โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวยี ร์คอนแวนต์
วิชาหอ้ งสมุด ม.1
ครปู ริน จินตพยุงกลุ
เรอ่ื ง “การเขยี นรายการอา้ งองิ ”
การเขียนรายการอา้ งอิง...สาคัญอยา่ งไร?
• ระบทุ ่ีมาของสารสนเทศ
• ผ้อู า่ นตรวจสอบ ตดิ ตาม ศึกษาเพิม่ เตมิ จากทม่ี าของข้อมูลได้
• ให้เกียรตผิ ูเ้ ขียนขอ้ มูลซง่ึ เราไดอ้ ่านและศึกษาข้อมูลของเขามา
• สนับสนนุ งานเขียนของเราให้มคี วามนา่ เชอ่ื ถือตอ่ สาธารณะมากข้นึ
การเขียนรายการอา้ งอิง...ต้องใช้ขอ้ มลู อะไรบา้ ง?
• ช่ือผ้เู ขยี น / ศูนยก์ ารแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลยั มหดิ ล
• ปีท่พี มิ พ์ / 2563
• เลขหนา้
ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) ถูกพบครง้ั แรกในปี 1960 แตย่ งั ไมท่ ราบแหล่งทม่ี าอยา่ งชดั เจน เป็น
ไวรสั ท่สี ามารถติดเช้ือไดท้ งั้ ในมนุษยแ์ ละสตั ว์ ปัจจุบันคน้ พบไวรัสสายพันธ์ุนแี้ ล้ว 6 สายพนั ธ์ุ สายพันธุท์ ี่
กาลงั แพร่ระบาดหนกั ทั่วโลกเปน็ สายพันธ์ุที่ยังไมเ่ คยพบมาก่อน คือ สายพันธท์ุ ่ี 7 จงึ ถูกเรยี กว่า “ไวรสั โค
โรนาสายพนั ธุ์ใหม่” ภายหลังต้งั ชือ่ อย่างเป็นทางการว่า “โควดิ -19” (COVID-19)
เขยี นรายการอา้ งองิ ... อย่างไร?
รปู แบบที่ 1
(ชอ่ื ผ้เู ขยี น, ปที พ่ี ิมพส์ ารสนเทศ, หนา้ ที่อ่าน)
รูปแบบท่ี 2
ชื่อผู้เขยี น (ปที ่ีพิมพส์ ารสนเทศ, หน้าทอี่ า่ น)
รายการอา้ งองิ แบบนาม-ปี
วธิ เี ขียน รูปแบบท่ี 1 (นาม=ชอื่ ผู้เขียน, ปีท่พี ิมพ์สารสนเทศ, หนา้ ทอี่ ่าน)
“ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) ถกู พบครงั้ แรกในปี 1960 แตย่ งั ไมท่ ราบแหล่งทีม่ า
อย่างชดั เจน เปน็ ไวรสั ทีส่ ามารถตดิ เชอื้ ได้ทั้งในมนษุ ยแ์ ละสตั ว์ ปัจจบุ นั ค้นพบไวรัส
สายพนั ธุ์นแี้ ลว้ 6 สายพนั ธ์ุ สายพันธุท์ ีก่ าลงั แพรร่ ะบาดหนกั ทว่ั โลกเป็นสายพนั ธท์ุ ย่ี ังไม่
เคยพบมาก่อน คือ สายพันธุ์ท่ี 7 จงึ ถกู เรยี กว่า “ไวรสั โคโรนาสายพันธุ์ใหม่” ภายหลงั
ตงั้ ชือ่ อยา่ งเปน็ ทางการว่า “โควดิ -19” (COVID-19)” (ศูนย์การแพทยก์ าญจนาภเิ ษก
มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, 2563, ออนไลน์)
ใชใ้ นกรณีคัดลอกข้อความมา
รายการอา้ งอิงแบบนาม-ปี
วธิ ีเขยี น
รปู แบบท่ี 2 นาม=ช่อื ผเู้ ขยี น (ปีที่พมิ พ์สารสนเทศ, หน้าที่อา่ น)
ศนู ย์การแพทย์กาญจนาภเิ ษก มหาวิทยาลัยมหดิ ล (2563, ออนไลน์) ไดอ้ ธิบายถึง
ไวรสั โคโรนา ว่า Coronavirus ถูกพบคร้งั แรกในปี 1960 เป็นไวรัสที่สามารถติด
เชอ้ื ไดท้ ัง้ ในมนษุ ย์และสตั ว์ คน้ พบไวรสั สายพนั ธ์ุนี้มาแล้ว 6 สายพนั ธุ์ สายพนั ธุ์ท่กี าลงั
แพร่ระบาดหนักทั่วโลก คอื สายพนั ธุ์ท่ี 7 เรยี กว่า “ไวรัสโคโรนาสายพนั ธุ์ใหม่” และมี
ชอ่ื อยา่ งเป็นทางการวา่ “โควดิ -19” (COVID-19)
ใช้ในกรณีสรุปขอ้ ความใหม่
การอา้ งถงึ ขอ้ มูลทเ่ี ราอา่ น ไมไ่ ด้มเี ฉพาะอ้างองิ นาม-ปี
การรวบรวม “บรรณานุกรม” เป็นการรวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ
เชน่ หนงั สอื บทความ เอกสาร เป็นตน้ ที่เกี่ยวขอ้ งกับหวั ข้อท่เี ราได้
คน้ ควา้ และอา่ นประกอบทง้ั หมด โดยนารายการทัง้ หมดนัน้ มาเขียนแสดง
ไวท้ ีด่ ้านหลงั ของรายงาน
รายการบรรณานุกรม..สอื่ ความหมายถงึ อะไรไดบ้ า้ ง?
• บ่งบอกว่าเรื่องที่ค้นควา้ ไดม้ าจากการศกึ ษาทรพั ยากรสารสนเทศท่ี
หลากหลาย
• สะดวกในการเลอื กใชส้ ารสนเทศที่เหมาะสมกับเร่อื งย่อยๆ ท่ีอยู่ภายใต้
เรอื่ งใหญ่ท่ีกาลังค้นควา้
• เป็นไกดไ์ ลนใ์ ห้ผอู้ า่ นนาไปสสู่ ารสนเทศปฐมภูมอิ ืน่ ๆ ทไี่ ดร้ วบรวม
แหล่งท่ีมาไวท้ ี่รายการบรรณานกุ รมท้ายเล่มรายงาน
วิธเี ขยี นรายการบรรณานุกรม
1. หนังสอื ใหเ้ รียงลาดบั ข้อมูลเกี่ยวกับหนังสอื แตล่ ะเล่มดังนี้
ผ้แู ตง่ . (ปีพมิ พ)์ . ชอ่ื เร่อื ง. คร้ังทพี่ มิ พ.์ สถานท่ีพมิ พ์ : สานักพิมพ.์
ความนา่ เชอ่ื ถือ บอกเนือ้ หาหลัก/ ชื่อจังหวดั
สาระสาคญั กรุงเทพฯ, London
ความทนั สมยั ความนิยมของคน แหลง่ ผลิตหนังสอื
ตัวอยา่ ง
อุดม แต้พานชิ . (2554). ดมได. พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์พร้ินต้งิ แอนดพ์ บั ลชิ ช่ิง.
คึกฤทธ์ิ ปราโมช, ม.ร.ว. (2548). หลายชีวิต. กรุงเทพฯ : ดอกหญา้ .
2. วารสาร ใหเ้ รยี งลาดบั ขอ้ มลู เกย่ี วกบั หนงั สอื แตล่ ะเลม่ ดงั น้ี
ช่ือผเู้ ขียน. (ปที ี่พิมพ)์ . “ช่ือบทความ”. ชอ่ื วารสาร. ปีท,ี่ ฉบับท่ี (เดือน ป)ี : เลขหนา้ .
ตัวอย่าง
ศริ ิลกั ษณ์ สนุ ทโรทก. (2543). “อว้ นไปหรือเปล่า”. คุรปุ ริทศั น์. 18, 6 : 113 -115.
อลั ยา นฤชานนท์. (2540). “ได้อะไรบา้ งจากการอ่านสารคดกี ารทอ่ งเท่ียว”. เท่ยี วรอบโลก.
45, 4 (เมษายน 2540) : 36-40.
3. หนงั สอื พมิ พ์ ให้เรียงลาดบั ขอ้ มูลเก่ยี วกบั หนงั สือแต่ละเลม่ ดังนี้
ช่อื ผ้เู ขียนบทความ.//(ปี,/วัน/เดือน).//“ชือ่ บทความ”.//ช่ือหนังสือพิมพ์.//เลขหน้า.
ตวั อย่าง
จรญู หยทู อง. (2543, 12 กันยายน). “จลาจลทีน่ ครศรธี รรมราชงานน้ไี มม่ ีคนยอม”.
มตชิ น. หน้า 6.
4. Website ให้เรยี งลาดบั ขอ้ มลู เกี่ยวกับหนงั สอื แต่ละเลม่ ดังนี้
ผ้เู ขยี นบทความ.//“ช่อื บทความ”.//[ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : ท่อี ยเู่ ว็บไซต.์
สบื ค้นเมื่อ วนั เดือน ปี.
ตัวอยา่ ง
สรุ ชัย ดียงิ่ . “E-Commerce : ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ ไทย”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้
จาก : http://www.isc.rsu.ac.th/ecommerce1.html. สบื ค้นเมอื่ 3 กรกฎาคม 2555.
รายการบรรณานกุ รม
คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2548). หลายชวี ติ . กรุงเทพฯ : ดอกหญา้ .
จรญู หยูทอง. (2543, 12 กันยายน). “จลาจลท่นี ครศรีธรรมราชงานนไ้ี มม่ คี นยอม”.
มตชิ น. หน้า 6.
ศิริลกั ษณ์ สนุ ทโรทก. (2543). “อว้ นไปหรือเปลา่ ”. ครุ ุปริทศั น์. 18, 6 : 113 -115.
สุรชัย ดยี ิง่ . “E-Commerce : ผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจไทย”. [ออนไลน์].
เข้าถึง ได้จาก : http://www.isc.rsu.ac.th/ecommerce1.html. สืบคน้ เม่ือ
3 กรกฎาคม 2555.
อลั ยา นฤชานนท์. (2540). “ไดอ้ ะไรบ้างจากการอา่ นสารคดีการทอ่ งเทีย่ ว”. เท่ยี ว
รอบโลก. 45, 4 (เมษายน 2540) : 36-40.
อดุ ม แต้พานิช. (2554). ดมได. พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทรพ์ ริน้ ติง้
แอนด์พบั ลชิ ชงิ่ .
สรุป การเขยี นบรรณานกุ รม
• บรรณานกุ รมมีรูปแบบเฉพาะในการเขยี น
• รายการบรรณานกุ รมจะเรียบเรียง
ไว้ท่หี นา้ สุดท้ายของเล่มรายงาน
• บรรณานกุ รมจะเรยี งลาดบั ตามอักษรตวั
แรกของชอ่ื ผูแ้ ตง่ ในภาษาไทยกอ่ น (ก-ฮ)
• ถา้ มีสารสนเทศภาษาต่างประเทศจึงจะเรยี งไว้
ต่อท้ายภาษาไทย ตามลาดบั (A-Z)
จดรายละเอยี ดทางบรรณานกุ รมของสารสนเทศ
หนังสอื ช่อื ผ้แู ต่ง..... ปที ่ีพมิ พ์..... ช่อื หนงั สือ..... ครงั้ ทีพ่ มิ พ์.... สถานท่พี ิมพ์..... สานักพมิ พ์.....
วารสาร ชือ่ ผแู้ ตง่ ... ปที ี่พิมพ์ ... “ชื่อบทความ” ... ช่ือวารสาร ... ปที ่ี, ฉบบั ที่ (เดอื น ปี) : เลขหนา้ ...
หนังสอื พมิ พ์ ชือ่ ผู้เขยี นบทความ... (ป,ี /วนั /เดือน)... “ชอ่ื บทความ”... ช่อื หนังสอื พิมพ์... เลขหนา้ ...
เวบ็ ไซต์ ชอ่ื ผเู้ ขยี นบทความ... “ชือ่ บทความ” ... ท่ีอยู่เว็บไซต์ ... สบื คน้ เมือ่ วนั เดือน ปี ...
ฝึกเขยี นรายการบรรณานุกรม
1. เขา้ เว็บไซต์หอ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลัย
2. สืบคน้ เรือ่ งทีส่ นใจ เช่น อาหาร ออกกาลงั กาย ดนตรี ฯลฯ
3. เลอื กคลิกหนังสือท่ีนกั เรียนสนใจ 5 เล่ม (ผลสบื ค้นจะได้มากกวา่ หนังสือ)
แตใ่ ห้เลือกคลิกเฉพาะหนังสือ
4. จดข้อมูล ผแู้ ตง่ . (ปพี มิ พ)์ . ชอื่ เร่ือง. ครัง้ ทีพ่ ิมพ.์ สถานทีพ่ มิ พ์ :
สานักพิมพ์.
5. เขียนรายการบรรณานุกรม โดยเรียงลาดับ ก-ฮ ตามช่ือผู้แต่ง
ตวั อยา่ ง กนก นามสกุล. (ปีพมิ พ์). ชอ่ื เรื่อง. คร้งั ทพ่ี มิ พ์. สถานทพี่ ิมพ์ : สานกั พมิ พ์.
เนตร นามสกลุ . (ปพี มิ พ์). ชื่อเร่อื ง. สถานท่ีพิมพ์ : สานักพิมพ์.
บวร นามสกลุ . (ปีพมิ พ์). ชื่อเรอื่ ง. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์.
ผไท นามสกลุ . (ปีพมิ พ์). ช่ือเร่ือง. คร้งั ทีพ่ มิ พ์. สถานท่พี มิ พ์ : สานกั พิมพ์.
อมร นามสกลุ . (ปพี มิ พ์). ชอื่ เร่ือง. สถานท่ีพมิ พ์ : สานกั พมิ พ์.
1
พิมพ์คาว่า
“วทิ ย
บริการ
จุฬา”
2
ครปู รนิ จินตพยงุ กลุ
ใสค่ าคน้ ตามความสนใจ เชน่ อาหาร ห่นุ ยนต์ ไมป้ ระดบั ฯลฯ
3
3
ใส่คาค้นตามความสนใจ เช่น อาหาร หนุ่ ยนต์ ไมป้ ระดบั ฯลฯ
4 Click ขอ้ มลู และเขยี นบรรณานกุ รมสง่
ช่อื เรื่อง ผ้แู ต่ง คร้งั ที่พมิ พ์ / สถานท่พี ิมพ์ / สานักพมิ พ์ / ปพี มิ พ์
กจิ กรรม “การเขยี นบรรณานกุ รมจากหนงั สือ”
ให้นักเรียนค้นหาหนังสือในเรื่องทต่ี นเองสนใจจากหอ้ งสมุด 1 แห่ง และเขยี น
บรรณานุกรมหนงั สอื ทส่ี บื ค้นได้ ใหถ้ กู ต้องตามมาตรฐานการเขียนรายการบรรณานุกรม
ชื่อผเู้ ขียน. (ปที ่ีพมิ พ์) ชอื่ หนังสอื . ครง้ั ท่ีพิมพ.์ สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์.
เรือ่ งทีค่ น้ คว้า....................................................................................................
จานวนรายการบรรณานกุ รมที่ต้องการคือ 5 เล่ม