The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารราชทัณฑ์ ฉบับที่ 2-60

The Incheon Bridge and Songdo International Business District

ส�ำหรับแหล่งการเรียนรู้สุดท้าย สะพานอินชอนและเขตเศรษฐกิจนานาชาติซองโด (The Incheon Bridge
and Songdo International Business District) เปน็ อกี แหลง่ การเรยี นรหู้ นึ่งท่ีส�ำคญั ซง่ึ เปน็ หนึ่งในห้าสะพานท่ียาว
ทส่ี ดุ ในเอเชยี และมคี วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งมากตอ่ การเชอ่ื มโยงเศรษฐกจิ ของสาธารณรฐั เกาหลกี บั แผน่ ดนิ ใหญ่ โดยเฉพาะ
เป็นสะพานในการเช่อื มโยง สาธารณปู โภคพน้ื ฐานที่ส�ำคัญของประเทศเพอ่ื รองรบั การขนสง่ และส่งเสริมทางเศรษฐกจิ
ของประเทศท่ีส�ำคัญอีกทางหนึ่ง อีกท้ัง ยังถือว่าเป็นการลงทุนโดยเอกชนทั้งหมดอีกด้วย นอกจากนี้ สะพานแห่งน้ี
ยงั มคี วามนา่ สนใจในทางดา้ นวศิ วกรรมในการใชเ้ ทคโนโลยที ที่ นั สมยั เขา้ มาชว่ ยในการดำ� เนนิ การกอ่ สรา้ งตลอดระยะทาง
ท้ังยังมีความโดดเด่นทางด้านรูปแบบทางสถาปัตยกรรมท่ีมีความทันสมัย รูปทรงสวยงาม ซ่ึงดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มา
เยีย่ มชมและเปน็ สถานทีท่ ่องเที่ยวแห่งใหมข่ องสาธารณรัฐเกาหลีอกี ดว้ ย
จากประสบการณ์และโอกาสในการเรียนรู้ในสาธารณรัฐเกาหลีคร้ังน้ีท�ำให้ผู้เขียนเห็นถึงศักยภาพของ
ประเทศไทยและองค์กร ในหลายมิติซ่ึงสามารถน�ำแนวคิดเหล่านั้นมาประยุกต์และปรับใช้พัฒนากับประเทศไทยและ
องค์กรตามประเด็นทน่ี ่าสนใจตา่ งๆ ดังน้ี

การพัฒนาดา้ นการศึกษา
สาธารณรัฐเกาหลีถือได้ว่าเป็นประเทศที่ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมากส�ำหรับการศึกษา และเป็นแนวทาง
ขน้ั พนื้ ฐานในการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยท์ ย่ี งั่ ยนื โดยมกี ารสง่ เสรมิ ทงั้ การศกึ ษาสายสามญั และสายวชิ าชพี ควบคู่
ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งหากมีการน�ำแนวคิดด้านการศึกษามาปรับใช้กับการพัฒนาพฤตินิสัยให้แก่ผู้ต้องขัง
เพื่อช่วยปรับเปล่ียนพฤติกรรมและเตรียมความพร้อมให้ผู้ต้องขังเหล่านั้นเป็นคนดีสามารถกลับคืนสู่สังคม
แต่อย่างไรก็ตามการศึกษาที่จัดให้ส�ำหรับผู้ต้องขังน้ัน ก็ควรเน้นองค์ความรู้และทักษะทางวิชาชีพท่ีเหมาะสม
ตรงจุดและเกิดประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ต้องขังและตลาดแรงงานเพื่อท่ีผู้ต้องขัง
จะสามารถน�ำองค์ความรู้ดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ภายหลังพ้นโทษได้ทันที อาทิเช่น ความรู้ในทางวิชาชีพหรือ
ความรู้ท่ีเพิ่มพูนทักษะให้แก่ผู้ต้องขังสามารถน�ำไปใช้ต่อยอดหรือทางความคิดหรือเกิดการสร้างสรรค์ผลงาน
ไดด้ ้วยตนเองภายหลังการพ้นโทษ

50 วารสารราชทัณฑ์

การพัฒนาฝีมอื แรงงงาน
ด้านแรงงานวิชาชีพ ถือเป็นอีกด้านหนึ่งท่ีสาธารณรัฐเกาหลีได้ให้ความส�ำคัญ
และพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งควบคกู่ บั การพฒั นาดา้ นการศกึ ษาสายสามญั ซงึ่ การพฒั นา
ด้านฝีมือแรงงานเป็นการช่วยเพิ่มก�ำลังแรงงานที่มีคุณภาพสู่ภาคธุรกิจ โดยมีการ
จดั ตงั้ โรงเรยี นเพอ่ื คดั เลอื กนกั เรยี นทมี่ คี วามเปน็ เลศิ ทางสายอาชวี ศกึ ษาเขา้ ศกึ ษาตอ่
และให้โอกาสในการเรียนรู้และเตรียมพร้อมเข้าเป็นแรงงานท่ีมีคุณภาพตาม
ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน จากแนวคดิ ดงั กลา่ วหากกรมราชทณั ฑม์ กี ารพฒั นา
อย่างต่อเน่ืองในการสร้างแรงงานที่มีคุณภาพภายในเรือนจ�ำตรงตามความต้องการตลาดแรงงาน โดยเฉพาะ
ในด้านหรือสาขาท่ีขาดแคลนและสามารถตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศไทย เช่น สาขา
อิเล็กทรอนกิ สอ์ ุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำ� ลัง เปน็ ตน้ ซึ่งจะเป็นสว่ นส�ำคัญในการช่วยสรา้ งแรงงานท่มี คี ณุ ภาพ
ของประเทศ อกี ทงั้ ยงั ชว่ ยใหผ้ ตู้ อ้ งขงั มงี านรองรบั ภายหลงั พน้ โทษได้ ทส่ี ำ� คญั ยงั จะมสี ว่ นชว่ ยลดอตั รากระทำ� ผดิ ซำ้�
เม่ือผู้ต้องขังได้กลับไปสู่สังคมอีกคร้ัง เนื่องจากผู้ต้องขังมีโอกาสได้งานตามที่ตนเองถนัดและมีรายได้
ในการเล้ียงชีพภายหลังการพ้นโทษและไม่หวนกลับมาก่ออาชญากรรมซ้�ำ นอกจากน้ี การเรียนการสอนควรมี
การน�ำผู้บริหารหรือผู้มีความเช่ียวชาญจากภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในฐานะผู้บรรยายพิเศษ อย่างเช่นใน
สาธารณรัฐเกาหลีเข้ามาบรรยายให้ความรู้ภายในเรือนจ�ำ เพื่อให้เกิดความหลากหลายในเน้ือหา และยังดึงดูด
การเรยี นการสอนใหน้ า่ สนใจ เกดิ การสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหแ้ กผ่ ตู้ อ้ งขงั และชว่ ยแนะแนวทางการพฒั นาศกั ยภาพ
ของผตู้ อ้ งขงั ใหต้ รงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน ซงึ่ จะเปน็ สว่ นสำ� คญั ตอ่ การแนะแนวทางอาชพี และสรา้ ง
ความมนั่ ใจใหแ้ กผ่ ตู้ อ้ งขงั ในอนาคต รวมถงึ เปน็ การสรา้ งคณุ คา่ ในตวั เองใหแ้ กผ่ ตู้ อ้ งขงั ภายหลงั ไดร้ บั การพน้ โทษ
การพัฒนาความร่วมมอื ของทกุ สว่ นอยา่ งเปน็ ระบบ
การรว่ มมอื ของทกุ ภาคสว่ นของประเทศนบั เปน็ สง่ิ สำ� คญั ในการพฒั นาประเทศ ซง่ึ รวมถงึ ความรว่ มมอื ของ
หลายฝา่ ยทจ่ี ะเขา้ มามสี ว่ นสำ� คญั ในการชว่ ยเหลอื พฒั นาระบบการเตรยี มความพรอ้ มใหแ้ กผ่ ตู้ อ้ งขงั ซงึ่ การดำ� เนนิ งาน
ควรมสี ว่ นรว่ มจากทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชน อยา่ งเชน่ ในสาธารณรฐั เกาหลที ม่ี กี ารพฒั นาระบบตา่ งๆ จากการรว่ มมอื
ทีม่ ีประสิทธิภาพระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนาดา้ นต่างๆ ของประเทศ ซึ่งการชว่ ยเหลอื ผ้ตู ้องขงั
ควรมกี ารพฒั นาความรว่ มมอื ทงั้ ในภาครฐั รว่ มกบั ภาคเอกชนใหด้ ำ� เนนิ การอยา่ งเปน็ ระบบ โดยทกุ ภาคสว่ นจำ� เปน็
ต้องเข้าใจถึงแนวทางและระบบของกรมราชทัณฑ์ในการช่วยเหลือเตรียมความพร้อม พัฒนาพฤตินิสัยให้แก่
ผตู้ อ้ งขงั เชน่ ในกรณกี ารเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นปลอ่ ย จำ� เปน็ ตอ้ งรว่ มมอื กนั จากทกุ ภาคสว่ นในการวางแผนงาน
พฒั นาชว่ ยเหลอื ผตู้ อ้ งขงั อยา่ งเปน็ ระบบตง้ั แตแ่ รกเขา้ จนภายหลงั พน้ โทษ อาทิ การดแู ลการใหค้ วามรแู้ ละพฒั นา
ทกั ษะตา่ งๆ วา่ หนว่ ยงานจะมสี ว่ นรบั ผดิ ชอบและดำ� เนนิ การในแตล่ ะขนั้ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ และเกดิ ความตอ่ เนอ่ื ง
ในการด�ำเนินงานของระบบเพ่ือการพัฒนาพฤตินิสัยให้แก่ผู้ต้องขังสามารถกลับคืนสู่สังคมอีกคร้ัง เช่น
การมอบหมายกระบวนการพัฒนาพฤตินิสัยให้แก่ผู้ต้องขังให้เป็นหน้าท่ีความรับผิดชอบของกรมราชทัณฑ์
ในขณะที่มอบหมายให้ภาคเอกชนหรือหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องท�ำหน้าที่รับช่วงต่อในการดูแลอดีตผู้ต้องขัง
ให้มคี วามพรอ้ มและสามารถใช้ชวี ิตได้อย่างแทจ้ ริงภายหลังการพน้ โทษ ทั้งน้จี ำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารแลกเปลีย่ นข้อมูล
ระหวา่ งหนว่ ยงานในการชว่ ยเหลอื และดแู ลอดตี ผตู้ อ้ งขงั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมมกี ารทำ� งานเปน็ ระบบของทกุ ภาคสว่ น
อยา่ งทแ่ี ทจ้ ริง

วารสารราชทัณฑ์ 51

การพฒั นาการสรา้ งสรรค์ในผลติ ภัณฑผ์ ้ตู ้องขัง
การสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ถือเป็นความโดดเด่นของการพัฒนาในสาธารณรัฐเกาหลี
ซงึ่ ความโดดเดน่ ดงั กลา่ วสามารถนำ� มาประยกุ ตก์ บั แนวคดิ ในการสง่ เสรมิ ผลงานผลติ ภณั ฑฝ์ มี อื ผตู้ อ้ งขงั ใหม้ คี วาม
โดดเดน่ เปลยี่ นแปลงไปตามยคุ สมยั ทสี่ ำ� คญั ควรเปน็ ทต่ี อ้ งการของตลาดในการจดั จำ� หนา่ ย เนอ่ื งจากในปจั จบุ นั
สินค้าราชทัณฑ์ยังคงมีรูปแบบที่ไม่มีการปรับเปล่ียนจากเดิมมากนัก ซึ่งหากมีการปรับแนวทางการส่งเสริม
ผลติ ภณั ฑผ์ ตู้ อ้ งขงั จากรปู แบบเดมิ สผู่ ลติ ภณั ฑเ์ ชงิ สรา้ งสรรค์ มคี วามโดดเดน่ แตกตา่ งจากผลติ ภณั ฑท์ หี่ าไดต้ าม
ทอ้ งตลาด และมรี ปู แบบผลติ ภณั ฑเ์ ชงิ สรา้ งสรรค์ กจ็ ะมสี ว่ นสำ� คญั ในการชว่ ยสง่ เสรมิ การจดั จำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑ์
จากฝีมือผู้ต้องขังให้ได้ตรงตามความต้องการของตลาดสินค้าและตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้เป็น
อยา่ งมาก ซง่ึ จะเปน็ แนวทางใหเ้ กดิ การพฒั นาในหลายๆ ดา้ นไมเ่ พยี งแตท่ กั ษะการฝกึ วชิ าชพี ผตู้ อ้ งขงั แตย่ งั เปน็
โอกาสและช่องทางในการหารายได้ของผู้ต้องขังผู้ที่มีความประสงค์จะด�ำเนินธุรกิจหรือน�ำความคิดไปต่อยอด
ทางธรุ กิจของตนภายหลงั พ้นโทษตอ่ ไป
การต่อเน่ืองของนโยบายเพือ่ การพัฒนาทย่ี ั่งยนื
นโยบายที่ต่อเน่ืองถือว่าเปน็ อกี สงิ่ หนึ่งทีส่ ำ� คัญท่ที �ำให้สาธารณรัฐเกาหลี เกิดการพฒั นาอย่างก้าวกระโดด
อยา่ งเชน่ ทกุ วนั น้ี แมว้ า่ หากเกดิ การเปลย่ี นแปลงดา้ นตา่ งๆ ทกุ ภาคสว่ นยงั คงสามารถดำ� เนนิ การตอ่ ไปตามกรอบ
แนวนโยบายเดิมท่ีวางไว้ โดยเป็นส่ิงท่ีหลายๆ ประเทศชั้นน�ำของโลกได้ด�ำเนินการตามนโยบายเหล่าน้ัน
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง หากการทำ� งานของภาครฐั ในประเทศไทยมคี วามตอ่ เนอ่ื งของนโยบายแลว้ ไมว่ า่ จะดำ� เนนิ โครงการใดๆ
ท้ังในระดับประเทศจนถึงระดับกรมอย่างกรมราชทัณฑ์แล้ว ย่อมจะมีส่วน
ส�ำคัญในการผลักดันให้การด�ำเนินงานในภาครัฐรวมถึงงานราชทัณฑ์นั้น
สามารถเกิดการพัฒนาได้อย่างเต็มรูปแบบและเป็นรูปธรรมได้อย่างเป็นระบบ
เกดิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ซงึ่ สามารถนำ� มาปรบั ประยกุ ตใ์ ชใ้ นทกุ ๆ ระดบั
อยา่ งเชน่ หากเรอื นจำ� และทัณฑสถานมีแผนหรือนโยบายรวมถึงโครงการดๆี แล้ว
ก็ควรด�ำเนินการต่อเนื่องตามแผนนโยบายเหล่าน้ัน และควรด�ำเนินการให้ส�ำเร็จ
เสร็จส้ินเพ่ือท่ีจะได้เห็นถึงผลของการด�ำเนินการตามนโยบายต่างๆ เหล่านั้น
วา่ มผี ลลพั ธเ์ ปน็ เชน่ ไร ซงึ่ จะชว่ ยกอ่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพทงั้ ในดา้ นการควบคมุ และพฒั นา
พฤตินิสัยผู้ต้องขังอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการสร้างความม่ันใจแก่สังคมในการท่ีจะด�ำเนินการ
พัฒนางานราชทณั ฑ์ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกิดความยง่ั ยืนต่อไป
ซ่ึงมุมมองดังกล่าวเหล่านี้เป็นเพียงมุมมองของผู้เขียนท่ีได้น�ำความรู้ท่ีได้จาก
ประสบการณก์ ารเรยี นรใู้ นครง้ั นม้ี าประยกุ ตใ์ ชบ้ รบิ ทของงานราชทณั ฑ์ และแบง่ ปนั ประสบการณ์
เรอ่ื งราวดๆี ผา่ นบทความในวารสารฉบบั นี้ ซง่ึ เชอื่ ไดว้ า่ ผอู้ า่ นทา่ นอนื่ ยงั มมี มุ มองดๆี ในดา้ นอน่ื ๆ
ร่วมกันท่ีจะได้มีส่วนในการน�ำมาแลกเปล่ียนเรียนรู้สู่การพัฒนาระบบงานราชทัณฑ์ของ
กรมราชทณั ฑข์ องเราตอ่ ไป

52 วารสารราชทัณฑ์

สรุปสาระส�ำคญั ของการสมั มนา

เรอื่ งระบบราชการ 4.0 และ PMQA 4.0

เอื้องพร ตรีทอง
กลมุ่ งานคมุ้ ครองจริยธรรมกรมราชทณั ฑ์

การยกระดับหนว่ ยงานภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0

WEF (World Economic Forums) ไดจ้ ดั ใหไ้ ทยเปน็ ประเทศในกลุ่มทเ่ี นน้ การท�ำงานหนักเพอื่ ใหไ้ ด้ ผลผลติ
โดยทิศทางของประเทศไทยแล้ว ต้องการท่ีจะมุ่งสู่การเป็นประเทศที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม ในการสร้างให้เกิด
Value ท่ีมากขนึ้ ซึ่งในสว่ นของภาครัฐ จ�ำเปน็ อยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะต้องมกี ารปรับตัวด้วย เพ่อื ใหส้ ามารถรองรับความตอ้ งการ
ของประชาชนทมี่ ากข้นึ
ค�ำถามท่ีเกิดข้ึนเสมอก็คือ ระบบ 4.0 ในส่วนราชการมีไว้เพ่ืออะไร ค�ำตอบก็คือเพ่ือสร้างให้เกิด Value กับ
ประชาชน คือ การท�ำใหป้ ระชาชนมีชวี ิตความเป็นอยทู่ ี่ดขี น้ึ

ดงั นัน้ ส่ิงทรี่ ฐั จะตอ้ งทำ� เพ่ือให้เกดิ Value ดงั กลา่ ว

1) การเปิดตัวเอง ท�ำงานร่วมกับภาคต่างๆ ทั้งภาคเอกชน และภาคสังคม ตัวอย่างของด้านการศึกษาท่ี
ภาคเอกชนไดเ้ ขา้ มาชว่ ยบรหิ ารโรงเรยี นทม่ี ปี ญั หาให้ หรอื การทเี่ อกชนรวมตวั กนั เขา้ มาชว่ ยบรหิ ารจดั การ เชน่ ขอนแกน่
พัฒนา รวมไปถงึ การเปิดขอ้ มลู ใหเ้ อกชนสามารถ เข้าถึงไดโ้ ดยสะดวก
2) การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบโจทย์ความต้องการของประชาชน เปล่ียนจากการรอให้ประชาชน
มายนื่ คำ� ขอรบั อนญุ าตจากทางราชการ เปน็ การนำ� เสนอใหก้ บั ประชาชนโดยไมต่ อ้ งรอใหร้ อ้ งขอ โดยวเิ คราะหจ์ ากขอ้ มลู
ต่างๆ ท่ีทางราชการได้เก็บรวบรวมไว้ เช่น กรณีศึกษาของสรรพากร ที่ต่อไปจะสามารถแจ้งประชาชนได้เลยว่าต้อง
ชำ� ระภาษเี ทา่ ไหร่ โดยไม่ต้องกรอกขอ้ มลู ทกุ ปี เพราะสรรพากรจะรวบรวมข้อมลู ตา่ งๆ มาวิเคราะห์ใหไ้ ด้ทันที
3) การปรับตัวใหส้ ่วนราชการมสี มรรถนะสูงและมีความทันสมัย

วารสารราชทัณฑ์ 53

นั่นคือท่มี าของแนวคดิ เรื่อง ระบบราชการ 4.0 ดงั แสดงในรปู

ระบบราชการ 4.0

ยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เพอื่ ประโยชน์สขุ ของประชาชน

(Better Governance, Happier CitiZens)

ภาครัฐท่ีเปิดกว้าง
และเชือ่ มโยงกัน

Open and Connected
Government

Collaboration ภาครัฐต้องเปน็ ท่พี งึ่ Innovation
ของประชาชนและ
ภาครัฐ เชอ่ื ถือไว้วางใจได้ ภาครัฐท่ีมี
ท่ียึดประชาชน ขีดสมรรถนะสูง
เป็นศุนยก์ ลาง Credible & Trusted
Government Smart and High
Citizen-Centric Performance
Government Digitization Government

ระบบราชการ 4.0 จะเป็นการบริหารจัดการท่ียึดหลักธรรมาภิบาลเพ่ือ
ประโยชน์สุขของประชาชน และรองรับยุทธศาสตร์ของประเทศไทย 4.0 ให้สามารถ
เป็นที่เชื่อถือไว้วางใจ และเป็นท่ีพึ่งของประชาชน โดยอย่างแท้จริง (Credible and
Trusted Government)
ค�ำถามต่อมาคือจะใช้วิธีการอะไรท่ีจะท�ำให้หน่วยงานต่างๆ สามารถ
เปลี่ยนแปลงตัวเองไปในทิศทางดังกล่าวได้ จะมีเครื่องมืออะไรที่จะสามารถใช้ในการ
ประเมินส่วนราชการถึงระดับความพร้อมที่จะมุ่งสู่การเป็นองค์การ 4.0 ที่มุ่งสู่ระบบ
ราชการ 4.0 ซึ่งเป็นที่มาของการน�ำเกณฑ์ PMQA หรือเกณฑ์คุณภาพ การบริหาร
จดั การภาครฐั มาพฒั นาตอ่ ยอดเปน็ PMQA 4.0 เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการประเมนิ และ
พัฒนาส่วนราชการต่อไป
54 วารสารราชทัณฑ์

เคร่ืองมือในการยกระดับหนว่ ยงานภาครฐั ส่รู ะบบราชการ 4.0

จากประเด็นส�ำคัญของระบบราชการ 4.0 น�ำมาสู่การก�ำหนดเป็นคุณลักษณะส�ำคัญ
10 ประการของระบบราชการ 4.0 ประกอบด้วย

1) ท�ำงานอยา่ งเปิดเผย โปรง่ ใส เออ้ื ใหบ้ คุ คลภายนอก และประชาชนเขา้ ถึงขอ้ มูลได้
2) ทำ� งานเชงิ รกุ แกไ้ ขปญั หา สร้างคณุ คา่ และตอบสนองความต้องการของประชาชน
3) แบ่งปันข้อมูลระหว่างหน่วยงาน เช่ือมโยงการท�ำงานซึ่งกันอย่างเป็นเอกภาพเบ็ดเสร็จ

ในจุดเดยี ว
4) ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการบรหิ ารจดั การ มฐี านขอ้ มลู ทท่ี นั สมยั เพอื่ สนบั สนนุ การวางแผน

ยทุ ธศาสตร์ และการตดั สินใจในการท�ำงาน
5) ปรับรูปแบบการท�ำงานให้คล่องตัว รองรับการประสานงานแนวระนาบและในลักษณะ

เครอื ข่าย
6) ทำ� งานอยา่ งเตรยี มการไวล้ ว่ งหนา้ ตอบสนองตอ่ สถานการณท์ นั เวลา มกี ารวเิ คราะหค์ วามเสย่ี งทง้ั ในระดบั

องคก์ ารและในระดับปฏบิ ตั กิ าร
7) เปิดกวา้ งให้ภาคส่วนอนื่ เข้ามามีสว่ นร่วม ถา่ ยโอนภารกจิ ไปด�ำเนนิ การแทนได้
8) ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม ความคิดริเริ่ม และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการท�ำงานที่ทันต่อการ

เปลีย่ นแปลง
9) บคุ ลากรทุกระดบั พรอ้ มรับการเปลยี่ นแปลงตวั เอง สูอ่ งค์การทีม่ คี วามทนั สมัยและมงุ่ เน้นผลงานทดี่ ี
10) ให้ความส�ำคัญกับบุคลากร ดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพสูง พัฒนาอย่างเหมาะสมตามบทบาทหน้าท่ี

สร้างความผกู พนั สรา้ งแรงจูงใจ มีแผนเชิงรกุ รองรบั การเปล่ียนแปลงดา้ นบุคลากร
ส�ำหรับ PMQA ท่ีส่วนราชการด�ำเนินการอยู่ในปัจจุบัน จะเป็นเกณฑ์บูรณาการ ท่ีเน้นการด�ำเนินการ
อย่างเป็นระบบมปี ระสิทธผิ ล (Efective Systematic) มุ่งเนน้ ผลลพั ธ์ทต่ี อบโจทยค์ วามตอ้ งการของประชาชน และผูม้ ี
สว่ นได้ส่วนเสยี รวมถึงเนน้ การปรบั ปรงุ พัฒนาใหไ้ ด้ผลลพั ธท์ ด่ี อี ย่างต่อเน่อื ง
ในขณะที่ PMQA 4.0 จะยดึ เป้าหมายของการพัฒนาไปส่รู าชการ 4.0 ท่คี �ำนงึ ถึงความทา้ ทายทั้งส่วนราชการ
และการพฒั นาประเทศ และยดึ ความส�ำเร็จ 3 ด้านของราชการ 4.0
กลา่ วโดยสรปุ แลว้ PMQA 4.0 จะเปน็ เครอื่ งมอื การประเมนิ ระบบการบรหิ ารของสว่ นราชการในเชงิ บรู ณาการ
เพื่อเช่ือมโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกับเป้าหมายและทิศทางการพัฒนาของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็น
แนวทางใหห้ น่วยงานภาครัฐพัฒนาไปสรู่ ะบบราชการ 4.0

ความเชอื่ มโยง PMQA กับระบบราชการ 4.0

เมือ่ พิจารณาจากหมวดตา่ งๆ ของ PMQA (เดิม) กับระบบราชการ 4.0 จะพบว่าในแตล่ ะปัจจยั ความสาํ เร็จ
จะมีความเชอื่ มโยงกบั ประเด็นสาํ คัญในหมวดต่างๆ ของ PMQA ด้วย
1) การเปิดกว้าง
ผู้น�ำต้องเป็นต้นแบบ มีความโปร่งใส (หมวด 1) มีความคิดแบบเป้าประสงค์เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ประเทศ
มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ (หมวด 2) ข้อมูลต้องดี เปิดเผย เข้าดูได้สะดวก และเป็นที่สนใจ มีความคล่องตัว
ในการใช้ข้อมูล (หมวด 4) มีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการท�ำงานข้ามหน่วยงาน เช่น Doing
Business การปราบปรามทจุ ริต รวมถงึ การทำ� งานในระบบเปดิ (หมวด 6)

วารสารราชทัณฑ์ 55

2) ประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลาง
เปลี่ยนเป็น Demand driven รู้ว่าประชาชนต้องการอะไร มีการออกแบบท่ีเฉพาะตัวได้ การออกแบบ
ใหบ้ รกิ ารเชงิ นวตั กรรม (หมวด 3) และประเด็นอ่นื ๆ ในหมวด 5 หมวด 6 และหมวด 7
3) สมรรถนะสงู
ท�ำงานสอดคล้องไปในทางเดียวกัน และมอบอ�ำนาจในการตัดสินใจ การสร้างคนในรุ่นต่อไป (หมวด 1)
ความร่วมมอื เชิงยทุ ธศาสตร์ (หมวด 2) และประเดน็ อืน่ ๆ ในหมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 และหมวด 7

เกณฑ์ PMQA 4.0 และระดับการพัฒนา

ในแต่ละประเด็นของเกณฑ์ PMQA 4.0 จะแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ระดับที่ 1 Basic (A&D) มีการจัดการ
อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิผล (มีประสิทธิผล หมายถึงการ น�ำไปใช้ และมีการวัดผล มีการปรับปรุง) ระดับที่ 2
Advance (Alignment) มีการเชื่อมโยงกับทิศทางประเทศ และนโยบายระดับบน ระดับที่ 3 Significance
(Integration) ส่งผลลพั ธท์ ด่ี ตี ่อประชาชน
ส�ำหรับการอธิบายเกณฑ์ในแต่ละหมวด แต่ละข้อ และแต่ละระดับการพัฒนา สามารถติดตามได้ในเอกสาร
การบรรยายประเมินตนเองตอ่ ไป

PMQA 4.0 กับ PMQA เดมิ

มอี ีกคำ� ถามหนึ่งที่ส�ำคญั คอื เม่ือมี PMQA 4.0 แล้ว PMQA แบบเดมิ
จะยังมีอยหู่ รอื ไม่
PMQA 4.0 ไม่ได้มาทดแทน PMQA เดมิ แตอ่ ยา่ งใด แต่จะเปน็ ทางเลือก
ของสว่ นราชการ โดยจะเปน็ กรอบการประเมนิ ตนเอง เพอื่ พจิ ารณาวา่ สว่ นราชการ
&PMQA 4.0 มีความพร้อมในการมุ่งสู่ระบบราชการ 4.0 มาก น้อยเพียงใด ท้ังนี้ถ้าหากส่วน
ราชการได้ประเมินตนเองแล้ว และเห็นว่ามีพัฒนาการท่ีดี ก็สามารถขอรับการ
PMQA เดิม ประเมนิ เพื่อรบั รางวัลเหมอื นกับการประเมิน PMQA เดิมไดด้ ้วย

โดยการประเมนิ PMQA 4.0 จะแบง่ ออกเป็น 3 ระดับตามระดับการพฒั นา นั่นคือ ระดบั Basic จะ เทยี บ
เท่าคะแนน 300 คะแนน ซึ่งส่วนราชการท่ีผ่านการประเมินในระดับน้ี จะได้รับ Certificate PMQA ระดับ FL
Version 2 และประกาศเกยี รตคิ ณุ รบั รองสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 ระดบั Basic
ส่วนระดับท่ีสองคือระดับ Advance จะเทียบเทา่ กบั คะแนน 400 คะแนน และระดบั Significance จะ
เทยี บเท่ากับคะแนน 500 คะแนน ซ่ึงส่วนราชการท่ผี า่ นการประเมินในระดบั Advance และระดับ Significance
นีจ้ ะได้รบั รางวลั PMQA ระดับดีเด่น (ซงึ่ ปัจจบุ ันมหี นว่ ยงานเดยี วท่ไี ด้รับรางวลั นจี้ าก ระบบการประเมิน PMQA
เดิม) และประกาศเกียรติคุณรับรองสถานะเป็นระบบราชการ 4.0 ระดับ Advance และระดับ Significance
ตามลำ� ดับ
แต่ถ้าส่วนราชการไหน ยังไม่พร้อมหรือยังไม่ต้องการประเมินตาม PMQA 4.0 ก็ยังสามารถพัฒนาและ
ประเมนิ ตามแนวทาง PMQA เดิมตอ่ ได้ ต้ังแตร่ ะดับ Certified FL version 2.0 (275 คะแนน) รางวลั PMQA
รายหมวด (300 คะแนน) รางวลั PMQA ระดบั ดเี ดน่ (400 คะแนน) และ รางวลั PMQA ระดบั ดี เลศิ (650 คะแนน)

56 วารสารราชทัณฑ์

ทอ้ แทไ้ ด้ แตอ่ ยา่ ท้อถอย

กรรณิกา ปาใข
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนนั ทา
ชวี ติ ของมนษุ ยก์ เ็ ปรยี บเหมอื นกบั เหรยี ญ ทมี่ สี องดา้ นคอื หวั และ กอ้ ย ซงึ่ ชวี ติ ของคนกย็ อ่ มมสี องดา้ นเชน่ กนั
คือมีทั้งดา้ นดีและดา้ นไม่ดี ดา้ นมดื และดา้ นสว่าง ไม่มใี ครขาวหมดจด และไม่มีใครท่ีดำ� มดื ตลอดเวลา ในบางคร้งั ชวี ติ
อยใู่ นจดุ ทสี่ งู สดุ จดุ ทห่ี ลายคนตอ้ งการจะอยจู่ ดุ นนั้ และบางครงั้ คนเรากต็ กอยใู่ นจดุ ทม่ี ดื มน แตก่ ารทจ่ี ะออกมาจากตรง
นนั้ ไดย้ อ่ มมโี อกาสเสมอ บางคนใชเ้ วลาเพยี งไมน่ านกส็ ามารถออกมาจากจดุ นน้ั ได้ บางคนอยนู่ านถงึ ครงึ่ ชวี ติ จงึ จะออก
มาได้ แต่สำ� หรบั บางคนแมใ้ ชท้ ั้งชวี ติ ของเขากไ็ ม่สามารถออกมาได้
การท่ีคนเราตกอยู่ในจุดที่มืดมน และแย่ท่ีสุดน้ัน ล้วนแล้วแต่มาจากความส้ินหวัง จากสิ่งท่ีหวังไว้แล้วไม่เป็น
ไปตามหวัง ทำ� ให้ความหวังท่ีมีตอ้ งกลายเป็นศูนยแ์ ละสลายไป ผทู้ ท่ี อ้ แท้พึงบอกตวั เองเสมอว่า

“อยา่ คิดว่าสญู เสียแลว้ ชวี ิตจะตอ้ งเปน็ ศนู ย์
เรานบั หนง่ึ ใหม่ไดเ้ สมอหากเราคิดจะนับซะอยา่ ง”

ถา้ หากส่งิ ทีเ่ ราคาดหวังไม่เป็นดง่ั หวงั ถา้ สงิ่ ท่เี ราพยายามทมุ่ เทสุดแรงกายแรงใจ ไมป่ ระสบผลส�ำเร็จ ถ้าสิ่งท่ี
ไม่เคยคาดคิดมาก่อนว่าจะเกิดข้ึนมันก็เกิดข้ึน และได้สร้างความบอบช�้ำจนท�ำให้เราต้องจมอยู่กับความทุกข์เราก�ำลัง
ก้าวสู่ “ชวี ติ ทเ่ี ปน็ จรงิ ” แล้ว เพราะความเป็นจริงของชีวิต จะสอนใหเ้ รารจู้ กั ยอมรับความพ่ายแพ้ สอนใหเ้ รารจู้ ักสูญ
เสียน�้ำตา เพ่ือที่จะได้รอยยิ้มคืนกลับมาเป็นรางวัลตอบแทน แต่มันก็ไม่เคยทำ� ให้ใครหมดส้ินความหวัง หมดสิ้นพลัง
และกำ� ลงั ใจไปกบั ความพา่ ยแพ้ เพียงแคค่ วามเป็นจริงสอนใหพ้ วกเราทกุ คนร้วู ่า

วารสารราชทัณฑ์ 57

อย่าเพียรสรา้ งความหวงั แต่ใหเ้ ชื่อมั่นในความหวงั
เพราะความเช่อื มนั่ จะน�าพาเราไปพบกับ
“หนทางสคู่ วามส�าเร็จ”
แมว้ ่าจะตอ้ งฝา่ ฟ˜นอะไรอกี มากมายกว่าจะถึงวันนน้ั
แมว้ า่ จะตอ้ งล้มลงอีกสกั กี่ครงั้
แมว้ า่ จะตอ้ งผิดหวงั อย่างแรงอีกสักกห่ี นกต็ าม

การปลอ่ ยใหช้ ีวิตผดิ พลาดเสียบ้าง ปล่อยใหค้ วามคาดหวงั ไดเ้ จอกบั ความผดิ หวัง ปลอ่ ยให้ความฝนั กลายเป็น
ฝันคา้ งลอยกลางอากาศ ปลอ่ ยใหอ้ ะไรจะเกดิ กใ็ หม้ นั เกิด แม้ว่าเกดิ ข้ึนแลว้ จะเลวร้ายกบั ชวี ิตกต็ ามทีเพราะทุกๆ อยา่ ง
ที่เกิดข้ึน จะช่วยสอนและช่วยเป็นบทเรียนอันล�้าค่าให้แก่ชีวิต ท่ีหาที่ไหนไม่ได้อีกแล้วบนโลกใบนี้คุณบอย โกสิยพงศ์
เคยใหส้ มั ภาษณก์ บั นติ ยสารเลม่ หนงึ่ เขาพดู ใหแ้ งค่ ดิ ทดี่ เี กย่ี วกบั การเปลยี่ นแปลง ซง่ึ มนั อาจจะสรา้ งบาดแผลใหก้ บั ใคร
หลายๆ คน มาบอ่ ยครัง้ คุณบอยพูดไว้วา่ ...

“ไมม่ อี ะไรท่ีอยู่กบั เราตลอดชีวิต ทุกอย่างมันกร็ อเวลาจากเราไปทั้งนนั้
เชอ่ื ว่าถ้าชวี ติ คนเราไม่ยึดติด ไมต่ อ้ งแขวนชวี ิตไวก้ ับความคาดหวัง

เวลาท่เี ราสูญเสีย หรือเวลาทเ่ี ราตอ้ งเจอกับความล้มเหลว
เราคงมีภูมติ า้ นทานมากพอทจี่ ะเอาไวต้ อ่ สู้กับความท้อแท้
อย่าคดิ วา่ สญู เสียแลว้ ชวี ติ จะต้องเป็นศนู ย์ เพราะวา่ เรานบั หน่งึ ใหม่ไดเ้ สมอ
หากเราคิดที่จะนบั ซะอย่าง ไม่มอี ะไรบนโลกที่น่ากลัว และไม่จา� เป็นต้องกลัว

กบั ความเป็นจรงิ ของชีวติ ”

58 วารสารราชทัณฑ

“มพี บก็ตอ้ งมจี าก มีไดก้ ต็ อ้ งมีเสีย และมสี ุขก็ตอ้ งมีทุกข์เปน็ สจั ธรรม”

เม่ือไรท่ีเราได้รู้จักสัมผัส และได้เรียนรู้กับชีวิตทั้งสองด้าน เม่ือน้ันเราจะไม่รู้สึกเสียดายหากเราได้มีโอกาสล้ม
ทั้งยนื แต่เราจะเสียใจไปตลอดชวี ติ หากเราไม่สามารถก้าวข้ามความลม้ เหลวทีผ่ ่านเขา้ มาไดม้ ีคนเคยบอกเอาไว้ว่า...

การตั้งความหวัง คือการเสยี่ งกับความเจบ็ ปวด
การพยายาม คือการเสยี่ งกับความลม้ เหลว
แต่ยังไงก็ต้องเส่ียง เพราะในส่ิงท่อี นั ตรายทสี่ ุดในชวี ติ ก็คือ

การไมเ่ สี่ยงอะไรเลย

“ลม้ ” ลงสกั ก่ีครั้ง ผิดหวังมาสกั ก่หี น ลกุ ขนึ้ ยืนให้ได้ แลว้ สักวันเราจะเจอความสุข เพราะความสุขไม่ได้หนีจาก
เราไปไหนหรอก มันอยู่ใกล้เราแค่เพียงเอ้ือมมือจริงๆ ถ้าหากเราไม่ได้ไปตัดสินว่า โลกมันควรเป็นอย่างท่ีเราอยากให้
เป็น และไม่ไดต้ ั้งกฎเกณฑใ์ หก้ บั ตวั เองมากจนเกินไป เวลาคิดหรือท�าอะไรสักอยา่ งแล้วมีข้อบงั คบั มีกรอบ และสร้าง
มโนภาพความสา� เร็จไวล้ ว่ งหน้า เมอ่ื อะไรๆ ไม่เป็นไปตามกฎของเรา เรากท็ ุกข์ เราก็เสยี ใจ และเราก็ใจเสียเอาไดง้ า่ ยๆ
ดังท่ี มารต์ ินลูเทอร์คงิ จูเนยี ร์ (Martin Luther King Jr.) เคยกล่าวไวว้ ่า

วารสารราชทัณฑ 59

การทีเ่ ราได้ลม้ ลง “ถา้ คุณบินไม่ได้กจ็ งวง่ิ
ถ้าคณุ วิง่ ไม่ไดก้ ็จงเดิน
ถา้ คุณเดนิ ไม่ไดก้ จ็ งคลาน
ไม่วา่ คุณจะท�ำอะไรกต็ าม

คณุ ต้องกา้ วตอ่ ไปข้างหน้าให้ได”้

หลายคนเคยบอกไวว้ า่ สง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั คณุ ไมใ่ ชส่ ง่ิ ทจ่ี ะกำ� หนดความสขุ ของคณุ แตม่ นั เปน็ ความคดิ ของคณุ เอง
ต่างหากความคิดท่ีมีต่อสิ่งท่ีได้เกิดขึ้นกับคุณน่ันwเองจะสุขหรือจะทุกข์ก็ขึ้นอยู่ท่ีเราทั้งนั้นเป็นคนก�ำหนด ล้มท้ังยืน
เสยี บา้ งก็คงไม่เสยี หายอะไร แตล่ ้มไมเ่ ป็นเลยน่ีสนิ ่าเสียดายกวา่ หลายเทา่ การทค่ี นเราจะท้อแทม้ ันเป็นเรือ่ งทส่ี ามารถ
เกดิ ขน้ึ ไดก้ บั ทกุ คน แตค่ นทที่ อ้ แทแ้ ลว้ ไมท่ อ้ ถอยคอื คนทชี่ นะแลว้ อยา่ งนอ้ ยกช็ นะใจตวั เอง และเปน็ ธรรมดาทช่ี ว่ งหนง่ึ
ของชีวติ ทีเ่ ราจะรู้สกึ แยแ่ ต่ขออย่าทอ้ แท้ เพราะคงไมม่ ใี ครทจ่ี ะแพไ้ ดท้ กุ วัน

แหลง่ อา้ งองิ เนื้อหา
https://hilight.kapook.com/view/51855
แหล่งอ้างอิง ภาพ
http://www.dmc.tv/page_print.php?p=บทความให้ก�ำลงั ใจ/บทความให้ก�ำลงั ใจ-ตอนท-ี่ 4.html
https://health.campus-star.com/app/uploads/2018/06/friend2.jpg
http://jadiberita.com/wp-content/uploads/2017/10/daisy-1-768x384.jpg
https://pantip.com/topic/35684070

60 วารสารราชทัณฑ์

สรปุ ย่อค�ำวนิ จิ ฉัย

พ.ร.บ. ข้อมลู ข่าวสารของราชการ
พ.ศ. 2540

วีระเชษฐ์ จรรยากลู

ส�ำนกั งานปลัดสำ� นักนายกรัฐมนตรี

ด้วย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
แจ้งว่าส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี
โดยส�ำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของ
ราชการ ไดจ้ ดั ทำ� เอกสารเผยแพรค่ วามรเู้ กย่ี วกับ
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
พ.ศ. 2540 เชน่ สรปุ ยอ่ คำ� วนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการ
วนิ จิ ฉยั การเปดิ เผยขอ้ มลู ขา่ วสาร สรปุ ขอ้ รอ้ งเรยี น
ของคณะอนกุ รรมการพิจารณาและให้ความเห็น
เรอ่ื งรอ้ งเรยี น สรปุ ขอ้ หารอื ของคณะอนกุ รรมการ
ตอบข้อหารือ ตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของ
ราชการ เป็นต้น และส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายก
รฐั มนตรพี ิจารณาแล้วเหน็ วา่ เอกสารเผยแพร่ดังกลา่ วขา้ งต้น จะเป็นประโยชนเ์ พ่ือนำ� ไปใชป้ ระกอบการปฏิบตั หิ น้าท่ี
ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่างๆ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ต่อไป
จึงขอความอนเุ คราะหใ์ นการเผยแพร่ สรุปย่อค�ำวินจิ ฉัยและบทความ จำ� นวน 2 เร่อื ง ทางส่อื ตา่ งๆ ของหน่วยงานน้ี
เพือ่ สง่ ให้ส่วนราชการในการกำ� กบั ดแู ลต่อไป
กองบรรณาธกิ ารวารสารราชทณั ฑพ์ จิ ารณาแลว้ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ประโยชนใ์ นการนำ� ไปใชป้ ระกอบการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี
ในการเปิดเผยขอ้ มลู ข่าวสารตา่ งๆ ใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญัตขิ อ้ มลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 จงึ ได้น�ำสรุป
ย่อคำ� วินิจฉยั และบทความ จำ� นวน 2 เรือ่ ง ดงั กลา่ ว เผยแพร่ในวารสารราชทณั ฑ์ รายละเอยี ดดังนี้

วารสารราชทัณฑ์ 61

บทความ อ. 34/2560

ผมเสียเท่าคนอ่ืนไหม

กเ็ ปน็ เรอื่ งของความขอ้ งใจสงสยั วา่ ธรุ กจิ แบบเดยี วกนั คลา้ ยกนั ถกู เรยี กเกบ็ ภาษเี ทา่ กนั หรอื ไม่ ถา้ เทา่ กนั
ดว้ ยหลกั เกณฑ์เดียวกัน ก็ไม่ไดว้ ่าอะไร
นายกจิ การเปน็ เจา้ ของสนามกอล์ฟและรสี อร์ททนี่ ่าอยูแ่ ห่งหน่ึง ไดข้ อรายชื่อผปู้ ระกอบการ โรงแรม รีสอร์ท
และร้านอาหารที่เสียภาษีตามกฎหมายในเขตอ�ำเภอเขาค้อและอ�ำเภอหล่มเก่า แต่สรรพากรพื้นท่ีเพชรบูรณ์ปฏิเสธ
การเปิดเผยด้วยเหตุผลว่า ถ้าเปิดเผยจะเป็นการรุกล้�ำสิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร และเป็นข้อมูลท่ีมีผู้ให้มา
โดยไม่ประสงค์ให้น�ำไปเปิดเผยต่อผู้อื่น ตามมาตรา 15 (5) และ (5) จึงต้องห้ามมิให้เปิดเผยตามมาตรา 10
แห่งประมวลรัษฎากร นายกจิ การจงึ มีหนังสอื ไปอุทธรณต์ ่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ในการพจิ ารณาของคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ฯ สำ� นกั งานสรรพากรพนื้ ทเ่ี พชรบรู ณม์ หี นงั สอื สง่ เอกสารตามอทุ ธรณ์
ได้แก่ รายช่ือผู้ประกอบการโรงแรม รีสอร์ท และร้านอาหารท่ีเสียภาษีในพ้ืนที่อ�ำเภอเขาค้อ จ�ำนวน 496 ราย และ
อ�ำเภอหล่มเก่า จ�ำนวน 86 ราย ให้คณะกรรมการวินิจฉัยฯ เพื่อประกอบการพิจารณา และได้ชี้แจงร่วมกับผู้แทน
กรมสรรพากรสรปุ ไดว้ า่ นายกจิ การไดข้ อขอ้ มลู ขา่ วสารดงั กลา่ วเพอื่ ตอ้ งการทราบวา่ กรมสรรพากรจดั เกบ็ ภาษมี ที งั้ หมดกร่ี าย
ตามเก็บจากผู้ประกอบการครบถ้วนทุกรายหรือไม่ ซึ่งส�ำนักงานสรรพากรพ้ืนที่เพชรบูรณ์ได้รวบรวมข้อมูลที่ได้
จากการส�ำรวจผู้เสียภาษี ข้อมูลผู้เสียภาษี และยังได้ส�ำรวจผู้ประกอบการประเภทกิจการที่พักแรมและบริการ
ด้านอาหาร เพื่อน�ำเข้าระบบภาษีอากรต่อไป แล้วจัดท�ำข้อมูลรายช่ือผู้ประกอบการต่อไป ส่วนข้อมูลข่าวสารตามท่ี
นายกิจการมีค�ำขอน้ัน พิจารณาเห็นว่าเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล จึงได้มีหนังสือแจ้งปฏิเสธพร้อมเหตุผล
ตามทีไ่ ด้แจ้งแล้ว
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารพิจารณาแล้วเห็นว่า รายชื่อผู้ประกอบการ โรงแรม รีสอร์ท
และร้านอาหารที่เสียภาษีในพื้นที่อ�ำเภอเขาค้อ และอ�ำเภอหล่มเก่า เป็นข้อมูลข่าวสารการปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ตามปกติของหน่วยงานของรัฐ แม้การเปิดเผยรายช่ือดังกล่าวจะท�ำให้ทราบว่าผู้มีรายช่ือเป็นผู้ประกอบกิจการท่ีต้อง
เสยี ภาษีประเภทใด แตก่ เ็ ป็นหนา้ ทขี่ องบุคคลและนติ บิ ุคคลผูม้ ีรายไดท้ ต่ี ้องเสยี ภาษีอย่แู ลว้ กรณีนน้ี ายกิจการต้องการ
ขอเพียงรายชื่อผู้ประกอบการ การเปิดเผยจึงไม่เป็นการรุกล�้ำสิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร แต่ตรงข้ามการเปิดเผย
จะแสดงให้เห็นความถูกต้องโปร่งใส เปิดโอกาสให้มีการตรวจสอบการจัดเก็บภาษีของหน่วยงานของรัฐ รวมทั้งการ
เสียภาษีของผู้ประกอบการได้ จึงให้สรรพากรพื้นที่เพชรบูรณ์เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตามค�ำขอพร้อมรับรองส�ำเนา
ถูกตอ้ งให้นายกิจการ
เรอ่ื งนเ้ี ปน็ เรอ่ื งการรักษาสิทธขิ องตัวเอง และความสบายใจท่ีไดเ้ ห็นความโปร่งใสในการปฏิบัติงานตามหนา้ ที่
ของหนว่ ยงานครบั อาจเกดิ กบั ใครกไ็ ด้ หากตอ้ งการเอกสารราชการไปใชค้ มุ้ ครองสทิ ธขิ องตนเองแลว้ ไมไ่ ด้ ขอใหน้ กึ ถงึ
คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการครับ เพราะ “เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น” ติดต่อได้ที่
0 2283 4678 หรอื www.oic.go.th (ท่ี สค 181/2560)

62 วารสารราชทัณฑ์

บทความ อ. 35/2560

เปดิ หมดครับ

เรื่องน้ีก็เป็นเร่ืองส�ำคัญอีกเรื่องหน่ึงครับ เกิดจากการนับเวลาการด�ำรงต�ำแหน่งผิดพลาด
ซ่งึ อาจมหี นว่ ยงานอ่นื อกี งานการเจา้ หนา้ ทก่ี ล็ องตรวจสอบดกู ันครับ
เร่ืองนี้นายขาวเป็นนิติกรช�ำนาญการ ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพะเยา ได้รับแต่งต้ังให้ด�ำรง
ต�ำแหนง่ นีต้ งั้ แตว่ ันท่ี 29 เมษายน พ.ศ. 2551 แต่ต่อมา อ.ก.ค.ศ. วิสามญั เกีย่ วกบั ต�ำแหน่งบุคลากรทางการศกึ ษาอ่นื
ตรวจพบว่า นายขาวมีระยะเวลาขั้นต่�ำในการด�ำรงต�ำแหน่งในสายงานท่ีจะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคล และระดับ
ตำ� แหนง่ ทจ่ี ะแตง่ ตงั้ ไมค่ รบ 5 ปี จงึ มมี ตใิ หส้ ำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพะเยา แกไ้ ขคำ� สง่ั แตง่ ตง้ั นายขาว
จากเดมิ วนั ท่ี 29 เมษายน พ.ศ. 2551 เป็นได้ไม่กอ่ นวนั ท่ี 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553 นายขาวจงึ มหี นงั สอื ถงึ ส�ำนักงาน
ก.ค.ศ. เพอ่ื ขอขอ้ มลู ขา่ วสารเกย่ี วกบั รายงานการประชมุ และลายมอื ชอื่ คณะกรรมการ ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ รวม 2 รายการ
คอื 1) ส�ำเนารายงานการประชุม ก.ค.ศ. หรอื อ.ก.ค.ศ. ท่ีทำ� หน้าทีแ่ ทน ก.ค.ศ. ทเี่ ก่ยี วข้องกบั มติ 2) ส�ำเนาลายมอื ชอื่
คณะกรรมการหรอื อนกุ รรมการทเ่ี ขา้ รว่ มประชมุ ทง้ั หมด แตส่ ำ� นกั งาน ก.ค.ศ. มหี นงั สอื แจง้ อนญุ าตใหถ้ า่ ยสำ� เนารายงาน
การประชุม อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับต�ำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน คร้ังท่ี 6/2558 เม่ือวันท่ี 26 มิถุนายน
พ.ศ. 2558 เร่ืองท่ี 4.3 ท่ีเก่ียวข้องกับนายขาว แต่ไม่อนุญาตให้ส�ำเนาลายมือช่ือคณะกรรมการหรืออนุกรรมการ
ท่ีเข้าร่วมประชุมท้ังหมด เน่ืองจากอาจเกิดอันตรายต่อความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใดตามมาตรา 15 (4)
นายขาวจึงมหี นังสืออทุ ธรณต์ ่อคณะกรรมการวินจิ ฉัยการเปิดเผยขอ้ มูลข่าวสาร
ในการพิจารณาของคณะกรรมการฯ ส�ำนักงาน ก.ค.ศ. มีหนังสือชี้แจงว่า ได้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารบางส่วน
ใหน้ ายขาวแลว้ แตท่ ่ีไม่เปดิ เผยก็เปน็ ไปตามเหตผุ ลทแ่ี จง้ แลว้ เชน่ กนั
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารพิจารณาแล้วเห็นว่า ข้อมูลข่าวสารที่ปกปิดคือ รายชื่อของ
ผู้มาประชุม รายช่ือของผู้ไม่มาประชุม เวลาท่ีเริ่มประชุม และเลิกประชุม เป็นข้อมูลข่าวสารการปฏิบัติงานตามปกติ
ของหน่วยงาน การเปิดเผยเป็นการเปิดโอกาสให้มีการตรวจสอบและแสดงความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ
ซงึ่ เปดิ เผยได้ จงึ ใหส้ ำ� นกั งาน ก.ค.ศ. เปดิ เผยขอ้ มลู ขา่ วสารทยี่ งั ปกปดิ อยพู่ รอ้ มทง้ั ใหส้ ำ� เนาทม่ี คี ำ� รบั รองถกู ตอ้ งใหน้ ายขาว
การจะปฏิเสธโดยอ้างเหตุผลตามมาตรา 15 (4) นั้น ต้องค�ำนึงสถานะต�ำแหน่งของผู้ขอด้วยครับ เช่น
เปน็ ผมู้ บี ารมี มอี ทิ ธพิ ล เปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชาทใ่ี หค้ ณุ ใหโ้ ทษได้ และเนอื้ หาสาระของเรอ่ื งทขี่ อดว้ ย เชน่ เรอ่ื งทถี่ กู รอ้ งเรยี น
เร่ืองที่มีพยานให้ถ้อยค�ำ เร่ืองสอบสวน เรื่องชาวบ้านร้องเรียนผู้ประกอบการที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนร�ำคาญ
ประมาณนี้ มขี อ้ สงสยั การปฏบิ ตั หิ รอื การใชส้ ทิ ธติ ามพระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 ขอใหน้ กึ ถงึ
คณะกรรมการขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการครบั ตดิ ตอ่ เพมิ่ เตมิ ไดท้ ี่ 0 2283 4678 หรอื www.oic.go.th ( ท่ี สค 95/2560)

วารสารราชทัณฑ์ 63

บทความ อ. 38/2560

อยากไปเท่ียวอกี ไหม

เรื่องน้ีเคยเกิดข้ึนมาแล้วครับ ยกคณะกันไปศึกษาดูงานเก่ียวกับกิจการสภา แต่มีภาพมีหลักฐานว่า
ไปดูฟุตบอลพรีเมียร์ลีกเป็นของแถมด้วย ส่ือมวลชนจึงขอส�ำเนาหลักฐานโครงการ เสียช่ือเชียวครับ เงินภาษี
ประชาชนครับ ใชแ้ บบคมุ้ ค่าหน่อย
นายไกไ่ ดไ้ ปเหน็ ภาพถา่ ยเซลฟท่ี ค่ี ณะผบู้ รหิ ารและพนกั งานของเทศบาลไปถา่ ยคกู่ บั สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วสวยงามตา่ งๆ
จึงได้มีหนังสือขอส�ำเนาข้อมูลข่าวสารรายชื่อคณะผู้บริหารหรือพนักงานเทศบาลผู้ได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชา
ใหเ้ ดินทางไปราชการเพอ่ื ไปศกึ ษาดงู านตา่ งประเทศ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2548 – 2559 แตเ่ ทศบาลมีหนังสือแจง้ ปฏเิ สธ
การเปดิ เผยโดยให้เหตุผลว่า เปน็ การขอข้อมูลขา่ วสารจำ� นวนมาก และขอข้อมลู ยอ้ นหลงั ไปกว่า 10 ปี เป็นภาระเกิน
สมควรทเ่ี ทศบาลจะตอ้ งจดั เจา้ หนา้ ทไ่ี ปจดั ทำ� วเิ คราะห์ จำ� แนก และรวบรวม จงึ ไมอ่ นญุ าตใหน้ ายไกถ่ า่ ยสำ� เนาเอกสาร
ตามท่ีมีค�ำขอ นายไก่แกก็คุ้นๆ อยู่ว่า เอกสารราชการจะต้องเก็บไว้อย่างน้อย 10 ปี จึงจะท�ำลายได้ เมื่อไม่ให้ดู
ชักจะอย่างไรเสยี แลว้ จงึ มีหนังสอื อุทธรณต์ อ่ คณะกรรมการวนิ ิจฉยั การเปดิ เผยขอ้ มลู ข่าวสาร
ในการพิจารณาของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร เทศบาลได้มีหนังสือส่งเอกสาร
เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาและชแี้ จงตอ่ คณะกรรมการฯ ไป 3 ฉบบั โดยสง่ สำ� เนารายชอื่ ผไู้ ดร้ บั อนญุ าตใหไ้ ปศกึ ษาดงู าน
ต่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2556 – 2557 ส่วนในปี พ.ศ. 2558 แจ้งว่าไม่มีคณะผู้บริหารหรือพนักงานเทศบาลผู้ใด
ไดร้ บั อนญุ าตใหเ้ ดนิ ทางไปศกึ ษาดงู านตา่ งประเทศ และสำ� หรบั ในปี พ.ศ. 2548 - 2555 ไดม้ บี นั ทกึ รายงานหวั หนา้ ฝา่ ย
อ�ำนวยการว่า จากการตรวจสอบไม่พบเอกสารหรือค�ำส่ัง ในการเดินทางไปต่างประเทศแต่อย่างใด เทศบาลชี้แจง
คณะกรรมการวินิจฉยั ฯ ไป 3 ประเด็นนคี้ รับ
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารพิจารณาแล้วเห็นว่า รายชื่อคณะผู้บริหารหรือ
พนกั งานเทศบาล ผไู้ ดร้ บั อนญุ าตจากผบู้ งั คบั บญั ชาใหเ้ ดนิ ทางไปราชการเพอ่ื ไปศกึ ษาดงู านตา่ งประเทศ ในปี พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2559 ทเี่ ทศบาลสง่ ไปให้คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ฯ พจิ ารณาน้นั เป็นขอ้ มลู ขา่ วสารในการปฏบิ ตั ิ
ราชการตามปกติของหน่วยงานของรัฐ ไม่มีตรงไหนที่เปิดเผยไม่ได้ตามมาตรา 15 ส่วนรายช่ือไปดูงานต่างประเทศ
ในปี พ.ศ. 2548 - 2555 ท่ีแจ้งว่าไม่พบเอกสารหรือค�ำส่ังเดินทางไปราชการ และในปี พ.ศ. 2558 ที่ช้ีแจงว่าไม่มี
ผบู้ รหิ ารหรอื พนกั งานเทศบาลผใู้ ดไดร้ บั อนญุ าตจากผบู้ งั คบั บญั ชาใหเ้ ดนิ ทางไปราชการเพอื่ ไปศกึ ษาดงู านตา่ งประเทศนนั้
เปน็ กรณที ห่ี นว่ ยงานของรฐั แจง้ วา่ ไมม่ ขี อ้ มลู ขา่ วสารตามทม่ี คี ำ� ขออยใู่ นความครอบครอง หากนายไกไ่ มเ่ ชอ่ื วา่ เปน็ ความจรงิ
กใ็ ช้สทิ ธริ อ้ งเรียนให้คณะกรรมการขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ เพอื่ ขอใหต้ รวจสอบได้ตามมาตรา 33 ดังนน้ั จึงวนิ ิจฉัย
ให้เทศบาลเปิดเผยรายชือ่ คณะผู้บริหารหรอื พนักงานเทศบาล ผู้ได้รบั อนญุ าตจากผ้บู ังคบั บัญชาให้เดินทางไปราชการ
เพื่อไปศึกษาดูงานต่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2556 - 2557 และ พ.ศ. 2559 พรอ้ มส�ำเนาถกู ตอ้ งให้นายไก่
การเดินทางไปราชการเพ่ือไปศึกษาดูงานต่างประเทศ เป็นการใช้งบประมาณของประเทศและเงินภาษี
ของประชาชน จึงควรใช้อย่างประหยัด และกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง ท่ีส�ำคัญต้องเปิดเผยให้ประชาชน
เข้าตรวจสอบได้ มีข้อสงสัยติดต่อหารือได้ท่ีส�ำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ส�ำนักงานปลัดส�ำนัก
นายกรฐั มนตรี 0 2283 4678 หรือ www.oic.go.th

“เปดิ เผยเป็นหลกั ปกปิดเปน็ ข้อยกเวน้ ”
(สค 217/2560)

64 วารสารราชทัณฑ์

บทความวชิ าการ

ป˜จจยั ทีม่ ผี ลต่อการน�ายทุ ธศาสตร์
พัฒนาพฤตนิ ิสัยไปปฏบิ ัติ

นักศกึ ษาผู้บัญชาการเรอื นจ�า (นผบ.)
ร่นุ ท่ี 31 กลมุ่ ที่ 3

กรมราชทัณฑ์มียุทธศาสตร์ด้านการพัฒนา
พฤตินิสัยตามแผนปฏิบัติราชการกรมราชทัณฑ์ 4 ปี
(พ.ศ. 2559 - 2562) ในประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2
พัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง เพื่อคืนคนดีสู่สังคมเป็น
แนวทางในการดา� เนนิ งานของเรอื นจา� และทณั ฑสถาน

ปัจจุบันกรมราชทัณฑ์ มีผู้ต้องขังในการ
ควบคมุ จา� นวน 360,000 คน มเี รอื นจา� และทณั ฑสถาน
ทรี่ องรบั การดแู ลผตู้ อ้ งขงั จา� นวน 134 แหง่ แตม่ พี นื้ ที่
ท่ีสามารถรองรับผู้ต้องขังไว้ในการควบคุมเพียง
120,000 คน สภาวะดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการ
พัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง อีกทั้งปัญหาจากสภาพของเรือนจ�าที่มีอายุการใช้งานมานาน โดยเฉลี่ยมีอายุการใช้งาน
ถงึ 50 ปขี ้ึนไป มจี า� นวนมากถงึ 87 แห่ง สภาพภายในเรอื นจ�าไม่สอดคล้องในการบรหิ ารจัดการกับแผนยุทธศาสตร์

เพื่อให้การด�าเนินการพัฒนาพฤตินิสัยของกรมราชทัณฑ์ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่มีการเปล่ียนแปลง
ไมว่ า่ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง และเทคโนโลยี รวมถงึ การตอบสนองความคาดหวงั สงั คมทมี่ ตี อ่ การดา� เนนิ งานของ
กรมราชทัณฑ์ รวมถึงยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ภายใต้การขับเคล่ือนโดยพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 เพ่ือให้ประเทศมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน ซึ่งเน้นการพัฒนาให้คนไทยมีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรม
ตามบรรทดั ฐานทด่ี ี เปน็ พลเมอื งทตี่ น่ื รปู้ รบั ตวั เทา่ ทนั สถานการณ์ และรบั ผดิ ชอบตอ่ ประโยชนส์ ว่ นรวม รวมถงึ เปา้ หมาย
ที่ 16 การสง่ เสรมิ สงั คมทสี่ งบสขุ และครอบคลมุ เพอื่ การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ใหท้ กุ คนเขา้ ถงึ ความยตุ ธิ รรม และสรา้ งสถาบนั
ทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ลรบั ผดิ ชอบและครอบคลมุ ทกุ ระดบั ตลอดจนนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ทเี่ นน้ การพฒั นาทนุ มนษุ ย์ (Human
Capital) ดังน้ัน เพ่ือการด�าเนินงานด้านพัฒนาพฤตินิสัยของกรมราชทัณฑ์บรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ของ
แผนปฏิบัตกิ ารกรมราชทณั ฑ์ 4 ปี (พ.ศ. 2559-2562) จึงมคี วามจา� เป็นต้องศกึ ษาปัจจัยทม่ี ผี ลต่อการน�ายทุ ธศาสตร์
พฒั นาพฤตนิ ิสัยไปปฏบิ ัติ

การศึกษาวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาไว้ 2 ประการ กล่าวคือ ประการแรก เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มี
ผลตอ่ การนา� ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาพฤตนิ สิ ยั ไปปฏบิ ตั ขิ องเจา้ หนา้ ทที่ ป่ี ฏบิ ตั งิ านในเรอื นจา� และทณั ฑสถาน และประการที่ 2
เพอื่ ศกึ ษาถงึ ปญั หาและอปุ สรรคตอ่ การนา� ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาพฤตนิ สิ ยั ไปปฏบิ ตั ใิ นเรอื นจา� และทณั ฑสถาน โดยกา� หนด
วิธกี ารศกึ ษา คือ การสัมภาษณ์เชงิ ลกึ เจ้าหน้าทีท่ ่ีปฏิบัติงานในเรอื นจา� และทณั ฑสถาน จ�านวน 5 แหง่

วารสารราชทัณฑ 65

จากการศึกษาวิจัย ปัจจัยที่ส่งผลต่อการน�ำ
ยุทธศาสตร์พัฒนาพฤตินิสัยพบว่า ความชัดเจนของ
ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาพฤตนิ สิ ยั เพอื่ คนื คนดสี สู่ งั คม ไดก้ ำ� หนด
เรอื่ งเปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ คอื คนื คนดที ม่ี คี ณุ คา่ กลบั
สสู่ งั คม และกำ� หนดเรอื่ งกลยทุ ธห์ ลกั ในการดำ� เนนิ งาน คอื
การพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ของผตู้ อ้ งขงั ฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ อ้ งขงั
ตามความเหมาะสม การจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์
ที่เหมาะสม โดยก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงาน คือ
การจัดการศึกษา พัฒนาจิตใจ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริม
การใชศ้ กั ยภาพของผตู้ อ้ งขงั พรอ้ มทง้ั การจดั สวสั ดกิ ารและ
ใหก้ ารสงเคราะหท์ เ่ี หมาะสม โดยการกำ� หนดตวั ชว้ี ดั ตา่ งๆ มคี วามชดั เจนทท่ี ำ� ใหเ้ จา้ หนา้ ทส่ี ามารถเขา้ ใจและเหน็ ดว้ ยได้
รวมท้ังมีส่วนร่วมในยุทธศาสตร์พัฒนาพฤตินิสัย แต่อย่างไรก็ตามการก�ำหนดกลยุทธ์ไว้อย่างกว้างๆ ตามหลักการ
ทางวิชาการเพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั โครงการพัฒนาผตู้ อ้ งขงั ตามศักยภาพของแต่ละเรอื นจำ� และทณั ฑสถาน ประกอบกบั
ความแตกต่างในบริบทของแต่ละเรือนจ�ำและทัณฑสถาน ท้ังในเรื่องของจ�ำนวนผู้ต้องขัง ลักษณะผู้ต้องขัง สถานท่ี
ความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ รวมทั้งศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานท่ีแตกต่างกัน อีกท้ังเจ้าหน้าท่ีส่วนใหญ่ยังคงให้ความ
สำ� คญั กบั การควบคุมผูต้ ้องขงั เป็นหลักจึงเป็นผลให้ความชัดเจนของยุทธศาสตรไ์ มม่ ีผลตอ่ การน�ำยทุ ธศาสตรไ์ ปปฏิบตั ิ
ความพอเพียงของทรัพยากรในหน่วยงานท้ังในด้านงบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ พบว่า งบประมาณ
มคี วามเพยี งพอตอ่ การดำ� เนนิ งานตามยทุ ธศาสตรไ์ ปปฏบิ ตั ิ โดยใชง้ บประมาณทไ่ี ดร้ บั จากการจดั สรรจากกรมราชทณั ฑ์
และเงินนอกงบประมาณของเรือนจ�ำและทัณฑสถาน ที่ได้จากผลพลอยได้ผลผลิตของผู้ต้องขังท�ำให้ทางเรือนจ�ำและ
ทณั ฑสถาน สามารถบรหิ ารจดั การเงนิ ทง้ั สองสว่ นในการพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ของผตู อ้ งขงั ได้ สว่ นทางดา้ นบคุ ลากรทปี่ ฏบิ ตั งิ าน
นั้นไม่เพียงพอ มีความจ�ำเป็นที่จะต้องเพิ่มบุคลากรอย่างยิ่ง เน่ืองจากปริมาณงานและจ�ำนวนผู้ต้องขังเพ่ิมมากขึ้น
และบคุ ลากรหน่ึงคนปฏิบตั งิ านหลายหนา้ ที่ ท�ำใหไ้ มส่ ามารถดูแลและพัฒนาต่อยอดความคิดในการท�ำงานเพ่อื พฒั นา
พฤตนิ สิ ยั ไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ สำ� หรบั ทางดา้ นวสั ดอุ ปุ กรณท์ ใี่ ชอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั มคี วามเหมาะสมนอ้ ย เพราะไมท่ นั สมยั
และอยใู่ นสภาพทช่ี ำ� รดุ เปน็ จำ� นวนมาก รวมตลอดถงึ หลกั สตู รทใี่ ชใ้ นการพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ทมี่ คี วามสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะ
ของการกระท�ำความผิด สาเหตุของการกระทําความผิด โดยเฉพาะโปรแกรมชุมชนบําบัดที่เป็นการแก้ไขบําบัดฟื้นฟู
ปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด และการอบรมตามลักษณะคดีที่มีสาเหตุการกระทําความผิดอย่างอ่ืนยังไม่ครอบคลุม
ทุกลักษณะของการกระทําความผิด ความเพียงพอของทรัพยากรในหน่วยงานมีผลต่อการนํายุทธศาสตร์พัฒนา
พฤตนิ ิสัยไปปฏิบตั ิ
ความรคู้ วามสามารถและทศั นคตขิ องผนู้ าํ นโยบายไปปฏบิ ตั ิ เจา้ หนา้ ทขี่ องเรอื นจาํ และทณั ฑสถาน เปน็ ปจั จยั
สําคัญอย่างย่ิงต่อการนํายุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ โดยหากเจ้าหน้าท่ีมีความรู้ความสามารถ และทัศนคติท่ีดีเก่ียวกับ
การพฒั นาพฤตนิ ิสยั ยอ่ มสง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลในการปฏบิ ัตติ ามนโยบายหรือยทุ ธศาสตร์ แตใ่ นทาง
ความเป็นจริง เจ้าหน้าที่ยังขาดความรู้ความสามารถในหลักสูตรท่ีใช้ในการฝึกอบรม จึงมีการเชิญหน่วยงานภายนอก
มาเป็นวิทยากรอบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาพฤตินิสัยให้กับผู้ต้องขัง ซ่ึงวิทยากรจากหน่วยงานภายนอกอาจไม่เข้าใจถึง
สภาพและลกั ษณะของผ้ตู ้องขงั ทาํ ให้การพฒั นาพฤตินิสยั ไม่เกิดประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลมากนกั
66 วารสารราชทัณฑ์

สภาพแวดลอ้ มภายนอกหนว่ ยงาน ทางเรอื นจาํ และทณั ฑสถาน
ได้รับความร่วมมืออย่างดีจากหน่วยงานภายนอก
โดยความรว่ มมอื ดงั กลา่ วเปน็ ปจั จยั สาํ คญั อยา่ งยง่ิ ในการนาํ
นโยบายหรอื ยทุ ธศาสตรไ์ ปปฏบิ ตั ิ ทง้ั การสนบั สนนุ ในเรอื่ ง
วทิ ยากร และการจา้ งงาน สว่ นทางดา้ นครอบครวั นน้ั แมจ้ ะ
ไดร้ บั ความรว่ มมอื ไมเ่ ตม็ ที่ ขน้ึ อยกู่ บั ความเขา้ ใจและสภาพ
สังคมเศรษฐกิจของแต่ละครอบครัว ส่วนที่สําคัญท่ีสุด
ในการส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ของการนาํ ความรู้ท่ีได้จากการอบรมเพ่ือพัฒนาพฤตินิสัย
ไปปฏิบัติคือ สังคม เน่ืองจากหากสังคมให้การยอมรับ

ผู้ต้องขังที่พ้นโทษออกไป ท้ังส่งเสริมในการประกอบอาชีพและการอาศัยอยู่ร่วมกันในสังคม จึงทําให้โอกาสในการ
กระทําความผิดซ�้ำของผู้พ้นโทษน้อยลง และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงาน เรือนจําและทัณฑสถาน
มผี ลตอ่ การนํายุทธศาสตรไ์ ปปฏบิ ัติ
ด้านจิตใจและทัศนคติของผู้ต้องขัง พบว่า อิทธิพลของสังคมหรือกลุ่มของผู้ต้องขังในเรือนจํามีอิทธิพลและ
เป็นอุปสรรคในการพัฒนาพฤตินิสัยอย่างมาก แต่จากการพัฒนาพฤตินิสัยท่ีทางเรือนจําและทัณฑสถาน จัดให้น้ัน
ผตู้ อ้ งขงั มที ศั นคตทิ ด่ี ตี อ่ การฝกึ วชิ าชพี และมคี วามพงึ พอใจตอ่ หลกั สตู รทไ่ี ดร้ บั การฝกึ วชิ าชพี และเมอ่ื ผตู้ อ้ งขงั พน้ โทษแลว้
สามารถนาํ ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการพฒั นาไปใชไ้ ด้ ซง่ึ ปจั จยั ดา้ นจติ ใจและทศั นคตขิ องผตู้ อ้ งขงั มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การนาํ ยทุ ธศาสตร์
ไปปฏบิ ัติโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งต่อประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลของการนำ� ยุทธศาสตร์ไปปฏิบตั ิ
จากผลการศึกษา สรุปได้ว่า ปัจจัยด้านความเพียงพอของทรัพยากรในหน่วยงาน ปัจจัยด้านความรู้
ความสามารถและทศั นคตขิ องผนู้ าํ นโยบายไปปฏบิ ตั ิ ปจั จยั ดา้ นสภาพแวดลอ้ มภายนอกหนว่ ยงาน และปจั จยั ดา้ นจติ ใจ
และทัศนคติของผู้ต้องขังมีผลต่อการนํายุทธศาสตร์พัฒนาพฤตินิสัยไปปฏิบัติ ยกเว้นปัจจัยด้านความชัดเจนของ
ยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาพฤตินิสยั ทไี่ มส่ ง่ ผลตอ่ การนาํ ยทุ ธศาสตร์พฒั นาพฤตนิ สิ ัยไปปฏิบตั ิ
ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย ควรกาํ หนดตวั ชวี้ ดั ใหเ้ หมาะสมและเปน็ มาตรฐานทท่ี กุ คนสามารถปฏบิ ตั ไิ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี
เตม็ ศกั ยภาพของตนเอง และกอ่ ใหเ้ กดิ ผลตอ่ การพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ของผตู้ อ้ งขงั อยา่ งดที ส่ี ดุ รวมทง้ั ควรพจิ ารณาถงึ บรบิ ท
ทแ่ี ตกต่างกันของแต่ละเรอื นจําและทณั ฑสถาน ทง้ั ในเร่อื งประเภทของผูต้ อ้ งขัง ประเภทของเรอื นจาํ รวมท้ังศักยภาพ
ของแต่ละเรือนจําและทัณฑสถาน แต่ละแห่งควรมีการจัดการพัฒนาพฤตินิสัยอย่างไร ตลอดจนเม่ือได้มีการกําหนด
ยุทธศาสตร์ออกมาแล้ว ควรต้องมีการช้ีแจงรายละเอียดของยุทธศาสตร์ให้ บุคลากรผู้ปฏิบัติงานในเรือนจําและ
ทณั ฑสถานไดเ้ ขา้ ใจ หรอื เหน็ ดว้ ยและมที ศั นคตทิ ดี่ ตี อ่ ยทุ ธศาสตร์ เพอื่ พรอ้ มนาํ ไปปฏบิ ตั งิ านไดจ้ รงิ บคุ ลากรผปู้ ฏบิ ตั งิ าน
มีความเข้าใจ มีความเห็นด้วยและมีทัศนคติท่ีดีต่อยุทธศาสตร์ ก็จะทําให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการดําเนินงาน
ตามยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาพฤตนิ สิ ยั และสามารถสง่ ผลใหย้ ทุ ธศาสตรป์ ระสบความสาํ เรจ็ นอกจากนน้ั ควรมกี ารลดจาํ นวน
ผู้ต้องขังลง ซ่ึงการลงโทษผู้กระทําความผิดให้อยู่ในเรือนจําและทัณฑสถานนั้น ควรเป็นผู้กระทําความผิดคดีร้ายแรง
หรอื ผทู้ กี่ ระทาํ ความผดิ ซำ�้ ทไ่ี มส่ ามารถจะแกไ้ ขและพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ได้ หรอื ไมส่ ามารถทจี่ ะอยรู่ ว่ มกบั คนอนื่ ๆ ในสงั คมได้
และเป็นผู้กระทําความผิดที่จะสร้างความเดือดร้อน เป็นพิษภัยแก่ผู้คนในสังคมให้มาอยู่ในเรือนจําและทัณฑสถาน
ส่วนผู้ท่ีกระทําความผิดคร้ังแรกและไม่ร้ายแรง รวมท้ังเป็นผู้พร้อมจะปรับเปล่ียนพฤติกรรม ควรให้มีการลงโทษโดย

วารสารราชทัณฑ์ 67

วธิ กี ารอน่ื ๆ ทไ่ี มต่ อ้ งอยใู่ นเรอื นจาํ และทณั ฑสถาน อาจเปน็ การคมุ ประพฤตใิ หบ้ าํ เพญ็ ประโยชนแ์ ทน สว่ นกรณผี ตู้ อ้ งขงั
ท่ีป่วยหนัก เม่ืออยู่ในเรือนจําและทัณฑสถานหรือโรงพยาบาลราชทัณฑ์จะเป็นภาระของรัฐท่ีจะต้องเสียค่าใช้จ่าย
ในการรักษาให้หายจากโรคร้ายหรือให้หายจากอาการป่วย เสนอให้สามารถปล่อยตัวมาอยู่ภายนอกได้ แต่ต้องมี
การติดตามว่าได้อยู่ท่ีบ้านหรือสถานพยาบาลหรือไม่ โดยอาจทําการฝังเคร่ืองติดตามเป็นปลอกแขน หรือกําไลข้อเท้า
(Electronic Monitoring) เพอื่ เปน็ การตรวจสอบวา่ ขณะนผี้ ตู้ อ้ งขังอยใู่ นสถานทที่ ่ีกําหนดไวห้ รือไม่
ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏบิ ัตกิ าร เจา้ หน้าท่ีผ้ปู ฏิบตั งิ านในเรอื นจําและทัณฑถานจะต้องได้รับการพฒั นาและอบรม
อยา่ งตอ่ เนื่อง โดยเฉพาะเจา้ หน้าทท่ี ่ีทํางานเกี่ยวกับการพัฒนาพฤตนิ สิ ัยทต่ี ้องทํางานกบั ผู้ต้องขงั จําเป็นต้องมคี วามรู้
ความสามารถ รวมทง้ั วฒุ ภิ าวะทางอารมณท์ มี่ ากกวา่ ผตู้ อ้ งขงั และตอ้ งมที ศั นคตทิ ดี่ ใี นการปฏบิ ตั งิ าน เนอ่ื งจากผตู้ อ้ งขงั มา
จากแหล่งที่หลากหลาย มีการกระทําความผิดในคดีที่แตกต่างกันมีพ้ืนฐานทางด้านความรู้และทัศนคติท่ีแตกต่างกัน
แตต่ อ้ งสามารถทจี่ ะควบคมุ และพฒั นาผตู้ อ้ งขงั เหลา่ นใ้ี หอ้ ยรู่ ว่ มกนั ได้ และสามารถพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ได้ รวมทง้ั ในปจั จบุ นั นี้
ผตู้ อ้ งขงั บางสว่ นมกี ารศกึ ษาสงู จบตง้ั แตป่ รญิ ญาตรถี งึ ปรญิ ญาเอก ดงั นน้ั เจา้ หนา้ ทเ่ี รอื นจาํ และทณั ฑสถานตงั้ แตร่ ะดบั สงู
จนถงึ ระดบั ปฏบิ ตั กิ ารจะตอ้ งมกี ารพฒั นาอยเู่ สมอ และตอ้ งสามารถบรหิ ารจดั การใหก้ ลมุ่ คนเหลา่ นสี้ ามารถอยรู่ ว่ มกนั
และสามารถพฒั นาได้ ท้งั ทางด้านการศกึ ษา ทกั ษะวชิ าชีพ และด้านจิตใจ ตลอดจนสามารถบริหารจัดการใหผ้ ูต้ อ้ งขงั
ที่มีความรู้ความสามารถสูงนําความสามารถเหล่านั้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดตลอดระยะเวลาที่อยู่ในเรือนจําและ
ทัณฑสถาน
สภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงานทางเรือนจําและทัณฑสถาน รวมถึงครอบครัวหน่วยงานทั้งจากภาครัฐ
และภาคเอกชน สภาวะทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ทุกภาคส่วนเหล่านี้ล้วนมีความสําคัญในการสนับสนุน
การพัฒนาพฤตินิสัยให้ผู้ต้องขังสามารถกลับไปอยู่ในสังคมได้โดยเฉพาะครอบครัวที่เป็นสถาบันหลักในการส่งเสริม
ให้คนเป็นคนดี เม่ือผู้ต้องขังได้รับการปล่อยตัวออกไปก็ต้องกลับไปอยู่กับครอบครัว ซึ่งทางครอบครัวเป็นส่วนสําคัญ
ทค่ี อยใหก้ าํ ลงั ใจ และใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผตู้ อ้ งขงั ตงั้ แตอ่ ยใู่ นเรอื นจาํ และทณั ฑสถาน ในการปฏบิ ตั แิ ละฝกึ อบรมเวลาอยู่
ในเรือนจําเม่ือออกไปทางครอบครัวเป็นส่วนสําคัญในการปลุกกําลังใจให้ผู้ต้องขังมีความกล้าและมีความอดทนที่จะ
ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ และในการทําความดีไม่หวนกลับไปกระทําความผิดซ�้ำอีก ส่วนทางด้านสังคม กลุ่มคนในชุมชน
ควรท่ีจะให้โอกาสผู้พ้นโทษเหล่าน้ีให้สามารถอยู่ร่วมกันได้ เปิดโอกาสในการทํางานประกอบอาชีพเพ่ือให้มีรายได้
สามารถใชด้ ําเนนิ ชวี ติ ได้
68 วารสารราชทัณฑ์

นอกจากน้ัน หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนสามารถช่วยให้การพัฒนาพฤตินิสัยประสบความสําเร็จได้
ในด้านของงบประมาณอุดหนุนในการฝึกวิชาชีพ ด้านวิทยากรที่มาฝึกอบรมให้ผู้ต้องขัง และการจ้างงานให้ผู้ต้องขัง
มงี านทาํ ซงึ่ เปน็ การฝกึ ฝนทกั ษะในดา้ นวชิ าชพี รวมทงั้ เปน็ การสรา้ งรายไดใ้ หแ้ กผ่ ตู้ อ้ งขงั และใหแ้ กเ่ รอื นจาํ และทณั ฑสถาน
อีกทางในการนําเงินเหล่านี้มาบริหารจัดการภายในเรือนจําและทัณฑสถาน ให้สามารถดําเนินการพัฒนาพฤตินิสัย
ไดอ้ ย่างต่อเนื่อง ดังนน้ั ทางเรือนจาํ และทณั ฑสถานจึงควรสรา้ งเครอื ข่ายกบั ทกุ ภาคสว่ นทัง้ ทางดา้ นครอบครวั ผตู้ ้องขงั
สงั คม/ชุมชน หน่วยงานภาครฐั และภาคเอกชน เพ่ือเป็นแนวรว่ มในการพัฒนาพฤตนิ สิ ยั
ด้านจิตใจและทัศนคติของผู้ต้องขัง ถือว่าเป็นส่วนที่สําคัญในแง่การพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง เน่ืองจาก
ผู้ต้องขังเป็นกลุ่มเป้าหมายในการดําเนินการตามยุทธศาสตร์ ถ้าผู้ต้องขังไม่มีความสนใจหรือใส่ใจในการพัฒนา
หรือมีทัศนคติที่ไม่ดีหรือไม่ยอมรับในหลักสูตร โปรแกรมหรือแนวทางปฏิบัติที่ทางเรือนจําและทัณฑสถานจัดให้
ก็จะไม่ให้ความร่วมมือในการพัฒนา ดังนั้นในการพัฒนาพฤตินิสัยเรือนจําและทัณฑสถานจะต้องให้ความรู้และช้ีแนะ
ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั เหน็ ถงึ ประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากการพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ในรปู แบบตา่ งๆ ทง้ั การศกึ ษา การฝกึ วชิ าชพี การพฒั นาจติ ใจ
รวมทงั้ การทาํ งานสาธารณะ ผตู้ อ้ งขงั จะไดใ้ นเรอ่ื งของรายได้ และสทิ ธปิ ระโยชนต์ า่ งๆ อาทิ วนั ลดโทษ การพกั โทษหรอื
ความรู้ทีจ่ ะได้นาํ ไปใชภ้ ายหลงั จากพ้นโทษแล้ว ผตู้ ้องขังจะมีความกระตอื รือร้นในการพัฒนาพฤตนิ สิ ยั มากขน้ึ รวมทง้ั
ต้องขจัดเรื่องอิทธิพลภายในเรือนจํา ท่ีมีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มสร้างเครือข่ายกันภายในเรือนจําทําให้ผู้ต้องขังบางคน
จําเป็นต้องไปรวมกลุ่มเพื่อความอยู่รอดไม่ถูกทําร้ายภายในเรือนจํา ซึ่งอิทธิพลภายในเรือนจําน้ันถ้าเป็นการรวมกลุ่ม
กันในเรื่องที่ดี เช่น ชักชวนกันไปเข้ากองงานต่างๆ ก็เป็นเรื่องท่ีดี แต่ถ้าเป็นกลุ่มอิทธิพลที่ชักจูงไปในทางท่ีไม่ดี เช่น
ไปสรา้ งเครอื ขา่ ยดา้ นยาเสพตดิ ภายในเรอื นจาํ หรอื การรวมกลมุ่ เปน็ ปรปกั ษต์ อ่ เจา้ หนา้ ทผ่ี ปู้ ฏบิ ตั งิ านกจ็ ะเปน็ อปุ สรรค
ในการพฒั นาพฤตินิสัย

คณะผู้จัดทำ� บทความวชิ าการ (กลมุ่ กป.3)
หลักสตู รนักศึกษาผู้บญั ชาการเรอื นจำ� (นผบ.รุ่น 31)

1. นายพัศพงษ ์ ใจคล่องแคล่ว นักทัณฑวิทยา ช�ำนาญการพเิ ศษ สังกัดเรือนจำ� กลางเพชรบรุ ี
2. นายมงคล จนั ทะจร นักทณั ฑวิทยา ช�ำนาญการพิเศษ สังกดั กลมุ่ พฒั นาระบบบรหิ าร
3. นางโสภิต โหมดมว่ ง นกั ทณั ฑวิทยา ชำ� นาญการพเิ ศษ สังกดั ทณั ฑสถานหญงิ ชลบรุ ี
4. นายขวญั ไชย สันตภิ ราภพ นักทณั ฑวิทยา ช�ำนาญการพิเศษ สงั กัดเรอื นจำ� กลางสมทุ รปราการ
5. นายวริ ัตน์ แดงเถิน นกั ทณั ฑวทิ ยา ช�ำนาญการพิเศษ สังกดั เรือนจำ� กลางตาก
6. นายสังคม อินทะ นกั ทัณฑวทิ ยา ช�ำนาญการพิเศษ สงั กดั เรอื นจำ� จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
7. นายสามารถ เสงยี่ มไพศาล นกั ทัณฑวิทยา ช�ำนาญการพเิ ศษ สังกัดเรอื นจำ� กลางปัตตานี
8. นายพิทกั ษ์ หนูน้อย นกั ทัณฑวิทยา ช�ำนาญการพิเศษ สงั กัดเรือนจำ� จงั หวัดปทมุ ธานี
9. นายนนทรตั น ์ หอมศรีประเสริฐ นกั ทณั ฑวทิ ยา ชำ� นาญการพเิ ศษ สงั กัดเรือนจำ� จงั หวัดพะเยา
10. นายพลเทพย์ คงสุทธ ิ์ เจา้ พนกั งานราชทณั ฑ์ อาวุโส สงั กดั เรือนจำ� กลางนครปฐม

วารสารราชทัณฑ์ 69

มุมมอง
ตŒนกลำŒ รำชทัณฑ

กองบรรณาธกิ ารวารสารราชทณั ฑ์
ในชีวิตของทุกคนย่อมมีความต้องการท่ีจะประสบความส�าเร็จในชีวิต
ของการท�างาน โดยแต่ละเส้นทางน้ันย่อมแตกต่างกันออกไป บางคนเส้นทาง
ท่ีเดินนั้นราบรื่น แต่บางคนกลับมีอุปสรรคขวากหนามคอยกีดขวางอยู่เสมอ
ซ่ึงในทุกเส้นทางล้วนแล้วแต่อาศัยความพยายามที่จะประสบความส�าเร็จ
และการไดม้ าเปน็ ขา้ ราชการราชทณั ฑ์ ถอื เปน็ อกี สงิ่ หนง่ึ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความ
พากเพยี ร อดทนของผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรม
ท่ามกลางความแห้งแล้งมีคนเคยกล่าวว่า “ขุดลึกลงไปจะเจอน้�า”
ซงึ่ เปน็ ค�ากล่าวที่สามารถพสิ จู นไ์ ด้จรงิ บางคนมอี ุปกรณท์ ่ีดีเลศิ แต่กลบั ท้อถอย
ไปก่อนจึงไม่เจอน�้า แต่ส�าหรับบางคนพยายามขุดต่อไปเพราะอยากรู้ว่ามีน�้า
จริงหรือไม่? จนในที่สุดก็เจอแหล่งน้�าท่ามกลางพื้นทะเลทรายท่ีแห้งแล้ง
เช่นเดียวกันกับการฝึกอบรมของหลักสูตรต่างๆ ที่เข้ามาท้าทายความสามารถ
ของคนเราอยู่เสมอ โดยในหลักสูตรเจ้าพนักงานเรือนจ�า เม่ือหลังจากจบ
การฝกึ อบรมแลว้ นน้ั ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมจะไดป้ ฏบิ ตั งิ านเปน็ เจา้ หนา้ ทข่ี า้ ราชการ
ประจา� กรมราชทณั ฑ์ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านเพอ่ื ประชาชน เพอ่ื สว่ นรวม โดยยดึ มน่ั ใน
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ซึ่งได้
ทรงพระราชทานเนอ่ื งในวนั ขา้ ราชการพลเรอื น 1 เมษายน พ.ศ. 2558 ความวา่
“พระราชทานใหแ้ กข่ า้ ราชการพลเรอื นใชเ้ ปน็ ทางประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ พอ่ื กอ่ ใหเ้ กดิ
ประโยชน์สูงสดุ แก่ ประชาชน สงั คม ประเทศชาต”ิ
70 วารสารราชทัณฑ

แนวทางการพฒั นางานเรอื นจา�

ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมหลกั สูตรขา้ ราชการราชทัณฑบ์ รรจใุ หม่ รุ่นที่ 140
ค�าว่าคุก หรือเรือนจ�า ทุกคนจะนึกถึงสภาพท่ีแออัด คับแคบ

สภาพแวดล้อมท่ีไม่น่าอยู่เอาเสียเลย ผู้ต้องขังที่เข้ามาอยู่ก็มาจาก
รอ้ ยพอ่ พนั แม่ มขี าใหญค่ อยคมุ ในคกุ (ผตู้ อ้ งขงั ดว้ ยกนั ) บางคนกโ็ ดนคดี
ฆ่าคนตาย ยาเสพตดิ ขม่ ขนื ลักทรัพย์ ทุจริตต่างๆ เรือนจา� เล็กๆ จะมี
ผู้ต้องขังน้อยกว่า ผู้ต้องขังท่ีเข้ามาอยู่โดยคดีเล็กน้อยถึงปานกลาง
ส่วนเรือนจ�าใหญ่หรือเรือนจ�าพิเศษจะมีผู้ต้องขังจ�านวนมากกว่า
เปน็ นกั โทษทต่ี อ้ งคอยคมุ ดแู ลเปน็ พเิ ศษ กฎระเบยี บกจ็ ะเขม้ งวดแตกตา่ ง
กันไป แต่ส่วนใหญ่ระบบต่างๆ ภายในเรือนจ�าก็จะคล้ายๆ กัน คนท่ี
เขา้ มาเปน็ ผคู้ มุ ในเรอื นจา� ชวี ติ ความเปน็ อยกู่ ไ็ มต่ า่ งจากผตู้ อ้ งขงั สกั เทา่ ไหร่
ก็เหมือนกับการติดคุกภายในเรือนจ�าน่ันแหละ ที่แตกต่างก็เพียงแต่
ได้เงินเดือน คอยควบคุมผู้ต้องขัง คอยสอดส่องดูแลให้ผู้ต้องขังอยู่ใน
กฎระเบยี บของทางเรอื นจา� มกี ารสอนงานใหก้ บั ผตู้ อ้ งขงั ไดม้ คี วามรแู้ ละ
อาชพี ตดิ ตวั ฟงั ดอู าจเหมอื นเปน็ งานทส่ี บายไมต่ อ้ งเหนอื่ ย ไมต่ อ้ งทา� งาน
เอกสาร ไม่ต้องใช้แรงงานแรงกายเท่าไหร่ แต่ความเสี่ยงในด้าน
ภยั อันตรายต่างๆ ก็ดจู ะมีค่อนขา้ งมากทเี ดยี ว ไมม่ อี สิ รภาพในกิจกรรม
ต่างๆ เหมือนกับผู้ต้องขัง เช่น ห้ามใช้เคร่ืองมือส่ือสารใดๆ ทุกชนิด
จะมอี าวธุ กเ็ พยี งแค่ ไมต้ ะบองคกู่ าย กบั เพยี งวทิ ยสุ อ่ื สารทไ่ี ดร้ บั อนญุ าต
ใหใ้ ช้แคภ่ ายในเรือนจา� เทา่ นั้นเอง

วารสารราชทัณฑ 71

ชีวิตในเรือนจ�าของข้าพเจ้าในฐานะผู้คุมผู้ต้องขัง ซ่ึงเรือนจ�าที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่เป็นเรือนจ�าระดับจังหวัด
ขนาดของเรอื นจา� ไมใ่ หญ่ มผี ตู้ อ้ งขงั สองพนั กวา่ คน และมเี จา้ หนา้ ทจี่ า� นวน 89 คน เวลาทา� งานเรม่ิ เวลา 08.30 - 16.30 น.
และเขา้ เวรรกั ษาการกลางคนื จะมี 3 ผลดั คอื เวรปลดั ท่ี 1 เวลา 16.30 - 24.00 น. เวรผลดั ที่ 2 เวลา 24.00 - 03.00 น.
เวรผลัดท่ี 3 เวลา 03.00 - 08.30 น. ของใชส้ ว่ นตัวของเจ้าหน้าท่ี เชน่ กระเปาสตางค์ โทรศัพท์ และอืน่ ๆ ทางเรือนจ�า
จะมตี ใู้ หเ้ กบ็ ของใชส้ ว่ นตวั ของแตล่ ะคน สว่ นผตู้ อ้ งขงั ทอ่ี ยใู่ นเรอื นจา� กจ็ ะมงี านดา้ นตา่ งๆ ใหเ้ ขาทา� เพอื่ ทเี่ มอื่ เขาพน้ โทษ
ออกไปกจ็ ะไดม้ คี วามรคู้ วามสามารถไวส้ า� หรบั ประกอบอาชพี เลย้ี งตนเองและครอบครวั ระหวา่ งการทา� งานทางเรอื นจา�
กจ็ ะมเี งนิ เดอื นใหแ้ กผ่ ตู้ อ้ งขงั ซง่ึ เรยี กวา่ เงนิ ผลพลอยไดจ้ ากงาน เมอ่ื พน้ โทษออกไปกจ็ ะไดม้ เี งนิ เปน็ ทนุ ไวส้ า� หรบั เลย้ี ง
ตนเองต่อไป ผู้ตอ้ งขังทีม่ คี วามประพฤติดี ใกล้พ้นโทษกจ็ ะมีโอกาสให้สามารถออกมาช่วยงานดา้ นหน้าของเรอื นจา� ได้
เช่น การท�างานด้านช่างต่างๆ การท�าที่จอดรถ หรืองานอ่ืนๆ ที่เขาสามารถท�าได้ โดยมีผู้คุมท่ีคอยควบคุมดูแลอยู่
อย่างใกลช้ ดิ เรอื นจา� ท่ขี ้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่ถงึ จะเปน็ แคเ่ รอื นจ�าเลก็ ๆ แตก่ ย็ งั มบี ุคลากรท่ไี ม่เพียงพอสา� หรบั การดแู ล
ภารกจิ ตา่ งๆ ของเรอื นจา� อาจจะเปน็ เพราะคนสว่ นใหญใ่ หค้ วามสนใจตอ่ อาชพี นไ้ี มม่ าก บา้ งกเ็ ขา้ มาแลว้ ออกไป อกี ทง้ั
บา้ นพกั ของเจา้ หนา้ ทก่ี ม็ รี องรบั ไดไ้ มเ่ พยี งพอกบั จา� นวนเจา้ หนา้ ท่ี หรอื อาจเปน็ เพราะเปน็ แคเ่ รอื นจา� เลก็ ๆ งบประมาณ
ท่ีจะมาช่วยเหลือจึงน้อยลงตามไปด้วย การจัดเวรในช่วงกลางคืนหรือวันหยุด ก็มีการจัดที่กระชั้นชิด โดยจะรู้ก่อน
ลว่ งหนา้ เพยี งแคห่ นงึ่ หรอื สองวนั เทา่ นน้ั เอง บางชว่ งกร็ แู้ คต่ อนบา่ ยและตอ้ งเขา้ เวรในวนั รงุ่ ขน้ึ กจ็ ะสง่ ผลใหไ้ มส่ ามารถ
วางแผนชีวติ ได้เลย

ระบบงานสว่ นใหญข่ องทางเรอื นจ�าทขี่ า้ พเจา้ ปฏิบัติงานอยู่ และได้ศึกษาดงู านตามเรอื นจ�าจังหวดั ต่างๆ มาก็
ดูเป็นระบบเป็นระเบียบดีอยู่แล้ว แต่อาจจะต้องมีการปรับปรุงพัฒนาบางส่ิงเท่าน้ันเอง สิ่งที่ข้าพเจ้าต้องการพัฒนา
งานเรอื นจา� มดี ังนี้

1. ดา้ นอาคาร และสถานท่ี ควรมกี ารปรบั ปรงุ โครงสรา้ ง เรม่ิ ตง้ั แตจ่ ดุ ตรวจคน้ โดยเพมิ่ อปุ กรณต์ รวจคน้ สงิ่ ของ
ต้องห้ามท่ีจะเข้ามาในเรือนจ�า อย่างเข้มงวด และเพิ่มความม่ันคงแข็งแรงของเรือนจ�าเพื่อที่จะไม่ให้ผู้ต้องขังหลบหนี
ไปได้
72 วารสารราชทัณฑ

2. ด้านการพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง เช่น ยาเสพติด ให้ผู้ที่ติดยาเสพติดไปบ�าบัดก่อน ซ่ึงหลังจากบ�าบัด
แล้วสามารถกลับสู่สังคมได้ โดยไม่เป็นท่ีรังเกียจของสังคม คนท่ีกระท�าผิดไปแล้วกลับมาเป็นคนดี และน�าความรู้
ไปประกอบอาชีพ อยู่กับคนอื่นและสังคมภายนอกได้ สามารถสร้างรายได้ต่อตนเองและครอบครัว แล้วจะได้
ไม่มากอ่ เหตุซ�้าอีก โดยเรอื นจา� มกี ารอบรมกอ่ นปลอ่ ยผูต้ อ้ งขัง และให้ทุนแก่ผตู้ ้องขังท่ีสา� เร็จการศึกษาภายในเรอื นจา�
ไปประกอบอาชีพ เป็นทุนท่ีได้รับจากเรือนจ�า เช่น โครงการของแมนเดลา ผู้ต้องขังก่อนปล่อยและหลังปล่อย มีการ
ตดิ ตามดูแลผู้ต้องขงั ที่พน้ โทษไปแลว้ ว่าผู้ต้องขงั ได้รับทนุ ไปแล้วนั้น บรรลุผลตามเป้าหมายอย่างไร

3. งานฝึกอาชีพผู้ต้องขังในเรือนจ�า ฝึกให้ผู้ต้องขังมีความรู้ในด้านอาชีพต่างๆ เช่น งานก่อสร้าง งานช่าง
งานทาสี งานไฟฟ้า สามารถน�าไปประกอบอาชีพหลังพน้ โทษออกไปได้

4. ผตู้ อ้ งขงั ไดร้ บั การศกึ ษาทกุ ระดบั ชนั้ มกี ารอบรมผตู้ อ้ งขงั โดยวทิ ยากรจากภายนอกเรอื นจา� เขา้ มาใหค้ วามรู้
และให้การศึกษาแก่ผู้ต้องขัง และให้น�าความรู้นี้ไปใช้ประโยชน์หลังจากพ้นโทษออกไปสู่สังคมภายนอกและสามารถ
น�าไปสมัครงานได้

5. งานสังคมสงเคราะห์แก่ผู้ต้องขัง เม่ือพ้นโทษออกไปแล้วและทางเรือนจ�าจะหางานหรืออาชีพให้ผู้ต้องขัง
ไดท้ า� และมอี าชพี สร้างรายไดเ้ ลยี้ งตนเอง และไม่กลบั มาทา� ความผดิ ซ�้า

6. ภายในเรอื นจา� มศี นู ยบ์ า� บดั และปราบปรามยาเสพตดิ เพอ่ื บา� บดั ผทู้ ต่ี ดิ ยาเสพตดิ ไมใ่ หก้ ลบั มาตดิ ยาเสพตดิ อกี
จึงต้องมีศูนย์บ�าบัดยาเสพติดเข้ามาช่วยเหลือผู้ต้องขังโดยตรง มีผู้ให้ค�าปรึกษาแนะน�าให้ผู้ต้องขังเข้าใจถึงโทษและ
ผลของยาเสพติด และสามารถเลกิ ไดอ้ ย่างถาวรไม่หวนกลบั ไปเสพอีก

7. สถานพยาบาลท่ีมีแพทย์รักษาโดยตรง เพราะว่าปัจจุบันจะมีแค่พยาบาลวิชาชีพ หรือถ้ามีแพทย์แต่
เคร่ืองมือในการรักษาไม่ครบ ท�าให้ผู้ต้องขังเสียชีวิตจากการเจ็บป่วยฉับพลัน เนื่องจากขาดเครื่องมือแพทย์ ไม่พร้อม
ท่ีจะรักษาผู้ต้องขังที่เจ็บป่วยได้ทันท่วงที ข้าพเจ้า
จงึ อยากใหส้ ถานพยาบาลในเรอื นจา� ไดม้ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู
เหมือนโรงพยาบาลทั่วไปเพื่อท่ีจะได้รู้ประวัติผู้ต้องขัง
ทป่ี ว่ ยวา่ เขาเคยปว่ ยเปน็ โรคอะไรมากอ่ น มโี รคประจา� ตวั
อะไรบา้ ง และเพอื่ การรกั ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และรปู้ ระวตั ิ
การเจบ็ กอ่ นหนา้ ใหก้ ารรกั ษาเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
มากยงิ่ ขนึ้ และจะไดร้ กั ษาอยา่ งถกู ตอ้ ง ถกู วธิ ี ทนั ทว่ งที
และเหตุการณ์ที่ผู้ต้องขังเสียชีวิตภายในเรือนจ�าก็จะ
ลดน้อยลงหรือไม่มีเลย อยากให้ฝ่ายสถานพยาบาล
และฝ่ายควบคุมภายในเรือนจ�าท�างานร่วมมือกัน
อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การส่งตัวผู้ต้องขังป่วยหนัก
ไปรกั ษาภายนอกเรอื นจา� เพอื่ ผตู้ อ้ งขงั จะได้ ไมเ่ สยี ชวี ติ
เหมอื นท่ีผา่ นมาในอดตี

วารสารราชทัณฑ 73

งานภายในเรอื นจา� เปน็ งานทล่ี า� บาก ถา้ เราไมส่ ามารถทา� งานกนั เปน็ ทมี ได้ อาจสง่ ผลใหก้ ารทา� งานภายในเรอื นจา�
เกิดปัญหา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านบุคลากร และปัญหาด้านผู้ต้องขัง อาจท�าให้ท้ังองค์กรและเรือนจ�าเองไม่สามารถ
ทจ่ี ะแกพ้ ฤตนิ สิ ยั แกผ่ ตู้ อ้ งขงั ได้ และเปน็ ทค่ี าดหวงั ของผคู้ นภายนอกทจ่ี ะสรา้ งคนดคี นื สสู่ งั คมได้ งานของผคู้ มุ ในเรอื นจา�
นอกจากจะต้องคอยควบคุมดูแลผู้ต้องขังให้อยู่ในกฎระเบียบของทางเรือนจ�าแล้ว ยังมีหน้าท่ีต้องให้ความส�าคัญ
ต่อการพัฒนาให้ผู้ต้องขังทุกคนมีความรู้ความเข้าใจ ในเร่ืองของกฎหมาย ความรู้รับผิดชอบชั่วดี และผลของ
การกระท�าผิด โดยเม่ือพ้นโทษออกไปจะต้องสามารถปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมภายนอกได้ อีกท้ังยังได้มีความรู้และ
ประสบการณจ์ ากการทา� งานภายในเรอื นจา� สามารถนา� ไปปรบั ใชเ้ พอ่ื ประกอบอาชพี หาเลย้ี งตนเองได้ และไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ
ความเดอื ดร้อนแกส่ ังคมภายนอกและครอบครวั ในอนาคต
74 วารสารราชทัณฑ

1ตอนท่ี ยยู ติ สใู นเรอื นจา�

มีดวŒ ยหรอื ?

เอกลักษณ์ ทพิ วงศ์
สถาบันพฒั นาขา้ ราชการราชทัณฑ์

การฝกยยู ิตสูในโรงเรยี นท่ีประเทศญ่ีปุน เมอ่ื ป พ.ศ. 2463

ภารกจิ ของกรมราชทณั ฑ์ เปน็ งานทห่ี นกั เหนด็ เหนอื่ ย และมคี วามเสย่ี งอนั ตราย โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ทผ่ี ปู้ ฏบิ ตั ิ
หน้าท่ีควบคุมผู้ต้องขังทั้งภายใน และภายนอกเรือนจ�า จะต้องคอยระมัดระวังเหตุร้ายท่ีอาจเกิดข้ึนได้ทุกขณะ
ที่มาในรูปแบบหลากหลาย เช่น ผู้ต้องขังท�าร้ายตนเอง ผู้ต้องขังเข้าท�าร้ายเจ้าหน้าที่ มีการจับตัวประกัน ผู้ต้องขัง
ก่อเหตุแหกหักเพ่ือหลบหนี มีคนร้ายเข้าชิงตัวผู้ต้องขังหรือมุ่งหวังสังหารเพื่อปิดปาก อย่างนี้เป็นต้น ก็ล้วนแต่สร้าง
ความเสียหายให้แก่กรมราชทัณฑ์ ด้วยบทบาทของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานควบคุมจึงมีความจ�าเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้อง
มีความรู้และทักษะมากเป็นพิเศษ ไม่ใช่เพียงเพ่ือเอาตัวรอด แต่จะต้องมีความสามารถในการเข้าระงับเหตุร้าย
ในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วารสารราชทัณฑ 75

ในบทความนี้ ผเู้ ขยี นจงึ ขอกลา่ วถงึ ศลิ ปะปอ้ งกนั ตวั
แขนงหน่ึงที่มีความส�าคัญ คือ ยูยิตสู (JU JITSU) ซึ่งเป็น
วิชาการต่อสู้ของนักรบญี่ปุ่น ที่เรียกว่า “ซามูไร” เม่ือกว่า
1,000 ปี มาแล้ว ยูยิตสูเป็นวิชาท่ีใช้เพ่ือการรบ สังหารกัน
เป็นวิชาท่ีมีความรุนแรง และอันตรายมาก ในอดีตประเทศ
ญ่ีปุ่นนิยมฝึกยูยิตสูกันอย่างกว้างขวาง กล่าวกันว่า มีส�านัก
ยูยิตสูกว่า 5,000 ส�านัก แต่บางยุคบางสมัย โชกุนส่ังห้าม
ไม่ให้มีการฝึกยูยิตสู เพราะเป็นวิชาที่อันตรายและกระทบ
ต่อความม่งั คงของประเทศ ตอ่ มายยู ิตสูไดแ้ ตกแขนงออกมา
หลากหลาย เปน็ วิชาใหม่ๆ ท้งั ในญ่ีป่นุ เอง และต่างประเทศ
เช่น ยูโด ไอคิโด ซูโม่ เคนโด คาราเต้ บราซิลเลี่ยนยูยิตสู
แซมโบ เปน็ ตน้

ยูยิตสู (JU JITSU) มีความหมายว่า ศิลปะแห่ง หม่อมเจ้าวิบูลยสวัสดิ์วงศ สวัสดิกุล (27
ความอ่อนโยน หมายถึง การใช้เทคนิคจัดการกับแรงของ พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2428 - 23 พฤศจกิ ายน พ.ศ.
ฝ่ายตรงข้ามด้วยความอ่อนโยน ยืดหยุ่น แทนการปะทะ 2483) เปนพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศเธอ
โดยตรง การฝึกของยูยิตสู มีท้ังการใช้มือเปล่าสู้กับมือเปล่า พระองคเจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมต
มอื เปลา่ กบั อาวธุ และอาวธุ กบั อาวธุ อาวธุ ทใี่ ชก้ เ็ ชน่ มดี ดาบ อมรพันธกับหม่อมเพิ่ม สวัสดิกุล ณ อยุธยา
ไม้ พลอง เปน็ ตน้ สว่ นการฝกึ ตอ่ สดู้ ว้ ยมอื เปลา่ ในปจั จบุ นั ได้ แ ล ะ เ ป  น พ ร ะ นั ด ด า ใ น พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
จัดรูปแบบระบบการฝึกท่ีปลอดภัยข้ึนและเข้าใจง่ายขึ้น พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว
แบง่ ออกเปน็ 3 ภาค ไดแ้ ก่ ภาค 1 ยนื ตอ่ สู้ ภาค 2 การทมุ่
ภาค 3 จับล็อกในท่านอน เรียกได้ว่ายูยิตสูนั้นมีครบเคร่ือง
จงึ นยิ มฝกึ กนั ในหนว่ ยงานทบ่ี งั คบั ใชก้ ฎหมาย และหนว่ ยงาน
ทางทหารทว่ั โลก รวมถงึ ประเทศไทยเราด้วย

ส�าหรับประเทศไทยนั้น ยูยิตสูถูกน�าเข้ามากว่า
100 ปีก่อน ท�าให้มีบันทึกที่หลงเหลืออยู่ค่อนข้างน้อย
กล่าวกันว่า มีเซนเซ (อาจารย)์ ไมท่ ราบช่อื เปน็ ชาวญป่ี นุ่ ที่
เข้ามาท�างานท่ีบริษัทมิตซุยบุนเซนในประเทศไทย ได้มาสอนวิชายูยิตสูให้แก่เพื่อนร่วมงานในบริษัท และต่อมา
หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสด์ิวงศ์ สวัสดิกุล ได้ศึกษาวิชายูยิตสูจากต่างประเทศในยุโรป ประมาณปี พ.ศ. 2455 พระองค์
เห็นความส�าคัญของวิชายูยิตสู จึงได้น�าเข้าไปสอนในโรงเรียนนายร้อยต�ารวจ โดยทรงท�าการฝึกสอนด้วยพระองค์เอง
อีกท้ังยังทรงสอนให้กับคณะครูในกระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการ) และโรงเรียนพละศึกษากลาง (โรงเรียน
สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ) แตเ่ นอื่ งจากยยู ติ สถู กู มองวา่ เปน็ วชิ าทม่ี คี วามรนุ แรง การฝกึ ฝนใหค้ รบทกุ ดา้ นนน้ั มคี วามยากและ
ใช้เวลามาก ยูยิตสูในประเทศไทยจงึ หาผสู้ บื ทอดต่อได้น้อย และมีการปฏิรปู ใหมเ่ ปน็ วิชายูโดเขา้ มาแทน

76 วารสารราชทัณฑ

ยยู ติ สใู นประเทศไทยยคุ ปจั จบุ นั ไดน้ า� วชิ ายยู ติ สเู ขา้ มาในประเทศไทยอกี ครง้ั อยา่ งเปน็ ทางการ เมอ่ื พ.ศ. 2552
โดยมีบุคคลส�าคัญคือ อาจารย์ปราโมทย์ เมษะมาน ผู้ก่อตั้งสมาคมยูยิตสูแห่งประเทศไทย ซ่ึงได้รับการฝึกวิชายูยิตสู
จากประเทศญ่ีปุ่น ได้ด�าเนินการเปิดการฝึกยูยิตสูข้ึนอย่างเป็นทางการ และจัดให้มีการแข่งขันกีฬายูยิตสู ทั้งภายใน
ประเทศและในระดบั นานาชาติ และได้มีการด�าเนินการตอ่ จนถงึ ปจั จุบนั

สา� หรบั ยยู ติ สใู นเรอื นจา� นนั้ ผเู้ ขยี นไดน้ า� ยยู ติ สเู ขา้ ฝกึ ในเรอื นจา� ซง่ึ ผเู้ ขยี นได้รับการถ่ายทอดวิชายูยิตสูรุ่นแรก
จนได้สายคาดเอววิทยฐานะ สายด�า ช้ัน 1 จากสมาคมยูยิตสูแห่งประเทศไทย เม่ือปี พ.ศ. 2553 ต่อมาได้เห็น
ความส�าคัญของวิชายูยิตสูว่าควรจัดให้มีฝึกในเรือนจ�า ซ่ึงขณะน้ันผู้เขียนรับราชการอยู่ท่ีเรือนจ�ากลางบางขวาง
เมอื่ ปี พ.ศ. 2557 ได้เปิดสอนยูยติ สูด้วยตนเอง ใหแ้ ก่เจา้ หนา้ ที่ เยาวชน และประชาชนทว่ั ไปทีเ่ รอื นจ�ากลางบางขวาง
และสอนให้กับหน่วยงานต่างๆ เช่น ทัณฑสถานบ�าบัดพิเศษกลาง เรือนจ�าอ�าเภอกบินทร์บุรี ชมรมยูยิตสูสมาคมกีฬา
แห่งจังหวัดนนทบุรี แผนกศิลปะการต่อสู้กองทัพอากาศ ฯลฯ ปัจจุบันผู้เขียนได้ย้ายมาปฏิบัติงานท่ีสถาบันพัฒนา
ข้าราชการราชทัณฑ์ ได้เปิดสอนยูยิตสูให้แก่เจ้าหน้าท่ีกรมราชทัณฑ์ และสอนเสริมในหลักสูตรข้าราชการราชทัณฑ์
การบรรจุใหม่ อีกท้งั ให้มีการทดสอบความรู้ความสามารถ ในการเลือ่ นระดบั สายคาดเอววิทยฐานะ

ครูเอกลักษณ ทพิ วงศ ฝกยยู ิตสูท่สี มาคมยูยิตสูแห่งประเทศไทย
วารสารราชทัณฑ 77

คณุ วุฒิ สายดาํ ยยู ิตสู 2 Dan ในบทความเบ้ืองต้นนี้ผู้เขียนได้เห็นความส�าคัญว่า
(สายดาํ คาราเต้ 1 Dan, กระบกี่ ระบอง) ควรมวี ชิ ายยู ติ สสู อนใหก้ บั เจา้ หนา้ ทที่ กุ คนโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
ผทู้ ปี่ ฏบิ ตั งิ านในเรอื นจา� รวมถงึ เจา้ หนา้ ทรี่ ะดบั ผบู้ งั คบั บญั ชา
ก็ควรมีทักษะการเอาตัวรอด เพราะอาจตกเป็นเป้าหมาย
ของผู้ต้องขังในการจับเป็นตัวประกัน ซึ่งอาจเป็นตัวประกัน
ทเี่ พม่ิ อา� นาจการตอ่ รองของผตู้ อ้ งขงั ได้ วชิ าศลิ ปะปอ้ งกนั ตวั
ที่สามารถน�ามาใช้ในเรือนจ�าได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงน้ัน
ผู้เขียนเห็นว่า วิชายูยิตสู เป็นศิลปะป้องกันตัวที่ครบเคร่ือง
หากจะอธิบายให้เห็นภาพได้ง่ายคือ มีการเตะต่อยได้อย่าง
มวย คาราเต้ มกี ารจบั หกั ลอ็ ก ยมื แรงอยา่ งไอคโิ ด มกี ารออก
อาวธุ ดว้ ยมอื ไดอ้ ยา่ งมวยจนี มเี ทคนคิ การทมุ่ ทรี่ นุ แรงไดอ้ ยา่ ง
ยโู ด มกี ารจบั หกั ลอ็ กไดจ้ ากทา่ นอนเหมอื นมวยปลา้� เปน็ ตน้
สามารถนา� ไปปรบั ใชใ้ หก้ บั เจา้ หนา้ ทเ่ี รอื นจา� ไดเ้ หมาะสม เชน่
การต่อสู้ในที่แคบๆ อย่างห้องขัง เรือนนอน ห้องน้�า พ้ืนที่
ภายในแดนท่ีมีสิ่งกีดขวาง พ้ืนท่ีท่ีจ�ากัดอาณาบริเวณอย่าง
ในแดนจะหลีกหนีให้พ้นภัยไม่ได้ง่ายๆ เป็นพื้นที่การต่อสู้ที่
ไม่เหมือนที่อ่ืนใด การต่อสู้อาจเกิดได้จากผู้ต้องขังคนเดียว
หลายคน ไม่มีอาวุธหรือมีอาวุธ แม้แต่ภารกิจรักษา
ความปลอดภัย เข้าระงับเหตุร้าย ควบคุมผู้ต้องขัง
ในเหตกุ ารณป์ กติ หรอื ไมป่ กติ ดว้ ยสถานการณร์ า้ ยเกดิ ขนึ้ ได้
ทุกรูปแบบ ทุกสถานท่ี ในเรือนจ�า ยูยิตสูจึงเป็นวิชาที่
ตอบโจทย์นี้ได้อย่างดี ส่วนผู้ฝึกนั้นสามารถเลือกฝึกฝนได้ว่า
จะเอาทกั ษะความช�านาญให้โดดเด่นไปทางใด

การฝกึ ยูยติ สเู บอ้ื งต้น

การฝึกยูยิตสูให้ประสบความส�าเร็จอย่างรวดเร็วน้ัน จะต้องมีความเข้าใจในพื้นฐานของยูยิตสู เพราะถือว่า
เปน็ หวั ใจท่จี ะขาดไมไ่ ด้ ดังน้ี

(1) การวางตัว ลักษณะของการวางตัวต้องอยู่ในต�าแหน่งท่ีปลอดภัย และพร้อมท่ีจะป้องกันตัวได้
อย่างถนดั ในทา่ ยนื ท่านัง่ ทา่ นอน

(2) ระยะ หมายถึง ต�าแหนง่ ของตัวเองกบั ต�าแหนง่ ของคูต่ ่อสู้ มีระยะท่ปี ลอดภยั และสามารถเขา้ โจมตี
ไดอ้ ยา่ งถนัดและรวดเรว็

78 วารสารราชทัณฑ

ครูเอกลกั ษณ ทพิ วงศ สอนยยู ิตสใู นเรอื นจําต่างๆ (พ.ศ. 2557-ปจบุ ัน)

(3) ทา่ ยนื มลี กั ษณะทา่ ยนื แตกตา่ งกนั เชน่ ยนื เทา้ ชดิ ปลายเทา้ ชดิ สน้ เทา้ ชดิ ยนื สน้ เทา้ ชดิ ปลายเทา้ แยก
ยนื เทา้ แยกลกั ษณะขนานกนั ยนื เทา้ นา� เทา้ ตาม ยนื ทา่ ขม่ี า้ ยนื ทา่ แมวยนื ฯลฯ ลกั ษณะการยนื ทา่ ตา่ งๆ
ของยยู ติ สู ลว้ นมคี วามไดเ้ ปรยี บเสียเปรยี บ ซงึ่ จะต้องใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์นัน้ ๆ เช่น ยืนรอ
จังหวะต้งั รบั ยนื รอจังหวะเขา้ โจมตีก่อน ยนื รอจงั หวะใช้เทา้ โจมตี ยืนรอจงั หวะใชม้ ือโจมตี

(4) จังหวะ จังหวะของการต่อสู้เป็นสิ่งท่ีต้องใช้ระยะเวลาฝึกฝนมาจากประสบการณ์ จากความรู้สึก
จนเกิดเป็นทักษะ อาศัยครูอาจารย์เป็นผู้ชี้แนะเป็นพิเศษ อย่าเช่นจังหวะหลบ จังหวะหลีก จังหวะ
โจมตี ซ่งึ บางครั้งอาจมีการสร้างจังหวะขนึ้ มาเอง เช่น การฟุตเวิร์ค การหลอก เป็นตน้

(5) ตามองคตู่ อ่ สู้ ลกั ษณะการมองคตู่ อ่ สขู้ องยยู ติ สจู ะมองไปทตี่ าของคตู่ อ่ สู้ ในลกั ษณะมองแบบไมห่ วนั่ กลวั
และอ่านใจคู่ต่อสู้ให้ออก ในเบ้ืองต้นให้มองแบบเบลอๆ ให้เห็นคู่ต่อสู้ทั้งหมด ซึ่งไม่ใช่การมอง
ให้ตนเป็นฝ่ายถูกสะกดเสยี เอง หรอื มองแบบเหมอ่ ลอย

(6) การเคลื่อนท่ี จะท�าในลักษณะอวัยวะของร่างกายบางส่วนสัมผัสพ้ืน หรือไม่ห่างจากพื้นมาก เช่น
การสบื เทา้ เปน็ ต้น ถ้าไม่จ�าเปน็ จะไม่กระโดด

(7) การตั้งการ์ด การ์ดของยูยิตสมู หี ลายลักษณะ ทงั้ แบมือ ก�าหมดั หรือทง้ั 2 อยา่ ง ผสมกนั ก็ได้ แลว้ แต่
สถานการณ์นน้ั ๆ เช่น แบมือเพ่ือความรวดเร็วในการคว้าจบั ใชม้ อื ฟนั นิว้ จ้มิ ส่วนกา� หมัดเพ่ือความ
รวดเร็วในการชกตอ่ ย ทบุ กระแทก นอกจากนี้ยังมีท่านั่งการด์ นอนการ์ด ดว้ ย

(8) อวัยวุธกับจุดอ่อน คือ อาวุธท่ีสร้างข้ึนจากการจัดระเบียบร่างกายอวัยวะของเราเอง เช่น น้ิวมือ
สนั หมัด สนั มือ ส้นมอื หลังเท้า จมูกเท้า เปน็ ต้น สามารถนา� ไปใช้ให้เหมาะสมกบั จุดอ่อนของค่ตู อ่ สู้
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เชน่ สว่ นหวั สว่ นทอ้ ง สว่ นหลงั สว่ นแขนขา ขอ้ ตอ่ กระดกู จดุ กดเสน้ ประสาทและ
เสน้ เอน็ เปน็ ต้น

ในครงั้ ตอ่ ไปผเู้ ขยี นจะมาแนะนา� ทา่ ฝกึ ของยยู ติ สู ในบทความวารสารราชทณั ฑ์ ฉบบั ตอ่ ไปนะครบั ...สวสั ดคี รบั
คร.ู ..ยูยิตสู

วารสารราชทัณฑ 79

ตามไปเยือน

ทณั ฑสถานหญิงพษิ ณุโลก

กองบรรณาธกิ ารวารสารราชทณั ฑ์

ทณั ฑสถานหญงิ พษิ ณุโลก

ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก ตั้งอยู่ห่างจากจังหวัดพิษณุโลกไปทางด้านทิศตะวันออก ถนนพิษณุโลก-หล่มสัก
ประมาณ 12 กโิ ลเมตร เปน็ ราชการบรหิ ารส่วนกลาง สังกดั กรมราชทณั ฑ์ กระทรวงยตุ ิธรรม มีเน้อื ทีท่ งั้ หมด 113 ไร่
46 ตารางวา แยกเปน็ พนื้ ทภ่ี ายในทัณฑสถาน 7 ไร่ 3 งาน และพน้ื ที่ภายนอกทัณฑสถาน 105 ไร่ 1 งาน 76 ตารางวา
ซึ่งเปน็ บ้านพักของเจ้าพนักงานและสถานท่สี วนป่าส�ำหรบั ดำ� เนนิ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชด�ำริของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทัณฑสถานหญิงพษิ ณุโลกโดยการน�ำของผู้อำ� นวยการ
พรทพิ ย์ รตั นชยั ฤทธ์ิ ไดน้ อ้ มนำ� แนวคดิ ในการพฒั นามาปรบั ใชใ้ นการบรกิ ารงานเหน็ ไดจ้ ากนโยบายการพฒั นาศกั ยภาพ
ของบุคลากรภายในทัณฑสถานในโครงการฝึกอบรมระเบียบวินัยให้แก่เจ้าหน้าท่ีทัณฑสถานหญิงพิษณุโลกซ่ึงมี
วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะในการปฎิบัติหน้าท่ีอย่างเข้มแข็งเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามแนว ปฎิบัติ
ดงั กลา่ วสอดคลอ้ งอยา่ งยงิ่ กบั หลกั การพฒั นาทนุ มนษุ ยซ์ งึ่ จะนำ� พาบคุ ลากรของกรมราชทณั ฑเ์ ปน็ ผมู้ ศี กั ยภาพ และเปน็
ทยี่ อมรบั ของสงั คมอย่างยังยืนสบื ไป

80 วารสารราชทัณฑ์

โครงสร้างการบริหารงานทัณฑสถานหญิง
พษิ ณโุ ลก

โครงสร้างการบริหารงานทัณฑสถานหญิง
พิษณโุ ลกแบง่ ออกเปน็ 3 สว่ นและ 6 ฝา่ ย มีบทบาทและ
ภารกิจในการควบคุมผู้ต้องขังหญิงระหว่างสอบสอน
พจิ ารณาคดี อทุ ธรณ์ ฎกี า และนกั โทษเดด็ ขาดกำ� หนดโทษ
ไม่เกิน 30 ปี ปฏิบัติต่อผู้กระท�ำความผิดให้เป็นไปตาม
ค�ำพิพากษาของศาลและได้ถือปฏิบัติตามนโยบายของ
กรมราชทณั ฑใ์ นการดำ� เนนิ งาน ทง้ั ภารกจิ ดา้ นควบคมุ และ
พัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังอย่างมีประสิทธิภาพ นับตั้งแต่
แรกเขา้ จนกระทงั่ ไดร้ บั การปลอ่ ยตวั ซงึ่ เปน็ สงิ่ ทขี่ า้ ราชการ
ทุกคนจะตอ้ งถือปฎิบัตอิ ยา่ งเครง่ ครดั สมดั่งวสิ ัยทัศนข์ อง
ทณั ฑสถานหญงิ พษิ ณโุ ลกทวี่ า่ ยดึ มน่ั คณุ ธรรม บรหิ ารงาน
โปร่งใส ควบคุมพัฒนาพฤตินิสัยด้วยใจ เพื่อคืนคนดี
มีคณุ คา่ ส่สู งั คม

วารสารราชทัณฑ์ 81

ภารกจิ ด้านการควบคุม

การควบคมุ ผตู้ อ้ งขงั ไมใ่ หห้ ลบหนถี อื วา่ เปน็ หวั ใจหลกั ของการบรหิ ารงาน ซง่ึ ในปจั จบุ นั ทณั ฑสถานหญงิ พษิ ณโุ ลก
มผี ตู้ อ้ งขงั อยใู่ นการควบคมุ กวา่ 800 คน เจา้ หนา้ ทจ่ี งึ ตอ้ งเพมิ่ ความระมดั ระวงั ในการควบคมุ ดแู ลผตู้ อ้ งขงั ใหม้ ากยงิ่ ขน้ึ
โดยปราศจากการเลอื กปฏบิ ตั มิ ใิ หผ้ ้ตู อ้ งขงั คนใดคนหน่ึงได้รบั สิทธพิ เิ ศษเหนือผตู้ อ้ งขงั คนอืน่ ๆ

การรับตวั ผตู้ อ้ งขัง

ผูต้ ้องขงั เข้าใหมจ่ ะถูกแยกขังเป็นเวลา 3 วัน เพอื่ สงั เกตพฤติกรรม ณ สถานพยาบาล หรือ แดนแรกรับ และ
ตอ้ งเขา้ รบั อบรมจติ ภาวนาเพอ่ื ปรบั สภาพจติ ใจ และอบรมความรทู้ ว่ั ไปเพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจถงึ กฎระเบยี บ สทิ ธแิ ละการใชช้ วี ติ
ภายในทัณฑสถาน

การจำ� แนกลกั ษณะผตู้ ้องขงั

จะค�ำนึงถงึ สขุ ภาพพฤตกิ ารณ์ของคดีก�ำหนดโทษความถนดั และความสนใจของผู้ต้องขงั เป็นส�ำคญั

การดแู ลสุขอนามยั ส่วนตวั ผู้ตอ้ งขงั

มีพยาบาลวิชาชีพดูแลตรวจสุขภาพของ
ผู้ต้องขังในเบ้ืองต้นเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด
ของโรคและส่งเสริมสุขภาพท่ีดีของผู้ต้องขัง
โดยไดร้ บั การสนบั สนนุ แพทยจ์ ากโรงพยาบาลวงั ทอง
จังหวัดพิษณุโลก เข้าตรวจสุขภาพเป็นประจ�ำ
ทุกเดอื น

การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด

มกี ารดำ� เนนิ การตรวจปสั สาวะหาสารเสพตดิ
ทง้ั เจา้ หนา้ ทแี่ ละผตู้ อ้ งขงั และทำ� การจโู่ จมตรวจคน้
สิ่งของต้องห้ามโดยเจ้าหน้าท่ีทุกวันตามนโยบาย
เรือนจ�ำสีขาวและนอกจากน้ียังได้ขอรับการ
สนับสนุนจากเจ้าหน้าท่ีเรือนจ�ำใกล้เคียง และ
เจ้าหน้าท่ีทหาร ต�ำรวจ เข้าจู่โจมตรวจค้น
เป็นประจ�ำ การรักษาความปลอดภัยการฝึกซ้อม
วางแผนระงบั เหตรุ า้ ยตา่ งๆ และการฝกึ สมรรถภาพ
ร่างกายให้แก่เจ้าหน้าที่ ด�ำเนินการจัดท�ำแผน
มาตรการการรักษาความปลอดภัยแก่อาคาร
สถานที่

82 วารสารราชทัณฑ์

การสงเคราะห์ผู้ต้องขงั

ทัณฑสถานได้ด�ำเนินแนวทางในการจัดสวัสดิการและ
การให้การสงเคราะห์ทางด้านปัจจัย 4 การเสริมสร้าง
กำ� ลงั ใจ เพอ่ื ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั มคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี แี ละไดป้ ระสาน
ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐ และ
ภาคเอกชน ในการให้บริการด้านการสงเคราะห์ผู้ต้องขัง
อย่างต่อเนื่อง โดยงานสังคมสงเคราะห์ซึ่งให้ค�ำปรึกษา
สงเคราะหค์ รอบครวั สงเคราะหท์ นุ การศกึ ษาบตุ รผตู้ อ้ งขงั
และการสงเคราะหก์ ลมุ่ ผตู้ อ้ งขงั กลมุ่ พเิ ศษ ไดแ้ ก่ ผตู้ อ้ งขงั
หญิงต้ังครรภ์ ผู้ต้องขังพิการ ผู้ต้องขังสูงอายุ และเด็ก
ตดิ ผตู้ อ้ งขงั

การจดั การศึกษาโดยฝา่ ยการศึกษาและพัฒนาจิตใจ

มีการจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้ต้องขังสายสามัญ ต้ังแต่ผู้ไม่รู้หนังสืออ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ไปจนถึงระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายและเปิดโอกาสให้กับผู้ต้องขังได้ศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ส�ำหรับการจัดการเรียนการสอน
สายอาชีพ มีระดับ ปวช. และ ปวส. ด้านการพัฒนาจิตใจจัดสอนธรรมะศึกษาอบรมจิตภาวนาหลักสูตรสัคสาสมาธิ
ตามแนวทางพระธรรมมงคลญาณ หลวงพอ่ วริ ยิ งั ค์ สริ นิ ธโร การจดั โครงการวนั สำ� คญั ของชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
ทง้ั น้ยี ังได้จัดกจิ กรรมสนบั สนุนใหผ้ ู้ต้องขงั ไดป้ ฏิบตั ติ ามศาสนาทีต่ นนบั ถอื

วารสารราชทัณฑ์ 83

การฝึกอบรมวิชาชพี ในโรงงานฝึกวชิ าชีพ

มุ่งเน้นฝึกพัฒนาอาชีพให้มีความหลากหลาย
ตรงตามความต้องการของตลาดและความสนใจของ
ผตู้ อ้ งขงั สง่ เสรมิ การพฒั นาทกั ษะอาชพี ในระหวา่ งตอ้ งโทษ
ให้เกิดผลสัมฤทธ์ิสูงสุดและส่งผลให้ผู้ต้องขังมีรายได้
ในรูปแบบปันผลในขณะตอ้ งโทษ

การแก้ไขฟนื้ ฟูผตู้ อ้ งขังเสพยาเสพติด

การบ�ำบัดแก้ไขฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ต้องขัง
เสพยาเสพตดิ ในรปู แบบชมุ ชนบำ� บดั โครงการทบู นี มั เบอรว์ นั
โปรแกรมแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดผู้ค้ารายย่อย และ
โปรแกรมอื่นๆ ตามท่ีกรมราชทัณฑ์ก�ำหนด กล่าวได้ว่า
กิจกรรมทุกกิจกรรมท่ีจัดข้ึนส�ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
ทง้ั นม้ี าจากเจา้ หนา้ ทท่ี กุ คนทกุ ฝา่ ยตา่ งทมุ่ เทแรงกายแรงใจ
เสียสละเวลาโดยไม่ได้ค�ำนึงถึงความเหนื่อยยากทุกคนได้
รว่ มมอื กนั ปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยา่ งจรงิ จงั เพอื่ ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ทกุ คน
มคี วามประพฤตเิ รยี บรอ้ ยอยใู่ นระเบยี บวนิ ยั และสามารถ
นำ� ความรไู้ ปใช้ในการประกอบอาชพี ภายหลังพ้นโทษได้

84 วารสารราชทัณฑ์

ความภาคภูมใิ จสงู สุด

พระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พชั รกติ ยิ าภา
เสด็จยังอาคารแม่และเด็กในโครงการก�ำลังใจ
ในพระราชด�ำริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า
พัชรกิติยาภา เม่ือวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2551
ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา
พรรณวดี เสด็จเปิดศูนย์ร่วมใจ ทูบีนัมเบอร์วัน
ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก ในวันที่ 9 ธันวาคม
พ.ศ. 2554

ผลงานและรางวลั แหง่ ความส�ำเรจ็

รางวลั ชนะเลศิ การประกวดโครงการราชทณั ฑเ์ ชงิ สมานฉนั ทร์ ะหวา่ งผตู้ อ้ งขงั กบั สงั คม รางวลั ชนะเลศิ ประเภท
ความคดิ สรา้ งสรรค์ การทำ� ผลติ ภณั ฑจ์ ากผา้ ประจำ� ปี พ.ศ. 2557 รบั รางวลั โลพ่ ระราชทานสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า
สยามบรมราชกมุ ารี อาสายุวกาชาด ประเภทหน่วยงานดเี ด่น ประจำ� ปี พ.ศ. 2558 ไดร้ บั โลป่ ระกาศเกยี รตคิ ุณรางวัล
หน่วยงานภาคีเครือข่ายสนับสนุนการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยระดับดีเด่นระดับประเทศ ได้รับ
รางวัลชนะเลิศรางวัลงานประดิษฐ์ประเภทเส้ือผ้า ชื่อชุด อัปสรสะคราญ
ในงานนิทรรศการผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ คร้ังท่ี 44 และรางวัลอื่นๆ
อีกมากมายรางวัล ทุกรางวัลความส�ำเร็จทุกความส�ำเร็จ และผลิตภัณฑ์
ที่เกิดจากฝีมือผูต้ ้องขังทั้งหมดจะเกดิ ข้นึ ไม่ได้เลย หากทกุ คนละเลยหนา้ ท่ี
ของตน ทงั้ นข้ี น้ึ อยกู่ บั เจา้ หนา้ ทที่ กุ คนเปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ทำ� ใหก้ ารดำ� เนนิ งาน
ทกุ อยา่ งเปน็ ไปด้วยดี ขอบคณุ คะ่

วารสารราชทัณฑ์ 85

เรือนจำ� ไทยในอดีต

เรอื นจำ� อ�ำเภอธญั บุรี

กองบรรณาธิการวารสารราชทัณฑ์
เรือนจ�ำอ�ำเภอธัญบุรี เป็นเรือนจ�ำขนาดเล็ก
กอ่ ตง้ั ขน้ึ ในปี พ.ศ. 2452 ในรชั สมยั รชั กาลท่ี 5 พรอ้ มกบั
การต้ังเมืองธัญญบุรี ท่ีมีอายุ 119 ปี มีความม่ันคง
ปานกลาง ตัง้ อยู่เลขที่ 78 หม่ทู ี่ 4 ต�ำบลรงั สิต อำ� เภอ
ธัญบุรี จังหวดั ปทมุ ธานี
เนอื่ งจากเรอื นจำ� อำ� เภอธญั บรุ ี ไดก้ อ่ สรา้ งมานาน
เรือนนอนเป็นไม้ กำ� แพงเป็นสังกะสี ได้ช�ำรุดทรุดโทรม
ไปตามสภาพ ในปี พ.ศ. 2511 - 2515 เรือนจำ� อำ� เภอ
ธัญบุรี ได้รับอนุมัติเงินงบประมาณจากกรมราชทัณฑ์
ก่อสร้างเรือนนอน ก�ำแพง ที่ท�ำการ และบ้านพัก
เจ้าพนักงานเรือนจ�ำตามแบบแปลนของกรมราชทัณฑ์
ให้มีความมน่ั คงแข็งแรงสวยงามขน้ึ
เรือนจ�ำอ�ำเภอธัญบุรี ซ่ึงแต่เดิมมี “นายอ�ำเภอธัญบุรี” เป็นผู้บัญชาการเรือนจ�ำโดยต�ำแหน่ง ต่อมาในปี
พ.ศ. 2520 กรมราชทณั ฑไ์ ด้แต่งตง้ั ให้ ม.ร.ว.กนกทัณฑ์ วรวุฒิ เปน็ ผูบ้ ัญชาการเรือนจ�ำโดยเฉพาะเป็นคนแรกของ
เรอื นจำ� อำ� เภอธญั บุรี ต้ังแตว่ นั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2520 เปน็ ต้นมา

86 วารสารราชทัณฑ์

ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2554 กรมราชทัณฑ์ ได้อนุมตั ิ
งบประมาณในการก่อสร้างเรือนนอนแดนชาย จ�ำนวน
1 หลัง เรือนนอนแดนหญิง จ�ำนวน 1 หลัง และขยาย
กำ� แพงเรอื นจำ� ทำ� ใหล้ ดความแออดั ของผตู้ อ้ งขงั ทงั้ ชาย
และหญิง และท�ำใหเ้ รือนจ�ำมคี วามมั่นคงสูงกว่าเดิม

วารสารราชทัณฑ์ 87

ในปี พ.ศ. 2546 เรอื นจำ� อำ� เภอธญั บรุ ี ไดด้ ำ� เนนิ การ
สร้างห้องสมุด เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เน่ืองในวโรกาส
ทรงมพี ระชนมายคุ รบ 84 พรรษา และในวนั ท่ี 15 ตลุ าคม
2556 สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ได้เสด็จมาทรงเปิดห้องสมุดภายในเรือนจ�ำอ�ำเภอธัญบุรี
เป็นแห่งแรก และพระราชทานนามห้องสมุดน้ีว่า
“ห้องสมุดพร้อมปัญญา” โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือเป็น
แหล่งศึกษา ค้นคว้า และใหค้ วามรแู้ กผ่ ู้ตอ้ งขัง
เดมิ เรอื นจำ� มพี นื้ ทท่ี ง้ั หมด 6 ไร่ 1 งาน 97 ตารางวา
แบ่งเป็นพื้นท่ีภายในเรือนจ�ำประมาณ 4 ไร่ และเน้ือที่
ภายนอกเรือนจ�ำประมาณ 2 ไร่เศษ ต่อมาได้มีค�ำสั่ง
กระทรวงยตุ ธิ รรม กำ� หนดอาณาเขตเรอื นจำ� อำ� เภอธญั บรุ ใี หม่
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่มท่ี
119 ตอนพเิ ศษ 116 ง วนั ท่ี 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
กำ� หนดอาณาเขตเรอื นจำ� อำ� เภอธญั บรุ ี มพี น้ื ท่ี ภายใน 5 ไร่
3 งาน 21 ตารางวา และพื้นท่ีภายนอกเรือนจ�ำ จ�ำนวน
4 ไร่เศษ
จงั หวดั ปทมุ ธานปี ระกอบดว้ ยอำ� เภอรวม 7 อำ� เภอ
คือ อ�ำเภอเมืองปทุมธานี อ�ำเภอสามโคก อ�ำเภอ
ลาดหลุมแก้ว อ�ำเภอธัญบุรี อ�ำเภอคลองหลวง อ�ำเภอ
หนองเสอื และอำ� เภอลำ� ลกู กา สำ� หรบั เรอื นจำ� อำ� เภอธญั บรุ ี
มีอ�ำนาจหน้าท่ีในการควบคุมผู้ต้องขังระหว่างพิจารณา
ของศาลจงั หวดั ธญั บุรี โดย ครอบคลมุ พืน้ ที่ 4 อำ� เภอ คอื
อ�ำเภอธัญบุรี อ�ำเภอคลองหลวง อ�ำเภอล�ำลูกกา และ
อำ� เภอหนองเสอื

แหล่งอ้างอิง : หนงั สือตำ� นานคุกไทย
88 วารสารราชทัณฑ์

แบบส�ำ รวจความคดิ เห็นในการจัดท�ำ วารสารราชทัณฑ์

คำ�ชแี้ จง โปรดท�ำ เคร่ืองหมาย ✓ ลงใน ❍ หรอื เตมิ ข้อความในช่องวา่ ง ❍ 2) ปริญญาตรี
❍ 4) ปรญิ ญาเอก
1. เพศ ..................................................................
2. อายุ ..................................................................
3. การศกึ ษา ......................................................... ❍ 1) ต่าํ กว่าปริญญาตร ี

❍ 3) ปริญญาโท

แบบประเมินความคดิ เห็นเก่ียวกับความเหมาะสมของวารสารราชทณั ฑ์

ระดบั ความคิดเห็น

ความคิดเหน็ เก่ียวกบั วารสารราชทัณฑ์ มาก ค่อนข้าง ปาน ค่อนข้าง น้อย
มาก กลาง นอ้ ย

(5) (4) (3) (2) (1)

1. มีความชัดเจน ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และข้อมูลมีการ
ปรับปรุงอยูเ่ สมอ

2. ปริมาณเนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ

3. ข่าวสารการประชาสัมพนั ธ์ มีความเหมาะสม นา่ สนใจ

4. การจัดลำ�ดับเนื้อหาข้ันตอน มีความต่อเน่ือง อ่านแล้ว
เขา้ ใจ

5. การจัดรปู แบบของวารสารราชทณั ฑ์ งา่ ยตอ่ การอา่ น
และการใชง้ าน

6. สสี นั ในการออกแบบวารสารราชทณั ฑม์ คี วามเหมาะสม

7. สีพน้ื หลังกับสตี ัวอักษรมีความเหมาะสมต่อการอ่าน

8. ขนาดตวั อกั ษรและรปู แบบตวั อกั ษร อา่ นงา่ ยและสวยงาม

9. ภาพกับเนื้อหามีความสอดคล้องกัน และสามารถ
สื่อความหมายได้

ขอ้ คิดเห็น ขอ้ เสนอแนะต่อการปรบั ปรงุ วารสารราชทณั ฑ์
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................

วารสารราชทัณฑ์ 89

E-Commerce ร�ชทัณฑ์ GPGPTHAI WWW.GPGPTHAI.COM

เขต 1 • เรือนจำ�จงั หวัดสิงหบ์ ุรี
036-511714 ตอ่ 17
• เรือนจ�ำ กล�งสมุทรปร�ก�ร
02-3137146 02-3137147 ตอ่ 104 • เรือนจ�ำ จังหวัดอ่�งทอง
035-611591 ต่อ 14
• เรอื นจำ�กล�งลพบรุ ี
036-411068 ตอ่ 13 • เรอื นจ�ำ อ�ำ เภอชัยบ�ด�ล
036-456740
• เรือนจำ�กล�งพระนครศรอี ยุธย�
035-242594 035-245643 • เรือนจ�ำ อำ�เภอธัญบุรี
02-5771250 ตอ่ 106
• ทัณฑสถ�นบำ�บดั พเิ ศษจังหวัดปทุมธ�นี
02-5773292-3 ตอ่ 117 • สถ�นกกั ขังจงั หวัดปทุมธ�นี
02-5771794
• ทณั ฑสถ�นบำ�บดั พเิ ศษพระนครศรอี ยุธย�
035-241658 ตอ่ 103 โตะ หมู่บูชาไมส้ กั ทอง
เรือนจ�าจงั หวดั ชยั นาท
• ทัณฑสถ�นบ�ำ บดั พิเศษหญงิ
02-5771805 02-5771989

• ทัณฑสถ�นวยั หนุ่มกล�ง
02-9041580 02-9047514 ตอ่ 302

• ทณั ฑสถ�นวัยหน่มุ พระนครศรีอยธุ ย�
035-345518

• เรือนจ�ำ จังหวดั ชัยน�ท
036-411711 056-412628 17 ต่อ 15

• เรือนจำ�จงั หวัดปทุมธ�นี
02-5931981 ต่อ 15

• เรือนจ�ำ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ย�
035-322244

• เรอื นจำ�จังหวัดสระบุรี
036-211054 ตอ่ 15

90 วารสารราชทัณฑ

เขต 2 • เรือนจำ�จังหวดั ตร�ด
039-520226 ต่อ 18
• เรอื นจำ�กล�งชลบรุ ี
038-282692 038-271827 ตอ่ 109 • เรือนจำ�จงั หวดั นครน�ยก
037-311280 ตอ่ 18
• เรอื นจำ�กล�งระยอง
038-637759 ตอ่ 109 • เรอื นจ�ำ จังหวดั ปร�จนี บรุ ี
037-212135 ต่อ 14
• เรอื นจำ�กล�งฉะเชงิ เทร�
038-511013 ต่อ 103 • เรือนจำ�จังหวัดสระแก้ว
037-243056 ต่อ 14
• ทณั ฑสถ�นหญงิ ชลบุรี
038-282002 ต่อ 113 • เรือนจ�ำ พเิ ศษพทั ย�
038-240804
• ทณั ฑสถ�นเปดทุ่งเบญจ�
039-320171 • เรือนจ�ำ อ�ำ เภอกบินทร์บรุ ี
037-281176 ตอ่ 18
• ทัณฑสถ�นเปดบ้�นเนนิ สงู
037-308012 037-219904 • สถ�นกกั ขงั จังหวัดตร�ด
039-511055 039-530504
• ทณั ฑสถ�นเปด หว้ ยโปง
038-681611

• เรือนจำ�จงั หวัดจันทบุรี
039-311020 ตอ่ 111

ผลติ ภัณฑ์
จากไมช้ น้ิ เล็ก

เรอื นจา� อ�าเภอกบนิ ทรบ์ ุรี

วารสารราชทัณฑ 91

เขต 3 • เรือนจำ�จงั หวดั ศรีสะเกษ
045-611585 ตอ่ 21
• เรือนจำ�กล�งนครร�ชสมี �
044-242029 044-264938 ต่อ 22 • เรือนจำ�จังหวดั อำ�น�จเจริญ
045-511464 045-511957 ต่อ 17
• เรือนจ�ำ กล�งอบุ ลร�ชธ�นี
045-240889 045-243404 • เรือนจ�ำ อำ�เภอกันทรลกั ษณ์
045-662218
• เรือนจำ�กล�งสุรนิ ทร์
044-511181 ตอ่ 104 • เรอื นจ�ำ อำ�เภอน�งรอง
044-632312
• เรอื นจำ�กล�งคลองไผ่
044-323123 044-323391-5 • เรือนจ�ำ อำ�เภอบวั ใหญ่
044-461303
• ทัณฑสถ�นหญงิ นครร�ชสมี �
044-323402-3 044-32340-7 ต่อ 31 • เรือนจ�ำ อำ�เภอภูเขยี ว
044-861337
• ทัณฑสถ�นเกษตรอุตส�หกรรมเข�พริก
044-323324 044-323325 • เรือนจำ�อำ�เภอรัตนบรุ ี
044-599654
• เรอื นจำ�จงั หวัดชยั ภมู ิ
044-812831 044-821287 • เรอื นจำ�อำ�เภอสีคิว้
044-412477
• เรอื นจำ�จังหวัดบรุ ีรมั ย์
044-611242 044-613469

• เรือนจำ�จังหวดั ยโสธร
045-711506 044-712248

ชุดรบั แขกไม้ไผ่

เรือนจ�าอา� เภอสีค้ิว

92 วารสารราชทัณฑ

เขต 4 • เรือนจ�ำ จงั หวดั ร้อยเอ็ด
043-519567
• เรอื นจำ�กล�งขอนแกน่
043-241235 043-243449 ตอ่ 109 • เรือนจำ�จังหวดั เลย
042-811491
• เรือนจ�ำ กล�งอุดรธ�นี
042-421072 ต่อ 14 • เรอื นจ�ำ จงั หวดั สกลนคร
042-712579
• เรือนจำ�กล�งนครพนม
042-543235-6 ต่อ 105 • เรอื นจ�ำ จงั หวัดหนองค�ย
042-411503
• เรอื นจำ�กล�งขอนแกน่
043-241235 043-243449 ต่อ 109 • เรือนจำ�จังหวดั หนองบวั ลำ�ภู
042-314215 ตอ่ 13
• เรือนจ�ำ จงั หวัดก�ฬสนิ ธ์ุ
043-873341 • เรอื นจำ�อำ�เภอพล
043-418563-4
• เรือนจ�ำ จงั หวัดบึงก�ฬ
042-491742 • เรอื นจ�ำ อ�ำ เภอสว�่ งดินแดน
042-721088 042-722078 ตอ่ 25
• เรือนจำ�จงั หวดั มห�ส�รค�ม
043-711204 ต่อ 806 • สถ�นกักขังจังหวดั รอ้ ยเอ็ด
043-624065
• เรอื นจำ�จังหวดั มุกด�ห�ร
042-614312

ชงิ ชา้ ไม้สักทอง
เรือนจ�ากลางขอนแก่น

วารสารราชทัณฑ 93

เขต 5 • เรอื นจำ�จังหวัดแพร่
054-511057
• เรือนจ�ำ กล�งเชยี งใหม่
053-122401-2 ตอ่ 18 • เรือนจำ�จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน
053-612058 ตอ่ 20
• เรอื นจ�ำ กล�งเชยี งร�ย
053-737593-40 ตอ่ 107 • เรอื นจำ�จงั หวัดลำ�พูน
053-560755 ตอ่ 209
• เรอื นจ�ำ กล�งลำ�ป�ง
054-217048 ตอ่ 18 • เรอื งจำ�อ�ำ เภอเทงิ
053-451060 ตอ่ 14
• ทัณฑสถ�นหญิงเชยี งใหม่
053-221231 ต่อ 17 • เรือนจ�ำ อำ�เภอฝ�ง
053-451060 ต่อ 14
• ทณั ฑสถ�นบำ�บัดพเิ ศษลำ�ป�ง
054-356676 ตอ่ 15 • เรือนจ�ำ อ�ำ เภอแมส่ ะเรยี ง
053-681072
• เรือนจ�ำ จังหวดั น�่ น
054-710275 ตอ่ 18 • สถ�นกักขงั จังหวัดล�ำ ป�ง
054-241315
• เรือนจำ�จังหวดั พะเย�
054-431922

ชดุ รับแขกรากไมอ้ เนกประสงค์
เรอื นจา� อ�าเภอแม่สะเรยี ง

94 วารสารราชทัณฑ

เขต 6 • เรอื นจำ�จงั หวัดเพชรบรู ณ์
056-711460 056-721675 ต่อ 13
• เรือนจำ�กล�งพิษณุโลก
055-311383 • เรือนจ�ำ จงั หวัดสุโขทยั
055-612459 ต่อ 104
• เรอื นจ�ำ กล�งนครสวรรค์
056-221110 ตอ่ 15 • เรอื นจ�ำ จงั หวัดอุตรดติ ถ์
055-411013
• เรือนจำ�กล�งก�ำ แพงเพชร
055-711981 ต่อ 87-88 • เรือนจำ�จงั หวดั อุทัยธ�นี
056-511588 ต่อ 24
• เรอื นจำ�กล�งต�ก
055-510004 • เรือนจำ�อ�ำ เภอแมส่ อด
055-531226
• ทณั ฑสถ�นหญงิ พษิ ณโุ ลก
055-312806-8 ตอ่ 15 • เรอื นจ�ำ อ�ำ เภอสวรรคโลก
055-641674
• ทณั ฑสถ�นเปด หนองน้�ำ ขุ่น
056-287103 • เรือนจ�ำ อ�ำ เภอหลม่ สัก
5670 1764 ตอ่ 109
• เรือนจำ�จังหวัดพจิ ติ ร
056-616396 ชดุ สนามไม้สกั 4 ทน่ี ง่ั

• เรอื นจำ�จังหวดั พษิ ณุโลก เรือนจ�ากลางพิษณโุ ลก
055-311485

วารสารราชทัณฑ 95

เขต 7 • เรอื นจ�ำ จงั หวดั ประจวบครี ีขันย์
032-611159 ตอ่ 120
• เรอื นจำ�กล�งนครปฐม
034-251972 034-275743-4 ต่อ 116 • เรือนจำ�จังหวัดสมทุ รส�คร
034-411021 ต่อ 15
• เรอื นจำ�กล�งร�ชบุรี
032-228118-9 ตอ่ 105 • เรือนจ�ำ จังหวดั สุพรรณบรุ ี
035-511013 035-522509 ตอ่ 105
• เรือนจำ�กล�งเข�บนิ
032-228106-8 ตอ่ 105 • เรือนจ�ำ อำ�เภอทองผ�ภมู ิ
034-599317 ตอ่ 600
• เรือนจ�ำ กล�งเพชรบุรี
032-425014 ตอ่ 17 • สถ�นกกั กันนครปฐม
034-262-076
• เรอื นจำ�กล�งสมุทรสงคร�ม
034-715575

• เรอื นจ�ำ จงั หวัดก�ญจนบรุ ี
034-511163 ต่อ 17

โตะอาหาร

เรือนจ�ากลางนครปฐม

96 วารสารราชทัณฑ

เขต 8 • เรือนจ�ำ อ�ำ เภอเก�ะสมุย
077-419204
• เรือนจ�ำ กล�งสรุ �ษฎร์ธ�นี
077-272145 ตอ่ 112 • เรอื นจำ�อำ�เภอไชย�
077-43113 ตอ่ 115
• เรอื นจำ�กล�งนครศรธี รรมร�ช
075-358913 ต่อ 102 • เรือนจ�ำ อ�ำ เภอตะกั่วป�
076-421100 ตอ่ 16
• ทัณฑสถ�นวัยหนมุ่ นครศรธี รรมร�ช
075-341187 ต่อ 106 • เรือนจำ�อ�ำ เภอทุง่ สง
075-411112
• เรือนจ�ำ จงั หวดั กระบ่ี
075-611378 ต่อ 104 • เรอื นจ�ำ อำ�เภอป�กพนงั
075-517288
• เรือนจำ�จงั หวดั ชุมพร
077-511211 ตอ่ 13 • เรือนจำ�อำ�เภอหลงั สวน
077-541066
• เรอื นจ�ำ จังหวดั พังง�
076-412051 ต่อ 12 • สถ�นกกั ขังจงั หวดั นครศรธี รรมร�ช
075-460422
• เรือนจำ�จังหวดั ภูเกต็
076-212104 ต่อ 15 เรือประมงจา� ลอง

• เรอื นจำ�จงั หวัดระนอง เรือนจา� จังหวัดชมุ พร
077-811090 ต่อ 105

วารสารราชทัณฑ 97

เขต 9 • เรอื นจ�ำ จงั หวัดตรัง
075-213265 ตอ่ 13
• เรือนจำ�กล�งสงขล�
074-336063 ตอ่ 118 • เรอื นจ�ำ จังหวัดนร�ธิว�ส
073-511131 ตอ่ 107
• เรือนจ�ำ กล�งยะล�
073-224286 • เรือนจำ�จงั หวัดสงขล�
074-336066 ต่อ 14
• เรอื นจำ�กล�งพทั ลุง
074-613021 ตอ่ 13 • เรอื นจ�ำ จังหวัดสตลู
074-711065 ต่อ 15
• เรอื นจ�ำ กล�งปตต�นี
073-414254 • เรือนจำ�อำ�เภอน�ทวี
074-371598
• ทัณฑสถ�นหญงิ สงขล�
074-336065 ตอ่ 117 • เรอื นจ�ำ อำ�เภอเบตง
073-231313 ตอ่ 16
• ทณั ฑสถ�นบำ�บัดพิเศษสงขล�
074-337514-5 ตอ่ 13

• ทณั ฑสถ�นเปดบ�้ นน�วง
074-606133

ชดุ รบั แขกหวาย

ทัณฑสถานบา� บัดพิเศษสงขลา

98 วารสารราชทัณฑ

เขต 10 • เรอื นจำ�พิเศษมีนบุรี
02-407315-6 ตอ่ 102
• เรอื นจำ�กล�งคลองเปรม
02-5895245 02-5898052 ตอ่ 186 • ทัณฑสถ�นโรงพย�บ�ลร�ชทณั ฑ์
02-953-3999
• เรอื นจ�ำ พิเศษกรุงเทพมห�นคร
02-5917060 ตอ่ 49 • ทณั ฑสถ�นหญิงกล�ง
02-5884832 02-5895243 ตอ่ 109
• เรือนจำ�กล�งบ�งขว�ง
02-5250486 ต่อ 140 • ทัณฑสถ�นหญิงธนบุรี
02-453319 02-8953272 ต่อ 313
• เรือนจำ�จงั หวดั นนทบรุ ี
02-5253137 • ทัณฑสถ�นบำ�บดั พิเศษกล�ง
02-5910555 02-9533453 ตอ่ 119
• เรือนจ�ำ พเิ ศษธนบุรี
02-4530321 02-4530859

เก้าอน้ี ั่งเหล็กดดั

เรอื นจ�าพิเศษกรุงเทพมหานคร

วารสารราชทัณฑ 99


Click to View FlipBook Version