The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารราชทัณฑ์ ฉบับที่ 2-60

วารสารราชทัณฑ

ว า ร ส า ร เ พ่ื อ ค ว า ม ก  า ว ห น  า แ ล ะ ร อ บ รู  ใ น ง า น ร า ช ทั ณ ฑ 

วัตถปุ ระสงค สารจากบรรณาธิการ

1. เพื่อเสริมสร้�งคว�มรแู้ ละทัศนะเกีย่ วกับง�นร�ชทัณฑ์ สวัสดีท่�นผู้อ่�นท่ีเค�รพรัก
2. เพื่อเผยแพร่กจิ กรรมเกย่ี วกบั ง�นร�ชทณั ฑ์ ทุกท่�น ว�รส�รร�ชทัณฑ์ฉบับนี้
3. เพ่อื เปน สือ่ กล�งในก�รแสดงคว�มคิดเหน็ และแลกเปลยี่ นคว�มรู้ เปนว�รส�รร�ชทัณฑ์ของปท่ี 65
พ.ศ. 2560 ฉบบั ท่ี 2 ส�ำ หรบั เนอื้ ห�ภ�ยใน
ประสบก�รณแ์ ละปญ ห�ขัดข้องในก�รบริห�ร ของว�รส�รฉบบั นย้ี งั คงเปย มไปดว้ ยส�ระดๆี ทเี่ ร�ไดค้ ดั สรร
ม�เพ่ือมอบให้ท่�นผู้อ่�นเช่นเดิม จะขอเริ่มต้นด้วย
คณะกรรมการอาํ นวยการวารสารราชทัณฑ ก�รแสดงคว�มยนิ ดี และขอตอ้ นรบั ท�่ นรองอธบิ ดคี นใหม่
พันตำ�รวจโทประวุธ วงศ์สีนิล โดยก�รนำ�ประวัติก�ร
• อธิบดกี รมร�ชทัณฑ์ ประธ�นทป่ี รกึ ษ� รับร�ชก�รของท่�นม�เสนอแก่ผู้อ่�น รวมถึงบทคว�ม
• รองอธบิ ดีกรมร�ชทณั ฑ์ ท่ปี รึกษ� ท่ีเก่ียวข้องกับก�รจัดตั้งศูนย์ประส�นง�นและส่งเสริม
• รองอธิบดกี รมร�ชทัณฑ์ ท่รี ับผิดชอบ ประธ�นคณะกรรมก�ร ก�รมีง�นทำ� CARE Center ทั้งคว�มรู้ท�งวิช�ก�ร
อำ�นวยก�ร เพ่ือก�รพัฒน�และเพ่ิมประสิทธิภ�พในก�รปฏิบัติง�น
ก�รปฏิบัตริ �ชก�รของสถ�บันพฒั น� กรรมก�ร เชน่ โครงก�รโรงง�นในเรอื นจ�ำ เพอื่ ก�รพฒั น�สร�้ งอ�ชพี
ข้�ร�ชก�รร�ชทณั ฑ์ กรรมก�ร ใหผ้ ู้ตอ้ งขัง และบทคว�มอน่ื ๆ ที่น�่ สนใจอกี ม�กม�ย
• หวั หน้�ผ้ตู รวจร�ชก�รกรม กรรมก�ร กองบรรณ�ธิก�รหวังเปนอย่�งย่ิงว่�ท่�นผู้อ่�น
• ผอู้ �ำ นวยก�รส�ำ นักทณั ฑวทิ ย� กรรมก�ร จะได้รบั ประโยชน์จ�กก�รเผยแพรบ่ ทคว�มต่�งๆ ที่ได้น�ำ
• ผู้อำ�นวยก�รส�ำ นักทัณฑปฏิบตั ิ กรรมก�ร เสนอ และท่�นผู้อ่�นหรือผู้สนใจท่�นใดประสงค์จะลง
• ผูอ้ ำ�นวยก�รสำ�นักพฒั น�พฤตินิสัย กรรมก�ร บทคว�มในว�รส�รร�ชทณั ฑ์ ส�ม�รถสง่ บทคว�มทเ่ี กยี่ วกบั
• ผู้อ�ำ นวยก�รกองคลัง กรรมก�ร ง�นร�ชทัณฑ์หรือเก่ียวกับง�นในกระบวนก�รยุติธรรม
• ผอู้ �ำ นวยก�รกองบรหิ �รทรพั ย�กรบคุ คล กรรมก�ร หรือบทคว�มอ่ืนๆ ที่เปนประโยชน์ โดยส�ม�รถติดต่อ
• ผอู้ ำ�นวยก�รกองยทุ ศ�สตรแ์ ละแผนง�น บรรณ�ธกิ �ร กองบรรณ�ธิก�รได้ที่ อ�ค�รสถ�บันพัฒน�ข้�ร�ชก�ร
• ผอู้ �ำ นวยก�รกองกฎหม�ย และเลข�นกุ �ร ร�ชทัณฑ์ กรมร�ชทณั ฑ์
• ผอู้ �ำ นวยก�รสถ�บนั พฒั น� ผ้ชู ว่ ยบรรณ�ธิก�รและ สุดท้�ยนี้ กองบรรณ�ธิก�รต้องขอขอบคุณท่�น
ข�้ ร�ชก�รร�ชทณั ฑ์ ผชู้ ่วยเลข�นกุ �ร สม�ชิกทุกท่�นท่ีได้ร่วมกันสนับสนุนก�รสมัครสม�ชิก
• หวั หน้�ศูนย์ส่งเสริมและพัฒน�ก�รเรยี นรู้ ว�รส�รร�ชทณั ฑโ์ ดยมยี อดจ�ำ นวนสม�ชกิ เพม่ิ ขนึ้ ม�อย�่ ง
ต่อเน่ือง อีกทั้งยังเปนกำ�ลังใจให้กับท�งคณะทำ�ง�น
คณะเจาหนา ทีป่ ระจํากองบรรณาธกิ ารวารสารราชทัณฑ ว�รส�รร�ชทัณฑ์ม�โดยตลอด จึงขอขอบคุณทุกท่�นม�
ณ โอก�สนี้
• น�งพรเอ้ือง ตรที อง ประจำ�กองบรรณ�ธิก�ร
• น�ยปรชี � เครือจนั ทร์ ประจ�ำ กองบรรณ�ธกิ �ร ไพรัตน ขมินทกูล
• น�งส�วม�ริส� วริ ยิ ะรมั ภ์ ประจ�ำ กองบรรณ�ธิก�ร บรรณาธกิ ารวารสารราชทณั ฑ
• น�งส�ววีรนชุ นม่ิ เงิน ประจ�ำ กองบรรณ�ธกิ �ร
• น�งส�วฑิตฐิต� ธิตธิ รรมพฤกษ์ ประจำ�กองบรรณ�ธิก�ร
• น�ยกิตตพิ งษ์ เกิดนอ้ ย ประจ�ำ กองบรรณ�ธิก�ร
• น�งสุวรรณ� ตระกูลพ�นิชย์ ประจำ�กองบรรณ�ธิก�ร
• น�ยอภิรกั ษ์ แก้วสวย ประจ�ำ กองบรรณ�ธิก�ร
• น�งปรยี � สว�่ งเนตร หวั หน้�ก�รเงนิ และบญั ชี
• น�ยทิฆัมพร หอ่ มกระโทก เจ้�หน้�ที่ก�รเงินและบญั ชี
• น�ยธรี ศกั ดิ์ อินทรช์ ่วย เจ้�หน�้ ทีก่ �รเงินและบัญชี
• น�ยสุวิชัย ศรที องพิมพ์ หัวหน้�พัสดุ
• น�งนฤมล เครือจนั ทร์ เจ้�หน้�ท่พี สั ดุ
• น�งส�วขวัญใจ ไกรสังข์ พิสจู นอ์ กั ษร
• น�งส�วสภุ รภัค พยัคฆ�คม พสิ จู นอ์ ักษร
• น�งส�วจรี ะพันธ์ ศรีเสนพลิ � พิสจู นอ์ กั ษร

สารบญั

3 ประวตั ิอธิบดีกรมราชทัณฑ์
4 คณะกรรมการราชทณั ฑ์
10 ข่าวกรมราชทัณฑ์
14 ขา่ วพฒั นาบคุ ลากร

16 ศูนยป์ ระสานงานและสง่ เสริมการมีงานท�า
24 พธิ ลี งนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงโครงการประชารัฐ ร่วมสรา้ งงาน สร้างอาชีพผตู้ อ้ งขัง

29 การจดั ทา� สอ่ื การเรียนรู้ในการพัฒนาพฤตินสิ ยั ผู้ต้องขงั
34 ดนตรีสามารถพัฒนาผ้ตู อ้ งขงั เรอื นจา� พิเศษมีนบุรีได้อย่างไร
41 การส่งผตู้ ้องขงั คนื สูส่ ังคมของราชทณั ฑ์สงิ คโปร์
47 เรอื่ งเล่า…ประสบการณ์จากการเรยี นรู้ ณ สาธารณรัฐเกาหลี
53 สรปุ สาระส�าคญั ของการสัมมนาเรื่องระบบราชการ 4.0 และ PMQA 4.0
57 ทอ้ แท้ได้ แตอ่ ย่าท้อถอย
61 สรุปยอ่ ค�าวินจิ ฉยั พ.ร.บ. ขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540

65 บทความวิชาการ
70 มุมมองต้นกล้าราชทัณฑ์
75 ยูยิตสูในเรอื นจา� มดี ้วยหรือ ? ตอนท่ี 1
80 ตามไปเยอื น ทณั ฑสถานหญิงพษิ ณุโลก
86 เรอื นจ�าอา� เภอธัญบรุ ี เรือนจา� ไทยในอดตี

89 แบบสา� รวจความคิดเห็นในการจดั ทา� วารสารราชทณั ฑ์
90 Good Products Good People

100 ใบสมัครสมาชิกวารสารราชทณั ฑ์ ปท‚ ี่ 66-67
ประจา� ป‚ พ.ศ. 2561-2562

2 วารสารราชทัณฑ

พนั ตา� รวจโทประวธุ วงศสนี ิล

รองอธบิ ดีกรมราชทัณฑ์ ฝ่ายปฏบิ ตั กิ าร
กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุตธิ รรม

ประวตั ิการศึกษา

มธั ยม โรงเรยี นสวนกหุ ลาบวิทยาลยั
โรงเรียนเตรียมทหาร (นตท. ร่นุ ที่ 25)

ปริญญาตรี 1. รัฐประศาสนศาสตรบณั ฑติ โรงเรยี นนายร้อยต�ารวจ
(นรต. ร่นุ ท่ี 41)

2. นติ ิศาสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยรามค�าแหง
ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต (พฒั นาสังคม) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

ศกึ ษาอบรม/หลักสตู ร

- Computer Crime Investigation Course ประเทศสิงคโปร์
- Major Case Management สถาบัน FBI ACADEMY ประเทศสหรัฐอเมรกิ า
- การบรหิ ารงานยตุ ธิ รรมระดบั สงู รนุ่ ที่ 2 ส�านักกจิ การยุตธิ รรม กระทรวงยตุ ธิ รรม
- หลักสตู รนักบรหิ ารระดบั สูง : ผ้นู �าท่ีมีวิสัยทศั น์และคุณธรรม (นบส. 1) รุ่นที่ 80 สา� นักงาน ก.พ.
- โครงการพฒั นานักบริหารระดับสูง : ผบู้ ริหารส่วนราชการ (นบส. 2) รนุ่ ที่ 10 สา� นักงาน ก.พ.

ประวัตกิ ารท�างาน

สา� นกั งานต�ารวจแห่งชาติ
- สารวัตรแผนก 4 กองกา� กบั การ 2 กองปราบปราม
- รองผู้ก�ากบั การ 4 กองตา� รวจรถไฟ
- รองผกู้ �ากบั การ 5 กองปราบปราม
กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ โอนยา้ ยไปกรมสอบสวนคดพี ิเศษในปี 2547
- ผู้อา� นวยการส่วนตรวจ 2 สา� นักคดเี ทคโนโลยีและศนู ยข์ อ้ มูลการตรวจสอบ
- ผอู้ �านวยการสว่ นคดีคุ้มครองผ้บู ริโภคและส่งิ แวดล้อม 2
- ผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านคดพี ิเศษ (ระดบั 9)
- ผูบ้ ญั ชาการสา� นักคดีคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคและส่งิ แวดล้อม
- รองอธบิ ดกี รมสอบสวนคดพี ิเศษ
- รองอธิบดกี รมราชทัณฑ์ (1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 – ปจั จุบัน)

งานดา้ นวิชาการ

- เปน็ อาจารย์พิเศษ คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั
และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรใ์ นระดับปรญิ ญาตรแี ละปริญญาโท

- เป็นทปี่ รึกษากรมการทหารช่าง ในการแก้ไขปญั หาการบกุ รกุ ที่ดนิ ท่ีราชพัสดุ
- เป็นอาจารยป์ ระจ�าโรงเรยี นส่งกา� ลังบา� รุง กองทพั บก ในการใหค้ วามร้กู บั ทหารทีด่ ูแลทีด่ ินที่ราชพสั ดุ
- เปน็ วทิ ยากรบรรยายในหลกั สตู รตา่ งๆ ทง้ั ในหนว่ ยงานกรมสอบสวนคดพี เิ ศษ และหนว่ ยงานภายนอกหลาย

หนว่ ยงานตามทไ่ี ดร้ บั เชญิ ในหวั ขอ้ การสบื สวนสอบสวนในคดบี กุ รกุ ทด่ี นิ ของรฐั , เทคนคิ การรวบรวมพยาน
หลักฐาน

วารสารราชทัณฑ 3

คณะกรรมการราชทัณฑ์

ดร.พมิ พ์พร เนตรพุกกณะ และณธารา ฐิตธิ ราดล

“คณะกรรมการราชทัณฑ์” ได้เกิดข้ึนเป็นครั้งแรก หลังจากที่มีการบังคับใช้พระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ฉบับใหม่ คือ พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560 ซ่ึงหมวด 1 ได้ก�ำหนดให้มีคณะกรรมการ
ราชทณั ฑเ์ พอ่ื กำ� หนดนโยบายทศิ ทางในการบรหิ ารงานราชทณั ฑ์ และปรบั ปรงุ กฎหมาย ใหส้ ามารถแกไ้ ขบำ� บดั
ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง กับท้ังเป็นเคร่ืองมือในการแก้ไขปัญหาอ่ืน ในการบริหาร
จัดการกระบวนงานของกรมราชทัณฑ์เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพย่ิงขึ้น โดยคณะกรรมการราชทัณฑ์ชุดแรก
หรือ ชุดที่หน่ึง (ปี พ.ศ. 2561) ประกอบไปด้วยบุคคลส�ำคัญระดับหัวหน้าส่วนราชการและผู้ทรงคุณวุฒิ
ท่มี ีความรู้ความสามารถ รวมท้งั หมด 19 ทา่ น ดังนี้

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ

รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงยุตธิ รรม ปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม
(พลอากาศเอกประจิน จนั่ ตอง) (ศาสตราจารย์พิเศษวิศษิ ฏ์ วศิ ษิ ฏส์ รอรรถ)

4 วารสารราชทัณฑ์

กรรมการโดยตา� แหนง่ (9 ท่าน)

ปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงแรงงาน
และความม่ันคงของมนุษย์
(นายฉตั รชยั พรหมเลศิ ) (นายจรินทร์ จกั กะพาก)
(นายปรเมธี วมิ ลศิร)ิ

ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ผ้บู ญั ชาการตา� รวจแหง่ ชาติ

(นายการุณ สกุลประดิษฐ์) (นายแพทย์สขุ มุ กาญจนพมิ าย) (พลตา� รวจเอกจกั รทิพย์ ชยั จินดา)

เลขาธกิ ารส�านักงานศาลยตุ ธิ รรม อยั การสงู สุด เลขาธกิ ารคณะกรรมการ
สิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ
(นายสราวุธ เบญจกุล) (นายเข็มชัย ชตุ วิ งศ์)
(นางภริ มย์ ศรีประเสริฐ)

วารสารราชทัณฑ 5

กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ (7 ท่าน)

ผู้ทรงคณุ วุฒดิ ้านนิติศาสตร์ ผทู้ รงคุณวุฒิด้านศาสนา ผทู้ รงคุณวฒุ ิดา้ นอาชญาวิทยา
ศลิ ปะ หรือวฒั นธรรม (รองศาสตราจารย์ ดร.ศรสี มบตั ิ โชคประจกั ษช์ ดั )
(พลตา� รวจเอกวนั ชยั ศรีนวลนดั )
(นายเผ่าทอง ทองเจอื )

ผทู้ รงคณุ วฒุ ิด้านทัณฑวทิ ยา ผ้ทู รงคณุ วฒุ ดิ า้ นสทิ ธมิ นษุ ยชน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านจติ วทิ ยา
(ดร.นัทธี จิตสวา่ ง) (นายไพฑรู ย์ สว่างกมล) (นางวัลลี ธรรมโกสทิ ธ)ิ์

ผทู้ รงคณุ วุฒดิ า้ นอนื่ ท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อการราชทณั ฑ์

(รองศาสตราจารย์อภญิ ญา เวชยชัย)
6 วารสารราชทัณฑ

กรรมการและเลขานุการ

กรรมการและเลขานกุ าร

อธบิ ดีกรมราชทัณฑ์
(พ.ต.อ.ณรัชต์ เศวตนันทน)์

ผ้ชู ่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ

รองอธบิ ดีกรมราชทัณฑ์ ฝ่ายบรหิ าร รองอธิบดกี รมราชทณั ฑ์ ฝา่ ยปฏิบัตกิ าร
(นายอายุตม์ สินธพพันธ)์ุ (นายธวชั ชยั ชยั วฒั น)์

วารสารราชทัณฑ 7

อ�ำนาจหน้าที่ส�ำคัญของคณะกรรมการฯ
มีหลายประการ กล่าวคือ ก�ำหนดนโยบายและ
ทิศทางในการบริหารงานราชทัณฑ์ เพ่ือให้
สอดคล้องกับภารกิจด้านการราชทัณฑ์อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รวมทงั้ พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ เกย่ี วกบั
การบรหิ ารงานราชทณั ฑต์ ามทค่ี ณะรฐั มนตรขี อให้
พิจารณา ให้ค�ำแนะน�ำหรือค�ำปรึกษาแก่รัฐมนตรี
ในการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ
ตามพระราชบญั ญตั ริ าชทณั ฑ์ รวมทง้ั ใหค้ ำ� แนะนำ�
แก่อธบิ ดี ในการวางระเบยี บกรมราชทัณฑ์ ให้ความเหน็ ชอบกฎกระทรวง ระเบยี บ หรือประกาศต่างๆ ตามท่ีก�ำหนด
ไว้ในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ ก�ำหนดหรือเสนอแนะแนวทาง กลยุทธ์ และมาตรการในการปรับปรุงและพัฒนา
การบรหิ ารงานราชทณั ฑ์ หรอื การดำ� เนนิ การตามแผนการบรหิ ารงานราชทณั ฑใ์ หเ้ ปน็ ไปโดยมปี ระสทิ ธภิ าพและสมั ฤทธผ์ิ ล
รวมท้ังแนวทางในการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังให้กลับตนเป็นคนดี การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยผู้ต้องขัง และ
การดแู ลชว่ ยเหลือผู้ตอ้ งขังหลังปล่อยเพ่อื มใิ หก้ ลับไปกระทำ� ความผดิ ซ้�ำอกี และเสนอแนะต่อคณะรฐั มนตรี หนว่ ยงาน
ของรัฐ หรอื องค์กรทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการพัฒนาพฤตนิ สิ ยั ผู้ตอ้ งขงั และการดแู ลชว่ ยเหลอื ผูต้ อ้ งขังหลงั ปลอ่ ย เพอ่ื พจิ ารณา
ก�ำหนดมาตรฐานการด�ำเนินการด้านต่างๆ ของเรือนจ�ำให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ และปฏิบัติการอ่ืน
ตามทีก่ ำ� หนดไว้ในพระราชบัญญตั ริ าชทณั ฑ์หรือกฎหมายอืน่
8 วารสารราชทัณฑ์

ดงั นัน้ หากจะสรุปโดยยอ่ คอื ต่อไปน้ี
นโยบายและการด�ำเนินงานใดๆ ท่ีส�ำคัญ
ของกรมราชทัณฑ์ ตลอดจนกฎหมายหลัก
และระเบียบท่ีจะบังคับใช้ จะต้องผ่าน
การพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการฯ
ก่อนน่ันเอง ทั้งน้ี พระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พ.ศ. 2560 ยังก�ำหนดให้คณะกรรมการฯ
แต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา
วินิจฉัยหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหน่ึง
ตามทีค่ ณะกรรมการมอบหมาย กไ็ ด้
คณะกรรมการฯ จะสามารถประชมุ ได้
ไม่เกินเดือนละ 1 คร้ัง โดยกรรมการผู้ทรง
คณุ วุฒใิ นคณะกรรมการราชทัณฑ์ชดุ ที่ 1 น้ี
จะมวี าระดำ� รงตำ� แหนง่ 3 ปี เมอื่ ครบกำ� หนด
แล้วกรมราชทัณฑ์จะได้ด�ำเนินกระบวนการ
สรรหาและแตง่ ตงั้ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ง้ั 7 ดา้ นใหม่
อกี ครง้ั
การมีคณะกรรมการราชทัณฑ์
จะช่วยส่งผลถึงแนวโน้มการพัฒนางาน
ราชทัณฑ์ในภาพรวม ด้วยเหตุท่ีนับจากนี้
กรมราชทัณฑ์จะสามารถก�ำหนดนโยบาย
การบรหิ ารงานตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ไดร้ บั มมุ มองและขอ้ เสนอแนะแนวทางทรี่ อบดา้ นจากทง้ั ผแู้ ทนหนว่ ยงาน
สำ� คญั และผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นดา้ นทเี่ กย่ี วขอ้ งทมี่ คี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณอ์ นั เปน็ ทยี่ อมรบั อกี ทงั้ เปน็ การผสาน
ความร่วมมือและเปิดโอกาสให้หน่วยงานอื่นได้เข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง ช่วยเสริมสร้างความรู้
ความเข้าใจและการยอมรับต่อผู้พ้นโทษ การด�ำเนินงานท้ังหมดท่ีกล่าวมาจึงถือเป็นมิติใหม่ของกรมราชทัณฑ์
ตามบทบญั ญัตขิ องกฎหมายใหม่ ซ่งึ บุคลากรกรมราชทัณฑ์ทุกคนควรทราบไว้

วารสารราชทัณฑ์ 9

วนั ท่ี 9 มนี าคม 2561 นางสาวเพลนิ ใจ แต้เกษม
รองอธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ ฝา่ ยพฒั นาพฤตนิ สิ ยั เปน็ ประธาน
ในพธิ เี ปดิ การสมั นาเจา้ หนา้ ทปี่ ระจา� ศนู ยป์ ระสานงานและ
ส่งเสริมการมีงานทา� (CARE : Center of Assistance to
Reintegration and Employment) จัดโดย กองพัฒนา
พฤตนิ สิ ยั กรมราชทณั ฑ์ มขี า้ ราชการ/เจา้ หนา้ ท่ี เรอื นจา� /
ทณั ฑสถาน ทวั่ ประเทศ จา� นวน 137 แหง่ เขา้ รว่ มสมั มนา
ณ ห้องสมั มนา กรมราชทัณฑ์ ชั้น 3 อาคารกรมราชทณั ฑ์

เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2561 พันต�ารวจเอกณรัชต์ เศวตนันทน์ อธิบดี
กรมราชทณั ฑ์ เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ การแขง่ ขนั กรฑี าอาเซยี น ครง้ั ที่ 20 โดยจดั ขน้ึ
ระหว่างวันท่ี 12 - 16 มีนาคม 2561 ณ สนามติณสูลานนท์ และสนามกอล์ฟ
เซาเทริ น์ ฮลิ กอลฟ์ จงั หวดั สงขลา โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เปน็ การเชอื่ มสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง

กรมราชทัณฑ์ในประเทศสมาชิก
อาเซียนเพื่อแลกเปล่ียนข้อคิดเห็น
ด้านราชทัณฑ์ และพัฒนาทักษะ
ด้านกรีฑาของข้าราชการสังกัด
ราชทัณฑ์ ในประเทศสมาชิก
อาเซียนซึ่งประเทศสมาชิกได้ผลัด
เปล่ยี นหมนุ เวียนกันเปน็ เจ้าภาพ
10 วารสารราชทัณฑ

ขา‹ วกรมราชทณั ฑ

วันที่ 26 มีนาคม 2561 พิธีลงนามบันทึก
ข้อตกลงว่าด้วยการประสานความร่วมมือ (MOU)
“โครงการประชารฐั รว่ มสรา้ งงาน สรา้ งอาชพี ผตู้ อ้ งขงั ”
ระหว่างกรมการจัดหางาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
กรมราชทัณฑ์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ
สภาหอการคา้ แหง่ ประเทศไทย ณ ทณั ฑสถานบา� บดั พเิ ศษ
จังหวัดปทมุ ธานี กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุตธิ รรม

วันท่ี 2 เมษายน 2561 พลอากาศเอกประจิน
จน่ั ตอง รองนายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวง
ยุติธรรม พลต�ารวจเอกอดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงแรงงาน เดินทางเข้าตรวจเยี่ยม
ทณั ฑสถานบา� บดั พเิ ศษจงั หวดั ปทมุ ธานี พรอ้ มบนั ทกึ เทป
การให้สัมภาษณ์รายการ “เดินหน้าประเทศไทย”
ตาม “โครงการประชารัฐร่วมสร้างงาน สร้างอาชีพให้
ผู้ต้องขัง” โดยมี พันต�ารวจเอกณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์ และคณะผู้บริหารกรมราชทัณฑ์
ใหก้ ารตอ้ นรบั ณ ทณั ฑสถานบา� บดั พเิ ศษจงั หวดั ปทมุ ธานี

วารสารราชทัณฑ 11

เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2561 กรมราชทัณฑ์
จัดพิธีรดน้�าขอพรเนื่องในเทศกาลวันสงกรานต์ โดยมี
พันต�ารวจเอกณรัชต์ เศวตนันทน์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์
เป็นประธานในพิธีกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการจัดงาน
และเรียนเชิญอดีตผู้บริหารกรมราชทัณฑ์ผู้อาวุโสสูงสุด
กล่าวให้พรแก่ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีกรมราชทัณฑ์
ณ ห้องสัมมนากรมราชทณั ฑ์ ชั้น 3

เม่อื วันท่ี 5 พฤษภาคม 2561 พลอากาศเอก
ประจิน จ่นั ตอง รองนายกรัฐมนตรแี ละรัฐมนตรวี า่ การ
กระทรวงยตุ ธิ รรม เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ การแขง่ ขนั กฬี า
ภายในกระทรวงยุติธรรม ประจ�าปี พ.ศ. 2561 โดยมี
ศาสตราจารยพ์ เิ ศษวศิ ษิ ฏ์ วศิ ษิ ฏส์ รอรรถ ปลดั กระทรวง
ยุตธิ รรม พร้อมดว้ ยผบู้ รหิ ารระดับสงู กระทรวงยตุ ธิ รรม
และพนั ตา� รวจเอกณรชั ต์ เศวตนนั ทน์ อธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์
เข้าร่วมพิธีดังกล่าว ณ สนามอินทรีจันทรสถิตย์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพมหานคร
12 วารสารราชทัณฑ

ข‹าวกรมราชทณั ฑ

เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2561 สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชด�าเนนิ ทรงเปิด
“หอ้ งสมดุ พรอ้ มปญั ญา” เพอ่ื สรา้ งความตระหนกั ในการพฒั นาหอ้ งสมดุ ใหไ้ ดม้ าตรฐานเปน็ แหลง่ เรยี นรทู้ สี่ รา้ งประโยชน์
แก่เจ้าหนา้ ที่และผู้ต้องขังตอ่ ไป ณ ทัณฑสถานหญงิ พษิ ณโุ ลก จังหวดั พษิ ณโุ ลก

พันต�ารวจเอกณรัชต์ เศวตนันทน์ อธิบดี
กรมราชทัณฑ์ ร่วมกบั Mr.Mohammad Toghi Soltan
Mohammadi ท่ีปรึกษาสถานเอกอัครราชทูตอิสลาม
แห่งอิหร่านประจ�าประเทศไทย จัดพิธีโอนตัวนักโทษ
เดด็ ขาดสญั ชาติอิหรา่ น จ�านวน 2 ราย เพื่อกลับไปรับโทษ
ต่อยังสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ณ เรือนจ�ากลาง
คลองเปรม

วารสารราชทัณฑ 13

ขา‹ วพฒั นาบคุ ลากร

หลักสูตรขำŒ รำชกำรรำชทณั ฑบรรจุใหม่ (แรกรับ)

ด�าเนนิ การฝกึ อบรมระหวา่ งวนั ท่ี 22 มกราคม - 23 มีนาคม 2561

รุน่ ท่ี 139 มีผู้เข้ารับการอบรม จ�านวน 115 คน ณ ศูนย์ฝึกอบรมข้าราชการราชทัณฑ์ประจ�า
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อ�าเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา

รุน่ ที่ 140 ผู้เข้ารับการอบรม จ�านวน 99 คน ณ ศูนย์ฝึกอบรมข้าราชการราชทัณฑ์ประจ�า
ภาคเหนือ อา� เภอเมอื งลา� ปาง จังหวัดล�าปาง

รุน่ ที่ 141 มผี ู้เขา้ รบั การอบรม จา� นวน 150 คน ณ ศูนยฝ์ กึ ยทุ ธวธิ ตี �ารวจกลาง (หนองสาหร่าย)
อ�าเภอปากชอ่ ง จงั หวดั นครราชสมี า

14 วารสารราชทัณฑ

อบรมหลักสูตร ภำษำยำวีและวัฒนธรรมมุสลิม
ส�ำหรับเจŒำหนŒำที่เรือนจ�ำในพ้ืนที่จังหวัดชำยแดนใตŒ

ด�าเนินการฝึกอบรมระหว่างวันที่ 18 - 22 ธันวาคม 2560 มีผู้รับการฝึกอบรม 30 คน ณ ศูนย์ฝึกอบรมข้าราชการ
ราชทัณฑ์ประจ�าภาคใต้ เรอื นจ�ากลางสงขลา อ�าเภอเมืองสงขลา จังหวดั สงขลา

กำรอบรมหลักสูตร นักบริหำรงำนเรือนจ�ำระดับหัวหนŒำฝ†ำย (นบฝ.)
ฝ†ำยบริหำรท่ัวไป

ด�าเนินการฝึกอบรมระหว่างวันท่ี 12 – 23 กุมภาพนั ธ์ 2561 มีผรู้ ับการฝึกอบรม 50 คน ณ สถาบนั พัฒนาขา้ ราชการ
ราชทณั ฑ์ อ�าเภอเมอื งนนทบุรี จังหวัดนนทบรุ ี

อบรมหลักสูตรครูฝƒกรำชทัณฑระดับตŒน

ด�าเนินการฝึกอบรมระหว่างวันท่ี 29 เมษายน – 25 พฤษภาคม 2561 รุ่นท่ี 3 มีผู้รับการฝึกอบรม 60 คน
ณ กองก�ากับการ 7 กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการต�ารวจตระเวนชายแดน ค่ายศรียานนท์ อ�าเภอชะอ�า
จงั หวดั เพชรบุรี

วารสารราชทัณฑ 15

ศูนย์ประสานงาน

และสง่ เสริมการมงี านทา�

CARE

Center for Assistance to Reintegration
and Employment

เบ็ญจมาส ศรีประวัติ
กองพัฒนาพฤตินิสัย

16 วารสารราชทัณฑ

กระทรวงยุติธรรม มีนโยบายเน้นหนักในการคืนคนดีสู่สังคม โดยการให้หน่วยงานในกระทรวง
ยุติธรรมบูรณาการการท�ำงานเพื่อพัฒนาและส่งเสริมอาชีพผู้กระท�ำผิดอย่างยั่งยืน ซึ่งกรมราชทัณฑ์
โดยทา่ นอธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ พนั ตำ� รวจเอกณรชั ต์ เศวตนนั ทน์ ไดม้ นี โยบายในการจดั ตง้ั ศนู ยป์ ระสานงาน
และส่งเสรมิ การมงี านท�ำ (CARE : Center for Assistance to Reintegration and Employment)
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นศูนย์ประสานงานและช่วยเหลือผู้ต้องขัง และผู้พ้นโทษให้มีงานท�ำ ท้ังใน
ขณะต้องโทษในเรือนจ�ำ และการน�ำความรู้จากการอบรมวิชาชีพ การฝึกอาชีพระยะสั้นระหว่าง
ที่อยู่ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ไปประกอบอาชีพสุจริตภายหลังพ้นโทษ รวมทั้ง
เปน็ ศนู ยป์ ระสานงานและใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผพู้ น้ โทษในดา้ นตา่ งๆ เพอื่ ดำ� เนนิ การ
ตามนโยบาย 3 ส. 7 ก. ของอธิบดีกรมราชทัณฑ์ในการคืนคนดีสู่สังคม มุ่งเน้น
ให้ผู้พ้นโทษมีอาชีพ มีงานท�ำภายหลังพ้นโทษ สามารถช่วยเหลือตนเอง
ไม่เปน็ ภาระแกค่ รอบครวั และสังคม และไม่กลับมากระท�ำผิดซ้�ำ

กรมราชทัณฑ์ จึงไดก้ ำ� หนดให้เรอื นจ�ำ/ทัณฑสถาน
ทว่ั ประเทศ 137 แห่ง (ยกเว้นสถานกกั ขัง และสถานกักกนั )
ด�ำเนินการจัดตั้งศูนย์ประสานงานและส่งเสริมการมีงานท�ำ
(CARE : Center for Assistance to Reintegration and
Employment) ตง้ั แตว่ นั ที่ 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2561 โดยกำ� หนด
บทบาทภารกิจ หน้าท่ีของศูนย์ CARE ในการเป็นหนว่ ยงาน
ท่ีให้บริการกับผู้ต้องขัง ผู้พ้นโทษ และญาติ ในการให้
ความช่วยเหลือด้านการมีงานท�ำเป็นหลัก เช่น การติดต่อ
กับบริษัท ห้างร้าน ท่ียินดีรับผู้พ้นโทษเข้าท�ำงาน การหา
ตำ� แหนง่ งานวา่ งทเ่ี หมาะสม เพอ่ื รองรบั ผตู้ อ้ งขงั ทจี่ ะพน้ โทษ
การใหค้ ำ� แนะนำ� การใหค้ ำ� ปรกึ ษา การประสานงานในการให้
ความช่วยเหลือในการขอรับทุนประกอบอาชีพจาก
แหลง่ ทนุ ตา่ งๆ และการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในดา้ นอน่ื ๆ ใหก้ บั
ผรู้ บั บรกิ ารตามความเหมาะสม เพอ่ื เปน็ การตอบสนองนโยบาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในการให้ศูนย์ CARE
ทำ� หนา้ ทใ่ี นการประสานงานและใหก้ ารสงเคราะหช์ ว่ ยเหลอื
อย่างต่อเน่ือง เพื่อไม่ให้ผู้พ้นโทษออกไปสร้างปัญหา
ความเดือดร้อนใหก้ ับสังคมอีกต่อไป

วารสารราชทัณฑ์ 17

ในการนี้ กรมราชทณั ฑ์ จงึ ไดว้ างแนวทางและกรอบบทบาทหนา้ ทขี่ องศนู ยป์ ระสานงานและสง่ เสรมิ การมงี านทำ�
ในเรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ งานเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั และสามารถตอบสนองตอ่ นโยบายของผบู้ รหิ าร
ดงั น้ี
1) ด�ำเนินการประชาสัมพนั ธว์ ตั ถุประสงคใ์ นการดำ� เนินงานของศูนยป์ ระสานงานและส่งเสรมิ การมีงานทำ� ให้
กบั ผูต้ อ้ งขงั ท่ีใกล้พน้ โทษ ผพู้ ้นโทษ ตลอดจนญาติ เพอื่ ขอรับการประสานงานชว่ ยเหลอื ได้
2) ด�ำเนินการประสานงานกับฝ่ายต่างๆ ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน เพ่ือจัดท�ำข้อมูลผู้ต้องขังท่ีใกล้พ้นโทษ
ในช่วงระยะเวลาก่อนปล่อยตัว 1 ปี หรือในช่วงการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย ท้ังผู้ที่จะได้รับการปล่อยตัว
พกั การลงโทษและลดวนั ตอ้ งโทษจำ� คกุ และผทู้ จี่ ะไดร้ บั การปลอ่ ยตวั ตามกำ� หนดโทษ เพอ่ื วางแผนและประสานหนว่ ยงาน
บรษิ ทั หา้ งรา้ น หรอื สถานประกอบการทย่ี นิ ดรี บั ผพู้ น้ โทษเขา้ ทำ� งาน หรอื การนำ� บรษิ ทั หา้ งรา้ น หรอื สถานประกอบการ
เขา้ มาเสรมิ การฝกึ ทกั ษะอาชพี ทจี่ ำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การฝกึ ฝนขณะอยใู่ นเรอื นจำ� เพอื่ เตรยี มพรอ้ มในการออกไปประกอบ
อาชีพ หรือวางแผนและประสานการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในด้านต่างๆ

3) ตดิ ตอ่ ประสานงานและจดั ทำ� ขอ้ มลู ทำ� เนยี บหนว่ ยงานเครอื ขา่ ย
ดา้ นการทำ� งาน การใหก้ ารสงเคราะหช์ ว่ ยเหลอื ในดา้ นตา่ งๆ ตามสภาพ
ปัญหาของผู้ต้องขัง กับหน่วยงานภายนอกท้ังภาครัฐ และเอกชน
ท่ีอยู่ในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดของเรือนจ�ำ เพ่ือรวบรวมท�ำเนียบหน่วยงาน
เครือข่ายไวเ้ ป็นขอ้ มูลในการประสานงานการให้ความชว่ ยเหลือ
4) รบั คำ� รอ้ งขอรบั ความชว่ ยเหลอื ดา้ นการมงี านทำ� และดา้ นตา่ งๆ
ใหก้ บั ผตู้ อ้ งขงั ทใี่ กลพ้ น้ โทษ และผพู้ น้ โทษ และดำ� เนนิ การประสานงาน
การใหค้ วามชว่ ยเหลอื
5) การให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำด้านการด�ำเนินชีวิตภายหลังพ้นโทษ
และด้านอน่ื ๆ ตามความเหมาะสม
6) เป็นศูนย์กลางในการประสานส่งต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
เพอื่ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื กรณเี รอื นจำ� /ทณั ฑสถาน ไมส่ ามารถดำ� เนนิ การ
ให้ความชว่ ยเหลือได้
7) การแตง่ ตั้งคณะทำ� งานของศนู ยป์ ระสานงานและส่งเสรมิ การ
มงี านทำ� โดยผบู้ ญั ชาการเรอื นจำ� /ผอู้ ำ� นวยการทณั ฑสถาน ตอ้ งมอบหมาย
และก�ำชับให้ทุกส่วน/ฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง ให้ความร่วมมือและให้ความ
18 วารสารราชทัณฑ์

ส�ำคัญกับหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย เจ้าหน้าท่ีทุกคนที่ร่วมเป็นคณะท�ำงานฯ ต้องมีส่วนร่วมและมีหน้าที่ชัดเจน
เพอ่ื ลดภาระหนา้ ทีข่ องเจ้าหนา้ ท่คี นใดคนหน่ึง
8) ประชาสมั พนั ธภ์ ารกจิ ของศนู ยฯ์ เพอ่ื ใหผ้ รู้ บั บรกิ าร (ผตู้ อ้ งขงั ผพู้ น้ โทษและญาต)ิ สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และ
เขา้ ใจภารกจิ หนา้ ทขี่ องศนู ยฯ์ และเตรยี มตนเองใหพ้ รอ้ มกอ่ นเขา้ รบั บรกิ าร การประชาสมั พนั ธอ์ าจทำ� ไดห้ ลายชอ่ งทาง
เช่น การจัดท�ำแผ่นพับ เอกสาร ป้ายประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์โดยเจ้าหน้าที่ ฯลฯ เพ่ือเผยแพร่ภารกิจ
ของศูนย์ฯ ข้อมูลต�ำแหน่งงานว่าง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับการมีงานท�ำ ท้ังภายในและภายนอกเรือนจ�ำ
เพ่ือให้ผู้รับบริการได้มีการเตรียมข้อมูล เตรียมเอกสารก่อนท่ีจะเข้ามารับบริการในศูนย์ CARE เพ่ือให้มีความรวดเร็ว
เป็นการลดขั้นตอน ประหยัดเวลาในการให้บริการ โดยเฉพาะการสร้างความเข้าใจให้กับผู้ต้องขังก่อนพ้นโทษ
ในภารกิจของศูนย์ CARE ว่าเป็นการให้ความช่วยเหลือด้านการมีงานท�ำ เป็นการท�ำงานเชิงรุก เน่ืองจากผู้ต้องขัง
มักจะไม่ให้ความร่วมมือในการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว พร้อมท้ังให้ผู้ต้องขังที่ใกล้พ้นโทษ (ภายในระยะเวลา 1 ปี)
กรอกขอ้ มูลลงในแบบฟอร์มก่อนปลอ่ ยตัว เพ่อื เป็นข้อมูลให้ศนู ย์ CARE วางแผนในการให้ความช่วยเหลอื
9) การสรา้ งชอ่ งทางการตดิ ตอ่ เจา้ หนา้ ทปี่ ระจำ� ศนู ยฯ์ ควรมมี ากกวา่ 1 ชอ่ งทาง (แกไ้ ขปญั หาการไมม่ เี จา้ หนา้ ที่
นง่ั ประจำ� ศนู ยฯ์ ) เชน่ หมายเลขโทรศพั ท์ แอพพลเิ คชน่ั ไลน์ เฟซบกุ๊ ฯลฯ เพอ่ื เพมิ่ ชอ่ งทางในการตดิ ตอ่ ของผรู้ บั บรกิ าร
ซ่ึงสามารถฝากข้อความ ฝากหมายเลขโทรศัพท์ให้โทรกลับ หรือฝากประเด็นปัญหาไว้ให้เจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ ได้ตลอด
24 ชว่ั โมง โดยไมต่ ้องใช้เจ้าหนา้ ท่ีน่งั ประจ�ำ
10) จัดท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่ายในระดับท้องที่ หรือจัดประชุมหารือ ท�ำการ
ประสานงานด้วยหนังสือเป็นลายลักษณ์อักษร เพ่ือเพ่ิมความชัดเจนของการประสานงาน การส่งต่อข้อมูล การส่งต่อ
ผู้รับบริการเพื่อขอรับความช่วยเหลือ เพราะถึงแม้จะมีการท�ำบันทึกความตกลงร่วมกัน (MOU) ของหน่วยงานระดับ
กระทรวง หรือระดับกรม แต่พบว่าหน่วยงานภายใต้การดูแลของกระทรวงหรือกรมต่างๆ ในระดับพ้ืนท่ีไม่ได้ให้
ความสำ� คญั หรอื บางแหง่ ยงั ไมท่ ราบข้อมูลเกยี่ วกบั การทำ� ขอ้ ตกลงการน�ำนโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ัติยงั กระจายไมท่ ว่ั ถึง
นอกจากการวางแนวทางการด�ำเนินงานของศูนย์ประสานงานและส่งเสริมการมีงานท�ำให้กับเรือนจ�ำ/
ทัณฑสถาน ทั่วประเทศแล้ว กรมราชทัณฑ์ยังมีแผนในการยกระดับมาตรฐานการด�ำเนินงานภายใต้การก�ำกับดูแล
ของกองพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ซงึ่ เปน็ หนว่ ยงานกลางทคี่ อยใหค้ ำ� แนะนำ� ปรกึ ษา และผลกั ดนั ใหศ้ นู ยป์ ระสานงานและสง่ เสรมิ
การมีงานท�ำ สามารถตอบสนองต่อนโยบายของผู้บริหารและนโยบายของกระทรวงยุติธรรม น่ันคือสามารถให้ความ

วารสารราชทัณฑ์ 19

ช่วยเหลือผ้พู น้ โทษ หรอื ผู้ตอ้ งขังทใี่ กลจ้ ะพน้ โทษ ไดร้ บั ความ
ช่วยเหลือด้านการมีงานท�ำ การเข้าถึงข้อมูลแหล่งงาน
ตำ� แหนง่ งานวา่ ง สามารถมอี าชพี มรี ายไดร้ องรบั ระหวา่ งทอี่ ยู่
ภายในเรอื นจำ� และภายหลงั พน้ โทษ โดยมหี นว่ ยงานทคี่ อยดแู ล
ให้ความชว่ ยเหลือได้โดยตรง

ศูนย์ประสานงานและสง่ เสรมิ การมงี านทำ� ส่วนกลาง
กรมราชทัณฑ์ (กองพัฒนาพฤตินิสัย โดยส่วนสวัสดิการและ
สงเคราะห์ผู้ต้องขัง) จะด�ำเนินงานในภาพรวมระดับนโยบาย
เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุน ให้ศูนย์ CARE ในเรือนจ�ำ/
ทณั ฑสถาน สามารถด�ำเนินงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพซ่งึ ไดด้ ำ� เนินการ ดงั นี้
1) แต่งต้ังคณะท�ำงานศูนย์ประสานงานและสง่ เสริมการมีงานท�ำของส่วนกลาง กรมราชทณั ฑ์ มอี �ำนาจหน้าที่
ในการก�ำกับดูแล ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ คิดค้นนวัตกรรม ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน ท้ังภายในและภายนอก
เพอ่ื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหก้ ารดำ� เนนิ งานของศนู ยป์ ระสานงานและสง่ เสรมิ การมงี านทำ� ในเรอื นจำ� /ทณั ฑสถานทว่ั ประเทศ
บรรลุวตั ถุประสงค์ทก่ี รมราชทัณฑ์ก�ำหนด
2) ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ เก่ียวกับการด�ำเนินงานของศูนย์ประสานงานและส่งเสริมการมีงานท�ำ ผ่านช่องทาง
แอปพลิเคช่ัน ไลน์ ชื่อกลุ่ม “ศูนย์ประสานงาน CARE 1” และ “ศูนย์ประสานงาน CARE 2” และทางโทรศัพท์
กรณที ี่เจา้ หนา้ ทปี่ ระจำ� ศนู ย์ CARE ตอ้ งการขอรับความชว่ ยเหลือ ด้านการประสานงาน การสง่ ตอ่ ข้อมูล หรอื มีปัญหา
ข้อสงสัยด้านอืน่ ๆ
20 วารสารราชทัณฑ์

3) จัดท�ำศูนย์กลางข่าวสารข้อมูล (Web Page) เพ่ือเป็นฐานข้อมูลด้านการมีงานท�ำของบุคคล หน่วยงานที่
เก่ียวข้อง ได้แก่ ผู้รับบริการ (ผู้พ้นโทษ ญาติ) ผู้ประสานงาน (เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบศูนย์ประสานงานและส่งเสริม
การมีงานท�ำของเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ท่ัวประเทศ และผู้ประสานงานส่วนกลางกรมราชทัณฑ์) หน่วยงานเครือข่าย
ท่ีให้การสนับสนุน (หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน บริษัท ห้างร้าน) และประชาชนท่ีสนใจ ข้อมูลท่ีมีความจ�ำเป็น
และสำ� คัญในระบบฐานขอ้ มลู ได้แก่

สามารถตดิ ตามขา่ วสาร ขอ้ มูล และกิจกรรมการด�ำเนนิ งานของศนู ยป์ ระสานงานและสง่ เสริมการมีงานทำ� ไดท้ ี่
http://www.correct.go.th/care/care/index.php

3.1 ขอ้ มลู รายช่อื หน่วยงาน ผ้ปู ระกอบการทม่ี ตี �ำแหน่งงานว่าง และมคี วามต้องการพนักงาน ลกู จา้ ง
และยนิ ดีรับผู้พน้ โทษเขา้ ทำ� งาน
3.2 ข้อมูลการยกระดับมาตรฐานการฝึกวิชาชีพของเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน (หลักสูตรการฝึกวิชาชีพ
อาชีพทเ่ี ปิดการอบรม/จำ� นวนผู้ผ่านการอบรมตามหลกั สูตรเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย)
3.3 จ�ำนวนและข้อมูลของผูพ้ น้ โทษท่ีลงทะเบยี นพร้อมเข้าท�ำงาน วุฒิการศกึ ษา ความสามารถพิเศษ
หรอื คุณสมบตั อิ ื่นๆ เพอื่ ใหส้ ถานประกอบการหรือนายจ้างพจิ ารณา
3.4 ข้อมูลช่องทางการให้ความช่วยเหลือ แหล่งทุนประกอบอาชีพ วิธีการ ข้ันตอน ในการขอรับ
การสงเคราะห์ช่วยเหลือ
3.5 ข้อมูลด้านการประสานส่งต่อของหน่วยงานอ่ืนๆ เช่น กรมคุมประพฤติ กรมพัฒนาสังคมและ
สวสั ดกิ าร กรมการจดั หางาน กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน สมาคมองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล สมาคมองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั
ตลอดจนบรษิ ทั หา้ งรา้ น และสถานประกอบการภาคเอกชนตา่ งๆ
3.6 ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การประสานงานการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นการมงี านทำ�
และด้านอน่ื ๆ
3.7 ข้อมลู สถิตผิ ูเ้ ขา้ ใช้บรกิ ารในศนู ยป์ ระสานงานและสง่ เสรมิ การมีงานทำ�
3.8 ขอ้ มลู อืน่ ๆ

วารสารราชทัณฑ์ 21

4) ยกระดับมาตรฐานการดำ� เนนิ งานของศูนย์ประสานงานและสง่ เสริมการมีงานทำ� โดยสนับสนนุ ชดุ อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์สำ� นักงานใหก้ ับศนู ย์ CARE ของเรอื นจำ� /ทัณฑสถานแห่งละ 1 ชดุ ส�ำหรับใช้ในการรายงานผลสถติ ขิ อ้ มลู
แบบเรียลไทมผ์ า่ นระบบอินเทอร์เน็ต การบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงในระบบข้อมูลผตู้ ้องขงั ผ่าน MENU CARE การสืบค้นข้อมูล
ของหนว่ ยงานภาคเี ครอื ขา่ ย การตดิ ตอ่ ขอรบั ขอ้ มลู การประสานงาน ชว่ ยลดขนั้ ตอนการทำ� งานของเจา้ หนา้ ทโ่ี ดยเฉพาะ
งานด้านเอกสาร ท�ำให้การด�ำเนินงานมีความสะดวก รวดเร็ว ตอบสนองการท�ำงานในสังคมดิจิทัล และสังคม
แหง่ เทคโนโลยี ซงึ่ ทกุ ภาคส่วนสามารถเขา้ ถึงข้อมลู ไดท้ นั ที ทกุ ที่ทุกเวลา เป็นการบรหิ ารจดั การขอ้ มูลให้เป็นไปอย่าง
มปี ระสทิ ธิภาพ สอดคล้องกบั นโยบายของรฐั บาลไทยแลนด์ 4.0 และไทยนยิ มย่ังยนื อันเป็นการบูรณาการของรัฐบาล
ทุกกระทรวง ทัง้ งานระดบั นโยบาย และงานตามภารกจิ ของหน่วยงาน
5) การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ประจ�ำศูนย์ประสานงานและส่งเสริมการมีงานท�ำ เพ่ือให้สามารถท�ำหน้าที่
ผปู้ ระสานงานและผใู้ หค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นการมงี านทำ� ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องศนู ย์ CARE ซง่ึ ผปู้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทปี่ ระจำ� ศนู ยฯ์
จะต้องมีความรอบรู้เกี่ยวกับเครือข่ายด้านการประกอบอาชีพ สถานประกอบการ ห้างร้าน เครือข่ายภาคสังคม
ท่ีสามารถให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายได้ นอกจากนี้เจ้าหน้าท่ีประจ�ำศูนย์ CARE จะต้องมี Service Mind และ
ความเสยี สละพรอ้ มทงั้ ความเขา้ ใจในวตั ถปุ ระสงคข์ องการชว่ ยเหลอื จงึ จะทำ� ใหก้ ารดำ� เนนิ งานประสบความสำ� เรจ็ ทงั้ น้ี
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กองพัฒนาพฤตินิสัย ได้จัดท�ำโครงการสัมมนาเจ้าหน้าท่ีประจ�ำศูนย์ประสานงานและ
สง่ เสรมิ การมงี านทำ� เพอื่ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจและทศิ ทางการดำ� เนนิ งานใหเ้ ปน็ ในทศิ ทางเดยี วกนั โดยในปงี บประมาณ
ต่อไป จะไดม้ โี ครงการพฒั นาศักยภาพใหก้ ับเจา้ หน้าทศี่ นู ย์ CARE อยา่ งต่อเน่อื ง
22 วารสารราชทัณฑ์

นบั ตงั้ แตม่ กี ารเปดิ ศนู ยป์ ระสานงานและสง่ เสรมิ การมงี านทำ� ในเรอื นจำ� /ทณั ฑสถานทวั่ ประเทศ จำ� นวน 137 แหง่
มสี ถติ ผิ ู้เข้าใช้บรกิ าร ดงั นี้

ข้อมูลการเขา้ ใชบ้ ริการศูนยป์ ระสานงานและสง่ เสริมการมงี านท�ำ (CARE)

ขอ้ มลู ณ วันท่ี 21 มถิ ุนายน 2561

รายละเอียด สถติ เิ ดิม สถิตเิ พิม่ เติม รวมทัง้ สน้ิ หมายเหตุ
ตามแบบฟอรม์ การรายงาน
(15 ก.พ. - (15 ม.ิ ย. - (15 ก.พ. -
14 มิ.ย. 61) 21 ม.ิ ย. 61) 21 มิ.ย. 61)

1. การลงทะเบียนเขา้ ใช้บรกิ าร (คน) 17,298 863 18,161 ในระหว่างวนั ท่ี 15 ม.ิ ย.
ถึงวนั ที่ 21 ม.ิ ย. 2561
2. จำ� นวนผ้เู ข้าใชบ้ ริการ (คน) 16,944 704 17,648 มผี ู้ใชบ้ ริการในศูนย์ CARE

3. ประเภทของการใหบ้ รกิ าร (รวม/คน) 20,280 842 21,122 แยกตามกลมุ่ ได้ดงั นี้
1. ผู้ต้องขัง จำ� นวน 280 คน
3.1 จา้ งงาน (คน) 2,780 92 2,872 2. ผพู้ น้ โทษ จำ� นวน 254 คน
3.1.1 ไดร้ บั การจา้ ง 316 คน
3.1.2 ขอขอ้ มลู แหลง่ งาน 2,556 คน 3. ญาต+ิ อน่ื ๆ จำ� นวน 170 คน
รวมทง้ั ส้ิน 704 คน
3.2 การให้ค�ำปรึกษา (คน) 8,867 350 9,217

3.3 การใหก้ ารสงเคราะหด์ า้ นตา่ งๆ (คน) 8,633 400 9,033

การด�ำเนนิ งานของศนู ยป์ ระสานงานและสง่ เสริมการมงี านท�ำ จะประสบความส�ำเร็จเป็นไปตามนโยบายของ
กระทรวงยุติธรรมหรือไม่ ขึ้นอยู่กับการขับเคล่ือนของผู้บริหารทั้งในระดับกรม และระดับเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน
พร้อมทั้งต้องได้รับความร่วมมือจากภาคสังคมในการให้โอกาสและยอมรับผู้ที่เคยก้าวพลาด ให้สามารถพิสูจน์ตนเอง
ด้วยการมีอาชีพที่สุจริต และไม่หวนกลับมาสร้างความเดือดร้อนให้กับสังคมซ้�ำอีก ซึ่งกรมราชทัณฑ์ไม่เคยหยุดน่ิง
ทจี่ ะคดิ คน้ นวตั กรรม หรอื แนวทางในการพฒั นาพฤตนิ สิ ยั และพฒั นาทกั ษะอาชพี เพอื่ เปน็ พน้ื ฐานในการออกไปใชช้ วี ติ
ภายหลังพ้นโทษให้กับผู้ต้องขัง เพื่อท่ีจะเป็นการสร้างความเช่ือมั่นให้กับสังคมว่า พวกเขาเหล่านี้จะปรับตนให้เป็น
พลเมอื งที่ดีตอ่ ไป

วารสารราชทัณฑ์ 23

พิธีลงนามบนั ทกึ ขอŒ ตกลง

โครงการประชารัฐ รว่ มสรา้ งงาน สรา้ งอาชพี ผู้ตอ้ งขงั

ร่งุ ธิวา เขยี วสนั่น
ทัณฑสถานบ�าบดั พิเศษจังหวัดปทุมธานี

พล.อ.อ.ประจนิ จัน่ ตอง รองนายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงยตุ ธิ รรม ไดม้ ีนโยบาย
ในการลดการกระท�าผิดซ้�าของผู้กระท�าผิด และพัฒนาให้ผู้ผ่านกระบวนการแก้ไขฟื้นฟู มีการศึกษา
มงี านทา� มรี ายได้ สามารถพง่ึ ตนเอง และกลบั ไปใชช้ วี ติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งปกตสิ ขุ ภายหลงั พน้ โทษ โดยมงุ่ เนน้
การฝึกอาชีพท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน เน้นการบูรณาการการฝึกอาชีพร่วมกัน
ระหวา่ งภาครฐั เอกชน และภาคประชาสงั คม รวมทงั้ พฒั นาระบบตดิ ตามและสง่ ตอ่ การมงี านทา� ภายหลงั
พ้นโทษ ใหส้ ามารถประกอบอาชพี ไดต้ ามทกั ษะทไี่ ด้รับการพฒั นา รวมถึงตดิ ตามชว่ ยเหลือ ใหค้ า� ปรึกษา
แกก่ ลุม่ บคุ คลเหลา่ น้ี ท้ังด้านการทา� งาน ครอบครวั และทอี่ ยู่อาศัย

กรมราชทัณฑ์ จึงได้เล็งเห็นความส�าคัญในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
จากการลงโทษเพอ่ื ความยตุ ธิ รรม (Retribution) การลงโทษเพอื่ การปอ้ งปราม (Deterrence) การลงโทษ
เพอ่ื ตดั โอกาสกระทา� ผดิ (Incapacitation) มาเปน็ การลงโทษเพอื่ แกไ้ ขฟน้ื ฟู (Rehabilitation) โดยผลกั ดนั
ใหเ้ กดิ การฝกึ อบรมและพฒั นาอาชพี ขนึ้ ในเรอื นจา� /ทณั ฑสถาน ทวั่ ประเทศ รวมทงั้ นา� กระบวนการขดั เกลา
คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมมาใชค้ วบคกู่ นั ในการพฒั นาผตู้ อ้ งขงั ใหก้ ลบั ตนเปน็ พลเมอื งดี เปดิ โอกาสใหผ้ กู้ ระทา� ผดิ
แก้ไขปรับปรุงตัว ให้การบ�าบัดแก้ไขเป็นกลุ่มและรายบุคคล ทั้งนี้เพ่ือมุ่งแก้ไขสาเหตุท่ีท�าให้ผู้กระท�าผิด
มีความบกพร่องและเปน็ เหตุให้กระทา� ผดิ เพื่อใหส้ ามารถกลับไปใชช้ วี ติ ในสงั คมได้อย่างปกติสขุ ภายหลงั
ที่ไดพ้ ้นโทษแล้ว

24 วารสารราชทัณฑ

ดังนั้น จึงเกิดความร่วมมือระหว่างกรมการจัดหางาน
กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน และกรมราชทณั ฑ์ ไดก้ า� หนดจดั ทา�
พธิ ลี งนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลง โครงการประชารฐั รว่ มสรา้ งงาน
สร้างอาชีพผู้ต้องขัง ระหว่าง 5 หน่วยงานข้ึน ดังน้ี
กรมการจัดหางาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมราชทัณฑ์
สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรม
แหง่ ประเทศไทย ณ ทณั ฑสถานบา� บดั พเิ ศษจงั หวดั ปทมุ ธานี
เมอื่ วนั จนั ทรท์ ี่ 26 มนี าคม 2561 โดยมี พล.อ.อ.ประจนิ จน่ั ตอง
รองนายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงยตุ ธิ รรม พล.ต.อ.อดลุ ย์ แสงสงิ แกว้ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงแรงงาน
นายจรินทร์ จักกะพาก ปลัดกระทรวงแรงงาน ศาสตราจารย์พิเศษวิศิษฎ์ วิศิษฎ์สรอรรถ ปลัดกระทรวงยุติธรรม
นายอนุรักษ์ ทศรตั น์ อธิบดกี รมการจัดหางาน นายสทุ ธิ สโุ กศล อธบิ ดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน นายอายุตม์ สนิ ธพพันธ์ุ
รองอธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ นายพากร วงั ศริ าบตั ร รองเลขาธกิ ารสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย นายภมู นิ ทร์ หะรนิ สตุ
รองประธานกรรมการหอการคา้ ไทย ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงและรว่ มเปน็ พยานในพธิ ฯี

โครงการประชารัฐ ร่วมสรา้ งงาน สรา้ งอาชพี ผตู้ อ้ งขัง มวี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื

1. เปดิ โอกาสใหก้ ับผูท้ ีเ่ คยกระท�าผิดได้ปรับปรุงตนเอง
2. เป็นการคืนคนดสี ่สู ังคม
3. เป็นการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน
ในบางสาขาอาชีพ พร้อมทั้งเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่
ภาคอตุ สาหกรรมในประเทศ โดย
กรมการจดั หางาน มกี รอบแนวทางความรว่ มมอื ดงั นี้
- ประสานงานและใหค้ า� แนะนา� แกส่ ถานประกอบการ
หรือนายจ้างในการส่งเสริมการมีงานท�าให้แก่ผู้ต้องขังใน
เรือนจ�าและการรับผู้ต้องขังที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่
กรมราชทัณฑก์ �าหนด เขา้ ฝกึ ทกั ษะในสถานประกอบการ

วารสารราชทัณฑ 25

- ส่งเสริมการมีงานท�ำโดยการจัดสาธิต
การฝึกทักษะอาชีพอิสระระยะสั้นแก่ผู้ต้องขังก่อน
พน้ โทษ จดั วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรู้ แนะแนวอาชีพ
ให้ข้อมูลข่าวสารตลาดแรงงาน ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ
การประกอบอาชีพอิสระ ได้แก่ การหาท�ำเล
การค�ำนวณต้นทุน การหาตลาด การหาแหล่งเงินทุน
และการบรหิ ารจดั การ
- รบั ลงทะเบยี นและบรกิ ารจดั หางานใหแ้ ก่
ผู้พ้นโทษที่ประสงค์จะหางานท�ำ โดยมีการประสาน
ข้อมูลกับศูนย์ประสานงานและส่งเสริมการมีงานท�ำ
(CARE : Center for Assistance to Reintegration
and Employment) ของกรมราชทณั ฑ์
กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน มกี รอบความรว่ มมอื
ดงั ต่อไปนี้
- ด�ำเนินการฝึกอาชีพในหลักสูตรการฝึก
ฝมี อื แรงงานในสาขาอาชพี ตามความตอ้ งการของผตู้ อ้ งขงั
เพอ่ื เพมิ่ เตมิ ความรู้ รวมทง้ั ประกอบชน้ิ งานเพอื่ จำ� หนา่ ย
และสร้างรายไดแ้ กผ่ ู้ตอ้ งขัง
- ดำ� เนนิ การทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงานใหแ้ กผ่ ตู้ อ้ งขงั ในสาขาอาชพี ตามความตอ้ งการและสอดคลอ้ งกบั
ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มกี รอบความร่วมมือ ดงั ตอ่ ไปน้ี
- ประสานงานกับสถานประกอบการหรอื นายจ้างเพอื่ เขา้ ร่วมโครงการ
- ประสานกับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ในฐานะที่สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเป็นตัวแทนของ
ผู้ประกอบการอตุ สาหกรรมภาคเอกชน
- ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข่าวสารข้อมูลเก่ียวกับโครงการ เพ่ือการรับรู้และเจตคติที่ดี ในการรับผู้ต้องขัง
พ้นโทษเขา้ ท�ำงานกบั ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมภาคเอกชน
สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย มกี รอบความร่วมมือ ดงั ตอ่ ไปนี้
- ประสานงานกบั สถานประกอบการหรือนายจ้างเพ่ือเข้ารว่ มโครงการ
- ประสานกบั หน่วยงานภาครฐั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ในฐานะท่ีสภาหอการคา้ แห่งประเทศไทย
- เปน็ ตวั แทนของผู้ประกอบธรุ กิจการค้าและบรกิ ารภาคเอกชน
- ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ เพ่ือการรับรู้และเจตคติท่ีดี ในการรับผู้ต้องขัง
เขา้ ท�ำงานกบั ผปู้ ระกอบธรุ กจิ การคา้ และบรกิ ารภาคเอกชน
กรมราชทณั ฑ์ มีกรอบความรว่ มมือ ดงั ตอ่ ไปนี้
- จัดท�ำฐานข้อมูลผู้ต้องขัง เพื่อประสานการส่งเสริมการมีงานท�ำ และจัดท�ำขั้นตอนการด�ำเนินงาน
รบั ชิ้นงานเขา้ ไปผลติ ในเรือนจ�ำ และการสง่ ผูต้ ้องขังที่มคี ุณสมบตั ิ ตามหลกั เกณฑ์ทีก่ รมราชทัณฑ์กำ� หนด เขา้ ฝึกทกั ษะ
ในสถานประกอบการ
26 วารสารราชทัณฑ์

- ประสานกรมการจดั หางาน ในการสง่ เสรมิ การมงี านทำ� ใหก้ บั ผตู้ อ้ งขงั ในเรอื นจำ� และทณั ฑสถานกอ่ นพน้ โทษ
- ประสานกรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน ในการฝกึ อาชพี หลกั สตู รฝกึ เตรยี มเขา้ ทำ� งาน และฝกึ ยกระดบั ฝมี อื แรงงาน
รวมทัง้ การดำ� เนนิ การทดสอบมาตรฐานฝีมอื แรงงาน
- อำ� นวยความสะดวกด้านสถานท่ีในการฝกึ อบรม และการปฏบิ ัติงาน
- ควบคุม ดูแล ติดตามผลผู้ต้องขังที่ได้รับการส่งเสริมการมีงานท�ำผ่านกลไกของศูนย์ประสานงานและ
สง่ เสรมิ การมงี านทำ� (CARE : Center for Assistance to Reintegration and Employment) 

บทบาทของกรมราชทณั ฑ์ ต่อการสนองเจตนารมณร์ ฐั บาล
ในการสรา้ งโอกาสใหแ้ กผ่ ตู้ ้องขัง

กรมราชทัณฑ์ ได้มุ่งมั่นท่ีจะแสดงเจตนารมณ์เพ่ือตอบสนองนโยบายรัฐบาล และสานพลังประชารัฐ
ด้วยการสร้างโอกาสและคุณภาพชีวิตท่ีดีให้แก่ผู้ต้องขัง เพ่ือเป็นการคืนคนดีสู่สังคม และแก้ไขปัญหาการ
ขาดแคลนแรงงานในสถานประกอบการ ด้วยโครงการประชารฐั ร่วมสรา้ งงาน สร้างอาชพี ผู้ต้องขัง โดยกรมราชทัณฑ์
มีเป้าหมายทจ่ี ะด�ำเนนิ การ ดังนี้
1. จดั ทำ� ทะเบยี นผตู้ อ้ งขงั เพอ่ื ประสานการสง่ เสรมิ การมงี านทำ� โดยการคดั เลอื กผตู้ อ้ งขงั ทป่ี ระพฤตดิ ี มคี วาม
อตุ สาหะ มคี วามต้ังใจ และมีคณุ สมบัติตามหลกั เกณฑท์ ก่ี รมราชทณั ฑก์ �ำหนด เข้าฝกึ ทกั ษะในสถานประกอบการ
2. ประสานกรมการจัดหางานในการส่งเสริมการมีงานท�ำให้กับผู้ต้องขัง ในเรือนจ�ำและทัณฑสถาน
ก่อนพ้นโทษ
3. ประสานกรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน ในการฝกึ อาชพี หลกั สตู รฝกึ เตรยี มเขา้ ทำ� งาน และฝกึ ยกระดบั ฝมี อื แรงงาน
รวมทั้งการดำ� เนินการทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงาน
4. อ�ำนวยความสะดวกดา้ นสถานท่ีในการฝกึ อบรม และการปฏบิ ัตงิ าน
5. ควบคุม ดูแล ติดตามผลผ้ตู ้องขังทีไ่ ด้รบั การสง่ เสรมิ การมงี านทำ�

วารสารราชทัณฑ์ 27

โดยกรมราชทัณฑ์ได้จัดตั้งศูนย์ประสานงาน
และส่งเสริมการมีงานท�า เพ่ือให้การประสานความ
รว่ มมอื กบั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ในการคนื คนดสี สู่ งั คม
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการกระท�าผิดซ�้า
สรา้ งคนดสี สู่ งั คมอยา่ งย่ังยืน

การลงโทษเพอื่ แกไ้ ขฟน ฟ ู (Rehabilitation)
ในทณั ฑสถานบ�าบัดพิเศษจงั หวดั ปทุมธานี

ภารกิจหลักของทัณฑสถานบ�าบัดพิเศษ
จงั หวดั ปทุมธานี นอกจากการควบคมุ ให้มตี ัวผตู้ ้องขงั
อยใู่ นเรอื นจา� โดยเนน้ การควบคมุ ตามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน
หลักอาชญาวทิ ยาสมยั ใหม่ และหลกั เมตตาธรรมแลว้ อีกภารกิจหนงึ่ ซึง่ มีความสา� คัญไม่นอ้ ยไปกว่ากนั คือภารกจิ ด้าน
การพฒั นาพฤตนิ สิ ยั เพอื่ คนื คนดสี สู่ งั คม มใิ หผ้ ตู้ อ้ งขงั กลบั ไปกระทา� ผดิ ซา้� ภายหลงั พน้ โทษ และประคบั ประคองใหผ้ ตู้ อ้ งขงั
เหล่าน้ัน ได้มีอาชพี มีงานท�าภายหลงั พน้ โทษ ซึง่ ถอื ไดว้ ่ามคี วามยากล�าบากในการปฏิบัตงิ าน อนั ประกอบด้วยหลาย
ปจั จัย เช่น พฤติกรรมส่วนบคุ คลของตวั ผ้ตู ้องขงั เอง การไมใ่ ห้โอกาสและไม่ยอมรับของสังคมภายนอก ซึ่งจะทา� ให้เกิด
การกระทา� ผิดซ้า� ของผกู้ ระท�าผดิ อกี เมอ่ื พน้ โทษ

และดว้ ยปจั จบุ นั จงั หวดั ปทมุ ธานี ไดป้ ระสบปญั หาการขาดแคลนแรงงานในภาคอตุ สาหกรรม เนอื่ งจากโรงงาน
ในจังหวัดปทุมธานีมีจ�านวนมาก ท�าให้เกิดปัญหาคนท�างานมีไม่เพียงพอต่อปริมาณงาน ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ปัญหา
ท้ังภาคอุตสาหกรรม และทัณฑสถาน จึงได้คิดบูรณาการร่วมกันในการท�าโรงงานในเรือนจ�าข้ึน ท้ังน้ีเพ่ือรองรับ
ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยให้แก่กลุ่มผู้ต้องขังใกล้
พ้นโทษ ให้มีอาชีพรองรับหลังจากพ้นโทษ ทัณฑสถานบ�าบัดพิเศษจังหวัดปทุมธานี ได้ร่วมมือกับภาคีเครือข่าย
(บริษัทเอ็ดดี้ โกลด์ จ�ากัด) ในการฝึกวิชาชีพช่างท�าทองรูปพรรณ ให้กับผู้ต้องขังในทัณฑสถาน และต่อมาได้เปิด
เปน็ โรงงาน ฝกึ วชิ าชพี ชา่ งทา� ทองรปู พรรณ ซงึ่ ในอนาคตทณั ฑสถาน มนี โยบายทจ่ี ะสง่ ผตู้ อ้ งขงั ออกไปทา� งานยงั บรษิ ทั
ภายนอกทณั ฑสถาน

การเปิดโอกาศให้บริษัท ห้างร้าน หรือบุคคลภายนอกเข้ามาใช้แรงงานรับจ้างภายในทัณฑสถาน นอกจาก
เปน็ การแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนแรงงานในภาคอตุ สาหกรรมแลว้ ยงั ถอื เปน็ โอกาสอนั ดใี นการฝกึ การประกอบอาชพี
ใหแ้ กผ่ ตู้ อ้ งขงั เพอื่ เตรยี มตวั ในการกา้ วออกจากเรอื นจา� ไปสสู่ งั คมภายนอก โดยทณั ฑสถาน เปดิ โอกาสใหบ้ รษิ ทั ตา่ งๆ
เข้ามาดา� เนนิ การจา้ งแรงงานผตู้ ้องขงั หลายบรษิ ัท เชน่

โรงงานทา� ทองรปู พรรณ บรษิ ทั เอด็ ด้ี โกลด์ จา� กดั (Eddy Gold Co., Ltd.) มผี ตู้ อ้ งขงั ประจา� โตะ๊ ทอง 107 คน
ปรมิ าณการฝึกวิชาชพี (จา� นวนคน/เสน้ /วัน) เฉลยี่ 2 เส้น (หรอื ประมาณ 4,000 เสน้ /เดอื น)

โรงงานเยบ็ จกั รอตุ สาหกรรม (ช้นิ ส่วนรองเท้า) มผี ูต้ ้องขงั แรงงานรบั จ้าง จ�านวน 331 คน
โรงงานเย็บจกั รอตุ สาหกรรม (ผา้ เชด็ เครือ่ งยนต)์ มีผูต้ อ้ งขังแรงงานรับจ้าง จ�านวน 111 คน
โรงงานชา่ งประกอบเฟอรน์ เิ จอรไ์ ม้ มผี ตู้ อ้ งขังแรงงานรับจ้าง จ�านวน 56 คน
และงานรบั จา้ งแรงงานอนื่ ๆ เช่น งานพับถุง ถกั อวน ฯลฯ ซง่ึ มีผูต้ ้องขังแรงงานรบั จา้ งจา� นวน 2,201 คน
นอกเหนือจากการเปิดให้มีการรับจ้างแรงงานในทัณฑสถานแล้วนั้น ทัณฑสถานบ�าบัดพิเศษจังหวัดปทุมธานี
ยังได้ส่งเสริมการฝกึ วชิ าชพี ให้แก่ผตู้ ้องขงั ตา่ งๆ เช่น การทา� เกษตรกรรม การฝึกวชิ าชพี การล้างและดแู ลรถยนต์ ฯลฯ
ทงั้ นี้ เพอื่ ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ไดม้ โี อกาสปรบั ตวั และสรา้ งการยอมรบั จากสงั คม เมอื่ ผตู้ อ้ งขงั พน้ โทษ สามารถนา� วชิ าชพี
ท่ีไดร้ ับการฝกึ นไ้ี ปใช้ประกอบอาชพี หาเล้ียงตนเองได้ หรอื แมก้ ระท่งั สมัครงานในโรงงานนั้นๆ ไดท้ นั ที
28 วารสารราชทัณฑ

การจัดทําสือ่ การเรยี นรู้

ในการพัฒนาพฤตนิ สิ ยั ผูต้ อ้ งขงั

เพลนิ ใจ แต้เกษม
อดีตรองอธิบดีกรมราชทณั ฑ์

การศกึ ษาเรอ่ื ง “การจดั ทา� สอ่ื การเรยี นรใู้ นการพฒั นาพฤตนิ สิ ยั
ผู้ต้องขัง” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่ือการเรียนรู้ในการพัฒนาพฤตินิสัย
ผกู้ ระทา� ผดิ ท้งั ในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้มเี คร่ืองมือส่ือการเรียนรู้
ในการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง สร้างนวัตกรรมใหม่ในกระบวนการแก้ไข
ฟน้ื ฟผู ตู้ อ้ งขงั ของกรมราชทณั ฑ์ และเพอ่ื ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการใชส้ อ่ื
กับการสร้างแรงบันดาลใจในการปรับเปลี่ยนทัศนคติพฤติกรรมผู้ต้องขัง
โดยใช้วิธีการศึกษาแบบผสมผสานท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ (Mixed
Method) ประกอบดว้ ย การสา� รวจแนวทางปฏิบัติในการใชส้ อ่ื การเรยี นรู้
เพื่อการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังของเรือนจ�า/ทัณฑสถาน ทั่วประเทศ
การจัดประชุมและสัมมนาเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง การทดลองใช้สื่อวีดิทัศน์
และสอื่ สงิ่ พมิ พใ์ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรกู้ บั ผตู้ อ้ งขงั พรอ้ มทงั้ ประเมนิ ผล
ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaires) เป็นเคร่ืองมือ ตลอดจน
การจดั ประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย (Focus Group) เจา้ หนา้ ทเ่ี รอื นจา� สว่ น/ฝา่ ยตา่ งๆ
ท่ีเก่ียวข้องกับงานด้านการพัฒนาพฤตินิสัยและการใช้ส่ือในการจัดอบรม
ผู้ต้องขัง แห่งละ 15 - 20 คน เพื่อน�าไปสู่การจัดท�าคู่มือการจัดกิจกรรม
ส่ือการเรียนรู้ และการจัดท�าหลักสูตรส่งเสริมการเรียนรู้ส�าหรับผู้ต้องขัง
ผลการศกึ ษาปรากฏ ดังนี้

วารสารราชทัณฑ 29

สรุปผลส�ำรวจการด�ำเนินงานด้านแนวทางปฏิบัติในการใช้สื่อ
การเรียนรู้เพ่ือการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังของเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน
ทั่วประเทศ (Survey Method) จ�ำนวน 143 แห่ง มีเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน
ตอบแบบสำ� รวจกลบั มาจำ� นวน 92 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 64 โดยสรปุ พบวา่ เรอื นจำ�
ส่วนใหญ่มีจ�ำนวนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านการแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง
ในปัจจุบนั ของเรือนจ�ำ/ทณั ฑสถาน ไมเ่ กนิ 5 คน ร้อยละ 70.7 จึงมีการน�ำสื่อ
มาใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการจดั กจิ กรรมดา้ นการพฒั นาพฤตนิ สิ ยั การใหค้ วามรแู้ ละ
การปรับเปล่ียนวธิ ีคิด ทัศนคติ อาทเิ ชน่ เสยี งตามสาย ร้อยละ 19.6 เครื่องฉาย
โปรเจคเตอร์ รอ้ ยละ 25.2 เคร่ืองเลน่ DVD ร้อยละ 27.6 และโทรทัศน์ ร้อยละ
27.6 เวลาในการเปดิ เสยี งตามสาย ในชว่ งเชา้ และเยน็ จะเปน็ การเปดิ บทสวดมนต์
ธรรมะ และสาระนา่ ร้รู วมท้ังบทเพลง สว่ นกลางวันสว่ นใหญจ่ ะใช้เสียงตามสาย
ในการประชาสัมพันธ์
การจัดประชุมเจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้องกับการจัดท�ำส่ือการเรียนรู้ในการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง พบว่า
กองพัฒนาพฤตินิสัยซึ่งมีหน้าท่ีรับผิดชอบโดยตรงได้จัดหาส่ือต่างๆ ส่งให้กับเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ทั้งในรูปแบบสื่อ
ส่ิงพิมพ์ วีดิทัศน์ ฯลฯ แต่ยังไม่เพียงพอ และยังไม่สามารถท�ำให้ส่ือต่างๆ ที่มีน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้ง
โอกาสท่ีผู้ต้องขังจะเข้าถึงสื่อยังมีข้อจ�ำกัด จึงควรมีการสร้างระบบให้ชัดเจนและใช้สื่อเป็นเครื่องมือแทนอัตราก�ำลัง
เจ้าหน้าท่ใี นการอบรม นอกจากนนั้ ยงั สามารถจดั ประเภทของสอ่ื การเรยี นรู้ในเรือนจ�ำ แบ่งออกเปน็ 5 ประเภท คอื
1. สื่อส่งิ พิมพ์ในห้องสมดุ 2. สอ่ื วดี ิทัศน์ (รายการโทรทศั น/์ ภาพยนตร)์ 3. เสยี งตามสาย/การฝกึ ใหผ้ ู้ตอ้ งขงั แสดงออก
อยา่ งสรา้ งสรรค์ 4. วทิ ยากรภายนอก/ปา้ ยสง่ เสรมิ การอา่ น 5. การเรยี นรผู้ า่ นสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซง่ึ เรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน
แตล่ ะแหง่ มกี ารนำ� สอื่ มาใชห้ ลากหลาย และแตกตา่ งกนั ไปตามบรบิ ทของกลมุ่ ผตู้ อ้ งขงั อตั รากำ� ลงั เจา้ หนา้ ทแ่ี ละความพรอ้ ม
ของสถานที่
การศกึ ษาภาคสนาม (Field Method) โดยการทดลองนำ� ร่องการใชส้ อื่ และจัดการประชุม เรอ่ื งการจัดท�ำ
ส่ือการเรียนรู้ในการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน 6 เขต ประกอบด้วย เรือนจ�ำกลางอุดรธานี
เรือนจ�ำจังหวัดพิษณุโลก เรือนจ�ำจังหวัดจันทบุรี ทัณฑสถานหญิงสงขลา เรือนจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ และเรือนจ�ำกลาง
นครศรธี รรมราช โดยเชิญเจ้าหน้าท่ฝี ่ายการศึกษาฯ จากเรอื นจ�ำ/ทณั ฑสถาน รวม 6 เขต (ประกอบด้วยเขต 2 3 4 6
8 และ 9) เข้าร่วมประชุม และด�ำเนินการเก็บข้อมูลเพ่ือประเมินผลการทดลองใช้ส่ือการเรียนรู้กับผู้ต้องขัง ซึ่งแบ่ง
ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. ผู้ต้องขังเข้าใหม่ไม่เกิน 3 เดือน จ�ำนวน 56 คน 2. ผู้ต้องขังเหลือโทษสูงเกิน 10 ปีข้ึนไป
จำ� นวน 59 คน และ 3. ผ้ตู อ้ งขังทใี่ กล้ปลอ่ ยตวั พน้ โทษ จำ� นวน 60 คน รวมทงั้ หมด 175 คน ผลการศึกษาพบว่า
รปู แบบที่ 1 การใช้สือ่ วดี ิทศั น์ เรอ่ื ง “นคิ ” ชายไรแ้ ขนขา ระยะเวลา 7 นาที ผูต้ ้องขังทเ่ี ขา้ กลุ่มสว่ นใหญ่
รอ้ ยละ 94.8 เหน็ วา่ ส่ือวดี ทิ ัศนช์ ว่ ยสร้างแรงบนั ดาลใจท่จี ะปรับเปลีย่ นตนเองใหม่ในทางทดี่ ีขน้ึ รอ้ ยละ 92.8 เห็นวา่
ชว่ ยกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การพฒั นาดา้ นความคดิ เขา้ ใจชวี ติ ดขี นึ้ รองลงมาในจำ� นวนใกลเ้ คยี งกนั เหน็ วา่ การใชส้ อื่ ชว่ ยใหเ้ กดิ
การเรยี นรทู้ น่ี า่ สนใจ เนอื้ หาของสอ่ื ชว่ ยใหเ้ กดิ การพฒั นาดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเปน็ การคลายเครยี ด ซง่ึ ผตู้ อ้ งขงั
ส่วนใหญ่ ร้อยละ 92.2 ต้องการให้เรือนจ�ำใช้ส่ือเป็นเคร่ืองมือการเรียนรู้ให้กับผู้ต้องขัง เพราะท�ำให้เกิดกระบวนการ
เรยี นรู้ไดง้ า่ ยและจดจ�ำไดน้ าน
รูปแบบท่ี 2 สอื่ สิง่ พมิ พ์ โดยการน้อมน�ำพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ 9
จากหนังสือ 99 พระบรมราโชวาท น้อมน�ำราษฎร์ร่มเย็นเป็นสุขศานต์ ในประเด็นเรื่อง “คุณสมบัติ 5 ประการ
30 วารสารราชทัณฑ์

ของผ้ทู จ่ี ะสรา้ งความสำ� เรจ็ ในการงานและชวี ติ ” โดยให้ผ้ตู ้องขังแบง่ กลุ่มอ่าน
พร้อมกัน และมีประเด็นค�ำถามให้ได้แลกเปล่ียนความคิดเห็น ผลการศึกษา
พบว่า ผู้ต้องขังส่วนใหญ่ ร้อยละ 93.0 เห็นว่าส่ือส่ิงพิมพ์ดังกล่าวช่วยสร้าง
แรงบันดาลใจที่จะปรับเปล่ียนตัวเองใหม่ในทางที่ดีขึ้น ร้อยละ 91.2 เห็นว่า
ชว่ ยกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การพฒั นาดา้ นความคดิ เขา้ ใจชวี ติ ดขี นึ้ ซง่ึ ผตู้ อ้ งขงั สว่ นใหญ่
ร้อยละ 92.8 ต้องการให้เรือนจ�ำใช้สื่อเป็นเคร่ืองมือการเรียนรู้ให้กับผู้ต้องขัง
สอดคล้องตรงกันกับการใช้สื่อวีดิทัศน์ ดังนั้นการส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านสื่อ
ทง้ั การดผู า่ นวดี ทิ ศั นแ์ ละการอา่ นชว่ ยใหป้ รบั เปลย่ี นทศั นคติ วธิ คี ดิ ไดใ้ นระดบั
มากที่สดุ
การจัดสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัติการ เรอื่ ง “แนวทางการจัดทำ� สือ่ การเรยี นรู้
ด้านการพฒั นาพฤตินสิ ัยผตู้ ้องขงั ” วันท่ี 8 ธันวาคม 2559 ณ โรงแรมมิราเคลิ
แกรนด์ กรุงเทพมหานคร มีเน้ือหาโดยสรุปคือภารกิจหน้าท่ีในการแก้ไขน้ัน
เป็นงานที่ยากล�ำบาก ต้องใช้ความรู้ เทคนิค ทักษะ และเจ้าหน้าที่ท่ีมีประสบการณ์และมีความเป็นมืออาชีพ
ซึง่ กรมราชทณั ฑ์ประสบปัญหาการขาดแคลนทงั้ งบประมาณ และอัตราก�ำลงั จงึ ควรใช้สอ่ื การเรียนร้ทู เี่ หมาะสมเขา้ มา
ช่วยในการแก้ไขผู้ตอ้ งขัง เพือ่ สรา้ งแรงบันดาลใจใหผ้ ตู้ ้องขังสามารถเรยี นรไู้ ด้โดยงา่ ยผา่ นการใชส้ ่ือวดี ทิ ัศน์ ภาพยนตร์
สารคดี หนังสือและเพลง ส่ือเสียงต่างๆ จะช่วยกระตุ้นและสร้างความสนใจให้กับผู้ต้องขัง ท�ำให้เกิดความสนุกและ
เกดิ การเรียนรไู้ ด้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เชน่ ในศนู ย์ฝกึ และอบรมเดก็ และเยาวชนชายบ้านกาญจนาภเิ ษก ทีม่ แี นวคิดว่า
ไม่มีใครที่เกิดมาเพ่ือเป็นอาชญากร จงึ มกี ารสรา้ งนวตั กรรมดา้ นการแกไ้ ขขนึ้ มา โดยการออกแบบสอ่ื การเรยี นวชิ าชวี ติ
แบง่ เปน็ กลมุ่ สาระ 8 กลมุ่ แทนการเรียนหนงั สือในระบบการศกึ ษาทัว่ ไป มพี อ่ แม่เปน็ หุน้ สว่ น มจี ติ อาสา และออกแบบ
กิจกรรมที่ส�ำคัญ เช่น การท�ำพิธีขอขมาเหยื่อ มีการเรียนเร่ืองการวิเคราะห์ข่าวโดยเฉพาะ และน�ำกรณีศึกษาต่างๆ
มาให้เด็กและเยาวชนได้อ่านและท�ำกิจกรรมร่วมกัน การให้ดูภาพยนตร์ที่คัดเลือกมาแล้ว สัปดาห์ละ 1 คร้ัง และมี
คำ� ถามกระตนุ้ ความคดิ มกี จิ กรรมหนง่ึ ชว่ั โมงหนงึ่ ความคดิ มชี ว่ั โมง “คนตายได้ ความคดิ ไมต่ าย” ไมว่ า่ จะเปน็ ไอสไตน์
สตีฟ จ๊อป ฯลฯ ที่น�ำชีวิตของบุคคลส�ำคัญมาเป็นบทเรียนชีวิตที่ส�ำคัญ มีการเรียนรู้วิชา ผู้รอดบนความขาดพร่อง
การตั้งค�ำถามที่เขา้ ใจงา่ ยจะท�ำให้การใหค้ �ำปรึกษาตอ่ ไปง่ายขึน้ เดก็ จะเตบิ โตและงอกงามรวมทั้งสามารถสรา้ งคลังค�ำ
คลังภาษา และคลังความคิดของตนเองขึ้นมา ซ่ึงเด็กและเยาวชนที่ผ่านกิจกรรมเหล่าน้ี มีความเห็นสอดคล้องกันว่า
ถ้าหากได้มีโอกาสเรียนรู้แบบที่เรียนในบ้านกาญจนาภิเษกแต่แรก จะไม่ก้าวพลาดแน่นอน นอกจากนั้น ยังมีกิจกรรม
ส่งเสรมิ ให้เดก็ และเยาวชนได้ออกไปทำ� จติ อาสาภายนอก
ผลสรุปการจัดประชุมเจ้าหน้าที่เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน 6 เขต พบว่ามีกิจกรรมการเรียนรู้คล้ายคลึงกัน
ท้งั ในสว่ นของห้องสมุด เสยี งตามสาย และการให้ผู้ต้องขังดรู ายการโทรทัศน์ แตย่ ังขาดกิจกรรมหรือโจทย์การบ้านให้
ต่อยอดจากการให้ผู้ต้องขังได้อ่านหรือฟังจากสื่อ มีเพียงเรือนจ�ำบางแห่งที่เจ้าหน้าท่ีริเริ่มกิจกรรมต่างๆ จากการ
ฟงั เสยี งตามสาย หรอื หนงั สอื ในหอ้ งสมดุ ซง่ึ มคี วามนา่ สนใจ เชน่ เรอื นจำ� กลางอดุ รธานี มกี ารใหผ้ ตู้ อ้ งขงั เขยี นเรยี งความ
ฝกึ การเป็นดเี จ การสวดมนต์ในกลมุ่ ผตู้ ้องขงั สงู อายุ ใหผ้ ู้ตอ้ งขังอ่านหนังสอื ใหเ้ พอื่ นฟงั กจิ กรรมท�ำความดที กุ วันแลว้
ให้มาเล่าให้เพื่อนฟัง ในห้องสมุดมีลงบันทึกสถิติหนังสือที่ผู้ต้องขังยืมบ่อยๆ หรือตู้แสดงความคิดเห็นเพื่อประเมินผล
มกี ารฉายคลปิ การฝกึ วชิ าชพี ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ดซู ง่ึ ผตู้ อ้ งขงั สว่ นใหญจ่ ะสนใจ เรอื นจำ� จงั หวดั พษิ ณโุ ลก มกี ารประกวดทอ่ งบท
สวดมนตช์ นิ บัญชร หอ้ งสมดุ มชี ีวติ มีมมุ ความร้ตู า่ งๆ เชน่ มมุ วิชาชพี มมุ เศรษฐกจิ พอเพียง มุมสขุ ภาพ ซึง่ ดูคลปิ จาก
คอมพิวเตอรแ์ ละมอี ปุ กรณ์ที่ใหล้ งมอื ทดลองปฏิบตั ิได้ทนั ที

วารสารราชทัณฑ์ 31

สว่ นทณั ฑสถานหญงิ พษิ ณโุ ลก มโี ครงการสนบั สนนุ การอา่ นหนงั สอื มยี า่ มใสห่ นงั สอื ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั นำ� หนงั สอื ขน้ึ ไป
อ่านบนเรือนนอน เป็นต้น ปัญหาอุปสรรคที่ส�ำคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ การอบรมแบบบรรยายทั่วไป
ผู้ต้องขังไม่ให้ความสนใจ และสื่อไม่ทันสมัย เรือนจ�ำบางแห่งขาดวัสดุอุปกรณ์ โดยเฉพาะเคร่ืองเล่นส่ือโสตทัศน์
มีไม่เพียงพอ ประกอบกับเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าท่ีด้านการควบคุมยังไม่ค่อยเห็นความส�ำคัญของงานด้านการพัฒนา
พฤตินสิ ัย
โดยภาพรวมขอ้ เสนอแนะจากการประชมุ พบวา่ เจา้ หนา้ ทสี่ ว่ นใหญเ่ หน็ ควรใหม้ กี ารจดั ทำ� คมู่ อื การจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้ในการพัฒนาพฤตินิสัยให้แก่ผู้ต้องขัง และควรพัฒนาอบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านการใช้สื่อ
การเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ตลอดจนเห็นว่ากรมราชทัณฑ์ควรผลิตส่ือใหม่ๆ ให้ทันยุคสมัยสนับสนุนให้กับเรือนจ�ำ
และทณั ฑสถาน กรมราชทณั ฑค์ วรจดั ระบบการบรจิ าคหนงั สอื โดยสำ� รวจความตอ้ งการ และใหก้ ารสนบั สนนุ ในหมวด
ทยี่ งั ขาดแคลน สำ� หรบั เรอื นจำ� /ทณั ฑสถานในเขตชายแดนใต้ หรอื ในพน้ื ทที่ มี่ ผี ตู้ อ้ งขงั นบั ถอื ศาสนาอน่ื ๆ กรมราชทณั ฑ์
ควรมกี ารประสานงานกบั หนว่ ยงานทด่ี แู ลหลกั สตู รการพฒั นาจติ ใจของศาสนาตา่ งๆ อาทเิ ชน่ สำ� นกั งานคณะกรรมการ
อิสลามแห่งประเทศไทย เพื่อวางหลักสูตรให้กับผู้ตอ้ งขงั ทนี่ ับถือศาสนาอสิ ลาม หรอื สหกจิ คริสเตียนแห่งประเทศไทย
เพอ่ื วางหลกั สตู รสำ� หรบั ผตู้ อ้ งขงั ทน่ี บั ถอื ศาสนาครสิ ต์ นอกจากนน้ั เรอื นจำ� เตรยี มความพรอ้ มกอ่ นปลอ่ ยควรมสี อื่ เฉพาะ
ให้กับผู้ต้องขังที่ใกล้พ้นโทษ และหากเรือนจ�ำใดมีการจัดระเบียบเรือนจ�ำได้มีประสิทธิภาพดีแล้ว ควรเน้นในด้าน
การแก้ไขพัฒนาพฤตินิสยั และมกี ิจกรรมทีส่ นบั สนนุ ใหผ้ ู้ตอ้ งขังสามารถอา่ นหนงั สอื ไดม้ ากขน้ึ

สำ� หรบั ประโยชนจ์ ากการศกึ ษาวจิ ยั ครง้ั น้ี นำ� ไปสกู่ ารดำ� เนนิ งานทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ องคก์ รและผตู้ อ้ งขงั ดงั นี้
1. ไดจ้ ดั ทำ� คมู่ อื การจดั กจิ กรรมสอ่ื การเรยี นรใู้ นการพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ผตู้ อ้ งขงั ใหก้ บั เรอื นจำ� /ทณั ฑสถานทว่ั ประเทศ
2. สร้างหลักสูตรในการส่งเสริมการเรียนรู้ส�ำหรับผู้ต้องขัง ผ่านการใช้สื่อและกิจกรรมท่ีน่าสนใจเพื่อช่วย
ให้ผู้ต้องขังปรับเปล่ียนความคิด ทัศนคติ เพ่ือเป็นคนดีของสังคมและไม่กลับไปกระท�ำผิดซ้�ำ โดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิ
และหัวหน้าฝ่ายการศึกษาของเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานต่างๆ มาร่วมกันจัดท�ำหลักสูตรส่งเสริมการเรียนรู้ส�ำหรับผู้ต้องขัง
มีก�ำหนดระยะเวลาการอบรมในหลักสูตร 40 ช่ัวโมง เพ่ือเป็นการพัฒนาทักษะผู้ต้องขังด้านการฟัง การพูด การอ่าน
และการเขยี น ซง่ึ เปน็ องคค์ วามรทู้ จี่ ำ� เปน็ ในการดำ� รงชวี ติ ประจำ� วนั ทำ� ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั รจู้ กั การคดิ วเิ คราะห์ พฒั นาศกั ยภาพ
ตนเอง หากผู้ต้องขังผ่านหลักสูตรดังกล่าวเห็นควรน�ำไปใช้ประกอบการเลื่อนชั้น และเป็นแนวทางในการด�ำเนินงาน
ของเจา้ หนา้ ทเ่ี พอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการแกไ้ ขฟน้ื ฟู ซง่ึ ถอื เปน็ การสรา้ งนวตั กรรมใหมใ่ นการพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ผตู้ อ้ งขงั
ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการคืนคนดีสู่สังคมซ่ึงถือเป็นการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมายในการ
พฒั นาพฤตนิ ิสยั ผ้ตู อ้ งขังใหก้ ลับตนเป็นคนดมี คี ุณคา่ ของสังคม
3. การศึกษาวิจัยครั้งน้ีน�ำไปสู่การท�ำพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) โครงการ
จัดท�ำสอ่ื การเรียนรดู้ ้านการพัฒนาพฤตนิ สิ ัยผู้ตอ้ งขงั ระหวา่ ง กรมราชทัณฑก์ บั มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์ เพ่ือสร้าง
ความร่วมมือในการผลิตส่ือการเรียนรู้ด้านการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง และการจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ต้องขัง
ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานด้านการผลิตสื่อ โดยปัจจุบันมีนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ผลิตส่ือเชิงสร้างสรรค์ให้กับกรมราชทัณฑ์น�ำไปใช้ประโยชน์ในการเผยแพร่ให้กับผู้ต้องขัง และสร้างการยอมรับ
จากสังคม

32 วารสารราชทัณฑ์

ขอ้ เสนอแนะจากการศกึ ษาวิจยั
ด้านกรมราชทณั ฑ์
1. กรมราชทณั ฑค์ วรมงุ่ เนน้ ในการพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ที่ โดยการจดั อบรม
ให้ความรู้เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านการแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง ด้านการ
ออกแบบ การผลิตและใช้สื่อเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ผู้ต้องขัง โดยเฉพาะการผลิตสื่อ
มัลติมเี ดีย
2. กรมราชทัณฑ์ควรผลิต รวบรวมสื่อวีดิทัศน์ให้มีเน้ือหาในเชิงสร้างสรรค์
ทง้ั ในดา้ นแนวทางการประกอบอาชพี ประวตั บิ คุ คลสำ� คญั ทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ สารคดี
ทน่ี า่ สนใจ ฯลฯ สง่ ใหก้ บั เรอื นจ�ำใหท้ ันยคุ สมยั สนับสนุนให้กบั เรอื นจ�ำ/ทณั ฑสถาน
3. การพัฒนาระบบเสียงตามสายเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานทั่วประเทศให้มี
มาตรฐานเดียวกัน พร้อมท้ังพัฒนาเจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบระบบเสียงตามสายให้มี
การเผยแพรค่ วามรู้ เนอ้ื หาทสี่ อดแทรกดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความบนั เทงิ ควบคกู่ นั
4. กรมราชทณั ฑค์ วรวางระบบการบริจาคหนังสือ โดยส�ำรวจความตอ้ งการ
และใหก้ ารสนับสนนุ ในหมวดที่ยังขาดแคลนหนงั สือใหมๆ่
5. กรมราชทัณฑ์ควรมีการประสานงานกับหน่วยงานที่ดูแลหลักสูตรการ
พฒั นาจติ ใจของศาสนาตา่ งๆ อาทเิ ชน่ สำ� นกั งานคณะกรรมการอสิ ลามแหง่ ประเทศไทย
6. ส�ำหรับเรือนจ�ำท่ีมีการจัดระเบียบเร่ืองยาเสพติดและโทรศัพท์มือถือ
เรียบร้อยแล้ว หากมีความพร้อมอนุญาตให้ผู้ต้องขังน�ำหนังสือข้ึนเรือนนอนได้คนละ
1 เลม่ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาพฤตนิ สิ ัยผ้ตู ้องขงั
7. ควรจดั ทำ� ชอ่ งทวี รี ายการของกรมราชทณั ฑ์ หรอื หนงั สอื พมิ พร์ ายเดอื น เพอ่ื เผยแพรข่ า่ วสารและรายการดๆี
ใหผ้ ตู้ ้องขังทราบและเปน็ การประชาสมั พันธใ์ หผ้ ู้บรหิ ารพบปะกับผู้ต้องขงั มกี ารสื่อสารถงึ กนั
8. ควรมีการแก้ไขระเบียบกรมราชทัณฑ์ที่จ�ำกัดสิทธิผู้ต้องขังช้ันเลวไม่ให้เรียนระดับปริญญาตรี ซึ่งไม่ได้เกิด
จากการลดช้ันกรณกี ระท�ำผดิ วินยั เพอ่ื ให้โอกาสผ้ตู ้องขังกรณที ีเ่ ป็นผ้ตู อ้ งขงั กระท�ำผดิ ซ�้ำ ซ่ึงไมไ่ ดเ้ ร่ิมต้นท่ีชนั้ กลาง
9. ควรมีการพัฒนาอบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านการใช้ส่ือการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ เพื่อการ
พฒั นาพฤตนิ สิ ยั
ดา้ นการดำ� เนินงานของเรอื นจ�ำ/ทณั ฑสถาน
1. สนับสนุนให้ผู้ต้องขังท่ีมีความสามารถด้านการผลิตสื่อ งานด้านการประชาสัมพันธ์หรือจบการศึกษา
ดา้ นนเิ ทศศาสตร์ และมคี วามรคู้ วามชำ� นาญในการใชค้ อมพวิ เตอรม์ าชว่ ยงานดา้ นการจดั ทำ� สอ่ื การเรยี นรขู้ องทางเรอื นจำ�
2. กลุ่มทีส่ นใจในเร่อื งเดียวกันใหต้ ั้งเปน็ ชมรม เช่น ชมรมคนรักหนงั สอื และผลติ สือ่ เพื่อพัฒนาทักษะวิชาชีพ
ในเร่ืองที่ผู้ตอ้ งขังต้องการและให้ความสนใจ
3. ควรมีการก�ำหนดตารางรายการส่ือที่น�ำมาฉายให้ผู้ต้องขัง ว่าควรมีเน้ือหาด้านใดในสัดส่วนเท่าใด และมี
การตงั้ คณะกรรมการขนึ้ เพอื่ พจิ ารณาการกำ� หนดเนอื้ หาของสอ่ื ทจ่ี ะนำ� มาฉายใหก้ บั ผตู้ อ้ งขงั เพอื่ กลนั่ กรองใหม้ เี นอื้ หา
ที่เหมาะสม เปน็ ประโยชน์และเป็นไปในเชงิ สรา้ งสรรค์

วารสารราชทัณฑ์ 33

ดนตรี

สามารถพฒั นาผ้ตู อ้ งขัง

เรือนจำ� พิเศษมีนบุรีไดอ้ ย่างไร

นายแพทย์สมภพ สังคุตแกว้ 1

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 6 ทรงกอ่ ตง้ั กรมราชทณั ฑ์ เมอื่ วนั ที่ 13 ตลุ าคม 2458 และ
ทรงพระราชทานเครื่องมือในการพฒั นาผู้ต้องขังให้กับกรมราชทัณฑ์ทส่ี �ำคญั ใน 2 สว่ น ไดแ้ ก่ 1) กระบวนการลูกเสือ
ซง่ึ หวั ใจรว่ มของการลกู เสอื และการลกู เสอื ราชทณั ฑไ์ ทย (ภารกจิ ของลกู เสอื คอื การพฒั นาเยาวชนเพอื่ ใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี
ของประเทศ และภารกิจของกรมราชทัณฑ์คือการพัฒนาผู้ต้องขังซึ่งเป็นผู้ที่เคยกระท�ำผิดต่อกฎหมายบ้านเมือง
เพ่ือให้กลับตนเป็นพลเมืองดี มีคุณค่าของสังคมและประเทศ) และ 2) ดนตรี ซ่ึงเสียงเพลงท�ำให้รู้สึกผ่อนคลายและ
มคี วามสขุ รวมทงั้ ยงั เปน็ สอ่ื กลางในการเสรมิ สรา้ งความสามคั คแี ละสามารถเขา้ ถงึ ไดท้ กุ กลมุ่ เปา้ หมาย ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก
บทพระราชนิพนธ์ตอนหนง่ึ ทางดา้ นดนตรที ี่วา่ “ชนใดไมม่ ดี นตรกี าล ในสนั ดานเปน็ คนชอบกลนกั ” พระราชนพิ นธ์
แปลจาก “The Merchant of Venice” ของ William Shakespeare
ความส�ำคัญของดนตรี
ดนตรี คอื ลกั ษณะของเสยี งทไี่ ดร้ บั การจดั เรยี บเรยี งไวอ้ ยา่ งเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย โดยมแี บบแผนและโครงสรา้ ง
ชดั เจน ซง่ึ ดนตรสี ามารถนำ� มาใช้ประโยชน์ไดใ้ น 3 ดา้ นหลกั ได้แก่ 1) เพอ่ื ความสนุ ทรยี ์ 2) เพ่อื การบ�ำบดั รกั ษา และ
3) เพื่อการศึกษา เนื่องจากการเล่นดนตรีหรือได้ฟังเพลงจะช่วยเปล่ียนการท�ำงานของคลื่นสมองจากภาวะปกติคือ
คลน่ื แอลฟา (alpha wave) ทม่ี คี วามเรว็ สงู ใหเ้ ปน็ คลนื่ เบตา้ (beta wave) ซง่ึ เปน็ คลน่ื สมองชว่ งทค่ี วามเรว็ ตำ่� ลง และ
หลงั่ สาร Endorphin หรอื สารแหง่ ความสขุ ออกมา ท�ำใหร้ สู้ กึ เคลบิ เคลิม้ และผอ่ นคลาย ลดความคดิ ฟงุ้ ซ่าน ร่างกาย
จงึ เกดิ ความสขุ และสนุ ทรยี ท์ างอารมณไ์ ปกบั เสยี งดนตร ี ทำ� ใหก้ ารทำ� งานของระบบตา่ งๆ ของรา่ งกายเปน็ ไปตามปกติ
ระบบภูมคิ ุ้มกันของรา่ งกายแข็งแรง

1 ผู้บญั ชาการเรือนจำ� พเิ ศษมีนบุรี

34 วารสารราชทัณฑ์

การน�ำดนตรีมาใช้เพื่อการบ�ำบัดรักษา (Music Therapy) การน�ำดนตรีมาใช้เพื่อการบ�ำบัดรักษาพบว่า
มกี ารนำ� มาใชก้ นั มาหลายพนั ปแี ลว้ โดยเรม่ิ จากชนเผา่ พนื้ เมอื งทวั่ โลกไดใ้ ชด้ นตรใี นการเตน้ รำ� และประกอบพธิ กี รรม รวมถงึ
เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการเยยี วยารกั ษาโรคเมอ่ื ประมาณ 5,000 ปมี าแลว้ โดยกรกี เปน็ ชนชาตแิ รกทน่ี ำ� ดนตรมี าบำ� บดั รกั ษา
(ใช้พิณดีดรักษาโรคซึมเศร้า) หลังจากน้ันดนตรีบ�ำบัดได้มีความก้าวหน้าจนถึงในปัจจุบัน ซ่ึงมีการน�ำดนตรีมาใช้
บำ� บดั โรคตา่ งๆ ทงั้ โรคทางกายและทางจติ เวชไดอ้ ยา่ งดยี ง่ิ เชน่ มกี ารคน้ พบวา่ ดนตรใี ชล้ ดอาการเจบ็ ปวดจากการคลอด
จากการถอนฟัน รักษาคนท่ีมีความเครียดกังวล แยกตัวจากสังคม หรือคนพิการซ้�ำซ้อนได้ดี ตลอดจนผู้ป่วยจิตเภท
ผู้มีพฤติกรรมถดถอยได้ และที่ส�ำคัญคือเสียงเพลงสามารถเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของคนได้เน่ืองจากดนตรีช่วยปรับ
สภาพจติ ใจใหอ้ ยใู่ นสภาวะสมดลุ มมี มุ มองในเชงิ บวก ผอ่ นคลายความตงึ เครยี ด ลดความวติ กกงั วล กระตนุ้ และพฒั นา
ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละความจำ� เสรมิ สรา้ งสมาธ ิ พฒั นาทกั ษะสงั คม การสอ่ื สาร การเคลอ่ื นไหว และการปรบั ลดพฤตกิ รรม
ท่ีไม่เหมาะสม ตลอดจนสามารถทำ� ใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ ตัวอยา่ งเชน่
1) จังหวะหรือลลี า (Rhythm) ชว่ ยสร้างเสรมิ สมาธิ และชว่ ยในการผ่อนคลาย
2) ระดับเสียง (Pitch) เสยี งในระดบั ต�ำ่ และระดับสูงปานกลาง จะชว่ ยใหเ้ กดิ ความรู้สกึ สงบ
3) ความดงั (Volume/Intensity) เสยี งทเ่ี บานมุ่ จะทำ� ใหเ้ กดิ ความสงบสขุ สบายใจ ในขณะทเี่ สยี งดงั ทำ� ใหเ้ กดิ
การเกร็ง กระตุกของกล้ามเน้ือได้ ความดังทีเ่ หมาะสมจะช่วยสร้างระเบยี บในการควบคุมตนเองได้ดี มคี วามสงบ และ
เกิดสมาธไิ ดใ้ นที่สุด
4) ท�ำนองเพลง (Melody) ช่วยในการระบายความรู้สึกส่วนลึกของจติ ใจ ท�ำให้เกิดความริเร่ิมสร้างสรรค์และ
ลดความวิตกกงั วล
5) การประสานเสียง (Harmony) ช่วยในการวัดระดับอารมณ์ความรู้สึกได้โดยดูจากปฏิกิริยาท่ีแสดงออกมา
เมื่อฟงั เสยี งประสานต่างๆ จากบทเพลง

วารสารราชทัณฑ์ 35

ประโยชนข์ องการรอ้ งเพลงประสานเสยี ง โดยนกั วจิ ยั ทม่ี หาวทิ ยาลยั Gothenburg ประเทศสวเี ดน คน้ พบวา่
การร้องเพลงร่วมกันแบบคณะประสานเสียงจะท�ำให้ลมหายใจเข้าออกของนักร้องทุกคนต้องสัมพันธ์กันและยังท�ำให้
การเตน้ ของหวั ใจเปน็ จงั หวะเดยี วกนั ดว้ ย และนกั วจิ ยั ดา้ นประสาทวทิ ยา Bjorn Vickhoff ซง่ึ เปน็ นกั รอ้ งและนกั แตง่ เพลง
ระบุว่าเมื่อนักร้องเปล่งเสียงร้อง อัตราการเต้นของหัวใจจะลดลง และเม่ือหยุดพักระหว่างประโยคเพ่ือหายใจเข้าไป
อัตราการเต้นของหัวใจจะเพ่ิมขึ้น สลับกันเช่นน้ีไปตลอดท้ังเพลง โดยได้ท�ำการทดสอบพบว่านักร้องทุกคนในคณะ
ประสานเสียงที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีจังหวะการเต้นของหัวใจไปในทางเดียวกัน ไม่ว่าจะช้าหรือเร็วก็มีแนวโน้มที่นักร้อง
ทุกคนในคณะจะมีอารมณร์ ่วมในแบบเดยี วกนั ตวั อย่างเช่น เมือ่ ต้องหายใจเขา้ ลึกๆ ในชว่ งท่อนแยกจะท�ำให้รสู้ ึกสงบ
ผอ่ นคลาย สรปุ วา่ การรอ้ งเพลงประสานเสยี งจะทำ� ใหเ้ กดิ ความผกู พนั ทง้ั ทางรา่ งกายและจติ ใจในหมนู่ กั รอ้ งประสานเสยี ง
โดยไมร่ ู้ตวั
ดนตรกี บั ความสามารถของสมองทเี่ กย่ี วขอ้ งการตดิ ยาเสพตดิ จากการรวบรวมผลการวจิ ยั ตา่ งประเทศของ
รศ.ดร. นวลจนั ทร์ จฑุ าภกั ดกี ลุ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นความสามารถของสมองในการบรหิ ารจดั การชวี ติ Executive function
(EFs) จากมหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ความบกพร่องในการท�ำงานของสมอง EFs (ชุดกระบวนการทางความคิด
ทช่ี ว่ ยใหว้ างแผน/เปา้ หมายและจดั การกบั งานหลายๆ อยา่ งใหล้ ลุ ว่ งเรยี บรอ้ ยได้ สามารถจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของงาน
และทำ� ไปเปน็ ขน้ั ตอนจนสำ� เร็จ รวมทงั้ ควบคมุ แรงอยาก แรงกระตุ้นต่างๆ ไม่ให้สนใจไปนอกล่นู อกทาง) ซงึ่ เปน็ สาเหตุ
ของการติดยาเสพติด เน่ืองจากความบกพร่องในการท�ำงานของสมองส่วนหน้า (Prefrontal cortex) ซ่ึงท�ำหน้าท่ี
ยบั ยงั้ การเขา้ หายาเสพตดิ โดยการควบคมุ ความคดิ และการกระทำ� (Cognitive control) ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถยบั ยง้ั ความคดิ
และการกระทำ� (Inhibition) ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทกุ ขนั้ ตอนของการตดิ ยาเสพตดิ ตง้ั แตก่ ารทำ� ใหเ้ ขา้ ไปอยใู่ นสถานการณเ์ สยี่ ง
ทดลองใช้และใช้ซ้�ำจนติด รวมทั้งกลับไปเสพติดซ้�ำ ซ่ึงการพัฒนา EFs จะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด
โดยผา่ นกระบวนการ การเรยี นรทู้ หี่ ลากหลายตามชว่ งวยั เชน่ การอา่ นชว่ ยพฒั นาทกั ษะสมองและสมาธิ การเลน่ ดนตร/ี
ท�ำงานศิลปะท�ำให้สมองมีความตื่นตัวในการท�ำงาน และการเล่นกีฬา/การเล่นที่มีกฎกติกาหรือเล่นเป็นทีมจะช่วยฝึก
เร่ืองการคิดและการวางเป้าหมาย (จะน�ำเสนอการส่งเสริมกีฬาเพื่อการพัฒนาผู้ต้องขัง “แดนสามัคคีเกมส์ เรือนจ�ำ
พเิ ศษมีนบรุ ”ี ในคราวตอ่ ไป) เปน็ ต้น เพือ่ มใิ หก้ ลับไปยงุ่ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ หรือกระท�ำผิดซำ้�

การพฒั นาผตู้ อ้ งขงั ด้วยดนตรี
เรือนจ�ำพิเศษมีนบุรีได้ส่งเสริมให้ผู้ต้องขังได้รับการพัฒนาทางด้านดนตรีมานานหลายปี
ท้ังดนตรีไทย (วงอังกะลุงของผู้ต้องขังหญิง) และดนตรีสากล (วงดนตรีของผู้ต้องขังชาย)
ตามความสนใจเท่าน้ัน ยังไม่ได้น�ำหลักวิชาการเข้ามาพัฒนาผู้ต้องขังอย่างเป็นระบบ จนกระท่ัง
ในช่วงกลางปี 2559 จึงได้พัฒนากระบวนการน�ำดนตรีมาพัฒนาผู้ต้องขังให้มีประสิทธิภาพ

มากยง่ิ ขนึ้ เนอ่ื งจากดนตรสี ามารถเขา้ ถงึ กลมุ่ ผตู้ อ้ งขงั ไดง้ า่ ย และจากการทบทวนองคค์ วามรู้
ท่ีผ่านมาในข้างตน้ เรอื นจ�ำได้เชิญอาจารยจ์ ากโรงเรยี นวัดปากบงึ ทีม่ ีความเช่ียวชาญ
ดา้ นองั กะลงุ และไดร้ บั รางวลั รองแชมปป์ ระเทศไทยเขา้ มาสอนการเลน่ องั กะลงุ
ให้กับผู้ต้องขังหญิง และเชิญอาจารย์ท่ีมีความเชี่ยวชาญด้านดนตรี
จากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครเขา้ มาสอนการรอ้ งประสานเสยี ง
ใหก้ บั ผตู้ อ้ งขงั ชายและผตู้ อ้ งขงั หญงิ ตอ่ มาจงึ ไดจ้ ดั ตงั้
คณะนักร้องประสานเสียงข้ึน เพ่ือรับเสด็จ

36 วารสารราชทัณฑ์

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมอ่ื คราว
เสด็จเปิดห้องสมุดพร้อมปัญญา เรือนจ�ำพิเศษมีนบุรี
เมื่อวันท่ี 7 ธันวาคม 2559 เพื่อทอดพระเนตรห้องเรียน
เทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำริฯ การฝึกวิชาชีพ
การประกอบอาหารคาว-หวานของผตู้ อ้ งขงั หอ้ งเรยี นผไู้ มร่ ู้
หนังสอื และห้องฝกึ วชิ าชีพชา่ งสิบหมู่ และทอดพระเนตร
การแสดงอังกะลุงของผู้ต้องขังหญิงซึ่งเล่นเพลง “ชะตาชีวิต” เป็นบทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช และกอ่ นเสดจ็ ฯ กลบั กลมุ่ ผตู้ อ้ งขงั ชาย-หญงิ ซง่ึ เปน็ นกั รอ้ งประสานเสยี งไดย้ นื รอ้ งเพลง
ประสานเสียง บทเพลงพระราชนพิ นธ์ “สายฝน” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสดจ็ ฯ ไปทอดพระเนตรใกล้ๆ และ
ทอดพระเนตรจนการแสดงจบลงกอ่ นเสดจ็ ฯ กลบั ซง่ึ ในครง้ั นนั้ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ ไดท้ รงชน่ื ชมและทรงให้
ก�ำลงั ใจกบั คณะนกั ร้องประสานเสียงและทรงใหห้ มนั่ ฝึกซ้อม และทรงรับสั่งว่า “หากสงั คมไม่ให้โอกาส ก็จะไม่มคี นดี
คืนสู่สังคม”
นกั ดนตรี (มอื เปยี โน) ของคณะนกั รอ้ งประสานเสยี งเลา่ วา่ “...ผมเปน็ นกั ดนตรมี อื อาชพี กเ็ คยเลน่ กญั ชามาบา้ ง
เรียนจบปริญญาตรี แต่ผมก็พลาดกลายเป็นผู้ต้องขังชายจนได้... ถูกขังมาหลายปีแล้ว เห็นการเปลี่ยนแปลงของ
เรือนจำ� ซงึ่ ในยคุ นเ้ี น้นทกี่ ารพฒั นาในตัวพวกผม และท�ำให้ผมเปล่ียนไป ในวนั ที่ทางเรือนจ�ำตามหานกั ดนตรมี ืออาชีพ
เพื่อเล่นเปียโน ซ่ึงตอนนั้นทั้งเรือนจ�ำมีผมคนเดียวที่เล่นได้... ผมต้องออกจากกองลูกเสือ (เพราะหาคนอ่ืนเป็นลูกเสือ
แทนผมได้) มาเป็นนักดนตรีของนักร้องประสานเสียง ในวันรับเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ก่อนท่ีจะ
เสดจ็ กลบั เมอ่ื ผมเลน่ โนต้ ตวั แรก ทรงเสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรใกลๆ้ และทอดพระเนตรจนการ
แสดงจบลงก่อนเสด็จฯ ผมและทุกคนน�้ำตาไหลอย่างมีความสุข ผมเล่นดนตรี
ได้ทุกชนิดและแสดงคอนเสิร์ตมีคนปรบมือให้กับวงดนตรีของผม
มาเปน็ ลา้ นๆ คน แตไ่ มม่ เี สยี งปรบมอื ทเี่ พราะทส่ี ดุ และมคี า่

มากที่สุดในชีวิตของผมเท่ากับเสียงของสมเด็จ
พระเทพรตั นราชสดุ าฯ...”
วารสารราชทัณฑ์ 37

ผู้ฝึกสอน อาจารย์ผู้ฝึกสอนเล่าว่า “...การสอนผู้ต้องขังไม่ยากเพราะผู้ต้องขังมีความสนใจเร่ืองดนตรี และ
มีความต้ังใจมุ่งมั่นอยู่แล้ว แต่ขาดหลักวิชาการและทักษะท่ีถูกต้อง เราเพียงสอนหลักการให้และท่ีส�ำคัญคือสร้าง
ความเช่ือมั่นและให้ก�ำลังใจว่าทุกคนท�ำได้... งานแรกคืองานรับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทุกคนท�ำได้ดีมาก
และฝกึ ฝนพัฒนาขึ้นมาเรือ่ ยๆ จนสามารถออกไปแสดงในงานใหญ่ๆ มาหลายงานแล้ว...”
เรือนจ�ำจึงได้สนองพระมหากรุณาธิคุณ ได้ฝึกฝนพัฒนาคณะนักร้องประสานเสียงสืบต่อมา และได้รับการ
ยอมรับจากหน่วยงานและบุคคลภายนอก ได้รับเชิญให้ไปท�ำการแสดงยังหน่วยงานภายนอกบ่อยคร้ัง ซ่ึงต้องอาศัย
ความร่วมมือร่วมใจของเจ้าหน้าที่ผู้ฝึกสอนและเจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมผู้ต้องขังออกไปแสดงภายนอกเรือนจำ� (การท�ำงาน
เป็นทมี ทมี่ ีความเขม้ แขง็ ) เช่น
- พิธเี ปดิ งานนิทรรศการผลติ ภัณฑ์ราชทณั ฑ์ 2560
- พธิ เี ปดิ การประชมุ วชิ าการยาเสพตดิ แหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 18 ณ เมอื งทองธานี จดั โดยกรมการแพทย์ กระทรวง
สาธารณสขุ
- งานแถลงขา่ ว 100 วนั เปลย่ี นความโทมนสั เปน็ พลงั  ณ ลานวคิ ทอรพี่ อ้ ยส์ เกาะพญาไท อนสุ าวรยี ช์ ยั สมรภมู ิ
จดั โดยส�ำนักงานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)

38 วารสารราชทัณฑ์

วาทยกร (Conductor) ของคณะนักร้องประสานเสียงที่มีรอยสักเต็มตัวและล�ำคอ (สักมาจากข้างนอกก่อน
เข้ามาอยู่ในเรือนจ�ำ) เล่าว่า “...ครั้งแรกผมเป็นเพียงนักร้องประสานเสียงคนหนึ่งเท่าน้ัน แต่ท่านอาจารย์มองเห็นว่า
ผมเป็น Conductor ได้ เพราะถ้าจะใหท้ ่านอาจารย์มาเป็น Conductor ให้ทกุ ครง้ั ก็คงเป็นไปไมไ่ ด้ ผมไม่มีความรเู้ ลย
เม่อื ทา่ นม่นั ใจว่าผมทำ� ได้ ผมกต็ ้องทำ� ได้ ทา่ นพดู เลน่ ๆ กับผมว่าทำ� ไดอ้ ยแู่ ล้ว ขนาดทนเจบ็ กับการสักทงั้ ตัวได้ ท่านก็
เรม่ิ สอนหลักการตา่ งๆ ให้ เชน่ ตคี วามหมายของบทเพลง ผมมหี น้าทส่ี �ำคญั กค็ อื ดงึ ความสมั พันธ์ของคณะนกั รอ้ งออก
มาเพื่อสอดผสานรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน และควบคุมโดยการใช้สัญญาณมือ ก็มือขวาส�ำหรับให้จังหวะ ส่วนมือซ้ายก็
ควบคุมในด้านอื่น เช่น ให้ร้องเสียงดังหรือค่อย หรือเป็นการแสดงออกด้านอารมณ์อ่ืนๆ หลังจากน้ันก็เรียนรู้เพ่ิมเติม
จนทุกวันนี้ ผมมีความสุขมากผมเป็น Conductor ของคณะนักร้องประสานเสียงเรือนจ�ำพิเศษมีนบุรี ไม่ใช่ผู้ต้องขัง
ทีไ่ รค้ า่ ...”
ทงั้ นี้ เรือนจ�ำนอกจากจะสอนทกั ษะด้านดนตรแี ลว้ ยังเพ่ิมเรอ่ื งการ Empowerment เพ่ือใหม้ ี Self esteem
และการปรับเปล่ียนทัศนคติใหม่ จนท�ำให้ผู้ต้องขังชาย-หญิงกล้าเปิดเผยใบหน้าต่อส่ือสาธารณะ เพื่อเป็นก�ำลังใจ
ใหท้ กุ คนกล้ายอมรบั ความผดิ พลาดแล้วเร่ิมตน้ ใหม่ดว้ ยชยั ชนะ ตวั อย่างเช่น
- การให้ยอมรับความจริงวา่ “ตนเองเคยกระท�ำผดิ และสามารถกลบั ตัวเป็นคนดขี องสังคมได้ โดยเรม่ิ จากการ
ให้โอกาสแก่ตวั เอง” และ “การมองไปขา้ งหน้าเพอื่ สรา้ งความหวัง แล้วมองไปข้างหลังเพื่อแกไ้ ขส่ิงท่ีผิดพลาด”
- การฝกึ ใหเ้ ปน็ คนคดิ บวก โดยการเรยี นรจู้ ากเนอื้ หาของบทเพลงตา่ งๆ เชน่ เพลงอยทู่ เ่ี รยี นรู้ เพลงศรทั ธา ฯลฯ
“แมพ้ วกเราจะสญู เสยี อสิ รภาพ แตพ่ วกเรายงั มคี วามหวงั ทเี่ ปย่ี มไปดว้ ยศรทั ธาทจ่ี ะเปน็ คนด”ี และ “จดุ ตำ่� สดุ ของชวี ติ
ที่ทกุ คนมีโอกาสประสบเปน็ ไดท้ ้ังจดุ จบและบทเรียนทด่ี ี”

นักแต่งเพลง ผู้ต้องขังที่เป็นนักแต่งเพลงนับร้อยเพลงของเรือนจ�ำเล่าว่า “...ผมไม่มีความรู้ ถูกจับเข้าคุกมา
หลายรอบ ไม่เคยมีความคิดที่จะเลิกเล่นและขายยาบ้า ก็มันไม่รู้จะท�ำอะไร คิดแต่ว่าเม่ือออกไปจะต้องขายยา
ใหเ้ ยอะขนึ้ เพอ่ื จะไดเ้ งนิ มากขนึ้ จะไดค้ มุ้ กบั การถกู จบั แตค่ รงั้ นพ้ี อไดแ้ ตง่ เพลงตามความฝนั และเพลงกด็ งั มแี ตค่ นขอเพลง
และเมื่อได้มาเป็นนักร้องประสานเสียง มันท�ำให้เร่ิมมีความคิดท่ีจะเร่ิมต้นชีวิตใหม่ ต้ังใจท่ีจะเปล่ียนตัวเองให้ได้
เปน็ คร้งั แรก...”
นอกจากนี้ เรอื นจำ� ยงั ไดป้ ระสานทมี งานจติ อาสาเพอื่ เขา้ บนั ทกึ เสยี งคณะนกั รอ้ งประสานเสยี งเรอื นจำ� พเิ ศษมนี บรุ ี
ในเพลงพระราชนิพนธ์ “แสงเทียน สายฝน ชะตาชีวิต” และเพลงซึ่งผู้ต้องขังได้แต่งขึ้นมาเพ่ือเทิดพระเกียรติ
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชฯ เพลงจงรกั ภกั ดแี ละเพลงรกั พอ่ ตอ้ งรกั กนั เพอ่ื ประชาสมั พนั ธผ์ า่ นทาง
สื่อต่างๆ “ถึงแม้ตัวจะออกไม่ได้ แต่ขอเอาเสียงเพลงออกไปเพื่อขอโอกาสในสังคม” โดยสามารถติดตามชมได้ใน
YouTube “ผูต้ ้องขงั ร้องเพลงเรอื นจ�ำพิเศษมีนบรุ ”ี

วารสารราชทัณฑ์ 39

ในปี 2560 ไดพ้ ัฒนาไปอีกขั้น โดยสอนให้นกั ร้องประสานเสยี งไดร้ อ้ งเพลงประกอบทา่ ทาง (เช่น เพลงบัวขาว
ซง่ึ เปน็ เพลงประจำ� ของกระทรวงยตุ ธิ รรม เปน็ ตน้ ) และการนำ� วงองั กะลงุ และคณะนกั รอ้ งประสานเสยี งมาแสดงรว่ มกนั
เพอ่ื ผสมผสานรอ้ ยเรยี งทงั้ ดนตรไี ทยและดนตรสี ากล รวมทง้ั กระตนุ้ ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั และเจา้ หนา้ ทร่ี ว่ มกนั คดิ พฒั นาการแสดง
ให้น่าสนใจและดีขน้ึ เรื่อยๆ ไมห่ ยดุ น่ิงอยกู่ บั ที่ ตอ้ งเปดิ รับสง่ิ ใหม่ตลอดเวลา

เมอ่ื วนั ที่ 29 พฤศจกิ ายน 2560 รว่ มกบั สสส. ดำ� เนนิ
โครงการ “เสียงจากคนข้างในก�ำแพงส่งถึงคนภายนอก”
ภ า ย ใ ต ้ โ ค ร ง ก า ร แ ร ง บั น ด า ล ใ จ จ า ก พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชฯ สผู่ ตู้ อ้ งราชทณั ฑใ์ นการ
สรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะและการสรา้ งทกั ษะชวี ติ และรบั มอบหนงั สอื
100 วนั ร้อยเร่ืองเปลี่ยนความโทมนัสเปน็ พลังอันยิ่งใหญ่
การประชาสัมพันธ์คณะนักร้องประสานเสียง
เรือนจ�ำพิเศษมีนบุรีผ่านสื่อต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติของผู้ต้องขังคนอื่นๆ และผู้พ้นโทษ อันจะน�ำไปสู่เป้าหมายสูงสุดคือสังคมให้การยอมรับและ
ให้โอกาสแกผ่ ู้พน้ โทษกลบั มาเป็นคนดีของสังคมและมที ่ยี นื อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างแท้จรงิ

เอกสารอา้ งองิ
จิรภรณ์ อังวิทยาธร. ดนตรบี �ำบดั : ฟังดนตรเี ถดิ ชื่นใจ. คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล : www.
pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/395/ดนตรีบ�ำบัด/.
ดนตรีบ�ำบดั :https://www.baanjomyut.com/library/musical_therapy/.
นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล. Executive Functions (การคิดเชิงบริหาร). เอกสารประกอบการประชุม
เชิงปฏิบัติการระดมสมองวางกรอบประเด็นและเน้ือหาหนังสือนิทานฯ โครงการ “หนังสือนิทานสร้างภูมิคุ้มกัน
ยาเสพตดิ สาหรบั เด็กปฐมวยั ”.
Executive Function Fact Sheet: http://www.ncld.org/ld-basics/ld-aamp-executive-func-
tioning/basic-ef-facts/executive-function-fact-sheet.
Musical therapy https://www.baanjomyut.com/library/musical_therapy/.
Music therapy: http://www.goodtherapy.org/learn-about-therapy/types/music-therapy.
http://www.thaihealth.or.th/Content/32566-ข้อดขี อง“ดนตรบี ำ� บัด”.html.
American Music Therapy Association. (2015). What is music therapy? Retrieved fromhttp://
www.musictherapy.org/faq/.
Music benefits: http://www.thebestbrainpossible.com/how-listening-to-music-benefits-
your-brain/.
40 วารสารราชทัณฑ์

การส่งผตู้ อ้ งขังคนื ส่สู งั คมของราชทณั ฑ์สงิ คโปร์

วนั วิสา เพ็งอุดม
สิงคโปร์นับเป็นประเทศหน่ึงท่ีประสบความส�ำเร็จในการส่งผู้ต้องขังกลับสู่สังคม เนื่องด้วยมีระบบการฟื้นฟู
ดแู ล และการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นปลอ่ ยจากเรอื นจำ� ทเ่ี ขม้ ขน้ ภายใตก้ ารกำ� กบั ดแู ลโดยกรมราชทณั ฑ์ การสรา้ งโอกาส
ในการประกอบอาชีพของผู้ต้องขังหลังพ้นโทษโดยความร่วมมือของหน่วยงานในภาคส่วนต่างๆ ในสังคม ท้ังภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม การผลักดันค่านิยมการสร้างการยอมรับและให้โอกาสในการกลบั มาใช้ชีวิตในสงั คม
หลงั พน้ โทษผา่ นโครงการตา่ งๆ ดว้ ยระบบทม่ี กี ารเชอ่ื มโยงกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทำ� ใหเ้ กดิ เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทเี่ ขม้ แขง็
และเป็นก�ำลังส�ำคัญในการส่งตัวผู้ต้องขัง
กลบั สสู่ งั คมของราชทณั ฑส์ งิ คโปรไ์ ดอ้ ยา่ งดเี ยย่ี ม
ส่งผลให้สถิติการกระท�ำผิดซ้�ำของผู้ต้องขัง
ท่ีถูกปล่อยตัวออกไปครบ 3 ปี ลดลงจาก
รอ้ ยละ 26.5 ในปี 2014 เปน็ รอ้ ยละ 25.9 ในปี
2015 บทความนี้ จึงมงุ่ เนน้ ทีจ่ ะเสนอในเรือ่ ง
การเตรียมความพร้อมผู้ต้องขังก่อนปล่อยตัว
และการดูแลผู้ต้องขังหลังปล่อยตัว เพ่ือให้
ทราบถงึ กระบวนการในการสง่ ตวั ผตู้ อ้ งขงั คนื
สสู่ ังคมของราชทณั ฑส์ งิ คโปรไ์ ดอ้ ย่างชัดเจน

วารสารราชทัณฑ์ 41

เรอื นจ�ำเตรยี มความพร้อมกอ่ นปล่อยของสิงคโปร์

เรือนจ�ำของสิงคโปร์อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของ
กรมราชทัณฑ์ โดยส่วนใหญ่อยู่ที่ศูนย์ Changi Prison Complex
ที่นี่มีท้ังเรือนจ�ำระดับความมั่นคงสูงสุด เรือนจ�ำระดับความม่ันคง
ปานกลาง จนถึงเรือนจ�ำระดับความมั่นคงต�่ำ โดยเป็นเรือนจ�ำ
เตรียมความพร้อมก่อนปล่อยที่มุ่งเน้นการเตรียมความพร้อมให้
ผู้ต้องขังก่อนพ้นโทษ ท้ังด้านการพัฒนาพฤตินิสัย การปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม และการฝึกอาชีพ ภายในมีการจัดการสนับสนุนการ
เตรียมความพร้อมอย่างครบวงจร โดยรวมเอาท้ังเรือนนอน
สถานพยาบาล สถานฝกึ อาชีพ โรงเรยี น และโรงงานมาไวใ้ นอาคาร
เดียวกัน ความมั่นคงในการควบคุมและรักษาความปลอดภัยถูกออกแบบมาเป็นอย่างดีตามประเทศในแถบยุโรป
มกี ารใช้เทคโนโลยีที่ทนั สมยั เข้ามาช่วยในการจัดการ เชน่ การใช้ Housing Control Center ควบคมุ การเปิดปิดประตู
อัตโนมัติ การใชร้ ะบบ Barcode สายรัดขอ้ มอื ของผ้ตู ้องขงั เปน็ ต้น
ภายในเรอื นนอนของผตู้ อ้ งขงั มที อ่ี าบนำ�้ และสว้ ม มขี องใชส้ ว่ นตวั ทจี่ ำ� เปน็ ประกอบดว้ ย ผา้ หม่ ถงั นำ้� พลาสตกิ
แปรงสีฟัน ยาสีฟัน สบู่ ช้อน และเสื้อผ้า ใน 1 เรือนนอนมีทั้งหมด 2 ช้ัน แต่ละชั้นมี 19 ห้อง ห้องหน่ึงสามารถ
อยูไ่ ด้สงู สดุ 3 คน มโี ทรทศั น์ทถี่ กู ตัง้ โปรแกรมรายการต่างๆ ไวต้ ามความเหมาะสม เช่น สารคดี ข่าวท่ชี า้ กวา่ ภายนอก
1 สปั ดาห์ มีหอ้ งส�ำหรับเยยี่ มญาติผา่ น VDO conference โดยผู้ต้องขงั มีสทิ ธเ์ิ ยี่ยมญาตไิ ด้เดือนละ 2 ครั้ง ผ่าน VDO
conference 1 ครั้ง และแบบพบหน้า 1 ครั้ง คร้งั ละ 30 นาที ผู้ต้องขงั มเี วลาออกจากเรอื นนอนเพื่อพกั ผอ่ นได้วันละ
1 ช่ัวโมง โดยบริเวณที่ให้ผู้ต้องขังพักผ่อนเป็นลานกีฬากว้างๆ มีหลังคาเป็นกรงเหล็ก แสงแดดสามารถส่องผ่านได้
และอากาศถ่ายเทสะดวก
เรือนจ�ำเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยใน Changi Prison Complex มีโรงงานผลิตขนมปังโดยฝีมือผู้ต้องขัง
ซง่ึ อยภู่ ายใตก้ ารควบคมุ ดแู ลของ SCORE เปน็ โรงงานทม่ี เี ครอื่ งมอื ในการผลติ ทคี่ รบครนั สะอาดและมกี ารรกั ษามาตรฐาน
เป็นอย่างดี SCORE จัดหลักสูตรการท�ำขนมปังให้แก่ผู้ต้องขัง โดยมีผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้านการท�ำขนมปัง
เข้ามาสอนโดยตรง หลังจากจบหลักสูตรผู้ต้องขังจะได้รับใบรับรอง Singapore Workforce Skills Qualification
ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการสมัครงานหลังจากพ้นโทษ ขนมปังจากโรงงานในเรือนจ�ำแห่งนี้ถูกผลิตข้ึนตลอด 365 วัน
มีเจ้าหน้าท่ีจาก SCORE 1 คน เข้ามาควบคุมมาตรฐานการผลิตในทุกวัน ขนมปังท่ีผลิตได้จะถูกส่งออกไปยังโรงแรม
สายการบิน บริษัทจัดเลี้ยง ร้านอาหาร และร้านขนมหลายแห่งในประเทศสิงคโปร์ นอกจากโรงงานขนมปังแล้วยังมี
โรงซกั รดี ทท่ี นั สมยั รบั ซกั รดี ใหก้ บั โรงแรมตา่ งๆ ในสงิ คโปรม์ ากมาย รวมทงั้ ยงั มโี รงงานขนาดยอ่ ยๆ หลายแหง่ ซง่ึ จดั การ
โดยเอกชนภายนอกท่ีเข้ามาจัดต้ังโรงงานในเรือนจ�ำ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ต้องขังได้ฝึกอาชีพและเมื่อพ้นโทษผู้ต้องขัง
สามารถออกไปท�ำงานกับโรงงานเหลา่ นี้ได้
โปรแกรมการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นปลอ่ ยของเรอื นจำ� ในสงิ คโปร์ มที งั้ โปรแกรมพน้ื ฐานสำ� หรบั นกั โทษทกุ คน
เช่น โปรแกรมการศึกษา โปรแกรมการฝึกอาชีพ โปรแกรมการฝึกทักษะในการท�ำงาน โปรแกรมพัฒนาพฤตินิสัย
นอกจากน้ียังมีโปรแกรมเฉพาะของแต่ละบุคคลโดยปรับตามปัจจัยต่างๆ ทั้งฐานความผิด จ�ำนวนโทษ หรือตาม
ความต้องการของผู้ต้องขัง ตัวอย่างโปรแกรมเฉพาะ เช่น โปรแกรมเตรียมความพร้อม 10 เดือน ส�ำหรับนักโทษ
ท่ีมรี ะดับความเสี่ยงสงู โปรแกรมบำ� บัดสำ� หรับผ้ตู อ้ งขังยาเสพตดิ เป็นตน้

42 วารสารราชทัณฑ์

Singapore Corporation of Rehabilitative Enterprises (SCORE)

การที่เรือนจ�ำของสิงคโปร์มีการฝึก
วิชาชีพผู้ต้องขังท่ีก้าวหน้าและเป็นระบบ
สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
ภายนอกเรือนจ�ำ ตลอดจนมีการท�ำงานของ
ผู้ต้องขังในเรือนจ�ำเป็นระบบอุตสาหกรรม
ท่มี ปี ระสิทธิภาพน้นั สบื เนือ่ งมาจากสงิ คโปร์
มกี ารจดั ตง้ั หนว่ ยงาน Singapore Corporation
of Rehabilitative Enterprises (SCORE)
ท�ำหน้าที่เช่นเดียวกับส�ำนักพัฒนาพฤตินิสัย
ของราชทัณฑ์ไทย แต่มีความคล่องตัว
เ นื่ อ ง จ า ก ถู ก แ ย ก ตั ว อ อ ก ม า เ ป ็ น อิ ส ร ะ
ดำ� เนนิ การแบบกง่ึ ราชการกง่ึ เอกชนมคี ณะกรรมการซงึ่ ประกอบดว้ ย
ภาครฐั ภาคเอกชน บรษิ ทั และหนว่ ยงานตา่ งๆ เขา้ มาชว่ ยในการสง่ เสรมิ
การฝกึ วิชาชีพและการหาตลาดแรงงานให้กับผู้ต้องขังหลังพน้ โทษ
SCORE เปน็ หนว่ ยงานภายใตก้ ระทรวงมหาดไทย จดั ตง้ั ขนึ้
ในปี 1976 โดยมีบทบาทส�ำคัญในการเตรียมความพร้อมด้านการ
ประกอบอาชพี ของผตู้ อ้ งขงั หลงั พน้ โทษ เพอ่ื ใหพ้ วกเขาสามารถกลบั ไป
ใช้ชีวิตกับครอบครัวในสังคมภายนอกและไม่กลับมากระท�ำผิดซ้�ำอีก SCORE ใช้วิธีการหลากหลายรูปแบบในการ
บรู ณาการเพอ่ื บำ� บดั ฟน้ื ฟผู ตู้ อ้ งขงั โดยมงุ่ เนน้ ไปทก่ี ารฝกึ อบรมดว้ ยโปรแกรมการทำ� งานตา่ งๆ หลกั การสำ� คญั ของ SCORE
ในการช่วยเหลือผู้ต้องขังให้สามารถกลับเข้าสู่สังคมได้ คือการฝึกอาชีพเพื่อเตรียมความพร้อม การเตรียมตลาดงาน
เพอ่ื รองรบั และการสรา้ งความยงั่ ยนื ในการทำ� งาน SCORE ไดจ้ ดั ตงั้ ศนู ย์ Case Management Services เพอื่ ชว่ ยดแู ล
การจา้ งงานของผตู้ อ้ งขงั ใน 6 เดอื นแรกหลงั ปลอ่ ยตวั อกี ทงั้ ชว่ ยจดั สรรงานใหต้ รงตามความสามารถและความเหมาะสม
ของผู้ต้องขัง ผ่านการจ�ำแนกโดยการประเมินด้วยแบบทดสอบของ SCORE มีบริการแนะแนวอาชีพเพ่ือเตรียมความ
พรอ้ มใหแ้ กผ่ ตู้ อ้ งขงั ในการเขา้ ทำ� งาน มหี นว่ ยชว่ ยเหลอื ในการหางาน รวมทงั้ พฒั นาทกั ษะงานระยะยาวเพอ่ื ใหพ้ วกเขา
สามารถอย่กู ับงานน้ันๆ ได้เปน็ ระยะเวลานาน มบี รษิ ทั มากมายกวา่ 4,000 แหง่ ท่ียนิ ดีรับผูพ้ ้นโทษเข้าท�ำงานโดยให้
คา่ แรงตามท่ีกฎหมายระบุ
ก่อนที่ผู้ต้องขังจะเข้าสู่ตลาดงานหลังจากพ้นโทษ SCORE ได้จัดโปรแกรมเตรียมความพร้อม ทั้งโปรแกรม
ฝึกอาชีพเฉพาะด้าน เช่น การท�ำขนม การท�ำอาหารเบื้องต้น การจัดสวน การซักรีดเส้ือผ้า หรือการปฏิบัติงานด้าน
โลจสิ ตกิ ส์ โปรแกรมฝกึ ทกั ษะทวั่ ไปทจ่ี ำ� เปน็ เชน่ ทกั ษะการอา่ น การเขยี น หรอื ทกั ษะการหางาน รวมทงั้ โปรแกรมการ
ท�ำงาน ซึ่งถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ ส่วนบริหารธุรกิจ จัดการโดย SCORE โดยมีเจ้าหน้าที่จาก SCORE
เข้ามาควบคุมการผลิตและคุณภาพสินค้าก่อนน�ำส่งลูกค้า เช่น การผลิตอาหารกล่องฮาลาล เบเกอร่ี เป็นต้น และ
สว่ นที่สองคือ ส่วนการฝกึ งานจากบริษทั ภายนอก

วารสารราชทัณฑ์ 43

Community Action for the Rehabilitation of
Ex-Offenders (CARE) Network

ในการสง่ ผตู้ อ้ งขงั กลบั สสู่ งั คมโดยไมใ่ หพ้ วกเขากลบั มากระทา� ผดิ
ซา�้ อกี นนั้ นอกเหนอื จาก SCORE ทที่ า� หนา้ ทใ่ี นการฝกึ วชิ าชพี และเชอ่ื มตอ่
กับตลาดแรงงานภายนอกแล้ว ยังมีการจัดต้ัง Community Action for
the Rehabilitation of Ex-Offenders (CARE) Network หรอื เครอื ขา่ ย
CARE ข้ึน ซ่ึงเป็นก�าลังส�าคัญในการสนับสนุน เครือข่าย CARE
เริ่มดา� เนนิ การในปี 2000 โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือปรบั ปรุง
ประสทิ ธภิ าพการฟน้ื ฟสู มรรถภาพของผตู้ อ้ งขงั ในสงิ คโปร์
มุ่งเน้นในเร่ืองการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยและสร้าง
ความยดื หยนุ่ ในการจดั การชวี ติ ของผตู้ อ้ งขงั สนบั สนนุ ผตู้ อ้ งขงั และครอบครวั ใหม้ โี อกาสครงั้ ทส่ี อง
ในการดา� เนนิ ชวี ิตตอ่ ไป โดยเป็นการผนกึ กา� ลังและการรว่ มมือกนั ของเครือขา่ ยพนั ธมติ รทั้งภาครัฐและภาคเอกชนทีม่ ี
บทบาทส�าคัญในประเทศ 9 ฝา่ ย ไดแ้ ก่ กระทรวงการตา่ งประเทศ กระทรวงพฒั นาสงั คมและครอบครัว กรมราชทณั ฑ์
สงิ คโปร์ SCORE, National Council of Social Service, Industrial and Services Co-operative Society Ltd,
Singapore Anti-Narcotics Association, Singapore After-Care Association และ Yellow Ribbon Project
การผนกึ กา� ลงั ของเครอื ขา่ ยจากฝา่ ยตา่ งๆ น้ี ทา� ใหเ้ กดิ พลงั ของการรว่ มมอื และสนบั สนนุ ผตู้ อ้ งขงั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี นอกจากนี้
ยังมีการจัดตั้งธนาคารต�าแหน่งงาน (Job Bank) ที่สามารถจัดสรรงานในต�าแหน่งต่างๆ ในบริษัทหรือห้างร้านให้กับ
ผู้พ้นโทษ โดยที่ผู้พ้นโทษไม่ต้องไปตระเวนหางานที่ใดขอเพียงมีความกล้าที่จะเปิดเผยตัวเองและตั้งใจปรับเปลี่ยน
วิถีชีวิตใหม่ ซึ่งประเด็นนี้มักจะเป็นปัญหาส�าหรับผู้พ้นโทษเพราะโดยท่ัวไปที่จะมี Stigma หรือมลทินเป็นตราบาป
กลัวสังคมรังเกียจว่าเป็นคนข้ีคุกขี้ตะรางหรือกลัวสังคมจะไม่ยอมรับ ซ่ึงด้วยเหตุน้ีสิงคโปร์จึงได้จัดต้ังโครงการ
Yellow Ribbon ขึน้ มาเพ่ือรองรบั

Yellow Ribbon Project

โครงการ Yellow Ribbon หนึ่งในพันธมิตรของเครือข่าย CARE เริ่มด�าเนินการ
ในปี 2004 เป็นโครงการท่ีพยายามท�างานร่วมกับชุมชนเพ่ือสร้างการยอมรับ
และการตระหนักรู้ถึงความจ�าเป็นในการให้โอกาสผู้พ้นโทษและครอบครัวในการกลับมา
ใชช้ วี ิตในสงั คมภายนอก ดว้ ยการสร้างพลงั ของชมุ ชนผ่านโครงการต่างๆ โดยมีเครอื ข่าย CARE เปน็ กา� ลังสา� คญั ในการ
ผลักดนั และสนับสนนุ โครงการ
แรงบนั ดาลใจส�าหรบั โครงการน้มี าจากเพลง Tie a Yellow Ribbon Round the Old Oak Tree ซงึ่ เปน็
การผูกโบว์สีเหลืองไว้ท่ีต้นโอ๊กเพ่ือตอบรับการกลับบ้านของทหารผ่านศึก แสดงถึงการยอมรับและไม่รังเกียจ
จากสังคม เช่นเดียวกับโครงการน้ีที่ต้องการส่ือให้ผู้พ้นโทษทราบว่า สังคมยังให้การตอบรับและพร้อมจะให้อภัย
ผู้พ้นโทษ เป็นโครงการท่ีเข้ามาช่วยเปล่ียนทัศนคติและมุมมองด้านลบของคนในสังคมท่ีมีต่อผู้พ้นโทษ กระตุ้น
และผลักดันให้เกิดความร่วมมือในสังคมเพ่ือปลดล็อกความกลัวการไม่ยอมรับจากสังคมของผู้พ้นโทษ ไม่ให้สังคม
ตอ้ งกลายเป็นคกุ ท่สี องส�าหรบั พวกเขา
44 วารสารราชทัณฑ

โครงการ Yellow Ribbon มีการรณรงค์ใหญ่ทุกปีโดยมีทั้งประชาชน
จากภาคสว่ นตา่ งๆ รวมทง้ั ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ของประเทศเขา้ รว่ มรณรงคด์ ว้ ย มกี ารจดั วงิ่
มาราธอนประจ�ำปีและการระดมทุนต่างๆ มากมาย ท�ำให้โครงการน้ีส่งผลกระทบ
ในวงกว้างต่อการรับรู้ของคนในสังคมและมีส่วนในการปรับเปล่ียนทัศนคติของคน
ในสงั คมตอ่ การใหโ้ อกาสและยอมรบั ผพู้ น้ โทษ โครงการ Yellow Ribbon ของสงิ คโปรน์ น้ั
ถูกน�ำไปเป็นแบบอย่าง พร้อมทั้งได้รับการยอมรับและยกย่องในหลายประเทศ แม้แต่
ในท่ีประชุมองคก์ ารสหประชาชาติก็ไดม้ กี ารกลา่ วถงึ โครงการนี้

บา้ นกงึ่ วถิ ี (Halfway House)

บา้ นกงึ่ วถิ ใี นสงิ คโปร์ กอ่ ตง้ั ขน้ึ ในปี 1995 อยภู่ ายใตก้ ารดแู ลของกรมสวสั ดกิ ารสงั คมของสงิ คโปร์ เปน็ สถานท่ี
ช่วยเหลือและเตรียมความพร้อมผู้พ้นโทษท่ียังไม่สามารถกลับสู่สังคมได้ มีท้ังผู้พ้นโทษที่ไม่มีบ้าน ครอบครัว ญาติ
หรือสถานท่ีให้กลับไป และเปิดรับผู้ต้องขังใกล้พ้นโทษที่ได้รับการคัดเลือกให้สามารถเข้ามาทดลองใช้ชีวิตเพื่อปรับตัว
ทงั้ ในดา้ นการทำ� งาน การออกไปอยกู่ บั สภาพแวดลอ้ มและสงั คมภายนอก กอ่ นทพ่ี วกเขาจะไดร้ บั การปลอ่ ยตวั บา้ นกงึ่ วถิ ี
ไม่ได้รับเฉพาะผู้กระท�ำผิดเท่านั้น ยังเปิดรับคนเร่ร่อนที่ไม่มีที่ไปอีกด้วย โดยสมาชิกทุกคนที่เข้ามาอยู่ในบ้านกึ่งวิถี
จะต้องเข้าโปรแกรมการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยใน 6 เดือนแรก น่ันคือโปรแกรมการฟื้นฟูข้ันพื้นฐาน HSM
(Basic HSM rehabilitation Program) ซงึ่ ออกแบบโดยราชทณั ฑส์ งิ คโปร์ ในปี 2010
เปน็ โปรแกรมทช่ี ว่ ยฟน้ื ฟสู ภาพรา่ งกายและจติ ใจ ฝกึ วนิ ยั และความรบั ผดิ ชอบในการ
ท�ำงาน โดยขณะนี้โปรแกรมการฟื้นฟูข้ันพ้ืนฐาน HSM ได้ถูกทดลองใช้ในบ้านก่ึงวิถี
ท่ัวประเทศสิงคโปร์ซ่ึงมีทั้งหมด 8 แห่ง ได้แก่ Breakthrough Missions, Green
Haven, HEB-Ahram Halfway House, Jamiyah Halfway House (Darul Islah),
Pertapis Halfway House, Teen Challenge, The Turning Point และ The
Helping Hand

บ้านกง่ึ วถิ ี Helping Hand

ตัวอยา่ งหนง่ึ ของบา้ นกงึ่ วถิ ใี นสิงคโปร์ กอ่ ตง้ั ข้นึ ในปี 1987 ในฐานะ Christian Halfway House ท่ชี ่วยฟ้ืนฟู
ผู้พ้นโทษในคดียาเสพติด ปัจจุบัน Helping Hand เปิดรับผู้พ้นโทษชายและผู้ต้องขังชายท่ีใกล้พ้นโทษ โดยสามารถ
รองรับสมาชิกได้ 110 คน ส่วนใหญ่เป็นผู้พ้นโทษท่ีไม่มีบ้าน ครอบครัว ญาติ หรือสถานที่ให้กลับไป คร่ึงหน่ึงของ
ผู้ที่อาศัยอยู่ที่น้ีมีอายุมากกว่า 30 ปี Helping Hand ช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้พ้นโทษและผู้ต้องขังที่ใกล้พ้นโทษ
ให้สามารถกลบั ส่สู งั คมไดโ้ ดยหยึดหลกั ธรรมของศาสนาคริสตเ์ ปน็ วสิ ัยทศั นใ์ นการดำ� เนินการ ทุกคนทเี่ ข้ามาอยจู่ ะตอ้ ง
เข้าสู่โปรแกรมการฟื้นฟูขนั้ พน้ื ฐาน HSM (Basic HSM rehabilitation Program) ในชว่ ง 6 เดอื นแรก และต่อด้วย
โปรแกรมการบ�ำบัดเพ่ือเตรียมความพร้อมในการใช้ชีวิตภายนอก โดยจัดสรรโปรแกรมตามความเหมาะสม
ของแตล่ ะบุคคล เชน่
- โปรแกรมการบ�ำบัดด้วยการท�ำงาน เปิดโอกาสให้ได้ทดลองท�ำงาน เพื่อฝึกจรรยาบรรณในการท�ำงาน
ฝกึ ความรับผิดชอบ และเพื่อใหเ้ ห็นว่าตนเองสามารถประสบความส�ำเร็จไดจ้ ากการท�ำงาน
- โปรแกรมการบ�ำบัดทางจิตใจ ใช้หลักธรรมของศาสนาคริสต์ในการฟื้นฟูจิตใจ เพื่อให้พร้อมต่อการใช้ชีวิต
ภายนอกไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
- โปรแกรมสังคมบำ� บัด สรา้ งทกั ษะการเข้าสังคมระหว่างบคุ คลในสภาพแวดลอ้ มทีด่ ีและเออื้ อำ� นวย ช่วยให้
สามารถพัฒนาความสมั พนั ธใ์ หม่ๆ และมีโอกาสทด่ี ีในการสรา้ งจิตส�ำนกึ ท่ีดตี ่อสงั คม

วารสารราชทัณฑ์ 45

- โปรแกรมกายภาพบ�ำบัด ใช้กีฬาเข้ามาช่วยในการบ�ำบัด มีการจัดแข่งขันฟุตบอล ว่ายน�้ำ วิ่ง เป็นต้น
เพอื่ สง่ เสริมวิถีชวี ติ ที่ดี ใหม้ ีสขุ ภาพร่างกายท่ีแข็งแรง โดยเชอ่ื ว่าจะสง่ ผลให้มีจติ ใจท่แี ขง็ แกรง่ ดว้ ยเช่นกนั
เมื่อจบโปรแกรมต่างๆ ที่จัดไว้ ทุกคนสามารถทดลองออกไปท�ำงานภายนอกได้ และยังมีสิทธิ์
กลับบ้านในวันอาทิตย์แต่มีข้อห้ามไม่ให้เสพสารเสพติด ดื่มสุรา และสูบบุหร่ี หากตรวจพบว่า
มกี ารกระท�ำดงั กลา่ วจะถูกไลอ่ อกหรอื สง่ กลบั ไปยังเรอื นจ�ำทันที
เงนิ ทุนที่ Helping Hand ใช้ในการด�ำเนินการ นอกจากไดร้ บั จากรัฐบาล
และการรับบริจาคแล้ว Helping Hand ยังสร้างรายได้เพ่ิมด้วยการผลิต
เฟอร์นเิ จอร์ไม้ เช่น ตู้ โต๊ะ เกา้ อ้ี เตยี งนอน รวมทั้งเปดิ บรกิ ารรบั จา้ งขนย้ายของ
และมีรา้ นขายอปุ กรณต์ กปลาชื่อวา่ Big Fish อกี ด้วย

บทสรปุ

ประเทศสงิ คโปรม์ รี ะบบการสง่ ตวั ผตู้ อ้ งขงั คนื สสู่ งั คมทเ่ี กดิ จากการเชอื่ มโยงความรว่ มมอื จากหลายๆ ภาคสว่ น
ในสงั คม กอ่ ใหเ้ กดิ เครอื ขา่ ยของการดำ� เนนิ การสง่ ตวั ผตู้ อ้ งขงั คนื สสู่ งั คมทสี่ มบรณู ข์ นาดใหญ่ โดยมกี รมราชทณั ฑส์ งิ คโปร์
เป็นเสาหลักส�ำคัญในการเช่ือมโยงเครือข่ายความร่วมมือนี้ นับต้ังแต่การควบคุมบริหารจัดการเรือนจ�ำที่ท�ำหน้าฟื้นฟู
และดแู ลผตู้ อ้ งขงั ใหก้ ลบั มาเปน็ คนดผี า่ นโปรแกรมพฒั นาในดา้ นตา่ งๆ เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มผตู้ อ้ งขงั กอ่ นพน้ โทษ เชอ่ื มโยง
หน่วยงาน Singapore Corporation of Rehabilitative Enterprises (SCORE) ให้เข้ามาช่วยสร้างทักษะ ความรู้
และโอกาสในการประกอบอาชพี สจุ รติ แกผ่ ตู้ อ้ งขงั หลงั จากพน้ โทษ สนบั สนนุ โครงการ Yellow Ribbon ทช่ี ว่ ยปรบั เปลย่ี น
มุมมองของคนในสังคมที่มีต่อผู้พ้นโทษและครอบครัว เพ่ือสร้างสะพานแห่งการยอมรับและการให้โอกาสแก่ผู้พ้นโทษ
นอกจากนย้ี งั มเี ครอื ขา่ ยทสี่ ำ� คญั Community Action for the Rehabilitation of Ex-Offenders (CARE) Network
คอยสนับสนนุ ระบบการส่งตวั ผตู้ อ้ งขังคืนส่สู ังคมให้เกิดความมัน่ คงและเขม้ แข็ง รวมทั้ง บา้ นกึ่งวถิ ี Halfway House
ท่ีมีบทบาทในการช่วยเหลือผู้พ้นโทษให้พร้อมและสามารถกลับไปใช้ชีวิตในโลกภายนอกได้อีกครั้ง มีหลายประเทศ
น�ำระบบการด�ำเนินการส่งตัวผู้ต้องขังของสิงคโปร์ไปเป็นแบบอย่าง และมีหลายโครงการที่ได้รับรางวัลและค�ำชมเชย
จากเวทรี ะดับโลก ทั้งหมดนน้ี ับไดว้ ่าเปน็ ความสำ� เรจ็ ก้าวใหญ่ที่ส�ำคญั ของราชทณั ฑ์สิงคโปร์

บรรณานกุ รม
“Singapore Prison service” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.sps.gov.sg สบื คน้ 1 พฤษภาคม 2561.
“Singapore Corporation of Rehabilitative Enterprises” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก: http://www.score.
gov.sg สืบคน้ 1 พฤษภาคม 2561.
“Community Action for the Rehabilitation of Ex-Offenders (CARE) Network” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จาก: http://www.score.gov.sg สบื ค้น 1 พฤษภาคม 2561.
“Yellow Ribbon Project” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.yellowribbon.org.sg สบื คน้ 1 พฤษภาคม
2561.
“The Helping Hand” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://thehelpinghand.org.sg สบื คน้ 1 พฤษภาคม 2561.
สถาบนั เพอ่ื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย. ประเทศสงิ คโปร.์ ใน รายงานการศกึ ษาวจิ ยั เรอื่ งการเปรยี บเทยี บการ
ปฏบิ ัตติ ่อผู้กระท�ำผิดในและนอกเรือนจ�ำของกลุ่มประเทศอาเซยี . หนา้ 8-1 ถึง 8-26.
Thailand Institute of Justice. Overview of the community – based treatment system for drug
users and drug offenders Singapore. Pages 123-139. 2017.

46 วารสารราชทัณฑ์

เรื่องเล่า......ประสบการณ์จากการเรียนรู้
ณ สาธารณรฐั เกาหล…ี …….
เอกกมล ลวดลาย
กองทณั ฑปฏิบตั ิ

หากพูดถึงประเทศช้ันแนวหน้าในเอเชียและในระดับโลก คงต้องมีช่ือ
สาธารณรฐั เกาหลีหรือทีเ่ ราเรียกกนั วา่ ประเทศเกาหลีใต้ นัน้ เอง ซึ่งสาธารณรัฐ
เกาหลีเป็นประเทศหนึ่งท่ีมีความน่าสนใจ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการพัฒนา
อย่างรวดเร็วในระบบต่างๆ และก้าวสู่ประเทศช้ันแนวหน้าของโลกภายในระยะเวลา
ไม่ก่ีทศวรรษท่ีผ่านมา ซ่ึงจะเห็นได้จากความเจริญก้าวหน้าท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม
และการศึกษา รวมถึงคุณภาพชีวิตของประชากรซ่ึงมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สาธารณรัฐเกาหลี
จงึ เปน็ อกี หนง่ึ ประเทศทถ่ี อื ไดว้ า่ เปน็ หอ้ งเรยี นทส่ี ำ� คญั และนา่ เรยี นรู้ ในการนำ� ประสบการณแ์ ละนำ� มาซงึ่ แนวคดิ ในดา้ นตา่ งๆ
เพอื่ มาปรบั ประยกุ ตแ์ ละพฒั นาประเทศไทยของเรา ซงึ่ จากการทผี่ เู้ ขยี นไดร้ บั โอกาสรบั ทนุ รฐั บาลไปฝกึ อบรมและศกึ ษา
ดงู านทสี่ าธารณรฐั เกาหลี ตามโครงการขา้ ราชการผมู้ ผี ลสมั ฤทธสิ์ งู รนุ่ ท่ี 11 ในครงั้ นี้ นบั วา่ เปน็ การเปดิ โอกาสทางการ
เรยี นรขู้ องผเู้ ขยี นในการเรยี นรแู้ ละเขา้ ใจถงึ แนวทางการพฒั นาประเทศของประเทศชนั้ แนวหนา้ ของโลกทมี่ กี ารพฒั นา
ประเทศของตนใหม้ ศี กั ยภาพเปน็ ประเทศช้ันน�ำได้ ผา่ นแหลง่ เรยี นรูส้ �ำคญั ตา่ งๆ ของสาธารณรฐั เกาหลี จำ� นวน 5 แหง่
ไดแ้ ก่ 1) Technovalley & Gyeonggi Center for Creative Economy & Innovation (CCEI) Pangyo 2) Samsung
Innovation Museum (SIM) 3) Digital Media City (DMC) & CJ Creative Center for Convergence Culture
(CJ CCCC) 4) Korean Development Institute (KDI) & KDI School และ The Incheon Bridge and Songdo
International Business District ซ่ึงในแต่ละแหล่งการเรียนรู้ ต่างก็มีความน่าสนใจและเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีส�ำคัญ
ในการมีส่วนช่วยขับเคลื่อนสาธารณรัฐเกาหลีให้เกิดการพัฒนาในด้านต่างๆ จนเป็นท่ียอมรับของประเทศทั่วโลก
ผเู้ ขยี นจงึ ขอแชรป์ ระสบการณท์ ด่ี จี ากการเรยี นรใู้ นครง้ั นสี้ ผู่ อู้ า่ นทกุ ๆ ทา่ น เพอ่ื ใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ นเรยี นรปู้ ระสบการณ์
ร่วมกันผา่ นวารสารราชทณั ฑ์ฉบับนี้
การได้เขา้ ไปศึกษาแหล่งการเรยี นร้ทู ง้ั 5 แห่งดังกล่าว เปรยี บเหมอื นมิตแิ ต่ละด้านทตี่ ่างกม็ ีความโดดเดน่ และ
มคี วามสำ� คญั ตอ่ การขบั เคลอื่ นสาธารณรฐั เกาหลใี หเ้ กดิ การพฒั นา โดยแตล่ ะสถานทต่ี า่ งมคี วามนา่ สนใจและใหแ้ นวคดิ
ต่างๆ ดงั ต่อไปน้ี

วารสารราชทัณฑ์ 47

Technovalley & Gyeonggi Center for Creative Economy & Innovation (CCEI)
Pangyo

แหล่งการเรียนรูแ้ หง่ น้ี มีความนา่ สนใจในฐานะเป็นเมืองอตุ สาหกรรมแห่งนวตั กรรมด้านการผลิตเทคโนโลยี
ท่ีส�ำคัญของสาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีส�ำคัญของประเทศตั้งอยู่ ณ เมืองปังโย
(Pangyo) ความโดดเด่นท่ีนา่ สนใจของเมืองดงั กลา่ วคือ การสร้างแนวคดิ ในการพฒั นาประเทศท่กี �ำหนดใหม้ กี ารจัดตั้ง
เป็นเมอื งแหง่ การผลติ ด้านเทคโนโลยีอย่างครบวงจร โดยเฉพาะการดำ� เนนิ งานต้งั แต่การวจิ ัย การพัฒนาระบบ จนน�ำ
ไปสกู่ ารผลติ และจดั จำ� หนา่ ยไปทวั่ โลก และยงั เปน็ ทตี่ งั้ บรษิ ทั ชนั้ นำ� ทางดา้ นเทคโนโลยจี ากทวั่ โลก รวมถงึ เปน็ ศนู ยก์ ลาง
แห่งการพัฒนาระบบเกมส์ออนไลน์ท่ีมีชื่อเสียงระดับโลกอีกด้วย ถึงแม้ว่าจะเป็นเมืองที่ต้ังใหม่เพ่ือใช้เป็นแหล่ง
อตุ สาหกรรมทางเทคโนโลยกี ต็ าม แตท่ วา่ กลบั ไดร้ บั การสนบั สนนุ ทด่ี อี ยา่ งตอ่ เนอื่ งจากทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชนในการ
พฒั นาเพอื่ ใหเ้ ปน็ ฐานการผลติ ทสี่ ำ� คญั ของประเทศในการสง่ ออกสนิ คา้ และผลติ ซง่ึ ผลติ ภณั ฑด์ า้ นเทคโนโลยถี กู จดั สง่
ไปจำ� หนา่ ยทว่ั โลก การประสบความสำ� เรจ็ ดงั กลา่ วแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การรว่ มมอื และประสานงาน การสง่ เสรมิ และพฒั นา
แนวคดิ ตา่ งๆ ระหวา่ งภาครฐั และภาคเอกชน ทเ่ี นน้ พฒั นาไมเ่ พยี งแตผ่ ลติ ภณั ฑจ์ ากบรษิ ทั ยกั ษใ์ หญข่ องประเทศเทา่ นน้ั
แต่ยังส่งเสริมและพัฒนาต่อยอดบริษัทขนาดเล็ก และเปิดโอกาสให้นักวิจัยรุ่นใหม่ ได้พัฒนาผลงานของตนเพื่อเข้าสู่
เส้นทางธุรกิจของประเทศ ท่ีส�ำคัญยังเน้นส่งเสริมงานวิจัยต่างๆ ให้สามารถน�ำมาใช้ได้จริง ซึ่งจากการด�ำเนินการ
ดังกล่าวท�ำให้เห็นถึงการด�ำเนินงานท่ีเป็นระบบและน�ำไปสู่ประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานต่างๆ ของทุกภาคส่วน
ในการท�ำงานของสาธารณรฐั เกาหลี

Samsung Innovation Museum (SIM)

ส�ำหรบั การศกึ ษาดูงานบริษทั ซมั ซงุ ซงึ่ เป็นหนงึ่ ในบริษทั
หลักในการพัฒนาเศรษฐกิจของสาธารณรัฐเกาหลี ข้าพเจ้าได้มี
โอกาสเขา้ ชมในส่วนของ Samsung Innovation Museum (SIM)
ซึ่งเป็นแหล่งการเรียนรู้ท่ีส�ำคัญที่น�ำเสนอด้านการพัฒนา
ทางเทคโนโลยี และนวตั กรรมตา่ งๆ ของบรษิ ทั ซมั ซงุ ในการพฒั นาระบบ
และผลติ ภณั ฑใ์ หม้ คี ณุ ภาพตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั จนสามารถพฒั นา
สกู่ ารเปน็ สนิ คา้ ระดบั โลก ซง่ึ ความโดดเดน่ ของแหลง่ การเรยี นรแู้ หง่ นที้ ำ� ใหเ้ หน็ คณุ คา่ ในเชงิ ความคดิ ในการทจ่ี ะพฒั นา
ระบบเทคโนโลยีเพ่ืออ�ำนวยความสะดวกและต่อยอดความรู้ทางนวัตกรรมท่ีเป็นสิ่งส�ำคัญในการสร้างความโดดเด่น
ให้แก่สาธารณรัฐเกาหลี โดยเฉพาะแนวนโยบายที่เน้นให้ความสำ� คัญในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีใหม่ๆ
และความเป็นเลิศทางนวัตกรรม น�ำมาพัฒนาจนเติบโตกลายเป็นอุตสาหกรรมหลักที่ส�ำคัญในการสร้างฐานเศรษฐกิจ
ให้แก่ประเทศ ซ่ึงแนวคิดในการส่งเสริมทางความคิดดังกล่าวยังสามารถน�ำมาใช้ในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆ
ทจ่ี ะมขี นึ้ ในอนาคตของไทยใหส้ ามารถพฒั นาไปในทศิ ทางทเ่ี หมาะสม ทง้ั น้ี สง่ิ สำ� คญั อกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื การพฒั นาอยา่ ง

ตอ่ เนอื่ งเพอ่ื ใหก้ อ่ เกดิ การคดิ ทส่ี รา้ งสรรค์
รวมถึงการส่งเสริมจากทุกภาคส่วน
ในการทจี่ ะรว่ มมอื กนั พฒั นาใหเ้ ปน็ ระบบ
อยา่ งจรงิ จงั เพอื่ ทจี่ ะสามารถสรา้ งชอ่ื เสยี ง
ผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับท้ังในระดับ
ประเทศและนานาชาตติ อ่ ไป
48 วารสารราชทัณฑ์

Digital Media City (DMC) & CJ
Creative Center for Convergence
Culture (CJ CCCC)

ในบทบาทของ DMC และ CJ CCCC น้ัน
มีบทบาทส�ำคัญที่ช่วยในการพัฒนาด้านการสื่อสาร
วฒั นธรรมของประเทศ และเทคโนโลยใี หน้ านาประเทศ
ได้รับรู้วัฒนธรรมและรูปแบบต่างๆ ของสาธารณรัฐ
เกาหลี ทั้งในรูปแบบ ความบันเทิง เทคโนโลยี และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่ส่งผลให้เกิดกระแสความนิยมใน
วัฒนธรรมและความเป็นเอกลักษณ์ของสาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งความน่าสนใจของแหล่งเรียนรู้แห่งน้ีเปรียบเสมือน
หน่วยประชาสัมพันธ์ที่ส�ำคัญของประเทศ ซึ่งจากการศึกษาดูงานในครั้งนี้ท�ำให้เกิดแนวคิดในด้านการประชาสัมพันธ์
ทม่ี สี ว่ นสำ� คญั ในการสง่ เสรมิ ประเทศและยงั เปน็ การสง่ ผา่ นวฒั นธรรมของชาตติ อ่ ไปยงั ชาตอิ นื่ ๆ ใหไ้ ดเ้ รยี นรแู้ ละซมึ ซบั
วฒั นธรรมของชาตนิ นั้ ๆ ผ่านการส่อื สารในรูปอน่ื ๆ ทีแ่ ตกตา่ งกันออกไป

Korean Development Institute (KDI)
& KDI School

KDI school เป็นแหล่งการศึกษาท่ีส�ำคัญ
อกี แหง่ ของสาธารณรฐั เกาหลโี ดยเปน็ แหลง่ การศกึ ษา
ที่ส�ำคัญในการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพของประเทศ
มกี ารจดั หลกั สตู รการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ในการพฒั นา
ทางดา้ นนโยบายทส่ี ำ� คญั
ของประเทศ โดยเข้า
รบั ฟงั การบรรยายใน 2
หัวข้อที่ส�ำคัญด้วยกัน ในหัวข้อท่ีหน่ึง เร่ืองการต่อต้านการทุจริตและคณะกรรมการสิทธิ
ของสาธารณรัฐเกาหลี ท่ีน�ำเสนอการด�ำเนินการในด้านการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริตของประเทศที่มีความน่าสนใจในด้านการน�ำหน่วยงานภายนอกมาช่วยในการ
ตรวจสอบการทจุ รติ ในแตล่ ะภาคสว่ นซง่ึ มคี วามสำ� คญั ในการชว่ ยลดการทจุ รติ ของประเทศ
ได้เป็นอย่างดี อีกท้ังยังมีการตั้งคณะกรรมการมาร่วมด�ำเนินการช่วยตรวจสอบและให้
ความชว่ ยเหลอื แกห่ นว่ ยงานตา่ งๆ ในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ซง่ึ ความโดดเดน่
ทีน่ ่าสนใจคอื การรว่ มมอื และสามารถด�ำเนินการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ ภายใน
ประเทศได้อย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับในหัวข้อท่ีสอง เรื่องการสร้างภาวะผู้น�ำและการสร้าง
สมรรถนะและการจัดการเพ่ือการบริหารจัดการบ้านเมืองท่ีดี ซึ่งในหัวข้อดังกล่าวได้รับ
ความรูใ้ นการสร้างภาวะผูน้ �ำและการน�ำหลักแนวคิดต่างๆ ของผนู้ ำ� มาปรบั ประยุกต์ใช้ใน
องค์กรซึ่งมีผลต่อการขับเคลื่อนองค์กรให้เกิดการบริหารจัดการที่ดี อีกท้ังยังเน้นถึงการ
บริหารทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีส่วนส�ำคัญในการขับเคล่ือนองค์กรที่จะต้องพัฒนาไปพร้อมๆ
กบั การพฒั นาองค์กรซ่ึงไม่ใชแ่ ค่เพียงแตส่ ่วนใดสว่ นหนึง่ เปน็ ส�ำคัญ

วารสารราชทัณฑ์ 49


Click to View FlipBook Version