้ ำไปทำซำ้ ปรากฏผลการทดลองเหมอื นกับบันดูราได้รับ นอกจากน้ีมี
นักจติ วทิ ยาหลายท่านได้ใชแ้ บบการเรียนรู้ โดยวิธกี ารสังเกตในการเรยี นการสอนวิชาต่าง ๆความคดิ พืน้ ฐาน
ของทฤษฎีการเรยี นรู้ทางสังคมเชงิ พุทธปิ ัญญา
1. บนั ดรู าไดใ้ ห้ความสำคัญของการปฏสิ มั พันธ์ของอินทรีย์และสงิ่ แวดลอ้ ม และถือวา่ การเรียนร้กู ็เป็นผลของ
ปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งผูเ้ รยี นและสิง่ แวดลอ้ ม โดยผู้เรยี นและส่ิงแวดล้อมมีอิทธิพลต่อกนั และกัน บนั ดรู าไดถ้ ือว่า
ทง้ั บคุ คลทต่ี ้องการจะเรยี นร้แู ละสงิ่ แวดลอ้ มเปน็ สาเหตุของพฤติกรรมและได้อธบิ ายการปฏิสัมพันธ์ ดังนี้
B = พฤติกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงของบุคคล P = บคุ คล (ตวั แปรทเ่ี กิดจากผู้เรยี น เชน่ ความคาดหวังของ
ผู้เรยี น ฯลฯ) E = สง่ิ แวดล้อม
2. บันดูราได้ให้ความแตกตา่ งของการเรยี นรู้ (Learning) และการกระทำ (Performance) ถือว่าความ
แตกตา่ งน้สี ำคญั มาก เพราะคนอาจจะเรยี นรู้อะไรหลายอย่างแตไ่ ม่กระทำ เป็นตน้ วา่ นักศกึ ษาทกุ คนท่ีกำลงั
อ่านเอกสารประกอบการสอนนคี้ งจะทราบว่า การโกงในการสอบนัน้ มีพฤติกรรมอยา่ งไร แตน่ กั ศึกษาเพยี ง
นอ้ ยคนทีจ่ ะทำการโกงจริง ๆ บนั ดูราได้สรปุ ว่าพฤติกรรมของมนุษย์อาจจะแบง่ ออกได้เป็น 3 ประเภท

2.1 พฤติกรรมสนองตอบทเี่ กิดจากการเรียนรู้ ผซู้ ง่ึ แสดงออกหรอื กระทำสม่ำเสมอ
2.2 พฤติกรรมทเี่ รียนรู้แต่ไมเ่ คยแสดงออกหรือกระทำ
2.3 พฤติกรรมท่ีไม่เคยแสดงออกทางการกระทำ เพราะไม่เคยเรียนรจู้ รงิ ๆ
3. บันดูราไม่เชื่อวา่ พฤตกิ รรมท่เี กิดขึ้นจะคงตัวอยู่เสมอ ทัง้ นีเ้ พราะสงิ่ แวดลอ้ มเปลยี่ นแปลงอยเู่ สมอ และทั้ง
ส่ิงแวดลอ้ มและพฤตกิ รรมมอี ิทธิพลซง่ึ กนั และกนั ตัวอยา่ งเชน่ เด็กที่มพี ฤตกิ รรมกา้ วร้าวก็คาดหวังว่าผู้อ่นื จะ
แสดงพฤตกิ รรมก้าวร้าวตอ่ ตนด้วย ความหวังน้ีก็สง่ เสริมใหเ้ ด็กแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว และผลพวงก็คือว่าเด็ก
อน่ื (แมว้ า่ จะไมก่ า้ วร้าว) ก็จะแสดงพฤติกรรมตอบสนองแบบก้าวรา้ วด้วย และเป็นเหตใุ ห้เดก็ ท่มี ีพฤติกรรม
ก้าวรา้ วยิ่งแสดงพฤตกิ รรมก้าวร้าวมากยิ่งขึ้น ซึง่ เป็นการยำ้ ความคาดหวงั ของตน บนั ดรู าสรปุ ว่า “เด็กท่ีมี
พฤติกรรมก้าวรา้ วจะสร้างบรรยากาศก้าวรา้ วรอบ ๆ ตัว จงึ ทำให้เด็กอื่นที่มพี ฤติกรรมอ่อนโยนไม่ก้าวร้าว
แสดงพฤตกิ รรมตอบสนองก้าวรา้ ว เพราะเปน็ การแสดงพฤตกิ รรมต่อสงิ่ แวดลอ้ มที่ก้าวร้าว”

ข้ันของการเรียนรูโ้ ดยการสงั เกตหรือเลยี นแบบ บันดรู ากล่าวว่า การเรยี นรู้ทางสงั คมดว้ ยการรู้
คิดจากการเลียนแบบมี 2 ข้นั คือ ขน้ั แรกเปน็ ข้ันการได้รับมาซ่ึงการเรียนรู้ (Acquisition) ทำใหส้ ามารถแสดง
พฤติกรรมได้ ข้นั ที่ 2 เรยี กว่าขนั้ การกระทำ (Performance) ซงึ่ อาจจะกระทำหรือไม่กระทำก็ได้ การแบง่ ข้นั
ของการเรียนรู้แบบนที้ ำใหท้ ฤษฎกี ารเรยี นรขู้ องบนั ดูราแตกต่างจากทฤษฎีพฤติกรรมนยิ มชนดิ

อ่นื ๆ การเรยี นรูท้ ี่แบ่งออกเป็น 2 ขัน้ คอื ขั้นของการเรียนรู้โดยการเลียนแบบ
ข้นั การรับมาซงึ่ การเรยี นรู้ ความใส่ใจทเ่ี ลอื กส่ิงเร้ามบี ทบาทสำคญั ในการเลอื กตวั แบบสำหรับขัน้ การ

กระทำ (Performance) นั้นข้ึนอยู่กับผเู้ รยี น เชน่ ความสามารถทางดา้ นรา่ งกาย ทักษะต่าง ๆ รวมทัง้ ความ
คาดหวังท่จี ะไดร้ ับแรงเสริมซึ่งเป็นแรงจงู ใจกระบวนการท่สี ำคญั ในการเรยี นรโู้ ดยการสังเกตบันดรู า (Bandura,
1977) ได้อธิบายกระบวนการทสี่ ำคัญในการเรียนร้โู ดยการสงั เกตหรือการเรยี นรู้โดยตัวแบบวา่ มีทั้งหมด
4 อย่างคือ

1. กระบวนการความเอาใจใส่ (Attention)
2. กระบวนการจดจำ (Retention)
3. กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมอื นตัวอยา่ ง (Reproduction)
4. กระบวนการการจูงใจ (Motivation)
กระบวนการความใสใ่ จ (Attention) ความใสใ่ จของผูเ้ รยี นเป็นสิง่ สำคัญมาก ถ้าผ้เู รียนไม่มีความใสใ่ จ
ในการเรียนรู้ โดยการสังเกตหรอื การเลยี นแบบก็จะไม่เกดิ ข้ึน ดงั นน้ั การเรียนรู้แบบน้ีความใสใ่ จจงึ เป็นสง่ิ แรกท่ี
ผ้เู รียนจะตอ้ งมี บนั ดูรากล่าววา่ ผเู้ รียนจะตอ้ งรับรสู้ ว่ นประกอบที่สำคญั ของพฤติกรรมของผ้ทู เ่ี ป็นตวั แบบ
องค์ประกอบท่ีสำคญั ของตวั แบบท่ีมอี ิทธิพลต่อความใส่ใจของผูเ้ รียนมีหลายอย่าง เช่น เป็นผู้ทมี่ เี กยี รติสงู (High
Status) มคี วามสามารถสูง (High Competence) หนา้ ตาดี รวมทั้งการแต่งตัว การมีอำนาจทจ่ี ะให้รางวัลหรอื
ลงโทษ คุณลกั ษณะของผูเ้ รยี นก็มีความสมั พนั ธ์กับกระบวนการใส่ใจ ตวั อย่างเชน่ วยั ของผเู้ รยี น ความสามารถ
ทางด้านพทุ ธปิ ญั ญา ทักษะทางการใช้มือและส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย รวมทัง้ ตวั แปรทางบุคลิกภาพของผู้เรยี น
เชน่ ความรู้สกึ ว่าตนนนั้ มคี ่า (Self-Esteem) ความตอ้ งการและทัศนคตขิ อง ผ้เู รียน ตัวแปรเหลา่ นี้มกั จะเปน็ สง่ิ
จำกัดขอบเขตของการเรยี นรู้โดยการสงั เกต ตัวอยา่ งเช่น ถ้าครูตอ้ งการใหเ้ ด็กวัยอนบุ าลเขยี นพยัญชนะไทยท่ี
ยาก ๆ เช่น ฆ ม โดยพยายามแสดงการเขียนใหด้ ูเปน็ ตัวอย่าง ทักษะการใช้กลา้ มเน้ือในการเคล่อื นไหวของเด็ก
วยั อนุบาลยงั ไม่พร้อมฉะนัน้ เดก็ วยั อนบุ าลบางคนจะเขยี นหนังสือตามท่ีครคู าดหวังไม่ได้
กระบวนการจดจำ (Retention Process)บนั ดรู า อธบิ ายวา่ การที่ผ้เู รยี นหรือผสู้ ังเกตสามารถท่จี ะ
เลยี นแบบหรอื แสดงพฤติกรรมเหมอื นตัวแบบได้กเ็ ปน็ เพราะผเู้ รยี นบันทึกส่งิ ที่ตนสังเกตจากตวั แบบไวใ้ นความจำ
ระยะยาว บนั ดูรา พบว่าผ้สู งั เกตที่สามารถอธิบายพฤติกรรม หรือการกระทำของตัวแบบด้วยคำพูด หรอื สามารถ
มีภาพพจนส์ ่งิ ที่ตนสงั เกตไว้ในใจจะเป็นผทู้ ่สี ามารถจดจำสิง่ ท่ีเรยี นรู้โดยการสงั เกตได้ดีกวา่ ผ้ทู เี่ พยี งแต่ดเู ฉย ๆ
หรือทำงานอ่นื ในขณะทด่ี ูตัวแบบไปดว้ ย สรปุ แล้วผ้สู งั เกตท่ีสามารถระลึกถงึ ส่ิงทส่ี ังเกตเป็นภาพพจน์ในใจ
(Visual Imagery) และสามารถเข้ารหัสด้วยคำพดู หรือถอ้ ยคำ (Verbal Coding) จะเปน็ ผทู้ ่ีสามารถแสดง
พฤติกรรมเลยี นแบบจากตวั แบบได้แมว้ า่ เวลาจะผ่านไปนาน ๆ และนอกจากน้ีถ้าผสู้ งั เกตหรอื ผู้เรยี นมีโอกาสท่ี
จะไดเ้ ห็นตวั แบบแสดงส่ิงทจ่ี ะตอ้ งเรยี นรซู้ ้ำก็จะเป็นการชว่ ยความจำใหด้ ยี ง่ิ ข้นึ กระบวนการแสดงพฤติกรรม
เหมือนกบั ตัวแบบ (Reproduction Process)กระบวนการแสดงพฤตกิ รรมเหมือนตวั แบบเปน็ กระบวนการที่
ผเู้ รยี น แปรสภาพ (Transform) ภาพพจน์ (Visual Image) หรอื สง่ิ ทีจ่ ำไวเ้ ปน็ การเข้ารหัสเปน็ ถ้อยคำ (Verbal
Coding) ในทีส่ ดุ แสดงออกมาเป็นการกระทำหรือแสดงพฤตกิ รรมเหมือนกบั ตัวแบบ ปัจจยั ท่สี ำคัญของ
กระบวนการนี้คือ ความพร้อมทางดา้ นรา่ งกายและทักษะทจี่ ำเปน็ จะต้องใชใ้ นการเลียนแบบของผเู้ รียน ถ้าหาก
ผเู้ รยี นไมม่ ีความพร้อมกจ็ ะไม่สามารถทีจ่ ะแสดงพฤติกรรมเลียนแบบได้บนั ดูรา กลา่ วว่าการเรยี นรโู้ ดยการสงั เกต
หรอื การเลียนแบบไมใ่ ชเ่ ปน็ พฤตกิ รรมทล่ี อกแบบอย่างตรงไปตรงมา การเรยี นร้โู ดยการสังเกตประกอบด้วย
กระบวนการทางพทุ ธปิ ญั ญา (Cognitive Process) และความพร้อมทางดา้ นร่างกายของผู้เรียน ฉะนน้ั ในขน้ั การ

แสดงพฤติกรรมเหมอื นตัวแบบ (Reproduction) ของแต่ละบุคคลจงึ แตกต่างกันไปผู้เรียนบางคนก็อาจจะทำได้
ดีกว่าตัวแบบทีต่ นสังเกตหรอื บางคนก็สามารถเลียนแบบได้เหมอื นมาก บางคนก็อาจจะทำไดไ้ ม่เหมือนกบั ตวั
แบบเพยี งแตค่ ลา้ ยคลงึ กับตวั แบบมบี างส่วนเหมือนบางสว่ นไมเ่ หมือนกบั ตวั แบบ และผเู้ รียนบางคนจะไม่
สามารถแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ ฉะน้นั บันดูราจึงให้คำแนะนำแก่ผทู้ ่ีมหี น้าทีเ่ ปน็ ตัวแบบ เช่น ผ้ปู กครอง
หรือครคู วรใชผ้ ลยอ้ นกลบั ทีต่ ้องตรวจสอบแกไ้ ข (Correcting Feedback) เพราะจะเป็นการช่วยเหลือใหผ้ เู้ รียน
หรือผู้สังเกตมโี อกาสทบทวนในใจว่าการแสดงพฤติกรรมของตวั แบบมอี ะไรบ้าง และพยายามแก้ไขให้ถกู ต้อง

กระบวนการจงู ใจ (Motivation Process) บนั ดูรา (1965, 1982) อธบิ ายวา่ แรงจงู ใจของผู้เรียนท่ี
จะแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบที่ตนสงั เกต เนือ่ งมาจากความคาดหวังว่า การเลยี นแบบจะนำประโยชน์มาใช้
เชน่ การได้รับแรงเสริมหรือรางวลั หรอื อาจจะนำประโยชนบ์ างสง่ิ บางอย่างมาให้ รวมทั้งการคดิ ว่าการแสดง
พฤติกรรมเหมือนตัวแบบจะทำให้ตนหลกี เล่ียงปัญหาได้ ในหอ้ งเรียนเวลาครใู ห้รางวัลหรือลงโทษพฤติกรรมของ
นักเรียน คนใดคนหนง่ึ นกั เรยี นทง้ั ห้องกจ็ ะเรยี นรโู้ ดยการสังเกตและเป็นแรงจูงใจให้ผเู้ รียนแสดงพฤติกรรม
หรอื ไม่แสดงพฤตกิ รรม เวลานกั เรยี นแสดงความประพฤติดี เชน่ นกั เรยี นคนหน่งึ ทำการบา้ นเรียบร้อยถูกต้อง
แลว้ ไดร้ บั รางวัลชมเชยจากครู หรอื ให้สิทธพิ ิเศษก็จะเปน็ ตวั แบบให้แกน่ ักเรยี นคนอนื่ ๆ พยายามทำการบา้ นมา
สง่ ครใู หเ้ รยี บรอ้ ย เพราะมีความคาดหวงั ว่าคงจะได้รบั แรงเสริมหรอื รางวัลบา้ ง ในทางตรงขา้ มถ้านกั เรียนคนหนึง่
ถูกทำโทษเนอ่ื งจากเอาของมารบั ประทานในห้องเรยี น ก็จะเป็นตวั แบบของพฤตกิ รรม ท่ีนักเรยี นท้ังชั้นจะไม่
ปฏิบตั ติ ามแมว้ า่ บันดูราจะกล่าวถึงความสำคัญของแรงเสริมบวกว่ามีผลตอ่ พฤติกรรมที่ผู้เรียนเลยี นแบบตวั แบบ
แตค่ วามหมายของความสำคัญของแรงเสรมิ น้นั แตกต่างกันกับของสกินเนอร์ (Skinner) ในทฤษฎีการวางเง่ือนไข
แบบโอเปอแรนท์ (Operant Conditioning) แรงเสริมในทฤษฎี การเรียนรูใ้ นการสงั เกตเปน็ แรงจูงใจที่จะทำให้
ผู้สังเกตแสดงพฤติกรรมเหมือนตวั แบบ แตแ่ รงเสริมในทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์น้นั แรงเสรมิ เปน็
ตวั ท่จี ะทำให้ความถ่ีของพฤติกรรมท่ีอินทรยี ์ไดแ้ สดงออกอยู่แลว้ ให้มีเพิม่ ขนึ้ อีกประการหนึ่งในทฤษฎีการเรียนรู้
ดว้ ยการสังเกตถือว่าความคาดหวังของผู้เรยี นทจ่ี ะไดร้ บั รางวลั หรอื ผลประโยชน์จากพฤตกิ รรมที่แสดงเหมือนเป็น
ตัวแบบ เปน็ แรงจูงใจท่ีทำให้ผูส้ งั เกตแสดงออก แตส่ ำหรับการวางเง่อื นไขแบบโอเปอแรนท์ แรงเสริมเป็นสง่ิ ที่มา
จากภายนอกจะเปน็ อะไรก็ได้ไมเ่ กีย่ วกับตัวของผู้เรียน

ปัจจัยที่สำคญั ในการเรยี นร้โู ดยการสังเกต
1. ผเู้ รยี นจะตอ้ งมคี วามใส่ใจ (Attention) ทจี่ ะสังเกตตัวแบบ ไมว่ ่าเปน็ การแสดงโดยตัวแบบ

จริงหรือตัวแบบสญั ลักษณ์ ถา้ เป็นการอธบิ ายด้วยคำพดู ผ้เู รียนกต็ อ้ งตั้งใจฟังและถา้ จะต้องอ่านคำอธบิ ายก็
จะต้องมคี วามต้ังใจทจ่ี ะอ่าน

2. ผูเ้ รียนจะต้องเขา้ รหัสหรือบันทกึ สิ่งท่สี งั เกตหรือส่งิ ทีร่ ับรูไ้ วใ้ นความจำระยะยาว
3. ผเู้ รียนจะตอ้ งมโี อกาสแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ และควรจะทำซ้ำเพ่ือจะให้จำได้
4. ผู้เรยี นจะตอ้ งรู้จกั ประเมินพฤติกรรมของตนเองโดยใชเ้ กณฑ์ (Criteria) ทต่ี งั้ ข้นึ ด้วยตนเอง
หรือโดยบุคคลอ่ืน

ความสำคัญของการควบคุมกจิ กรรมการเรยี นรู้ของตนเอง (Self-Regulation) ความสามารถทจ่ี ะ
ควบคมุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ของตนเอง โดยการที่เข้าใจถงึ ผลทเี่ กิดตามมาของพฤติกรรม (Consequences) มี
ความสำคญั มาก บันดูรา (1977) กล่าวว่า ถา้ ผลท่ีเกดิ ตามมาของพฤตกิ รรมของผเู้ รียนคือรางวัล ผเู้ รียนกจ็ ะมี

ความพอใจในพฤติกรรมของตนเอง แต่ถ้าผลที่ตามมาเป็นการลงโทษก็จะก่อให้เกิดความไมพ่ อใจ ท้ังความพอใจ
หรือไม่พอใจมคี วามสมั พนั ธ์ใกลช้ ดิ กับมาตรฐานของพฤติกรรมทผี่ ูแ้ สดงพฤตกิ รรมไดต้ ั้งไว้ ผลของการวจิ ยั
เกี่ยวกับการต้ังมาตรฐานหรือเกณฑ์ที่จะประเมินพฤติกรรมของตนเองพบว่าเด็กทอี่ ยู่ในกล่มุ ท่ีมีตัวแบบ ซึ่งตั้ง
เกณฑห์ รือมาตรฐานของพฤติกรรมท่ตี ่ำจะเป็นเด็กที่ไมพ่ ยายามท่จี ะทำให้ดีขึน้ เพยี งแต่ทำพอไปไดต้ ามทต่ี วั แบบ
ได้กำหนดไว้เทา่ น้ัน สว่ นเด็กทอ่ี ยใู่ นกล่มุ ทม่ี ีตวั แบบท่ีตั้งเกณฑ์หรอื มาตรฐานของพฤติกรรมไวส้ งู จะมีความ
พยายามเพ่อื จะพสิ จู น์วา่ ตนเองทำได้ อย่างไรก็ตามแมว้ ่าการตงั้ เกณฑ์ของพฤติกรรมไวส้ งู จะเปน็ สิง่ ทด่ี ีก็ตาม ผ้ตู ั้ง
เกณฑ์จะต้องคำนึงว่าจะต้องเปน็ เกณฑ์ทผี่ เู้ รียนจะสามารถจะทำไดเ้ หมือนจริง (Realistic) เพราะถ้าต้งั เกณฑเ์ กิน
ความสามารถจริงของเดก็ เด็กก็จะประสบความผดิ หวงั มีความท้อแท้ใจ ไม่พยายามทจี่ ะประกอบพฤติกรรม
(Kalory, 1977) ในกรณีทเี่ กณฑ์ทีต่ ั้งไวส้ งู พอท่จี ะท้าทายให้ผู้เรียนพยายามประกอบพฤตกิ รรมถ้าผูเ้ รยี นทำได้ก็
จะเกิดความพอใจเปน็ แรงเสริมด้วยตนเอง (Self-Reinforcement) และทำใหผ้ ู้เรยี นมีแรงจูงใจทจี่ ะเรียนรู้
(Bandura, 1982) ความสำคัญของแรงจงู ใจของผูเ้ รียนในการเรียนรู้โดยการสงั เกต ดังทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแล้ววา่ แรง
เสรมิ ดว้ ยตนเอง เป็นตวั แปรท่ีจะทำใหผ้ ู้เรียนเกิดแรงจงู ใจท่ีจะแสดงพฤติกรรมตามเกณฑ์ของความสมั ฤทธผิ ล
ท่ีต้งั ไว้ บันดูรา (1977) เชื่อวา่ การเรยี นรโู้ ดยการสังเกตเกิดขึ้นในขัน้ การจดจำ ในข้ันการแสดงพฤติกรรมเหมือน
ตวั แบบ ผู้เรียนอาจจะไมแ่ สดงพฤติกรรมหรือแสดงพฤติกรรมเพยี งบางสว่ นของการเรยี นรู้ในข้ันการเก็บจำก็ได้
ฉะน้นั ครูที่ทราบความสำคญั ของแรงจูงใจของผเู้ รยี นก็ควรจะสร้างสถานการณใ์ นห้องเรียนที่นักเรียนสามารถจะ
ประเมนิ พฤติกรรมของตนเองได้ โดยใชเ้ กณฑ์ของสมั ฤทธ์ผิ ลสูงแต่อยูใ่ นขอบเขตความสามารถของผ้เู รยี น เพื่อ
ผเู้ รียนจะได้ประสบความสำเร็จและมคี วามพอใจซึง่ เปน็ แรงเสริมด้วยตนเองและเกิดมแี รงจูงใจทจี่ ะเรียนรตู้ ่อไป

สรปุ การเรยี นรู้พฤติกรรมสำคญั ตา่ ง ๆ ทง้ั ท่ีเสริมสรา้ งสังคม (Prosocial Behavior) และ
พฤติกรรมทีเ่ ปน็ ภยั ต่อสังคม (Antisocial Behavior) ไดเ้ น้นความสำคัญของการเรยี นรแู้ บบการสงั เกตหรือ
เลยี นแบบจากตวั แบบ ซ่ึงอาจจะเปน็ ได้ท้งั ตวั บุคคลจรงิ ๆ เชน่ ครู เพื่อน หรือจากภาพยนตรโ์ ทรทศั น์ การ์ตูน
หรอื จากการอา่ นจากหนงั สอื ได้ การเรยี นรู้โดยการสงั เกตประกอบดว้ ย 2 ขั้น คอื ขน้ั การรับมาซ่ึงการเรียนรู้เปน็
กระบวนการทางพุทธิปัญญา และข้นั การกระทำ ตวั แบบที่มอี ิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลมีทงั้ ตัวแบบในชีวิต
จริงและตวั แบบทเี่ ปน็ สญั ลักษณ์ เพราะฉะนั้นพฤตกิ รรมของผ้ใู หญใ่ นครอบครัว โรงเรียน สถาบนั การศึกษา และ
ผนู้ ำในสงั คมประเทศชาติและศลิ ปนิ ดารา บุคคลสาธารณะ ยง่ิ ตอ้ งตระหนักในการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ เพราะ
ย่อมมีผลต่อพฤตกิ รรมของเยาวชนในสงั คมน้ัน ๆ

การรับร้คู วามสามารถของตนเอง (Self-Efficacy)งานของ Bandura เกยี่ วข้องกบั ความสามารถของ
ตนนัน้ ในระยะแรก Bandura เสนอแนวคิดของความคาดหวงั ความสามารถของตนเอง (Efficacy Expectation)
โดยใหค้ วามหมายวา่ เป็นความคาดหวังทเ่ี กยี่ วข้องกับความสามารถของตน ในลกั ษณะทเี่ ฉพาะเจาะจง และความ
คาดหวงั นเ้ี ปน็ ตัวกำหนดการแสดงออกของพฤติกรรม (Bandura, 1977) แต่ตอ่ มา Bandura (1986) ได้ใชค้ ำ
ว่า การรับรคู้ วามสามารถของตนเอง (Percieved Self-Efficacy) โดยให้ความจำกัดความว่าเป็นการท่ีบุคคล
ตดั สนิ ใจเกย่ี วกับความสามารถของตนเองที่จะจัดการและดำเนินการกระทำพฤติกรรมให้บรรลเุ ป้าหมายที่กำหนด
ไว้ โดยท่ี Bandura น้ันไม่ไดก้ ล่าวถงึ คำว่าคาดหวังอีกเลย Bandura มคี วามเชื่อวา่ การรับรูค้ วามสามารถของ
ตนเองน้ัน มผี ลต่อการกระทำของบุคคล บุคคล 2 คน อาจมคี วามสามารถไมต่ า่ งกัน แต่อาจแสดงออกในคุณภาพ
ทแี่ ตกตา่ งกันได้ ถา้ พบวา่ คน 2 คนนี้มีการรับรู้ความสามารถของตนเองแตกตา่ งกนั ในคนคนเดียวกเ็ ชน่ กัน ถา้ รับรู้
ความสามารถของตนเองในแตล่ ะสภาพการณแ์ ตกตา่ งกนั กอ็ าจจะแสดงพฤติกรรมออกมาไดแ้ ตกต่างกันเช่นกนั

Bandura เห็นว่าความสามารถของคนเรานนั้ ไม่ตายตวั หากแต่ยืดหยุน่ ตามสภาพการณ์ ดังนนั้ ส่งิ ท่ีจะกำหนด
ประสทิ ธิภาพของการแสดงออก จึงขนึ้ อยกู่ ับการรับรู้ความสามารถของตนเองในสภาวะการณน์ น้ั ๆ นน่ั เอง นนั่ คอื
ถา้ เรามคี วามเชอ่ื ว่าเรามีความสามารถ เราก็จะแสดงออกถึงความสามารถน้นั ออกมา คนที่เชือ่ ว่าตนเองมี
ความสามารถจะมีความอดทน อุตสาหะ ไมท่ ้อถอยงา่ ย และจะประสบความสำเร็จในท่สี ุด (Evans, 1989)มกั มี
คำถามว่าการรบั รู้ความสามารถของตนเองนัน้ เกี่ยวข้องหรือแตกต่างอยา่ งไรกับความคาดหวงั ผลท่ีจะเกดิ ขึน้
(Outcome Expectation) เพ่ือใหเ้ ข้าใจและชดั เจน Bandura (1997) ไดเ้ สนอภาพแสดงความแตกต่างระหวา่ ง
การรับรู้เก่ียวกับความสามารถของตนเอง และความคาดหวังผลที่จะเกิดขึ้น ดังภาพ บุคคล พฤติกรรม ผลทเี่ กดิ ขน้ึ
ภาพ แสดงให้เห็นถึงความแตกต่าง ระหว่างการรบั รคู้ วามสามารถของตนเองและความคาดหวังผลทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ
(จาก Bandura, 1977)การรับรคู้ วามสามารถของตนเอง เปน็ การตดั สินความสามารถของตนเองวา่ จะสามารถ
ทำงานได้ในระดับใด ในขณะทีค่ วามคาดหวงั เก่ียวกับผลที่จะเกดิ ขึน้ นนั้ เปน็ การตัดสินว่าผลกรรมใดจะเกิดขึ้นจาก
การกระทำพฤติกรรมดังกลา่ ว อยา่ งเชน่ ทีน่ กั กฬี ามคี วามเช่ือว่าเขากระโดดไดส้ งู ถงึ 6 ฟุต ความเช่อื ดงั กลา่ วเป็น
การตดั สนิ ความสามารถของตนเอง การไดร้ ับการยอมรับจากสงั คม การไดร้ ับรางวลั การพึงพอใจในตนเองที่
กระโดดได้สูงถึง 6 ฟุต เป็นความคาดหวงั ผลทีจ่ ะเกดิ ข้นึ แต่จะตอ้ งระวังความเขา้ ใจผดิ เกย่ี วกบั ความหมายของคำ
วา่ ผลทีเ่ กดิ ข้นึ ผลทเี่ กิดขนึ้ ในที่น้ีจะหมายถึงผลกรรมของการกระทำพฤติกรรมเทา่ นั้น มิไดห้ มายถึงผลท่ีแสดงถึง
การกระทำพฤติกรรม เพราะวา่ ผลท่แี สดงถงึ การกระทำพฤติกรรมน้นั จะพจิ ารณาวา่ พฤติกรรมนั้นสามารถทำได้
ตามการตดั สินความสามารถของตนเองหรือไม่ น่นั คือจะกระโดดได้สงู ถึง 6 ฟุตหรอื ไม่ ซ่ึงการจะกระโดดได้สูงถึง
6 ฟุตหรอื ไม่นัน้ มิใช่เปน็ การคาดหวังผลท่ีจะเกดิ ขน้ึ ซ่ึงมงุ่ ท่ีผลกรรมท่ีจะได้จากการกระทำพฤตกิ รรมดังกล่าวการ
รับรคู้ วามสามารถของตนเอง และความคาดหวังผลท่จี ะเกิดขน้ึ น้ันมีความสัมพันธ์กันมาก โดยทคี่ วามสมั พันธ์
ระหวา่ งตวั แปรทง้ั สองนม้ี ผี ลต่อการตัดสนิ ใจ ทจี่ ะกระทำพฤตกิ รรมของบุคคลน้นั ๆ ซ่ึงจะเห็นได้จากภาพความ
คาดหวงั เกี่ยวกบั ผลทจี่ ะเกดิ ขึ้นดังกล่าวแน่นอน แต่ถ้ามีเพียงดา้ นใดสูงหรอื ต่ำ บุคคลนั้นมีแนวโน้มจะไม่แสดง
พฤติกรรม ในการพัฒนาการรับรคู้ วามสามารถของตนเองนน้ั Bandura เสนอวา่ มีอยดู่ ้วยกัน 4 วธิ ี คือ (Evans,
1989)

1. ประสบการณ์ทีป่ ระสบความสำเรจ็ (Mastery Experiences) ซงึ่ Bandura เช่อื ว่าเป็นวิธีการท่ี
มปี ระสิทธิภาพมากที่สดุ ในการพฒั นาการรบั รู้ความสามารถของตนเอง เนอื่ งจากว่าเปน็ ประสบการณโ์ ดยตรง
ความสำเร็จทำใหเ้ พ่มิ ความสามารถของตนเอง บุคคลจะเช่ือว่าเขาสามารถทจ่ี ะทำได้ ดังนั้น ในการที่จะพัฒนาการ
รับรูค้ วามสามารถของตนเองนั้น จำเปน็ ท่ีจะต้องฝึกใหเ้ ขามที ักษะเพยี งพอทจ่ี ะประสบความสำเรจ็ ได้พร้อม ๆ กับ
การทำใหเ้ ขารบั ร้วู ่า เขามีความสามารถจะกระทำเชน่ นน้ั จะทำใหเ้ ขาใช้ทักษะท่ีได้รับการฝกึ ไดอ้ ย่างมี
ประสิทธิภาพมากทสี่ ุด บุคคลที่รบั รู้วา่ ตนเองมีความสามารถน้นั จะไม่ยอมแพ้อะไรงา่ ย ๆ แตจ่ ะพยามทำงานต่าง
ๆ เพอ่ื ใหบ้ รรลุถงึ เป้าหมายท่ีต้องการ

2. โดยการใชต้ ัวแบบ (Modeling) การทไี่ ด้สังเกตตวั แบบแสดงพฤตกิ รรมทม่ี ีความซบั ซ้อน และ
ไดร้ บั ผลกรรมที่พงึ พอใจ ก็จะทำให้ผทู้ ี่สงั เกตฝึกความรู้สึกว่าเขาก็จะสามารถทจ่ี ะประสบความสำเร็จไดถ้ ้าเขา
พยายามจริงและไมย่ ่อท้อ ลกั ษณะของการใชต้ ัวแบบทสี่ ง่ ผลต่อความรูส้ ึกวา่ เขามีความสามารถทีจ่ ะทำไดน้ น้ั
ไดแ้ ก่ การแก้ปัญหาของบุคคลทมี่ ีความกลัวต่อส่ิงต่าง ๆ โดยท่ีให้ดูตวั แบบท่ีมีลักษณะคลา้ ยกบั ตนเองก็สามารถทำ
ใหล้ ดความกลวั ตา่ ง ๆ เหล่าน้ันได้ (Kazdin, 1974)

3. การใชค้ ำพดู ชักจงู (Verbal Persuation) เปน็ การบอกว่าบคุ คลนนั้ มีความสามารถทจ่ี ะประสบ
ความสำเร็จได้ วิธกี ารดังกล่าวนัน้ ค่อนขา้ งใชง้ ่ายและใชก้ ันทวั่ ไปซงึ่ Bandura ได้กล่าวว่า การใช้คำพูดชักจงู นน้ั ไม่

คอ่ ยจะได้ผลนัก ในการทีจ่ ะทำใหค้ นเราสามารถท่ีพฒั นาการรบั ร้คู วามสามารถของตนเอง (Evans, 1989) ซึ่งถ้า
จะให้ได้ผล ควรจะใชร้ ว่ มกับการทำใหบ้ คุ คลมีประสบการณ์ของความสำเร็จ ซึ่งอาจจะต้องคอ่ ย ๆ สรา้ ง
ความสามารถให้กับบุคคลอย่างคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปและใหเ้ กดิ ความสำเรจ็ ตามลำดบั ขน้ั ตอน พร้อมท้ังการใช้คำพูดชกั
จูงร่วมกัน ก็ย่อมท่จี ะได้ผลดใี นการพฒั นาการรับรคู้ วามสามารถของตน

4. การกระตนุ้ ทางอารมณ์ (Emotional Arousal) การกระต้นุ ทางอารมณ์มีผลตอ่ การรับรู้
ความสามารถของตนเองในสภาพทถ่ี ูกขมขู่ ในการตัดสนิ ถึงความวติ กกังวล และความเครยี ดของคนเรานั้น
บางสว่ นจะขึน้ อยู่กับการกระตนุ้ ทางสรรี ะ การกระตุ้นทรี่ นุ แรงทำให้การกระทำไม่ค่อยได้ผลดี บุคคลจะคาดหวัง
ความสำเร็จเมื่อเขาไม่ไดอ้ ย่ใู นสภาพการณ์ท่ีกระต้นุ ด้วยสิ่งที่ไม่พึงพอใจ ความกลัวกจ็ ะกระตนุ้ ใหเ้ กิดความกลวั มาก
ขึ้น บคุ คลกจ็ ะเกิดประสบการณ์ของความล้มเหลว อันจะทำให้การรับรูเ้ กยี่ วกบั ความสามารถของตนต่ำลง

จากการศึกษาทฤษฎีดา้ นจริยธรรมของนักการศกึ ษา ทงั้ ธอรน์ ไดค์ และบนั ดรู า ทำให้คณะผสู้ รา้ ง
โมเดลสรปุ องค์ความรทู้ จ่ี ะนำมาใชใ้ นการพฒั นาส่งเสรมิ ผูเ้ รียนใหม้ ีคณุ ธรรม จริยธรรม คือการจัดกระบวนการท่ี
ผเู้ รยี นได้กระทำซำ้ ๆเป็นประจำอยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยมผี ใู้ หญ่คือครูและผู้อำนวยการเปน็ ต้นแบบในการฝึกพัฒนา
จากคณุ ธรรมพน้ื ฐานท่ีอาจจะกระทำเพราะหลีกเลย่ี งการลงโทษ ทำเพราะเลยี นแบบ จนถึงคณุ ธรรมขน้ั สูงทม่ี า
จากจิตใต้สำนกึ เช่น จติ สาธารณะ จิตอาสา และความกตญั ญู

3. การศึกษาข้อมูลการดำเนนิ การโรงเรยี นด้วยรักและห่วงใย

1. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ
การดำเนนิ โครงการดว้ ยรกั และห่วงใย มวี ัตถุประสงค์สำคัญในการดำเนนิ การอยู่ 5 ประการ

1. เพอ่ื แก้ไขภาวะทุพโภชนาการ ใหน้ ักเรยี นมสี ขุ ภาพอนามยั ที่ดี
2. เพ่ือสง่ เสริมความสามารถในการประกอบอาชพี ของนักเรยี น
3. เพื่อสง่ เสรมิ การเรียนรู้ของนักเรยี นทมี่ คี ณุ ภาพ ให้สามารถดำรงชีวติ อยูใ่ นชุมชนและสังคมได้อยา่ งมี
ความสุข
4. เพอ่ื สง่ เสริม สนับสนนุ ใหน้ ักเรยี นอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒั ธรรม
5. เพ่ือเรยี นรู้แบง่ ปนั ประสบการณร์ ่วมกันในกลมุ่ โรงเรียนในโครงการดว้ ยรกั และห่วงใย

2. แนวทางการปฏิบัตงิ านของโรงเรียน

โรงเรียนในโครงการตามพระราชดำรฯิ ทุกโรงเรียน จะต้องเน้นในการพฒั นาตามวัตถุประสงค์ท้ัง 5 ด้าน
ดังกล่าวเปน็ องคป์ ระกอบร่วมกัน อย่างไรก็ตามโรงเรยี นสามารถคิดคน้ และแสวงหาแนวทางเลือกในการพัฒนา
ตามศักยภาพ ความต้องการและความสนใจ โดยยึดแนวปฏบิ ัติ ดงั นี้

2.1 ศกึ ษาพระราชกระแสรับสัง่ ในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินเยย่ี มโรงเรยี นและแนวพระราชดำต่างๆ
ที่ปรากฏใหค้ วามเข้าใจชดั เจนและลกึ ซ้ึง
2.2 จดั ทำแผน โครงการ/กจิ กรรม ใหส้ นองต่อพระราชดำริในแตล่ ะด้าน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ
คณะครุกรรมการโรงเรียน และสว่ นราชการทีเ่ ก่ียวข้อง
2.3 ดำเนินการตามแผนงานท่ีกำหนดไวอ้ ยา่ งเคร่งครัด โดยยดึ หลักการดังน้ี

2.3.1 ความพร้อมดา้ นอาคารสถานท่ี ส่ือและอุปกรณ์
2.3.2 ผนึกกำลังกบั ชมุ ชน

2.3.3 เน้นคุณภาพกจิ กรรมการเรยี นการสอน
2.4 ประสานงานกับชมุ ชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใหร้ ว่ มดำเนนิ งานให้บรรลุผล
2.5 บนั ทกึ ข้อมลู ทส่ี ำคญั เกีย่ วกับการดำเนินงานไวอ้ ยา่ งมรี ะบบตอ่ เน่อื ง รวมทั้งจัดทำบัญชีรายการ
สงิ่ ของ วัสดุ ครภุ ณั ฑ์ และงบประมาณท่ที รงพระราชทานให้แก่โรงเรียน เพ่ือเป็นข้อมลู ในการรายงาน
เพอ่ื ทราบฝ่าละอองพระบาท และผูท้ ่ีเกยี่ วข้องได้ทราบ
2.6 รายงานผลการดำเนินงานตามลำดบั

3. หลัก/แนวทางในการพัฒนาโรงเรยี น

จากกระแสพระราชดำรัสและแนวทางพระราชดำริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กมุ ารี ที่ไดพ้ ระราชทานไว้เปน็ แนวทางพฒั นาโรงเรยี นตามวโรกาสและสถานท่ตี ่างๆ ผนวกกับประสบการณ์ในการ
ดำเนนิ งานทีผ่ ่านมา ทางโครงการจงึ กำหนดเป็นกรอบกว้างเป็นแนวทางให้โรงเรยี นดำเนินใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทาง
เดยี วกัน ดงั น้ี

3.1 มีการจดั บรรยากาศของโรงเรยี นใหส้ ะอาด รม่ รน่ื สวยงาม มีการอนุรักษว์ ถิ ีชวี ิตประเพณีวัฒธรรม
ของทอ้ งถนิ่ โดยไมน่ ำความทันสมยั ความเปน็ เมือง หรอื ความสะดวกสบายเข้าไปในโรงเรยี นมากเกินไป

3.2 มีกิจกรรมม่งุ เนน้ ในการแก้ไขภาวะทพุ โภชนาการและสุขภาพอนามัยด้านอน่ื ๆ ของนักเรยี นอย่าง
จรงิ จัง มีขอ้ มลู การบันทึกผลการดำเนนิ งานอย่างเปน็ ระบบและชดั เจน มีการดำเนินงานโครงการเกษตรเพื่อ
อาหารกลางวนั อย่างต่อเน่อื ง มปี ระสิทธิภาพนำผลผลติ มาประกอบอาหารใหน้ กั เรียนรับประทานอาหารได้ตลอดปี
ส่วนหนง่ึ สามารถจำหนา่ ยให้เกิดการหมนุ เวียนของเงนิ ทุนในการดำเนินงาน จนสามารถพ่ึงตนเองได้ในระยะยาว

3.3 จดั ห้องสมุดในโรงเรียนได้อย่างมีมาตรฐาน มีหนงั สือที่มีคุณภาพสำหรบั การค้นควา้ ของนักเรยี นเปิด
โอกาสให้ผู้ปกครองและประชาชนท่สี นใจเข้ามาศกึ ษา และมกี ารจัดห้องสมดุ หรอื มุมสถาบันพระมหากษัตริยท์ ่ี
แสดงถึงพระมหากรุณาธิคุณและความหว่ งใจที่ทรงมตี ่อพสกนกิ รทุกหมู่เหลา่ อยา่ งท่ัวหน้าและเสมอภาคกนั โดยมี
การจดั ในรปู แบบที่เหมาะสม

3.4 มกี ารสอนอาชีพใหแ้ กน่ ักเรยี นอยา่ งน้อยคนละ 1 อาชีพ โดนเนน้ การปฏบิ ัติอยา่ งต่อเนื่องจนมีทักษะ
และความชำนาญ รวมท้ังมกี ารอบรมส่งั สอนด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการประกอบอาชพี ควบคู่ไปในการสอน
ตลอดเวลา และหากเป็นอาชีพที่ใช้ทักษะฝมี ือ มกี ารเนน้ เรื่องความละเอยี ด ประณีตและสวยงามเปน็ พิเศษ

โดยท่โี รงเรยี นในโครงการพระราชดำรทิ กุ โรง จะต้องมีหลกั และแนวทางพฒั นาทั้ง 5 ประการดงั กลา่ วเป็น
องค์ประกอบร่วมกนั อยา่ งไรก็ตามโรงเรยี นยงั สามารถคดิ ค้นและแสวงหาทางเลือกในการพัฒนานอกเหนอื ไปจาก
ทก่ี ลา่ วมาแล้วน้ีให้ดีเดน่ เป็นพิเศษไดต้ ามศักยภาพ ความต้องการและความสนใจของตนเอง
4. กจิ กรรมการดำเนนิ งานของโรงเรยี นในโครงการดว้ ยรักและหว่ งใย

การดำเนินงานโครงการดว้ ยรักและห่วงใยของโรงเรยี นในโครงการทุกโรงเรยี น ไดเ้ จรญิ รอยตามแนว
พระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัตงิ าน

โครงการสำคญั ทโี่ รงเรียนดำเนินการอย่างตอ่ เนื่อง ประกอบดว้ ย
4.1 โครงการเกษตรเพือ่ อาหารกลางวัน
4.2 โครงการควบคุมโรคขาดสารอาหารไอโอดีน
4.3 โครงการส่งเสรมิ คณุ ภาพการศกึ ษา
4.4 โครงการฝกึ อาชีพ

4.5 โครงการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มและวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ
ในการดำเนนิ งานโครงการดังกล่าว ใหเ้ ป็นไปตามสภาพความพร้อมของแตล่ ะพื้นท่ีของโรงเรียนเปน็ สำคัญ
เม่ือไดศ้ ึกษาข้อมูลท่ไี ด้กลา่ วมาข้างตน้ คณะทำงานของทางโรงเรยี นก็ได้แนวทางในการพัฒนาผ้บู รหิ าร คณะครู
และนักเรียนท่สี อดคล้องกับแนวคดิ ทฤษฎขี องนักการศึกษา และวัตถุประสงค์ แนวทางการดำเนนิ งานโรงเรยี น
ด้วยรกั และห่วงใย จึงได้โมเดลในการพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรม พฒั นาการเรียนการสอน ตลอดจนผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียน ในชีวิตประจำวนั ของนกั เรยี นผ่านกระบวนการฐานพฒั นา ทีเ่ รยี กว่า 8 ฐานคนดี KSB โมเดล

บทท่ี 3

การผลิตและการใช้โมเดล

1. กระบวนการผลติ โมเดล
๑. แตง่ ตง้ั คณะทำงานโรงเรียนคุณธรรม
๒. ระดมสมองของบคุ ลากรโรงเรยี น นักเรียน วางแผนดำเนนิ การโรงเรยี นคุณธรรม
๓. จัดทำอัตลกั ษณค์ ุณธรรมของโรงเรยี น
4. ศกึ ษาทฤษฎีแนวทางในการพฒั นานักเรยี นให้มคี ุณธรรม จริยธรรมตามคณุ ธรรม

อตั ลักษณข์ องโรงเรยี น
5. ดำเนนิ การ ตามแนวทาง 8 ฐานคนดี KSB โมเดลดงั นี้

แนวทาง 8 ฐานคนดี KSB โมเดล
จากการทีโ่ รงเรยี นบ้านคำสมบรู ณ์บึงเจริญได้ศึกษาพรอ้ มกับนำนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ลงสูก่ ารปฏบิ ตั ใิ นโรงเรียน ท้ังในส่วนการเน้นการอา่ น
ออกเขยี นได้ โรงเรียนคุณธรรม ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้ โครงการโรงเรียนดว้ ยรกั และห่วงใย
ทางโรงเรยี นในทุกภาคส่วนทีเ่ กยี่ วขอ้ ง จึงได้ประชุมหารอื ในการดำเนนิ งานนโยบายต่างๆใหข้ บั เคลื่อน
ไปได้และไมก่ ระทบกับการเรียนของนักเรียน ไมเ่ พิ่มภาระใหค้ รู จึงได้รว่ มกนั ระดมสมองไดเ้ ปน็ ได้เป็น
8 ฐานคนดKี SBโมเดล โดยปรบั กิจกรรมท่ีอยใู่ นชีวิตประจำวนั ของนักเรียนแต่ละวนั มาให้เป็นรปู แบบ
เพอ่ื พฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ป็นผู้ใชช้ ีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ ผู้มีคณุ ธรรมและช่วยกัน
กำจดั ขยะตน้ ทาง ไมใ่ หเ้ พิม่ ภาระและมลพษิ แก่สังคม โดยมรี ายละเอยี ดแตล่ ะฐานกจิ กรรมดังนี้

ฐานกจิ กรรม ประจำวัน
1. ตรงต่อเวลาพฒั นาชวี ติ 07.30 น. - 07.45 น.

- เป็นฐานในการฝึกคุณธรรมอัตลักษณ์ด้านการมวี นิ ัยในการมาโรงเรียนตรงเวลา เพือ่ จะได้ฝกึ
ตนเองในฐานอน่ื ๆต่อไป โดยมคี รูประจำกลุ่มคอยตรวจเช็คการมาโรงเรยี นของนกั เรยี น และ
คอยถามไถใ่ ห้คำช้แี นะตักเตือนในรายทีม่ าไมต่ รงเวลา

2. พ่พี านอ้ งเพ่ือนพ้องพาทำ 07.45 น. – 08.00 น.
- เปน็ กจิ กรรมทเี่ ดก็ มาถึงโรงเรียนแล้วจะเข้ากลุ่มของตนเอง 4 กลมุ่ ซึง่ ในแตล่ ะกลุ่มจะมีสมาชกิ
ประมาณ 9 -10 คน โดยคละเด็กตั้งแต่ ชนั้ ป.1 - 6 แล้วชว่ ยกนั ทำความสะอาดโรงเรียน แลว้
ใหผ้ ตู้ รวจเวรประจำวันตรวจ หากยังไมส่ ะอาดใหแ้ ก้ไข หากสะอาดแลว้ ให้ทำกิจกรรมอ่ืนๆได้ จน
เขา้ แถวเคารพธงชาติ โดยการเขา้ กลุม่ จะทำให้เดก็ ๆ ได้มีปฏสิ มั พันธ์กนั พ่ีไดด้ แู ลน้อง บอกน้อง
ทำความสะอาด ฝึกความรับผิดชอบ พ่บี อกน้อง เพ่ือนบอกเพ่ือน เพอ่ื ให้เปน็ ภมู คิ มุ้ กนั แต่ผเู้ รยี น
ให้มคี วามรับผิดชอบของแตล่ ะคน

3. สภานม 08.20 น. – 08.30 น.
- เป็นฐานท่ีผู้บริหาร คณะครูได้อบรม ใหค้ วามร้นู กั เรยี นในดา้ นต่างๆ ไมว่ ่าจะเปน็ คุณธรรม
จรยิ ธรรม การต้านทุจรติ หรอื Zero waste school ข่าวสารต่างๆ ในระหว่างทีน่ กั เรียนด่ืมนม

โรงเรียนเป็นเวลาสัน้ ๆแต่ไดส้ าระความรู้ให้กับนกั เรยี น
4. มอรน์ ิง่ ทอลค์ 08.30 น. – 08.40 น.

- เป็นกจิ กรรมเข้ากล่มุ ให้นกั เรยี นพบครปู ระจำกลุ่ม เพื่อพูดคุยกันในเร่อื งการตรงต่อเวลา
การรบั ผิดชอบในการทำความสะอาด การดำเนนิ กจิ กรรม Zero waste school การแต่งกาย
ตลอดจนการทำความสะอาดของนักเรยี นในกลุ่ม ปรึกษาครูประจำกลมุ่ ตนเองเพื่อแกป้ ัญหา
ช่วยกนั และเป็นการพัฒนารว่ มกันระหว่างครูกับนักเรยี น เป็นการสร้างภมู ิคมุ้ กนั ให้กบั นักเรียน
แตล่ ะกล่มุ และคุณครู ใหเ้ ข้มแขง็ จากปัจจยั ท่จี ะมาทำให้นักเรียนและครูขาดคณุ ธรรม อัตลักษณ์
ของโรงเรยี นในแต่ละหัวข้อ
5. KSB ฟนั สะอาด 08.40 น. – 08.50 น.
- ในช่วงเชา้ ทเี่ ดก็ มาโรงเรียนก็จะรบั ประทานอาหารและขนมมาจากบา้ นหรอื ตามรา้ นค้า ซึง่ หาก
เดก็ ๆรับประทานของหวาน ช็อกโกแลต หรือนำ้ อัดลม กจ็ ะทำใหฟ้ นั ผุ เพราะกว่าจะถึงเวลาแปรง
ฟนั ในตอนบ่าย จึงทำใหเ้ กดิ กิจกรรม ฟนั ดี ไมร่ รี อ ใหน้ ักเรียนทกุ คนทุกชั้นแปรงฟนั ก่อนเขา้ เรียน
ฝึกให้นักเรยี นมีวินัยใสใ่ จตนเอง ฝกึ ความมีเหตุมีผลให้กับนักเรยี น
6. เดนิ แถวแนวใหม่ 11.30 – 11.35 น.
- เป็นการเดนิ แถวมารับประทานอาหารแต่ก่อนนักเรยี นจะเดินไมเ่ ป็นแถวและคุยกนั ในระหว่างมา
รบั ประทานอาหาร จงึ ได้มกี ารเดนิ แถวแนวใหม่ ทนี่ ักเรยี นจะท่องสตู รคูณในระหว่างเดินแถว ทำให้
ผ้เู รยี นเดินแถวอยา่ งเปน็ ระเบียบไม่คุยกนั เป็นการฝึกคุณธรรมอัตลกั ษณ์ ในดา้ นวินัยให้กับผเู้ รียน
7. รคู้ ุณ กตญั ญู 11.55 . – 12.00 น.
- กิจกรรมระลกึ บุญคุณข้าว บญุ คณุ ชาวนา แม่ครวั และผตู้ กั อาหาร ให้นกั เรียนเปน็ คนกตญั ญู รู้คุณ
ทกุ คนทมี่ บี ุญคุณต่อเราต้องรู้จกั ตอบแทน เมื่อมีโอกาส ตลอดจน มารยาท ในการรบั ประทานอาหาร
การจัดการขยะตนเอง (ขยะอินทรยี )์ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ นกั เรียนจะฝึกประมาณอาหารท่จี ะกนิ อ่มิ ไม่
เหลือทิ้ง ไม่อ่ิมควรตักเพ่ิม เป็นฐานฝกึ วินัยในตนเองให้กบั นักเรียนอีกดว้ ย
8. อ่านกอ่ นกลบั 15.40 . – 15.55 น.
- เป็นกิจกรรมเข้ากลมุ่ ทบทวนคำศพั ทพ์ ื้นฐานของแต่ละช้ัน โดยแตล่ ะวนั ก่อนกลบั บา้ นจะเข้ากลมุ่
คณุ ธรรม 4 กลุ่มเดมิ ทค่ี ละชั้น จะกำหนดให้นักเรียนในแตล่ ะกลมุ่ ออกมาอ่านคำพืน้ ฐานกลุ่มละ
1 คน วันละ 1 ชั้น โดยพใี่ นกลมุ่ จะชว่ ยกันฝึกให้น้องอ่าน จากนนั้ ให้ออกมาอ่านดา้ นหน้าแถว
ใหค้ รูเวรประจำวนั ตรวจสอบ เป็นการฝึกท้ังวนิ ยั และความรับผิดชอบให้กับนักเรยี น

รปู 1.0 8 ฐานคนดี KSB โมเดล

บทที่ 4

ผลการใชโ้ มเดล

ผลการดำเนนิ งาน
จากการดำเนินการใช้โมเดลแนวทาง 8 ฐานคนดี KSB โมเดลทำให้เกิดผลดา้ นต่างๆดังต่อไปน้ี

ช่อื ฐาน กจิ กรรมท่ฝี ึก ผลท่ีเกดิ หลักฐาน/
ร่องรอย

ตรงตอ่ เวลาพฒั นา ฝึกวินัยในการมาโรงเรยี นใหต้ รงต่อ ผูบ้ ริหาร/คณะคร/ู นักเรยี น มีวนิ ยั สมดุ ลงเวลา
ชีวิต เวลา
ในการมาโรงเรยี นแต่เชา้ ทำให้ ปฏบิ ตั ริ าชการ

เกิดศรทั ธาจากผู้ปกครอง /ภาพการรับ

นักเรยี น

พพี่ าน้องเพือ่ นพ้อง ฝึกทำความสะอาด ฝกึ ความ นักเรียนมีความรบั ผดิ ชอบในการ เกียรตบิ ตั รจาก
พาทำ รบั ผิดชอบ ทำความสะอาดโรงเรียนและคดั กรมส่งเสรมิ
แยกขยะได้ตามประเภท ไดร้ ับ สิง่ แวดลอ้ ม
รางวลั รองชนะเลิศอนั ดบั 2
ในการประกวด zero waste
school ระดบั จังหวดั บึงกาฬ
ประจำปี 2562

สภานม การให้ความรู้นักเรียนในด้านต่างๆ นกั เรียนเขา้ ใจในกิจกรรมที่คณะ เกียรติบัตรจาก
มอรน์ ่ิงทอล์ค ไมว่ า่ จะเป็นคณุ ธรรม จริยธรรม ครูอบรมในช่วงสภานม เชน่ กรมสง่ เสรมิ
การตา้ นทุจริต หรอื Zero waste กจิ กรรม zero waste school สิง่ แวดลอ้ ม
school ขา่ วสารตา่ งๆ ในระหว่างท่ี จนนำสกู่ ารปฏบิ ตั แิ ละได้รับ
นกั เรยี นด่มื นม รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 2
ในการประกวด zero waste
school ระดบั จังหวดั บงึ กาฬ
ประจำปี 2562

นกั เรยี นพบครูประจำกลมุ่ เพื่อ นกั เรียนไดฝ้ กึ ปฏบิ ัติกิจกรรม เกียรติบัตรจาก
พูดคุยกนั ในเรื่องการตรงต่อเวลา ในชว่ งกจิ กรรมพบครปู ระจำกลมุ่ กรมส่งเสริม
การรบั ผิดชอบในการทำความสะอาด เชน่ กจิ กรรม zero waste ส่งิ แวดลอ้ ม
การดำเนินกจิ กรรม Zero waste school จนนำส่กู ารปฏบิ ตั แิ ละ

school การแตง่ กายตลอดจนการทำ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2
ความสะอาดของนักเรยี นในกลมุ่ ในการประกวด zero waste

school ระดบั จงั หวดั บงึ กาฬ
ประจำปี 2562

KSB ฟันสะอาด ฝึกวินัยและความรบั ผดิ ชอบให้ นักเรียนมสี ุขภาพปากและฟนั ท่ีดี ภาพกจิ กรรม
เดนิ แถวแนวใหม่ นักเรยี นทกุ คนแปรงฟนั ก่อนเขา้ เรยี น ขึน้ จากเดิม
ทัง้ ภาคเชา้ และภาคบา่ ย
รู้คุณ กตญั ญู
ท่องสูตรคูณในระหว่างเดนิ แถว นักเรยี นมีผลเฉล่ยี การทดสอบ รายงานผลการ
ระดบั ชาตใิ นรายวิชาคณติ ศาสตร์ ทดสอบ
ของการสอบ onet และการคิด ระดับชาติ
คำนวณ ของการสอบ nt สงู ข้นึ onet ,nt
เปรยี บเทยี บ ปี
การศกึ ษา
2560 กบั
2561

กจิ กรรมระลึกบุญคณุ ข้าว บุญคุณ นักเรียนรูจ้ ำกลา่ วขอบคุณและ ภาพกจิ กรรม
ชาวนา แม่ครัว และผู้ตกั อาหาร ระลึกบุญคุณผู้อ่นื

อา่ นก่อนกลับ อา่ นคำพนื้ ฐานกลุม่ ละ 1 คน วนั ละ นักเรยี นชัน้ ป.1 มผี ลการทดสอบ รายงานผลการ

1 ชั้น ก่อนกลบั บ้านในแต่ละวนั RT อยู่ในระดบั ดมี าก และผลการ ทดสอบRT

ทดสอบการอ่านเขยี นแต่ละ รายงานผลการ
ประเภทในระบบ e-mes อยู่ใน อา่ นเขยี นจาก
ระดับท่นี ่าพอใจ ระบบ e-mes

บทท่ี 5

ปจั จัยสู่ความสำเรจ็

ปจั จยั สู่ความสำเรจ็

การสร้างความรว่ มมือจากภายในองค์กร ทุกคนมีสว่ นรว่ มในการระดมความคิด ทงั้ ผบู้ ริหาร
คณะครแู ละนักเรียน ตลอดจนทกุ คนท่เี กยี่ วข้องกับโรงเรยี น ท้ังผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
ของโรงเรียน ชุมชน ผ้นู ำชุมชน วัดและผูน้ ำศาสนาทีต่ ระหนกั ถงึ การสร้างเดก็ ใหเ้ ป็นคนดรี ว่ มกันในทุก ๆ พน้ื ที่ท่ี
เดก็ ตอ้ งอยรู่ ว่ มกัน ทำใหก้ ารพฒั นาเกดิ ผลในทางทดี่ ี การต้ังความสำเร็จทวี่ า่ ดีขน้ึ เพยี งนอ้ ยกด็ ีกวา่ ไม่ไดท้ ำอะไร
เลย นักเรยี นดีขนึ้ เพียงหนึง่ คน ก็ถอื วา่ ประสบความสำเรจ็ ทำให้เกิดแนวทางในการพัฒนาท่ีจะนำไปสคู่ วาม
ยง่ั ยืนในอนาคตจากกระบวนการกล่มุ ท่ีรุ่นพี่ถ่ายทอดส่รู ุ่นนอ้ งในกล่มุ ทุก ๆวัน และแนวทางการพัฒนานักเรยี น 8
ฐานคนดี KSB โมเดลก็จะเปน็ แผนท่ีในการนำพานักเรยี นสคู่ นดี มีผลการทดสอบระดบั ตา่ งๆสงู ขึน้ ในแตล่ ะรุ่น
แต่ละปตี ่อๆ ไป

บทเรียนทไ่ี ดร้ ับ
จากการดำเนนิ การ โมเดล 8 ฐานคนดี KSB โมเดล พบวา่ หากการดำเนินการในกิจกรรมตา่ ง ๆ

แลว้ คณะผดู้ ำเนินการมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนต้องรบี หารือกนั ให้กำลังใจกันและกัน ช่ืนชมและพฒั นาร่วมกนั
ในส่วนของการพฒั นานักเรยี นนัน้ ก็ต้องมองถึงความทเ่ี ด็กไม่ใช่ผ้ใู หญ่ย่อสว่ น ทั้งในเรอื่ งการทำงาน ความใส่ใจ ก็
อาจยงั ไมเ่ ทา่ ผู้ใหญ่ อย่าลืมในความเปน็ เดก็ ของนักเรยี นแล้วจะทำให้การดำเนินงานไม่เกิดความท้อถอย ดงั
แนวคดิ จากทางโรงเรียนต้นแบบทีว่ า่ “นักเรียนดีขึ้นคนเดยี ว กถ็ ือวา่ ประสบความสำเร็จ”

การเผยแพร่ / การได้รับการยอมรบั / ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ
1. จากการเผยแพรผ่ ลงานวชิ าการ 8 ฐานคนดี KSB โมเดลทำใหโ้ รงเรียนบา้ นคำสมบูรณ์บึง

เจรญิ ได้รบั การตอบรบั จากโรงเรียนต่างๆเฉลี่ยอยใู่ นระดับ ดี
2. ผอู้ ำนวยการโรงเรียนได้รับการคดั เลือกเปน็ วิทยากรโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ของสำนักงาน

เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ในระหวา่ งท่ีดำรงตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน สังกัด
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ปี 2559-2561

3. จากการดำเนนิ การโครงการ zero waste school ผ่านโมเดล 8 ฐานคนดี KSB โมเดล
ทำให้โรงเรียนบา้ นคำสมบรู ณ์บงึ เจริญได้รับรางวัลรองชนะเลศิ อันดบั 2 ในการประกวด zero waste school
ระดับจังหวดั บงึ กาฬ ประจำปี 2562

4. ผู้บริหารและคณะครูไดส้ อบผ่านหลักสูตรสำหรบั ข้าราชการของเครือขา่ ยสุจรติ ไทย ปี 2562
5. การเผยแพรผ่ ลงานในการประชุมสามญั กลุม่ โรงเรยี นบึงโขงหลง

เง่ือนไขความสำเร็จ

การดำเนินงานตามนโยบายทั้งจากกระทรวงศึกษาธิการ จากสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขั้นพืน้ ฐาน หรือจากทางสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ในความท่เี ปน็ โรงเรียนขนาดเล็ก ขาดแคลนท้ังด้าน
งบประมาณและบคุ ลากร จำเปน็ ต้องหาแนวทางการดำเนินงานให้ได้โดยใชท้ รัพยากรที่มใี ห้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ
โดยเฉพาะทรัพยากรมนุษย์ หากเปดิ ใจและทำให้ทกุ คนทงั้ ครูนักเรยี น ผปู้ กครอง ชุมชน มาตระหนักและเห็น
ความสำคัญรว่ มกนั การขบั เคลอ่ื นงานต่าง ๆ กเ็ ปน็ ไปได้ง่าย การสรา้ งแนวทางการพัฒนาที่ยอมรับร่วมกนั น้ันจะ
เป็นเครอื่ งมือในการวางรากฐานการพฒั นาระยะยาวให้กับโรงเรียน และชุมชนน้นั ๆ ซงึ่ สิ่งท่ไี ด้กล่าวมานีก้ เ็ ป็น
เง่อื นไขความสำเร็จของโรงเรียนบา้ นคำสมบูรณบ์ ึงเจรญิ น่ันเอง


Click to View FlipBook Version