The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารราชทัณฑ์ ฉบับที่ 1-62

ความสามารถทางยุทธวธิ ีในงานราชทณั ฑ์
ระดับภมู ภิ าคอาเซียน

Asian Prisons Lockdown Challenge 2018 (APLC)

กวิภฏั โกศล
กองทณั ฑวทิ ยา
ส่วนปฏิบัติการพิเศษกรมราชทัณฑ์ หรือหน่วยท่ีใช้สัญลักษณ์
อารม์ ขา้ งขวาเปน็ ตราราชทณั ฑพ์ เิ ศษ หลายคนเรยี กกนั ตดิ ปากวา่ “ชดุ ดำ� ”
คอื หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารพเิ ศษทจ่ี ดั ตงั้ ขน้ึ ภายในกรมราชทณั ฑ์ เปน็ หนว่ ยเคลอื่ นทเี่ รว็
ในการเขา้ ระงบั เหตรุ า้ ยภายในเรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน ทวั่ ประเทศ สบื เนอ่ื งจาก
ความไม่สงบที่เกิดข้ึนภายในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน บ่อยคร้ังในสมัยอดีต
จนกระท้ังเกิดเหตุการณ์กลุ่มผู้ต้องขังชาวพม่า ท�ำการแหกหักหลบหนี
จับเจ้าหน้าที่ ผู้บัญชาการเรือนจ�ำเป็นตัวประกัน และท�ำร้ายจนถึงแก่ชีวิต
ทเ่ี รอื นจำ� จงั หวดั สมทุ รสาคร ในปี พ.ศ. 2543 เหตกุ ารณน์ นั้ เกดิ ความสญู เสยี
แก่กรมราชทัณฑ์เป็นอย่างมาก จึงท�ำให้เกิดแนวคิดในการรวบรวมผู้ที่มี
ความรคู้ วามสามารถและประสบการณท์ างดา้ นยทุ ธวธิ ี นำ� มาฝกึ ฝนรวมกนั
และก่อต้ังทีมโจมตีทีมแรก (First Assault Team) ในปี พ.ศ. 2546
โดยมีนายขวัญชัย วศวงศ์ ดำ� รงต�ำแหน่งอธิบดกี รมราชทณั ฑใ์ นขณะนัน้

50 วารสารราชทัณฑ์

ปัจจุบันส่วนปฏิบัติการพิเศษ สงั กดั กองทณั ฑวทิ ยา ยังคงเป็นหน่วยเคลื่อนทีเ่ ร็ว โดยมีหน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบ
ทั้งในงานภาคสนาม และงานด้านวิชาการ เพื่อให้ครอบคลุมการปฏิบัติงานราชการในทุกมิติ ท�ำการศึกษาวิเคราะห์
สภาพปญั หาการกอ่ เหตรุ ้ายต่างๆ ในเรือนจำ� /ทณั ฑสถาน สนับสนนุ การฝกึ อบรมด้านยทุ ธวิธีใหก้ ับเจ้าหน้าทเี่ รอื นจำ� /
ทณั ฑสถาน เพอ่ื เปน็ การปอ้ งกนั และระงบั เหตรุ า้ ยในเรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน ดำ� เนนิ การจโู่ จมตรวจคน้ รวมทง้ั เปน็ หนว่ ยงานกลาง
ในการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือด�ำเนินการสนับสนุนการระงับเหตุร้ายหรือเม่ือมีการจับตัวประกัน
ภายในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน สนบั สนุนชว่ ยเหลอื ในการติดตามจับกมุ ผ้ตู อ้ งขังหลบหนี และควบคุมการขนยา้ ยผ้ตู อ้ งขัง
รายส�ำคัญเมื่อได้รับการร้องขอ การเตรียมความพร้อมพัฒนาประสิทธิภาพของหน่วยงาน เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
รวมถึงอาวุธยุทโธปกรณ์ด้านปฏิบัติการพิเศษ เพื่อรองรับภารกิจพิเศษของกรมราชทัณฑ์ จึงมีความส�ำคัญและจ�ำเป็น
ท่ีจะต้องฝึกฝนทบทวนหาความรู้ หาประสบการณ์ และความท้าทายใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา การทดสอบความสามารถ
ศักยภาพทางยุทธวิธีในงานราชทัณฑ์ถือว่าเป็นอีกส่ิงหนึ่งที่มีความจ�ำเป็น เพ่ือได้น�ำความรู้จากการฝึกฝนไปใช้ในการ
ปฏิบตั งิ านแก้ไขสถานการณ์ฉกุ เฉนิ และไดน้ ำ� ประสบการณ์มาใชพ้ ัฒนาหน่วยงานใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึน้

วารสารราชทัณฑ์ 51

Asian Prisons Lockdown Challenge 2018 (APLC)

ครงั้ ท่ี 5 ณ ประเทศสิงคโปร์ ระหวา่ งวนั ท่ี 8 – 11 พฤษภาคม 2561

กรมราชทณั ฑไ์ ทย ไดส้ ง่ เจา้ หนา้ ทส่ี ว่ นปฏบิ ตั กิ ารพเิ ศษเขา้ รว่ มทดสอบดา้ นยทุ ธวธิ ใี นงานราชทณั ฑ์ เปน็ ครงั้ ที่ 2
หลงั จากปี ค.ศ. 2016 ทำ� ผลงานไดด้ แี ละไดร้ บั รางวลั กลบั มา บททดสอบในครงั้ นภี้ ายใตก้ ารนำ� ของ นายธวชั ชยั ชยั วฒั น์
รองอธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ ฝ่ายปฏบิ ัติการ นายมนตรี บุนนาค ผูอ้ �ำนวยการกองทัณฑวิทยา ในขณะน้ัน และนายอนุวัฒน์
ไทยประยรู ผู้อำ� นวยการสว่ นปฏบิ ตั ิการพิเศษ (หัวหน้าผู้ฝกึ สอน)
การจดั งานในครงั้ นม้ี ที มี เขา้ รว่ มแขง่ ขนั 8 ทมี จากผเู้ ขา้ รว่ มทง้ั หมด 11 ประเทศ โดยกรมราชทณั ฑข์ องประเทศ
สิงคโปร์จัดข้ึน เพ่ือทดสอบความสามารถทางยุทธวิธีเสริมสร้างศักยภาพแลกเปลี่ยนความรู้ และเป็นการกระชับ
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานราชทัณฑ์ของประเทศต่างๆ ผู้เข้าร่วมงานจะได้เรียนรู้งานด้านการควบคุมผู้ต้องขัง
การเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติการด้านยุทธวิธีอาวุธยุทโธปกรณ์ที่น�ำมาใช้ในงานราชทัณฑ์ของประเทศสิงคโปร์
ซึ่งเป็นประโยชน์ในการน�ำมาปรับใช้ในงานราชทัณฑ์ของไทย นอกจากน้ันได้ศึกษางานด้านการพัฒนาพฤตินิสัย
ด้านการฝึกวิชาชีพให้แก่ผู้ต้องขังในประเทศสิงคโปร์ ที่ประสบความส�ำเร็จและมีช่ือเสียงสามารถสร้างความเชื่อม่ัน
ให้กับสงั คม เปดิ โอกาสใหผ้ ูต้ อ้ งขงั กลับตนเป็นคนดคี นื สสู่ งั คมอยา่ งมคี วามสขุ



การเตรยี มความพรอ้ มของสว่ นปฏบิ ตั กิ ารพเิ ศษ

ในชว่ งแรกของการฝึกซอ้ ม ทมี ผ้เู ข้าแข่งขันต้องทำ� การปรับ
สภาพและฟน้ื ฟสู มรรถภาพทางดา้ นรา่ งกายใหม้ คี วามพรอ้ ม ถงึ แมว้ า่
ในขณะน้ันจะมีภารกิจและหน้าที่หลักอยู่ก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นภารกิจ
การจู่โจมตรวจค้นเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานทั่วประเทศ ซ่ึงถือว่าเป็น
ภารกจิ สำ� คญั หรอื แมก้ ารปฏบิ ตั ริ าชการดา้ นธรุ การประจำ� วนั ทำ� ให้
จ�ำเป็นต้องก�ำหนดเวลาที่ว่างเว้นจากภารกิจ ไม่ว่าจะเป็นช่วงเช้า
กอ่ นเรม่ิ งาน หรือหลงั จากเสรจ็ สนิ้ ภารกิจในแต่ละวนั ตารางในการ
ด�ำเนินกิจวัตรประจ�ำวันจึงถูกก�ำหนดเพิ่มขึ้น วินัยในการฝึกฝน
จึงเป็นเรื่องส�ำคัญ ซ่ึงทีมผู้เข้าแข่งขันและบุคลากรในหน่วยงาน
พงึ ระลกึ ปฏบิ ตั ติ ามอยา่ งเครง่ ครดั โดยความรว่ มมอื กนั ของบคุ ลากร
ในส่วนปฏิบัติการพิเศษ ด้านการฝึกฝนการถ่ายทอดความรู้
ประสบการณ์จากผู้ที่เคยเข้าแข่งขัน การเตรียมอุปกรณ์ท่ีพอจะ
จดั หาได้ เชน่ ยางรถยนต์ เชอื กไนลอ่ นเสน้ ใหญ่ ขวดนำ�้ ขนาด 1 ลติ ร
ถูกน�ำมาดัดแปลงเป็นอุปกรณ์เพ่ือท�ำการฝึกเสริมสมรรถภาพ
ด้านร่างกาย สถานที่บนดาดฟ้า บันไดทางขึน้ ช้นั 1 ถงึ ช้ัน 8 ของตกึ กรมราชทัณฑ์ ถกู ใชเ้ พอื่ ทำ� การฝึกฝนและทดสอบ
กำ� ลงั กาย อทุ ยานเฉลมิ กาญจนาภเิ ษก ซงึ่ เปน็ สวนสาธารณะตงั้ อยรู่ มิ แมน่ ำ�้ เจา้ พระยาฝง่ั ตรงขา้ มกรมราชทณั ฑ์ จงึ เปน็
อกี สถานทที่ ม่ี คี วามสำ� คญั ทมี ผเู้ ขา้ แขง่ ขนั ตอ้ งวงิ่ โดยใสห่ นา้ กากผา้ ควบคมุ ระบบการหายใจใหไ้ ดโ้ ดยมรี ะยะทางประมาณ
5 กิโลเมตร เพื่อไปท�ำการฝึกต่อในสถานีทดสอบก�ำลังกายในทุกวัน การฝึกฝนต้องปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง ไม่เว้นแม้แต่
วันที่เดินทางไปปฏิบัติภารกิจการจู่โจมตรวจค้นเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน หรือภารกิจอื่นๆ ก็ตาม จึงจ�ำเป็นต้องฝึกฝน
ในเวลาวา่ งหรอื เสร็จสิน้ จากภารกิจ

52 วารสารราชทัณฑ์

กอ่ นการแขง่ ขนั 2 สปั ดาห์ ทมี ผเู้ ขา้ แขง่ ขนั และผฝู้ กึ สอน
ไดร้ บั ความอนเุ คราะหแ์ ละอำ� นวยความสะดวกจากนายวเิ ชยี ร ทองพมุ่
ผู้อ�ำนวยการทัณฑสถานเกษตรอุตสาหกรรมเขาพริก ให้ใช้พ้ืนที่
บา้ นพกั รบั รองและสนามยงิ ปนื ของทณั ฑสถานเกษตรอตุ สาหกรรม
เขาพรกิ เปน็ ทฝ่ี กึ เตรยี มความพรอ้ มในดา้ นยทุ ธวธิ รี าชทณั ฑ์ ในรงุ่ เชา้
ของแต่ละวันทีมผู้เข้าแข่งขันต้องท�ำการว่ิงสลับกับการปั่นจักรยาน
จากศูนย์ฝึกคลองไผ่ไปยังสันเขื่อนล�ำตะคองโดยสวมใส่หน้ากาก
ปอ้ งกนั แกส๊ พษิ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความคนุ้ เคยกบั อปุ กรณ์ ถงึ แมร้ ะยะทาง
จะไมไ่ กลมากนกั แตเ่ มอ่ื สวมใสห่ นา้ กากไปแลว้ ทำ� ใหก้ ารหายใจลำ� บากและเหนอื่ ยมากยงิ่ ขน้ึ การวง่ิ แบกหนุ่ คนจำ� ลอง
ท่ีมีน�้ำหนักเท่าคนจริงไปไว้ยังเป้าหมายเป็นอีกสิ่งหน่ึงที่เราต้องฝึก ในช่วงแรกคนในทีมบางคนถึงกับเข่าทรุด
หยุดกลางทางไปตอ่ ไมไ่ หวเพราะระบบการหายใจไมท่ นั แตก่ ็เป็นเพยี งแค่ช่วงเวลาหนงึ่ ในการฝกึ
หลังจากฝึกในช่วงรุ่งเช้าก็ได้เวลามาสนามยิงปืน ส่ิงแรกที่ทุกคนต้องท�ำคือการตรวจอาวุธปืนให้อยู่ในสภาพ
ท่ีปลอดภัยพร้อมใชง้ าน โดยค�ำนงึ ถงึ กฎความปลอดภัยในการใช้อาวธุ ปืนเป็นหลัก สนามถูกจัดจำ� ลองข้ึนเปน็ 2 สถานี
ในภารกจิ ทมี แม่นปืน (THE MARKSMEN) ทัง้ การซ้อมยิงเพจเหลก็ ระยะ 20 เมตร และการซ้อมยิงเปา้ คะแนนวงกลม
ระยะ 15 เมตร ก่อนจะท�ำการยิงลูกกระสุนจริงทีมผู้เข้าแข่งขันต้องฝึกยิงแห้ง (Dry fire) หลายพันคร้ัง ในแต่ละวัน
เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยในการจัดศูนย์ปืน การเล็งเป้า การหายใจ และการลั่นไกให้มีความสัมพันธ์กัน ด้วยลูกกระสุน
ในการซ้อมมีจ�ำนวนจ�ำกัด ทุกนัดที่ลั่นออกไปจึงต้องต้ังใจและให้เกิดประโยชน์ในการซ้อมมากที่สุด แต่ก็มีบางครั้ง
ในการซอ้ มทสี่ ายตากบั รา่ งกายลา้ ไมส่ ามารถควบคมุ สมาธไิ ดจ้ งึ ตอ้ งหยดุ พกั การยงิ ปนื เปลยี่ นไปจบั โลป่ ระกอบทมี ฝกึ ซอ้ ม
หาเทคนิควิธีการในการเข้าคล่ีคลายสถานการณ์และการช่วยเหลือตัวประกัน (OPS ‘MAN-DOWN’) หรือกระท่ัง
การฝกึ ปนี ขนึ้ ทส่ี งู โดยใชเ้ ชอื กเสน้ เดยี วทผ่ี กู ไวบ้ นตน้ ไมข้ า้ งสนาม
ความเหนื่อยความล้านั้นพอถึงเวลาได้พักผ่อนมันก็หายไป
ในช่วงเยน็ หลังจากการฝึกซอ้ มกเ็ ปน็ เวลาพกั ผ่อน ทุกคนจะมา
รวมตัวพดู คุยและประเมินการฝกึ แตล่ ะวนั มที ั้งเรอ่ื งดีและรา้ ย
ในการฝึกซ้อม แต่ทุกคนในทีมเข้าใจตรงกันว่าถ้าเกิดความ
ผิดพลาดเราจะไม่โทษกัน และให้ถือว่ามันเป็นประสบการณ์
เพ่ือใชใ้ นการทำ� งานไมใ่ หผ้ ดิ พลาดต่อไป
ความพรอ้ มดา้ นรา่ งกาย ดา้ นเทคนคิ ยทุ ธวธิ ี เรามเี พม่ิ ขนึ้
ในทกุ วนั แตป่ ญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ คอื ทกั ษะในภารกจิ ฝา่ ดา่ นอปุ สรรค
ทงั้ 10 ดา่ น ในการแขง่ (THE SPECIALISTS) ฐานดา่ นอปุ สรรค
ในพื้นท่ีค่ายฝึกการรบพิเศษ (หนองตะกู) เป็นฐานที่มีความ
คล้ายคลึงท�ำการฝึกให้พอรู้ทักษะ แต่ไม่สามารถท�ำให้เกิด
ความช�ำนาญได้ ด้วยข้อจ�ำกัดของฐานในการฝึกที่มีความ
แตกต่างจากด่านอุปสรรคในการแข่งขันจริงอย่างมากและ
เปน็ สง่ิ ทที่ มี ผเู้ ขา้ แขง่ ขนั กงั วลใจมากทสี่ ดุ หากแตว่ า่ ความพรอ้ ม
ทางด้านร่างกายในการฝึกทุกวันท�ำให้เรามีความม่ันใจ
ในระดับหนึง่ ท่จี ะฝา่ ด่านอปุ สรรคตา่ งๆ ไปใหไ้ ด้

วารสารราชทัณฑ์ 53

4 บททดสอบทางยุทธวิธใี นงานราชทัณฑ์

EVENT #1 - THE MARKSMEN (ภารกจิ ทีมแม่นปนื )

Stage 1 - ยิงเปา้ เพจในทา่ ยนื (Standing Position) ระยะยิงที่ 20 เมตร
Stage 2 - ยิงเป้าคะแนนวงกลม ระยะยิงที่ 15 เมตร ซองกระสุนบรรจุ 5 นัด 2 ซอง ระยะเวลา 30 วินาที
วันแรกของการแข่งขันกับความม่ันใจที่เกินร้อย ทีมแม่นปืนพร้อมเข้าสู่สนามและส่ิงท่ีคาดไม่ถึงก็เกิดข้ึนกับ
กติกาใหม่ที่เปลี่ยนไปในการยิงเป้าคะแนนวงกลม ฉากก้ันแผ่นใหญ่ที่มีช่องเล็กๆ เจาะไว้ให้มองผ่านไปในการเล็งเป้า
และยงิ ถกู ตงั้ ไวห้ นา้ สายยงิ ของแตล่ ะคน เสน้ กรอบสเี่ หลยี่ ม
บนพ้นื ถกู ก�ำหนดเปน็ เสน้ อันตราย ทา่ ยืน ท่าน่งั ในการยิง
ทฝี่ กึ มา ตอ้ งปรบั เปน็ ทา่ ทไ่ี มค่ นุ้ ชนิ คกุ เขา่ งอตวั ยนื เอยี งซา้ ย
เอียงขวา เป็นท่าที่สมาชิกในทีมใช้แตกต่างกันไปเพื่อจะ
หาช่องเล็งในการยิงเป้า อุปสรรคที่เพิ่มข้ึนมาในภารกิจน้ี
คือข้อจ�ำกัดในพ้ืนที่และการมองเห็นซึ่งทีมเราพลาดและ
ไมค่ าดคดิ มาก่อน

EVENT #2 - THE SPECIALISTS
(ภารกจิ ฝา่ ด่านอุปสรรค)

สถานการณ์: ผู้บาดเจ็บซ่ึงจ�ำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือทาง
การแพทย์ในทันที ได้ถูกรายงานว่าติดอยู่ในพ้ืนท่ีอันตรายซ่ึงมี
ส่ิงกดี ขวางเปน็ อปุ สรรคตา่ งๆ จ�ำนวนมาก
วันที่สองกับภารกิจฝ่าด่านอุปสรรค ถุงอุปกรณ์ท่ีมีน�้ำหนัก
30 กิโลกรัม ท่ีทุกคนในทีมต้องน�ำขึ้นบันไดไปวางไว้บนชั้น 8 ท�ำให้
หมดสภาพแรงกายต้ังแต่เร่ิมต้น การฝ่าด่านอุปสรรคกีดขวางท้ัง
10 ดา่ นที่เหลือ เพื่อจะน�ำหุ่นคนเจ็บกลับมายังพ้นื ท่ปี ลอดภยั ให้สำ� เรจ็
ตามภารกิจ จงึ เป็นเรอ่ื งที่ยากลำ� บากขนึ้ มาทนั ที ขาเร่มิ สนั่ ตาเรม่ิ ลาย
54 วารสารราชทัณฑ์

ร่างกายเร่ิมควบคุมไม่ได้ เสียงท่ีดังรอบข้างเริ่มไม่ได้ยิน
“มองไปข้างหน้า” คือเสียงเดียวที่ได้ยินในตอนน้ัน
เวลาในการแข่งไม่มีคา่ อกี ต่อไป พละก�ำลังท้งั 4 คน ในทมี
เรม่ิ หมดไป ไมเ่ หลอื ใหใ้ ครชว่ ยใครไดอ้ กี แคเ่ สียงท่ีพยายาม
ตะโกนเพื่อคอยกระตุ้นเตือนกันยังกลายเป็นเรื่องยาก
ในเวลาน้ัน แต่ทุกคนเลือกที่จะไม่หยุด ถึงแม้ว่าบางคน
เร่ิมท�ำผิดกติกาและต้องกลับไปฝ่าด่านอุปสรรคใหม่อีกครั้ง
เม่ือคนสุดท้ายในทีมปีนเชือกผ่านก�ำแพงที่สูงกว่า 4 เมตร
ลงมาได้ในด่านสุดท้าย ความร่วมมือของเราเริ่มต้นขึ้นใหม่
หนุ่ คนเจบ็ ถกู ชว่ ยกนั ยก ชว่ ยกนั พยงุ ในสภาพทลุ กั ทเุ ลกลบั มา
สู่พ้ืนที่ปลอดภัย ถึงแม้ว่าทีมเราจะใช้เวลาในการท�ำภารกิจ
ไปเพียง 15 นาที แต่ดูเหมือนว่าเป็นเวลาที่ยาวนานมาก
คนในทีมล้มตัวลง ขาพับเข่าอ่อน นอนหงายหลังจาก
ท�ำภารกจิ ไดส้ �ำเร็จแลว้

EVENT # 3 - OPS ‘MAN-DOWN’ (ภารกิจคล่คี ลายสถานการณใ์ นยามคบั ขนั )

สถานการณ์: เหตุการณ์เกิดข้ึนระหว่างการน�ำตัวผู้ต้องขังความม่ันคงสูงจากเรือนจ�ำไปยังศาลฎีกา ขบวนรถ
ทีมเจา้ หน้าทผี่ คู้ วบคมุ ตัวผตู้ ้องขัง ถูกลอบโจมตีระหวา่ งเดินทางและมีผไู้ ดร้ ับบาดเจ็บไมท่ ราบจ�ำนวน
เช้าวันท่ีสามกับภารกิจที่ทีมมีความถนัดและ
ฝกึ หดั มาดที ส่ี ดุ หนา้ กากปอ้ งกนั แกส๊ พษิ โล่ เปลสนาม
ลูกซองบรรจุกระสุนยาง อุปกรณ์ป้องกันต่างๆ
ถกู เตรยี มความพรอ้ มภายในรถตคู้ นั ใหญท่ ใ่ี ชเ้ ขา้ คลค่ี ลาย
สถานการณ์ อปุ กรณท์ ั้งหมดถูกกำ� หนดไว้ให้ใชใ้ นการ
ปฏิบัติภารกิจ กฎความปลอดภัยการใช้อาวุธปืน
เปน็ เรอ่ื งสำ� คญั ประตรู ถตถู้ กู เปดิ ออก แผนการทางยทุ ธวธิ ี
ที่ได้ฝึกมาถูกน�ำมาปฏิบัติในทันที ทีมผู้เข้าแข่งขัน
ทัง้ 4 คน พร้อมอุปกรณ์ ว่งิ มุ่งหนา้ เข้าสพู่ ืน้ ที่อนั ตราย
เปา้ หมายคนรา้ ยอยดู่ า้ นหนา้ ทางซา้ ย ทางขวาหา่ งออกไป
พลโล่เข้าคุ้มกัน พลปืนยิงท�ำลายเป้าหมายได้ส�ำเร็จ
หัวหน้าทีมตะโกนสั่ง “เซฟปืน ค้างสไลด์ เป้าหมายถูกท�ำลาย” การช่วยเหลือตัวประกัน การเคลื่อนย้ายคนเจ็บและ
การเก็บอุปกรณ์ต่างๆ ตามภารกิจท่ีได้รับจึงเร่ิมข้ึนอย่างเป็นระบบแบบแผน ภารกิจเสร็จส้ินในเวลาที่รวดเร็วทุกคน
กลบั เขา้ ประจำ� รถตู้ กรรมการเขา้ ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ย ในระหวา่ งทท่ี ำ� ภารกจิ เวลานน้ั เราไมร่ เู้ ลยวา่ สไลดป์ นื ลกู ซอง
กระบอกหนึ่งท่ีสะพายไว้ค่อยๆ เลื่อนลงจากการวิ่ง การกระแทก หรือจากสาเหตุอะไรก็แล้วแต่ ท�ำให้ไม่ได้ค้างสไลด์
เม่ือกรรมการเข้ามาตรวจสอบอาวุธปืนอยู่ในสภาพไม่ปลอดภัยจึงถูกหักคะแนน และมีการใช้ที่มากกว่าถูกหักคะแนน
คอื บทเรยี นทไี่ ดร้ บั ความผดิ พลาดจะเกดิ ขน้ึ ในขณะทเ่ี ราเผลอ ละเลยและไมร่ ตู้ วั สภาพปนื ทไี่ มป่ ลอดภยั อาจทำ� อนั ตราย
และเกิดการสญู เสยี ขึ้นได้

วารสารราชทัณฑ์ 55

EVENT # 4 - SEARCH & RESCUE (ภารกิจคน้ หาและช่วยเหลือ)

สถานการณ:์ กลมุ่ ผตู้ อ้ งขงั ไดจ้ บั ตวั ประกนั ไวภ้ ายในตกึ ซงึ่ มกี ลมุ่ ควนั
ปกคลุมมีทัศนวิสัยในการมองเห็นและการเข้าถึงที่ยากล�ำบาก
โดยผตู้ ้องขงั ยงั ไม่มีข้อเรียกร้องใดๆ

ภารกิจสุดท้ายในบ่ายวันที่สาม อุปกรณ์ป้องกันถูกสวมใส่ อาวุธ
กระเปา๋ เครอื่ งมอื สำ� หรบั งดั ทำ� ลาย และไฟฉาย ถกู กำ� หนดหนา้ ทกี่ ารใชง้ าน
ให้สมาชิกในทีมแต่ละคนจดจ�ำเอกลักษณ์รูปพรรณใบหน้า การค้นหา
และช่วยเหลือมายังจุดอพยพที่ก�ำหนดไว้ในแต่ละพื้นที่ คือภารกิจคร้ังน้ี
ทมี ทง้ั 4 คน วง่ิ สชู่ น้ั 3 ของตกึ หอ้ งขงั ทเี่ ปน็ พน้ื ทอ่ี นั ตราย เปา้ หมายหยดุ ยงั้
คนร้ายด้วยอาวุธพิเศษ แยกเป็นสองทีมเม่ือเปิดประตูห้องขังเข้าค้นหา
ตวั ประกนั ภายในหอ้ งทป่ี กคลมุ ไปดว้ ยกลมุ่ ควนั เปน็ วธิ ที นี่ า่ จะเรว็ ทสี่ ดุ เทา่ ท่ี
ทมี เราคดิ ออกในเวลานนั้ แตค่ วามอลหมา่ นกเ็ กดิ ขน้ึ กลมุ่ ควนั ทำ� ใหภ้ ายใน
ห้องมืดสนิท แสงสว่างที่สามารถจะหาได้มีเพียงไฟฉายกระบอกเดียว
การวง่ิ ไปมา หมอบตำ่� คลำ� คน้ หา เสยี งสญั ญานทส่ี อื่ สารกนั ในเวลานมี้ คี วามสำ� คญั หนุ่ ตวั ประกนั ถกู พบและทยอยออก
มาส่ภู ายนอก เครอื่ งมืองดั ตัดทำ� ลายประตูถูกน�ำมาใชใ้ นการอพยพหนุ่ ตวั ประกนั เข้าสพู่ ้ืนทป่ี ลอดภยั

รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับที่ 1 รางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั ท่ี 2
รายการ “SEARCH & RESCUE” รายการ OPS ‘MAN-DOWN’

56 วารสารราชทัณฑ์

พบกนั วันสดุ ท้าย

พญ.สริ ิน ไตรวุฒิพิพัฒนก์ ลุ
ทณั ฑสถานโรงพยาบาลราชทณั ฑ์
ทำ� ไมอยากเปน็ หมอ? คำ� ถามนีถ้ ูกถามเปน็ ร้อยๆ ครง้ั เป็นคำ� ถามทไ่ี รซ้ ึง่ ค�ำตอบในตอนแรก หากแต่
วันเวลาผ่านไปในชีวิตการท�ำงานของข้าพเจ้าช่วยเติมเต็มค�ำตอบน้ีให้สมบูรณ์ขึ้นเรื่อยๆ เป็นก�ำลังใจส�ำคัญ
ท่ีท�ำให้หมอโรงพยาบาลรัฐเบื้องหลังก�ำแพงสูงอย่างข้าพเจ้า สามารถท�ำงานในทุกๆ วันได้อย่างมีความสุข
ใชแ่ ลว้ ...ขา้ พเจา้ เลอื กมาเปน็ แพทยใ์ ชท้ นุ ในทณั ฑสถานโรงพยาบาลราชทณั ฑ์ โรงพยาบาลทม่ี คี นไขท้ ข่ี าดโอกาส
ขาดอสิ รภาพ ใสโ่ ซต่ รวนและกญุ แจมอื โรงพยาบาลทไี่ มค่ อ่ ยมใี ครรจู้ กั โรงพยาบาลทที่ กุ ๆ คนตา่ งถามวา่ ทำ� ไม
ถึงเลอื กมาใช้ทนุ ทีโ่ รงพยาบาลแห่งน้ี และนี่ถอื เป็นอีกวันส�ำหรบั เร่ืองราวดีๆ เบือ้ งหลงั กำ� แพงสงู แห่งน้ี

วารสารราชทัณฑ์ 57

วันท�ำงานเร่ิมต้นอย่างสดใส ข้าพเจ้าเดินเข้าหอผู้ป่วยหญิง
เพอ่ื ประเมนิ ผปู้ ว่ ยตามเตยี งตา่ งๆ เหมอื นเคย “คณุ หมอคะ วนั นม้ี คี นไขห้ นกั
จากเรือนจ�ำหญิงอยู่ไอซียู รับมาเม่ือคืน อาการไม่ค่อยดีเลยค่ะ ผู้ป่วยมา
ด้วยอาการซมึ เรยี กไมร่ ้สู กึ ตัว รูม่านตาขยาย หายใจเฮอื ก มีโรคประจ�ำตวั
คือ โรคเบาหวาน รับยาประจ�ำทเ่ี รือนจ�ำ แพทยเ์ วรใส่ท่อชว่ ยหายใจ และ
สง่ เอกซเรยค์ อมพวิ เตอรส์ มอง พบวา่ มเี ลอื ดออกทกี่ า้ นสมองและโพรงสมอง เวรกลางคนื พยายามสง่ คนไขอ้ อกดว่ นแลว้
แต่ไม่มีโรงพยาบาลไหนมีเตียงว่างรับตัวเลยค่ะ” สิ้นเสียงพี่พยาบาลท่ีดูอิดโรยจากการดูคนไข้รายน้ีมาทั้งคืน รายงาน
อาการให้ข้าพเจ้าฟังอย่างคล่องแคล่ว ผิดกับภาระงานเสียจริง ข้าพเจ้ารีบเดินไปดูอาการคนไข้รายนี้ทันที จากการ
ประเมนิ คนไขอ้ าการหนกั มาก สญั ญาณชพี จรไมค่ งที่ ตอ้ งใหย้ ากระตนุ้ ความดนั โลหติ ตลอดเวลา ขณะจรดปากกาเขยี น
ค�ำส่ังการรักษา ข้าพเจ้ารู้สึกว่า เวลาของคนไข้เหลือไม่มากแล้วจึงปรึกษาพ่ีพยาบาลถึงการติดต่อญาติ พ่ีพยาบาล
ตอบอย่างมืออาชีพว่า “พี่พยายามติดต่อญาติทุกทางโดยติดต่อตามเบอร์โทรศัพท์ที่ให้ไว้แล้ว แต่ไม่สามารถติดต่อได้
เลยค่ะ สอบถามทางเพื่อนผู้ต้องขัง ได้เบอร์โทรศัพท์เพ่ือนบ้านคนไข้ พ่ีประสานไปที่นักสังคมสงเคราะห์เพื่อติดต่อ
เพอื่ นบา้ นของคนไข้ เพอ่ื นบา้ นแจง้ วา่ รจู้ กั ลกู สาวคนไข้ ทำ� งานดเี ปน็ บคุ ลากรทางการแพทยอ์ ยทู่ โี่ รงพยาบาลรฐั แหง่ หนงึ่
เพอื่ นบ้านไมม่ ีเบอรโ์ ทรศัพท์ แตเ่ ปน็ เพอ่ื นในเฟซบ๊กุ ได้ลองตดิ ตอ่ ไปจนพบลูกชายของคนไขแ้ ล้ว ทางเพอ่ื นบา้ นจงึ ได้
โทรกลับมาแจ้งว่า ครอบครัวเขาจะรีบมาวันน้ีค่ะ” พ่ีพยาบาลกล่าว ไม่น่าเชื่อเลยว่าเฟซบุ๊กเครือข่ายสังคมออนไลน์
ในโลกอนิ เทอรเ์ นต็ จะชว่ ยเหลอื โรงพยาบาลในการตดิ ตามหาญาตจิ นเจอ หากไมม่ เี ฟซบกุ๊ และทมี การรกั ษาเราคงตดิ ตอ่
ญาติไม่ได้ นับถือความพยายามของพยาบาลและนักสังคมสงเคราะห์ ท่ีทุ่มเทท้ังกายและใจท�ำงานอย่างมืออาชีพ
เบอื้ งหลงั การรกั ษามากมายถกู ขบั เคลอ่ื นโดยทมี การรกั ษาผปู้ ดิ ทองหลงั พระ
ใกล้เวลาสโี่ มงเย็น พ่พี ยาบาลคนเดมิ ท่ที ำ� งานมาตั้งแตเ่ มอื่ คืนพูดอย่างมีความหวังว่า “คณุ หมอคะ ญาติคนไข้
เพ่ิงมาถึงท�ำเรื่องเยี่ยมใกล้ชิดอยู่ข้างหน้า คุณหมอจะรอไหมคะ” “รอค่ะ” ข้าพเจ้าตอบไปอย่างไม่ต้องคิด “สามีของ
คนไข้เขา้ ไมไ่ ดค้ ะ่ เพราะคนละนามสกลุ ” เสยี งปลายสายของพี่ๆ ฝ่ายควบคุมแจ้งให้ทราบถงึ กฎการเย่ยี ม “พีค่ ะ คนไข้
อาการหนัก หมอขอให้ลูกคนไข้ยืนยันว่าเขาเป็นพ่อได้ไหมคะ” ข้าพเจ้าพยายามต่อรอง เพราะเวลาของคนไข้เหลือ
ไมม่ ากแล้ว ปฏิกริ ิยาการรบั ร้แู ละสัญญาณชีพจรอ่อนลงเรอ่ื ยๆ
58 วารสารราชทัณฑ์

กลุ่มผู้คนอันเป็นความหวังเดินเข้ามาใกล้สายตาของข้าพเจ้าขึ้นเรื่อยๆ ผู้หญิงท่ีใส่เสื้อกาวน์สีขาวเห็นเด่นชัด
ในกลมุ่ คนเหลา่ นน้ั ขา้ พเจา้ เลา่ อาการใหก้ บั ญาตคิ นไขฟ้ งั อยา่ งใจเยน็ โดยเลา่ ใหล้ กู สาวทใี่ สเ่ สอ้ื กาวนส์ ขี าวของคนไขฟ้ งั
เปน็ หลกั การใหข้ อ้ มลู ตา่ งๆ เปน็ ไปอยา่ งไมย่ ากเยน็ คงเปน็ เพราะเราคยุ ภาษาเดยี วกนั แตค่ วามยากคอื การยนื อยตู่ รงนน้ั
ข้าพเจ้ารับรู้ได้ถึงความรู้สึกเศร้าโศกเสียใจ และสิ้นหวังของการได้พบกันในคร้ังน้ี “หมอให้เวลาญาติอยู่กับคนไข้ตาม
สบายนะคะ” ข้าพเจา้ พยายามให้ความเป็นสว่ นตัวแกค่ นไข้ แมจ้ ะอยูใ่ นสถานะถกู จองจำ� “แม”่ เสียงสน่ั สะท้านผ่านหู
ของขา้ พเจา้ ไปขณะเดนิ หนั หลงั ออกมา คำ� เพยี งคำ� เดยี วทส่ี ะทอ้ นความรสู้ กึ ในใจของลกู สาว ผทู้ ร่ี บั รอู้ าการและความเปน็ ไป
ของคนไข้ได้ดีที่สุด หากแต่เพียงว่า คนไข้หนักรายน้ีคือ คุณแม่ของตัวเอง “แม่ท้ิงพวกเราไปอยู่กับสามีใหม่ตั้งแต่เรา
ยังเล็กครับ แม่เคยเอาเงินท่ีพ่อเตรียมไว้ส�ำหรับจ่ายค่าเทอมของพวกเราไปซ้ือยาเสพติด แต่พ่อก็ให้อภัยแม่เสมอ
ถึงแม้ว่าแม่จะไม่เคยเลี้ยงดูพวกเราเลย พ่ออดทนส่งพวกเราเรียนจนจบ และส่งเงินให้แม่ใช้ตลอดตอนที่แม่ติดคุก”
คำ� บอกเลา่ ปนนำ้� ตาของลกู ชายระบายออกมาใหแ้ กท่ กุ ๆ คนตรงหนา้ ฟงั สามขี องคนไขย้ นื ปดิ หนา้ หลบอยดู่ า้ นหลงั สดุ หลงั จาก
ทลี่ กู สาวเหน็ แมใ่ นสภาพทรี่ า่ งกายนอนนง่ิ ผวิ คลำ�้ มอื เยน็ ยะเยอื ก สายระโยงระยางทว่ั ตวั บรรยากาศหยดุ นงิ่ เงยี บสงดั
มีเพียงลมหายใจรวยรินจากการท�ำงานของเครื่องช่วยหายใจและเสียงสะอ้ืนจากคนในครอบครัวเท่านั้นท่ีเคลื่อนไหว
ไม่น่าเช่ือเลยว่า ในวันท่ีลูกๆ ประสบความส�ำเร็จ ทุกคนในครอบครัวอยู่กันพร้อมหน้า จะเป็นวันแห่งความสูญเสีย
ญาตทิ กุ คนตกลงจะใหค้ นไขจ้ ากไปอยา่ งสงบ ปราศจากการชว่ ยยอื้ ชวี ติ ใดๆ ตอ้ งทกุ ขท์ รมานอกี ระหวา่ งทส่ี ามขี องคนไข้
ยังคงไม่สามารถมองภรรยาได้อย่างเต็มตา มืออันแสนอบอุ่นของพี่พยาบาลได้โอบอุ้มมือของชายผู้แสนดีให้เอื้อมมา
จับมอื ของคนไข้เอาไว้ พรอ้ มกลา่ วดว้ ยน�้ำเสียงอนั อ่อนโยนวา่ “ในฐานะที่ดิฉันเปน็ พยาบาลขอเปน็ ตัวแทนของภรรยา
และแม่คนหน่ึง กล่าวขอขมาและอโหสิกรรมให้กับทุกๆ สิ่งที่คนไข้ ชื่อนาง ....... ได้เคยกระท�ำผิดพลาดกับทุกคน
ในครอบครัวนะคะ” ประโยคนี้มีค่ามากมายจริงๆ พี่พยาบาลคนเดิมท่ีตั้งใจดูแลคนไข้มาตั้งแต่เม่ือคืน ยังคงท�ำหน้าท่ี
ได้อย่างไม่ขาดตกบกพร่อง การเอ่ยค�ำพูดมาจากก้นบ้ึงของความรู้สึกช่วยคลี่คลายสถานการณ์ และปลดเปล้ือง
ความผิดพลาดของคนไข้ให้บรรเทาเบาบางลง มันช่างเป็นพลังความรักท่ีย่ิงใหญ่เหลือเกิน ทุกคนพยักหน้าพร้อมกัน
อย่างไมไ่ ดน้ ดั หมาย กอ่ นหมดเวลาเยยี่ มลกู ๆ และสามไี ด้โอบกอด อ�ำลาคนไขเ้ ปน็ คร้งั สุดท้าย ขา้ พเจา้ ได้พดู กบั ลูกสาว
คนไข้ว่า... “ถ้าคืนน้ีคุณแม่มีอาการทรุดลง ทางโรงพยาบาลจะโทรไปแจ้งอย่างเร็วที่สุดนะคะ” คืนนั้นไม่มีปาฏิหาริย์
เกิดข้ึน...คนไขจ้ ากไปอย่างสงบ
การทำ� งานของเราเหลา่ บคุ ลากรทางการแพทยเ์ รม่ิ ขน้ึ ในวนั ใหมอ่ กี ครง้ั คงจะดขี น้ึ กวา่ เมอ่ื วาน ขณะทข่ี า้ พเจา้
เดินเข้ามาท�ำงานตามปกติ ได้พบกับลูกสาวของคนไข้อีกครั้ง “พี่มารับศพคุณแม่หรือคะ มีอะไรที่หนูพอจะช่วยพ่ีได้
บอกไดเ้ ลยนะคะ” ขา้ พเจา้ ยม้ิ ใหก้ บั ลกู สาวของคนไข้ “ขอบคณุ มากจรงิ ๆ คะ่ ” ลกู สาวคนไขต้ อบอยา่ งซาบซงึ้ การรบั ศพ
และทำ� เรอ่ื งปลดจากการจองจำ� เปน็ ไปอยา่ ง
ราบร่ืน บทเรียนในครั้งนี้ท�ำให้ข้าพเจ้า
ได้เรียนรู้อะไรหลายๆ อย่าง ทั้งในแง่ของ
การเป็นหมอ การเป็นเพื่อนร่วมวิชาชีพ
การเป็นลูก และการเป็นญาติของคนไข้ที่ดี
บทบาทในชีวิตของคนเรามีมากมายในช่วง
เวลาหน่ึงๆ หากเราพยายามท�ำทุกบทบาท
ให้เต็มท่ีที่สุดเท่าท่ีเราจะท�ำได้คงจะเป็น
ผลดีต่อเรา และคนรอบข้างไม่น้อยเลย
นี่แหละค�ำตอบว่าท�ำไมอยากเป็นหมอ
แล้วคุณล่ะไดอ้ ะไรจากเรอ่ื งเล่า “พบกันวันสุดทา้ ย”

วารสารราชทัณฑ์ 59

วนิ ยั กบั คนไทย

ธีรศกั ด์ิ อินทรช์ ว่ ย
สถาบนั พัฒนาข้าราชการราชทณั ฑ์

ค�ำว่า “วินัย” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2542 หมายถึง ระเบียบแบบแผนขอ้ บังคับ และขอ้ ปฏบิ ัติ
ท้ังน้ีหากสังคมใด คนในสังคมขาดซึ่งวินัยแล้ว สังคมน้ันก็ยาก
ทีจ่ ะพฒั นาใหเ้ จริญร่งุ เรอื งได้
“สังคมขาดวินัย” คือ “ปัญหา” เมื่อเกิดข้ึนในสังคม
ก็ถกู จดั ว่าเปน็ สว่ นหนงึ่ ของ “ปัญหาสงั คม” ซึง่ อาจมแี หลง่ ท่มี า
จากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในด้านต่างๆ หรือการที่คนมี
พฤติกรรมเบ่ียงเบนไปจากระเบียบแบบแผนของสังคม เม่ือหัน
กลับมามองสงั คมของไทยเรา คนไทยมวี นิ ยั กนั มากขนาดใหน?
ทา่ นพระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยตุ โต) ไดก้ ลา่ วถงึ วธิ สี รา้ งวนิ ยั
ในตนเอง ดังน้ี
“การจะใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงคใ์ หย้ งั่ ยนื เคยชนิ ยอ่ มมาจากจติ ใจทม่ี คี วามพงึ พอใจ มคี วามสขุ ในการทำ�
พฤตกิ รรมนน้ั เม่ือเกิดปัญญาเรียนรู้ เกดิ ความรคู้ วามเข้าใจมองเห็นคณุ คา่ และประโยชน์ของการกระทำ� น้ัน จะเปน็ วิธี
สร้างวินัยความรับผิดชอบในตนเอง เป็นการจัดสรรโอกาส ท�ำให้ชีวิตและสังคมมีระเบียบเป็นโอกาสแก่การพัฒนา
มนุษย์”

“ทำ� อะไรตามใจ คือ ไทยแท”้

วลีท่ีกลา่ วถึงขา้ งต้น ถา้ ดูเผนิ ๆ กเ็ ปน็ เอกลักษณข์ องคนไทย แต่ถา้ คิดให้ลกึ ๆ มันบ่งบอกอะไรบางอยา่ งกบั เรา
เพราะความหมายของมนั กค็ อื คนไทยทำ� อะไรแบบสบายๆ ซง่ึ ความหมายทลี่ กึ ซงึ้ ไปในทำ� นองเหนบ็ แนมนน้ั หมายความ
รวมถงึ ในเรอื่ งวนิ ยั ของคนไทย ตวั อยา่ งเชน่ บางคนยอ่ หยอ่ นในเรอื่ งการเคารพกฎจราจร โดยมองวา่ เปน็ เรอ่ื งเลก็ นอ้ ย
แต่กลับเข้มงวดในเร่ืองวินัยในท่ีท�ำงาน มาท�ำงานตรงเวลา เคารพกฎเกณฑ์ในที่ท�ำงาน แต่บางคนวินัยในการรักษา
กฎจราจรดีเย่ียม แต่วินัยที่ท�ำงานมีน้อย บางคนมีวินัยในตนเองแทบจะทุกเรื่อง แต่บางคนก็มีวินัยในตนเองน้อย
เช่นเดียวกัน ซึ่งมีรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป ทั้งหมดท่ียกตัวอย่างมาน้ีมีให้เห็นมากมายในสังคมไทย ปัจจุบันเป็นที่
ยอมรับกันทั่วไปว่าคนญ่ีปุ่นเป็นคนที่มีวินัยที่สุด เมื่อน�ำพฤติกรรมของสังคมคนญี่ปุ่นมาเทียบกับสังคมคนไทยเราแล้ว
ท�ำไมรสู้ กึ วา่ มาตรฐานความมวี นิ ัยของสงั คมไทยเราน้ันอยู่ในระดับท่นี อ้ ยกวา่ ของสังคมญ่ีปนุ่ จงึ มีคำ� ถามวา่ “ท�ำไมจงึ
เป็นเช่นนน้ั และเราจะแกไ้ ขเรือ่ งน้ใี ห้สังคมไทยอย่างไร?”

60 วารสารราชทัณฑ์

คนญ่ปี นุ่ กับคนไทยไมม่ อี ะไรท่ีแตกตา่ งกนั คนญปี่ นุ่ กบั คนไทยเปน็ คนเอเชียเหมือนกนั ญี่ปุ่นมเี ลอื ด
ซามไู ร เปน็ นกั สู้ คนไทยกม็ เี ลอื ดนกั รบมาตง้ั แตโ่ บราณกาลเชน่ เดยี วกนั สงิ่ หนง่ึ ทค่ี นไทยแตกตา่ งกบั คนญป่ี นุ่
คือ วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ บรรพบุรุษของไทยเราต้ังถ่ินฐานให้พวกเราอยู่ท่ีสุวรรณภูมิแห่งน้ี ภูมิประเทศ
ของประเทศไทยเป็นที่ราบลุ่มเป็นแหล่งอุดมสมบูรณ์ ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ และอาหารการกิน ไม่มี
ภัยพิบัติรุนแรง คนไทยอยู่กันอย่างเรียบง่าย จึงเป็นปัจจัยที่เอ้ือให้คนไทยมีวิถีชีวิตท่ีสบายๆ ใช้ชีวิตแบบ
มีความสุข สังคมไทยเป็นสังคมท่ีถ้อยทีถ้อยอาศัยให้อภัยหรือมองข้ามในสิ่งท่ีไม่ถูกต้องในบางเร่ือง ส่งต่อ
กนั มารนุ่ ตอ่ รนุ่ แตกตา่ งจากสงั คมญปี่ นุ่ ซงึ่ มภี มู ปิ ระเทศเปน็ เกาะ ทรพั ยากรธรรมชาตมิ นี อ้ ยกวา่ ประเทศไทย
ภยั ธรรมชาตมิ คี วามรนุ แรง มที งั้ แผน่ ดนิ ไหว สนึ ามิ คนญป่ี นุ่ ตอ้ งมชี วี ติ อยอู่ ยา่ งลำ� บากกวา่ คนไทยมาตงั้ แตอ่ ดตี
โดยเฉพาะหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ญี่ปุ่นแพ้สงครามและต้องช่วยกันร่วมแรงร่วมใจกอบกู้เศรษฐกิจ
ในประเทศของตน ความกดดันน้ีชาวญ่ีปุ่นจึงต้องปรับตัวทุกเรื่อง ส่งผลให้เกิดการสร้างความมีวินัยข้ึน
ในสังคมญป่ี ุ่นถงึ ปัจจุบัน

ปลกู ฝงั นสิ ัยในแบบญี่ปุน่

นสิ ัยคนญี่ปนุ่ เปน็ อยา่ งไร ประเทศญีป่ นุ่ มกี ารปลูกฝงั นิสัยตั้งแตเ่ ดก็ อยา่ งไร?
เราจะเห็นภาพรวมอยู่แล้วว่าคนญ่ีปุ่นค่อนข้างมีวินัยดี ถ้าสรุปโดยภาพรวมแล้วเกิดจากเหตุ
4 ประการ คือ
1. เกดิ จากสภาพดนิ ฟ้า อากาศบงั คับ
ประเทศญี่ปุ่นค่อนข้างต้องเจอกับภัยทางธรรมชาติค่อนข้างมาก ทั้งแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด
พายทุ เี่ ขา้ มาหลายลกู ภยั ธรรมชาตทิ เ่ี กดิ ขนึ้ แตล่ ะครงั้ กท็ ำ� ใหเ้ กดิ ความเสยี หายมาก ทำ� ใหป้ ระชากรชาวญป่ี นุ่
ไม่สามารถอยูไ่ ดด้ ว้ ยตวั คนเดียวจ�ำเปน็ ตอ้ งอย่รู วมกนั เป็นหมูเ่ ปน็ คณะถงึ จะเอาตัวรอดได้

วารสารราชทัณฑ์ 61

2. รากฐานทางประวตั ศิ าสตร์
ก่อนเข้าสู่สมัยปฏิรูปเมจิ ประมาณสมัยรัชกาลที่ 5 ของไทย ญี่ปุ่นปกครองอยู่ในสมัยเอโดะ
ดว้ ยระบบโชกนุ คอื ผบู้ ญั ชาการทหาร จกั รพรรดอิ ยทู่ เี่ มอื งเกยี วโต แตอ่ ำ� นาจทแ่ี ทจ้ รงิ อยทู่ โี่ ชกนุ ทค่ี ามาครุ ะ
แล้วต่อมาก็ย้ายมาท่ีเอโดะ คือ โตเกียวในปัจจุบัน วังจักรพรรดิที่โตเกียวปัจจุบัน (พระราชวังอิมพีเรียล
ในอดีต) คอื ท่บี ัญชาการของโชกนุ ท่ีปกครองประเทศ ฝีมือการปกครองของโชกนุ กไ็ ม่ธรรมดา โดยใชว้ ธิ ี
การแบ่งแยกและปกครอง แบ่งประเทศออกเป็นเมืองต่างๆ ราวๆ สัก 200 กว่าเมือง แต่ละเมืองจะมี
เจ้าเมืองปกครองอยู่ เรียกว่า ไดเมียว และทุกปีไดเมียวจะสลับปีเว้นปีต้องมาอยู่ที่เอโดะกับโชกุน ถ้ามี
เจ้าเมืองทั้งประเทศ 200 กว่าคน ปีนี้ก็มีเจ้าเมือง 100 กว่าคนมาอยู่ที่เอโดะกับโชกุน เม่ือถึงปีหน้าก็
กลับไปบริหารบ้านเมืองของตัวเอง และไดเมียวท่ีเหลือก็สลับกันมา ซ่ึงผลคือไม่มีเจ้าเมืองไหนท่ีคิด
กอ่ การกบฏได้ เพราะขา้ งทา่ นโชกนุ มเี จา้ เมอื งอกี กวา่ ครง่ึ ประเทศอยู่ ทหารของเอโดะกแ็ ขง็ แกรง่ และระดบั
เจา้ เมอื งมาอยทู่ ีโ่ ตเกยี วคนเดียวไมไ่ ด้ เสียศักดศ์ิ รตี ้องมีลูกน้อง บริวาร ซามไู ร และคนรบั ใช้ตามมา
สมยั เอโดะมปี ระชากรอยเู่ กินกว่า 1 ลา้ นคน การคา้ ขายคล่อง เพราะโชกนุ ท�ำให้สงั คมญีป่ นุ่
แน่นิ่งกับที่ เพ่ือป้องกันความผันผวน จึงจัดการสังคมญี่ปุ่นทุกระบบให้น่ิง เช่น คนแต่ละคนจะมีสังกัด
เกดิ หมบู่ า้ นไหนตอ้ งอยหู่ มบู่ า้ นนนั้ หา้ มยา้ ยหมบู่ า้ น เพราะเมอื่ ไปแลว้ เขาไมร่ บั ถอื วา่ ทเี่ ขาอยนู่ นั้ เตม็ แลว้
ญีป่ ุ่นเป็นเกาะพืน้ ทนี่ อ้ ยคนเยอะ
ฉะน้ันถ้าถูกขับออกจากหมู่บ้านเมื่อไหร่จะไม่มีท่ีอยู่ทั้งประเทศ กลายเป็นคนร่อนเร่พเนจร
เพราะทกุ คนตอ้ งใหค้ วามใสใ่ จสว่ นรวมมาก แมแ้ ตส่ งั กดั วดั กต็ อ้ งกำ� หนด เมอื่ ครอบครวั นม้ี คี นตาย ตอ้ งไป
ฝังศพวดั ที่ก�ำหนดไดเ้ ท่านนั้ ห้ามยา้ ยวัด ฉะนนั้ ทุกคนจะถูกสง่ั สอนว่าเม่อื ทำ� อะไรอยา่ ใหเ้ ดือดร้อนคนอ่นื
เพราะเมอ่ื ใดทตี่ อ้ งถกู ขบั ไลอ่ อก แมแ้ ตค่ นในครอบครวั กไ็ มส่ ามารถชว่ ยได้ หรอื อาจจะโดนไลท่ ง้ั ครอบครวั กม็ ี
ซึ่งถูกปลูกฝังความคิดนี้มา 250 ปี ฝังลึกลงไปในวัฒนธรรมญี่ปุ่นว่าจะท�ำส่ิงใดต้องให้ความส�ำคัญ
กบั ส่วนรวมมาก และไมท่ ำ� เกินหน้าเกนิ ตาใคร ต้องอ่อนน้อม ฝกึ มารยาท ความเกรงใจผู้อ่นื
3. การปลูกฝังอบรมนสิ ัย
ในระบบการศึกษาส�ำคัญ ครอบครัวก็ต้องปูพ้ืนฐานมาเร่ือยๆ กระท่ังเข้าโรงเรียนก็เช่นกัน
แตถ่ า้ เปน็ ประเทศไทยเมอ่ื เดก็ คนไหนทำ� ดกี ไ็ ดร้ บั รางวลั แตข่ องญป่ี นุ่ จะแบง่ ในหอ้ งเปน็ กลมุ่ เมอื่ ใหร้ างวลั
ก็ไม่ให้เป็นรายบุคคล แต่ให้เป็นกลุ่ม เม่ือโดนลงโทษก็ลงโทษเป็นกลุ่ม ส�ำนึกกลุ่มจึงถูกตอกย้�ำตลอด
ให้รู้ว่าแต่ละคนมีสังกัดกลุ่มใดก็ต้องจงรักภักดีและทุ่มเทเพ่ือกลุ่ม ถ้าท�ำงานในบริษัทก็ต้องจงรักภักดีต่อ
บรษิ ทั หากเปน็ บรษิ ทั ใหญม่ หี ลายฝา่ ย หลายแผนก หลายหนว่ ยยอ่ ยลงไปแตล่ ะหนว่ ยกแ็ ขง่ ขนั กนั แตเ่ มอื่
ใดทีต่ อ้ งไปแข่งกับแผนกอน่ื ทกุ หน่วยในแผนกเดยี วกันจะรว่ มมือกันท้ังหมด  
การแนะน�ำตัวของคนญี่ปุ่นก็เช่นกัน ทุกครั้งจะต้องบอกว่ามาจากสังกัดใด ช่ืออะไร ฉะน้ัน
เม่ือเจอกนั มักจะชอบแจกนามบัตร เพราะถา้ ยงั ไมม่ นี ามบัตรจะประเมนิ ไมอ่ อกวา่ อีกฝา่ ยเปน็ ใคร จะร้สู กึ
ไมส่ บายใจ เปน็ วธิ กี ารแนะนำ� ตวั ที่งา่ ยทสี่ ดุ เปน็ การไมโ่ ออ้ วดตอ่ อกี ฝ่ายหนง่ึ ไม่วา่ จะสงู กว่าหรอื ตำ�่ กว่า
เพื่อจะวางตัวต่ออีกฝ่ายได้ถูกต้อง ผู้น้อยต้องประพฤติตนเป็นผู้น้อย ผู้ใหญ่ต้องประพฤติตนเป็นผู้ใหญ่
คนใกล้เคียงเสมอกันวิถีในการปฏิบัติต้องมี ไม่อย่างน้ันสังคมรวมเป็นกลุ่มจะล�ำบาก จึงบอกกันว่า
สังคมญปี่ นุ่ เป็นสงั คมซามไู รเพราะมีระดับการบงั คบั บญั ชาค่อยๆ ไล่ลงมา
แมแ้ ตใ่ นมหาวิทยาลยั เป็นระบบคลา้ ยๆ กัน ทางญป่ี ่นุ จะมหี ้องวจิ ัย ถ้าเปน็ ระดบั ปรญิ ญาโท
ปริญญาเอก แต่ละห้องวิจัยจะมี Professor ประจ�ำห้องวิจัย ถ้าเรียกง่ายๆ คือ ศาสตราจารย์และ
62 วารสารราชทัณฑ์

รองศาสตราจารย์อีก 2-3 คน ผู้ช่วยศาสตราจารย์และนักศึกษาปริญญาเอก โท ตรี ไล่ตามล�ำดับซ่ึงเหมือนกับระบบ
บรษิ ทั ทงั้ หมด แบง่ เปน็ กลมุ่ ๆ และมหี วั หนา้ คอยควบคมุ สง่ั ไดเ้ ปน็ สายๆ ทอดลงมา เพราะเขาปลกู ฝงั มาตง้ั แตเ่ ลก็ กระทง่ั โต
เป็นวิถีชีวิตการปฏิบัติตั้งแต่ในบ้าน โรงเรียน บริษัทท่ีท�ำงาน มหาวิทยาลัย รอบตัวเป็นแบบนี้ท้ังหมด จึงคุ้นเคย
กบั การปฏบิ ตั กิ ระทง่ั ซมึ ซบั เขา้ ไปเปน็ ระเบยี บแบบแผนในการครองชวี ติ ของตนเองโดยไมร่ ตู้ วั เปน็ ผลทม่ี าจากวฒั นธรรม
จากสาเหตุนี้เอง

4. การปรับตวั ใหเ้ ขา้ กับสถานการณ์
ในสถานการณ์ท่ีประเทศญี่ปุ่นถูกกดดันจากช่วงหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ท�ำให้คนญ่ีปุ่นต้องอดทนและ
ช่วยเหลือซง่ึ กนั และกนั มคี วามสามคั คเี ป็นน�ำ้ หน่งึ ใจเดียวกัน ทำ� ให้ไม่เกดิ การเอารัดเอาเปรยี บซงึ่ กันและกนั จงึ ทำ� ให้
ประเทศญ่ีปุ่นสามารถฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็วและในปัจจุบันก็กลายเป็นประเทศมหาอ�ำนาจทางด้านเทคโนโลยีในเวลา
อันรวดเร็ว ประเทศญ่ีปุ่นมีความเป็นชาตินิยมสูง มีความรักชาติมาก รักเกียรติ รักศักดิ์ศรีของตนมาก ส่ิงเหล่าน้ี
จึงถือว่าเป็นพ้ืนฐานส�ำคัญที่ท�ำให้คนญ่ีปุ่นสามารที่จะน�ำพาประเทศชาติของพวกเขาไปสู่ประเทศทางเศรษฐกิจช้ันน�ำ
ระดบั โลกได้

เสริมความรู้ส่งท้าย “คนญ่ีปุ่นสมัยก่อน ท�ำไมถึงต้องรับผิดชอบสิ่งที่ตัวเองท�ำผิด จนถึงขั้น
สงั หารตนเองด้วย?”

ปกตใิ นระบบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยอ์ ำ� นาจสงู สดุ อยทู่ ก่ี ษตั รยิ ์ ฮอ่ งเต้ หรอื จกั รพรรดิ ญปี่ นุ่ แบง่ กลมุ่ คนเปน็
4 ชนช้นั สงู สดุ คอื ซามูไร รองลงมาคอื ชาวนา ช่างฝีมอื และพ่อคา้ ตามล�ำดับ

ซามไู รทกุ คนในญปี่ นุ่ มสี ทิ ธใิ์ นการสงั หารผอู้ น่ื ได้ ถา้ เมอื่ ไหรท่ มี่ ใี ครมาหยามเกยี รตซิ ามไู ร เขาสามารถใชด้ าบ
สงั หารผนู้ น้ั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตามกฎหมาย เหมอื นจะเปน็ สงั คมทซี่ ามไู รเปน็ นกั เลงใหญโ่ ต ซงึ่ อาจจทำ� ใหเ้ กดิ ความโกลาหล

วารสารราชทัณฑ์ 63

วนุ่ วาย แตป่ รากฏวา่ ไมเ่ ปน็ แบบนน้ั เพราะการใหอ้ ำ� นาจซามไู รในการสงั หารผอู้ นื่ แตข่ ณะเดยี วกนั ซามไู ร
ก็มีหน้าท่ีต้องรับผิดชอบต่อตนเอง คือ จรรยาบรรณซามูไร ต้องมีความรับผิดชอบที่สูงยิ่งกว่าคนท่ัวไป
เมื่อมีสิทธ์ิมากกว่าคนอ่ืน สังหารผู้อื่นได้ เมื่อใดท่ีท�ำผิด เช่น สังหารคนผิด เม่ือมารู้ทีหลังจะเป็นการ
เสียเกียรติซามูไรมาก เมื่อท�ำส่ิงที่เสื่อมเสียเกียรติหรือช่ือเสียง ถือเป็นเร่ืองที่น่าอายมาก วิธีที่จะกอบกู้
เกียรตไิ ด้ คอื ฮาราครี ี ทเ่ี ราค้นุ เคยกันหรอื เรยี กกนั ว่าการควา้ นทอ้ งตนเอง
ฮาราครี ี เปน็ สัญลกั ษณ์ของการแสดงความซ่อื สตั ย์และการแสดงความรับผิดชอบตอ่ การกระทำ�
ต่อตัวเองแบบญี่ปุ่น นอกจากนี้ยังเป็นสิ่งท่ีสะท้อนความส�ำคัญของเกียรติยศของตระกูล ครอบครัว
และชีวิต เป็นส่ิงท่ีแสดงให้เห็นว่าการสังเวยชีวิตสามารถท�ำให้ได้รับเกียรติยศกลับคืนมา ถึงแม้ว่าการ
ฮาราคีรี จะไม่มีความส�ำคัญในสังคมสมัยใหม่อีกต่อไป แต่เกียรติยศและความรู้สึกรับผิดชอบต่อการ
กระทำ� ของตัวเอง ก็ยังคงเป็นสง่ิ สำ� คญั ที่สุดในการด�ำเนนิ ชวี ิตประจำ� วันของชาวญ่ีปุน่

แหล่งอ้างองิ เนอ้ื หา
http://blog1.phsmun.go.th/chaichana/2013/10/22/วนิ ยั กบั คนไทย/
https://www.dmc.tv/pages/top_of_week/ปลูกฝังนสิ ัยในแบบญปี่ ุ่น.html
แหลง่ อา้ งองิ ภาพประกอบ
https://psychodiary.com/developmental/discipline-to-achive
https://www.energy-gps.com/?page=content&mid=20&did=55
https://picpost.postjung.com/134335.html
64 วารสารราชทัณฑ์

แดนสามัคคีเกมส์ เรอื นจ�ำพิเศษมนี บรุ ี

“กีฬา กีฬา เป็นยาวิเศษ แก้กองกิเลส ท�ำคนให้เป็นคน :
แบบจ�ำลองการใช้ชีวิตของผู้ต้องราชทัณฑ์”

นายแพทยส์ มภพ สงั คตุ แก้ว1

ความส�ำคญั ของกีฬา

กฬี า (Sports) เป็นกจิ กรรมหรอื การเล่นเพื่อความสนกุ เพลิดเพลิน หรอื เพ่ือความแขง็ แรงของร่างกาย หรอื
เพ่ือผ่อนคลายความเครียด รวมไปถึงกิจกรรมที่อยู่ภายใต้กติกาซ่ึงถูกก�ำหนดโดยความเห็นที่ตรงกันโดยมีจุดมุ่งหมาย
เพอื่ การพักผอ่ น การแขง่ ขัน ความเพลิดเพลิน และการพัฒนาทักษะต่างๆ
ประโยชน์ของกีฬา คือ กีฬาเป็นยาวิเศษ (Exercise is Medicine) หมายถึง การออกก�ำลังกายหรือ
การเล่นกีฬาเป็นยารักษาโรค เนื่องจากจะสามารถป้องกันโรคได้ เช่น สามารถลดความดันโลหิต ลดน�้ำตาลในเลือด
ของผู้ป่วยเบาหวาน ลดน้�ำหนัก ลดคอเลสเตอรอลในเลือด ป้องกันหลอดเลือดหัวใจตีบ ท�ำให้กลา้ มเน้ือและกระดูก
แขง็ แรง สามารถลดความเสีย่ งในการเป็นมะเรง็ และชว่ ยใหน้ อนหลับพักผ่อนได้เป็นอย่างดี เปน็ ตน้
วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า (Sport science) ระบวุ า่ กฬี าหรอื การออกกำ� ลงั กายจะทำ� ใหร้ า่ งกายแขง็ แรง มกี ลา้ มเนอ้ื
ที่แข็งแรง (Muscle Strength) มีความแข็งแรงของระบบหัวใจ ปอด และการไหลเวียนของโลหิต (Cardiovascular
System) มคี วามว่องไว (Speed) และมีความเขม้ แข็งทางจิตใจ (Mental Fitness)

1 ผู้บัญชาการเรือนจำ� พเิ ศษมีนบรุ ี

วารสารราชทัณฑ์ 65

สำ� หรบั ความสมบรู ณ์ทางดา้ นรา่ งกาย แบง่ ออกเปน็ 7 ประเภท ดงั น้ี

ประโยชนข์ องกฬี าท่มี ีตอ่ ผตู้ ้องราชทณั ฑ์
กีฬาเป็นเวทีในการส่ือสารท่ีมีพลังเน่ืองจากกิจกรรมกีฬามีศักยภาพที่จะเข้าถึงกลุ่มคนจ�ำนวนมาก และเป็น
กระบวนการทางสังคมที่รวมผู้เล่น ทีม ผู้ฝึกสอน อาสาสมัคร และผู้ชมเข้าไว้ด้วยกันรวมทั้งยังมีศักยภาพท่ีจะ
เสริมสร้างพลังกระตุ้น และเป็นแรงบันดาลใจท่ีจะพัฒนาเพ่ือดึงความสามารถ และความแข็งแรงของบุคคลให้ออกมา
ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งกีฬาสามารถเข้าถึงกลุ่มผู้ต้องราชทัณฑ์ได้อย่างท่ัวถึง และมีความเหมาะสมท่ีจะพัฒนาพฤตินิสัย
ผตู้ ้องราชทณั ฑ์ ดงั นี้
1. ผู้ต้องราชทัณฑ์ได้เรียนรู้ท่ีจะต้องเคารพกฎกติกา (Respect Authority) การเล่นกีฬาได้ต้องท�ำตามกฎ
และเรียนรู้ท่ีจะก�ำหนดทิศทางการตัดสินใจ ยอมรับการตัดสินใจเป็นส่วนใหญ่ และผู้เล่นมักถูกลงโทษถ้ามีพฤติกรรม
ท่ีไมด่ ี การเล่นกฬี าทำ� ใหผ้ ู้ตอ้ งราชทณั ฑต์ อ้ งมีปฏสิ ัมพนั ธก์ บั ผฝู้ กึ สอน ผู้ตดั สนิ และผเู้ ลน่ อ่ืนๆ เปน็ ประจ�ำ
2. ผู้ตอ้ งราชทัณฑ์ได้เรียนรู้ทจ่ี ะแพ้ (Learn to Lose) และมีน�ำ้ ใจนักกีฬา ซ่งึ การแพ้เป็นเรอ่ื งธรรมดาของการ
เล่นกีฬา และให้ยอมรับความพ่ายแพ้อย่างสุภาพเพราะมีเกียรติมากกว่าการยอมรับที่แสดงทางอารมณ์ความโมโห
ฉุนเฉียว
3. ผู้ต้องราชทัณฑ์ได้รู้จักการควบคุมอารมณ์ (Control Emotions) ในการเล่นกีฬาจะเกิดอารมณ์ต่างๆ
ได้ง่าย เช่น อารมณ์โกรธ หงุดหงิด ไม่พอใจ หรือกลัว ซ่ึงเป็นโอกาสดีท่ีจะได้ฝึกการจัดการกับอารมณ์เหล่าน้ี
และเรยี นรทู้ ่จี ะควบคุมอารมณ์ของตนเอง
4. ผู้ต้องราชทัณฑ์มีความอดทน (Patience) การฝึกฝนเป็นส่ิงที่ส�ำคัญมากในการเล่นกีฬา และความอดทน
จะสอนวา่ ถา้ อยากทำ� อะไรสกั อยา่ งใหเ้ กง่ ขน้ึ จะตอ้ งใชเ้ วลาและความอดทน ซงึ่ เปน็ บทเรยี นทส่ี ำ� คญั ในการพฒั นาตนเอง
5. ผู้ตอ้ งราชทัณฑส์ ามารถทำ� งานเป็นทมี (Work as a Team) แม้ว่าแตล่ ะคนจะเล่นดมี ากแคไ่ หน แตถ่ า้ ไม่มี
การท�ำงานร่วมกัน ทีมก็ไม่สามารถประสบความส�ำเร็จได้ การเล่นกีฬาเป็นทีมท�ำให้ได้ฝึกการท�ำงานร่วมกับผู้อื่น
เกดิ ความเข้าใจ เหน็ อกเห็นใจซึง่ กันและกัน และเกดิ ความสามคั คีในหมู่คณะ
66 วารสารราชทัณฑ์

6. ผู้ต้องราชทัณฑ์มีความเสียสละและเห็นแก่ตัวน้อยลง การเล่นกีฬาเป็นโอกาสท่ีดีในการสอนให้เห็นแก่ตัว
นอ้ ยลง ในการเลน่ กฬี าตอ้ งคดิ วา่ จะทำ� อยา่ งไรเพอ่ื ทมี ไมใ่ ชเ่ พอ่ื ตวั เอง การฝกึ ใหเ้ ขา้ ใจวา่ สามารถชว่ ยใหท้ มี ไปไดด้ ดี ว้ ย
การคิดถงึ ตัวเองนอ้ ยลง
7. ผู้ต้องราชทัณฑ์มีความภาคภูมิใจในตัวเอง (Self-Esteem) การเล่นกีฬามีส่วนช่วยพัฒนาความภาคภูมิใจ
ในตวั เอง ความสมั พันธ์ทด่ี ีกบั ผู้ฝึกสอนและเพื่อนรว่ มทมี สามารถสง่ ผลตอ่ ความภาคภูมใิ จในตวั เอง ซงึ่ ความภาคภมู ใิ จ
ต้องไมถ่ ูกวัดดว้ ยการแพห้ รือชนะ แต่ให้ความสนใจไปทค่ี วามพยายามและความเพลิดเพลินของกีฬา
การพฒั นาผู้ตอ้ งราชทัณฑ์ดว้ ยกฬี า
เรอื นจำ� พเิ ศษมนี บรุ มี ภี ารกจิ หลกั ในการควบคมุ และพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ผตู้ อ้ งราชทณั ฑเ์ พอ่ื ใหก้ ลบั ตนเปน็ พลเมอื งดี
ของประเทศ ตามนโยบายของกรมราชทัณฑ์ที่มุ่งเน้นการพัฒนาสู่เรือนจ�ำสุขภาวะ เริ่มต้ังแต่การจ�ำแนกลักษณะ
ผตู้ อ้ งราชทณั ฑเ์ พอื่ ใหก้ ารแกไ้ ขพฒั นาทเี่ หมาะสมกบั สภาพปญั หาของผตู้ อ้ งราชทณั ฑเ์ ปน็ รายบคุ คล (Case Management)
ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นเพียงผู้หลงผิดเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด (กระท�ำผิดในคดียาเสพติดมากกว่าร้อยละ 70) จากผู้เสพ
กลายเป็นผู้ค้ารายย่อยเท่านั้น ไม่ใช่อาชญากร (เป็นความผิดพลาด พล้ังเผลอ จนท�ำให้ต้องสูญเสียอิสรภาพท่ีต้อง
เข้ามาอยใู่ นเรือนจำ� ) รวมทัง้ ยงั มุ่งเนน้ การสร้างการยอมรบั ของบุคคลภายนอกเข้ามามสี ว่ นร่วมในการพฒั นาและแกไ้ ข
ผตู้ อ้ งราชทัณฑ์ที่หลงผิดให้กลับตนเปน็ คนดี
ในปจั จุบนั ตอ้ งควบคมุ ดแู ล และพฒั นาพฤตนิ สิ ัยผู้ต้องราชทัณฑม์ ากกวา่ 6,000 คน (ชายมากกวา่ 5,000 คน
และหญิงมากกว่า 800 คน) ด้วยกระบวนการพลวัตร 8 ประการ และได้น�ำกีฬามาพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องราชทัณฑ์
เพ่ือให้ผู้ตอ้ งราชทัณฑ์มสี ขุ ภาวะ (well-being) ท่สี มบูรณค์ รบท้ัง 4 ดา้ น ดงั นี้
1. ดา้ นรา่ งกาย (Physical) เพอ่ื ใหผ้ ู้ตอ้ งราชทณั ฑ์มีสมรรถภาพทางกายที่สมบรู ณแ์ ขง็ แรง และมภี ูมิคุม้ กนั
เพ่อื ป้องกนั ไมใ่ หเ้ ช้ือโรคต่างๆ เข้าสู่ร่างกาย
2. ดา้ นจิตใจ (Mental) เพอ่ื ให้ผู้ต้องราชทณั ฑม์ ีความอดทนมีจิตใจทเ่ี ขม้ แข็ง รจู้ กั การควบคมุ และแสดงออก
ทางอารมณไ์ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง รวมทง้ั มคี วามสขุ ในการได้เล่นกีฬาท่ีตนชืน่ ชอบ
3. ด้านสังคม (Social) เพอ่ื ให้ผูต้ ้อง
ราชทณั ฑม์ คี วามมนั่ ใจในตนเอง มที กั ษะในการ
ปรบั ตวั รจู้ กั การทำ� งานเปน็ ทมี มคี วามเสยี สละ
มีระเบียบวินัย และปฏิบัติตามค�ำสั่ง กติกา
การแข่งขัน รวมท้ังพัฒนาทักษะทางสังคม
ในการปรบั ตัวและใช้ชวี ติ รว่ มกับผอู้ นื่
4. ดา้ นจติ วญิ ญาณ (spiritual) เพอ่ื
ให้ผู้ต้องราชทัณฑ์มีความรู้ ความสามารถใน
การคดิ วิเคราะหแ์ ละแกไ้ ขปัญหา และมีสมาธิ
ในการฝึกซ้อมและเล่นกีฬา รวมทั้งมีทัศนคติ
ที่ดี มีน้�ำใจนักกีฬา และเป็นการสร้างความ
ภาคภูมใิ จในตนเอง (Self-esteem)
การพฒั นาผตู้ อ้ งราชทณั ฑด์ ว้ ยกฬี าของเรอื นจำ� พเิ ศษมนี บรุ ี เรม่ิ จากการใหผ้ ตู้ อ้ งราชทณั ฑไ์ ดอ้ อกกำ� ลงั กาย
เป็นประจ�ำทุกวันและเล่นกีฬาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งยังมีการสอนศิลปะมวยไทยส�ำหรับผู้ที่สนใจเพื่อเป็นการอนุรักษ์
มวยไทยไว้

วารสารราชทัณฑ์ 67

แดนสามัคคีเกมส์ เรือนจำ� พิเศษมนี บรุ ี
ในปี 2561 ได้ริเร่ิมให้จัดมหกรรมแข่งขันกีฬาประจ�ำปี
โดยใช้ชื่อว่า “แดนสามัคคีเกมส์ เรือนจ�ำพิเศษมีนบุรี” โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ต้องราชทัณฑ์ได้มีโอกาสฝึกทักษะต่างๆ เช่น
ทกั ษะทางสงั คม ความสามารถในดา้ นการกฬี า เปน็ ตน้ เพอ่ื เปน็ การ
เตรียมความพร้อมก่อนกลับสู่สังคม ภายใต้แนวคิด “กีฬา กีฬา
เป็นยาวิเศษ แก้กองกิเลส ท�ำคนให้เป็นคน” เป็นยาวิเศษ
ที่สามารถช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวของผู้ต้องราชทัณฑ์
ทเี่ ลน่ กีฬา โดยสามารถขจดั สิ่งที่ไม่ดีใหอ้ อกจากตวั ผู้ตอ้ งราชทณั ฑ์
ท่ีเป็นเพียงการจัดมหกรรมแดนสามัคคีเกมส์ เรือนจ�ำพิเศษมีนบุรี
มขี ั้นตอนการดำ� เนินงานทีส่ �ำคัญ ดงั น้ี
1. การคัดเลือกกีฬาท่ีเหมาะสมกับความถนัดและ
ความสนใจของผู้ต้องราชทัณฑ์ โดยเลือกกีฬาที่มีการเล่นเป็นทีม
(Team Work) เปน็ หลกั และผตู้ อ้ งราชทณั ฑส์ นใจ รวมทง้ั เหมาะสม
กับบริบทของเรือนจ�ำในพื้นท่ี (เช่น สถานที่ในการจดั แขง่ ขนั กฬี า
อปุ กรณใ์ นการแขง่ ขนั เจา้ หนา้ ทผ่ี ฝู้ กึ สอนกฬี า และสมาคมกฬี าอาชพี ทใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ เปน็ ตน้ ) โดยคดั เลอื กประเภทกฬี า
ทม่ี คี วามเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย ซง่ึ ผตู้ อ้ งราชทณั ฑช์ ายมจี ำ� นวนมากจงึ ไดจ้ ดั การแขง่ ขนั ใน 4 ชนดิ กฬี า ไดแ้ ก่ ฟตุ ซอล
เซปกั ตะกรอ้ มวยสากลสมคั รเลน่ และวอลเลยบ์ อล โดยแบง่ ออกเปน็ 11 สี สว่ นผตู้ อ้ งราชทณั ฑห์ ญงิ ไดจ้ ดั การแขง่ ขนั ใน
2 ชนดิ กฬี า ไดแ้ ก่ วอลเลยบ์ อล และเเชรบ์ อล โดยแบง่ ออกเปน็ 4 สี
2. การประสานสมาคมกฬี าอาชพี ในพนื้ ที่ เพอื่ เขา้ มาสอนทกั ษะดา้ นกฬี าใหแ้ กผ่ ตู้ อ้ งราชทณั ฑ์ ตง้ั แตก่ ารสอน
การเลน่ กฬี า (เชน่ ทกั ษะพนื้ ฐาน เทคนคิ กลยทุ ธแ์ ละกฎกตกิ าในการแขง่ ขนั ) การฝกึ ซอ้ ม เพอื่ ใหผ้ ตู้ อ้ งราชทณั ฑร์ จู้ กั การ
วางแผนการฝกึ ซอ้ มทถี่ กู ตอ้ ง รวมทง้ั จดั เตรยี มอปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารเกบ็ รกั ษาทถี่ กู ตอ้ ง (ยกตวั อยา่ งกฬี ามวยสากลสมคั รเลน่
เชน่ สงั เวยี น กางเกงขาสน้ั เสอื้ นวม ผา้ พนั มอื สนบั ฟนั ยาง รองเทา้ ถงุ เทา้ ปอ้ งกนั อวยั วะ เครอ่ื งปอ้ งกนั ศรี ษะ เปน็ ตน้ )
เพอื่ ใหผ้ ตู้ อ้ งราชทณั ฑม์ คี วามรแู้ ละทกั ษะในการเลน่ กฬี าไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสมกบั บรบิ ทของเรอื นจำ�
3. การประชาสมั พนั ธโ์ ครงการแดนสามคั คเี กมส์ เรอื นจำ� พเิ ศษมนี บรุ ี ผา่ นทางรายการ “TO BE Channel”
ซงึ่ เปน็ ชอ่ งทางในการแนะนำ� กจิ กรรมของชมรม TO BE NUMBER ONE และกจิ กรรมของเรอื นจำ� พเิ ศษมนี บรุ ี รวมทงั้ ขอ้ มลู
ขา่ วสารใหก้ บั ผตู้ อ้ งราชทณั ฑ์ และผา่ นทางรายการ “TO BE English News” เพอ่ื เปน็ ชอ่ งทางในการเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ ว
ในกลุ่มผู้ต้องราชทัณฑ์ชาวต่างชาติด้วย นับตั้งแต่เริ่มเผยแพร่เป็นคร้ังแรกคือ To be ep 1 : การแนะน�ำโครงการ
TO BE NUMBER ONE และกิจกรรมของเรือนจ�ำ คือการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องราชทัณฑ์ด้วยดนตรี (คณะนักร้อง
ประสานเสียงชาย-หญิง) ต่อมาในครั้งที่ 2 To be ep 2 : การน�ำเสนอกิจกรรมท่ีส�ำคัญของเรือนจ�ำ คือโครงการ
แดนสามคั คเี กมส์ เรอื นจำ� พเิ ศษมนี บรุ ี ซง่ึ ไดร้ บั ความสนใจจากผตู้ อ้ งราชทณั ฑเ์ ปน็ อยา่ งมาก
4. การประสานหนว่ ยงานภาคี เชน่ สำ� นกั งานเขตมนี บรุ ี กองบงั คบั การตำ� รวจนครบาล 3 สถานตี ำ� รวจนครบาล
มนี บรุ ี วทิ ยาลยั บรหิ ารธรุ กจิ และการทอ่ งเทย่ี ว สถาบนั พระปกเกลา้ เหลา่ ศลิ ปนิ ดารา สถานโี ทรทศั นส์ กี องทพั บกชอ่ ง 7
(จิตอาสา) ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องราชทัณฑ์ด้วยกีฬา และสื่อมวลชน อาทิ หนังสือพิมพ์
เดลินวิ ส์ หนังสือพมิ พแ์ นวหน้า เพอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ใหส้ งั คมยอมรบั และให้โอกาสผ้ตู ้องราชทัณฑ์และผู้พน้ โทษ
5. การจดั การแขง่ ขนั กฬี ารว่ มกบั สมาคมกฬี าอาชพี ใน 5 ชนดิ กฬี า ไดแ้ ก่ ฟตุ ซอล เซปกั ตะกรอ้ มวยสากลสมคั รเลน่
วอลเลยบ์ อลชาย-หญิง และเเชร์บอลหญงิ

68 วารสารราชทัณฑ์

การจัดกิจกรรมแดนสามัคคีเกมส์ เรอื นจำ� พเิ ศษมีนบุรี แบ่งออกเปน็ 2 ชว่ ง ดงั น้ี
ชว่ งท่ี 1 ระหวา่ งวนั ที่ 17 - 29 เมษายน 2561 เปน็ การจดั การแขง่ ขนั กฬี ารว่ มกบั สมาคมกฬี าอาชพี ใน 5 ชนดิ
กฬี า ไดแ้ ก่ ฟตุ ซอล เซปกั ตะกรอ้ มวยสากลสมคั รเลน่ วอลเลยบ์ อลชาย-หญงิ และเเชรบ์ อลหญงิ ซงึ่ ทำ� ใหผ้ ตู้ อ้ งราชทณั ฑ์
มรี า่ งกายสมบรู ณแ์ ขง็ แรงและยงั กอ่ ใหเ้ กดิ ความรกั ความสามคั คใี นหมผู่ ตู้ อ้ งราชทณั ฑ์ เกดิ ความเขา้ ใจ เหน็ อกเหน็ ใจซงึ่ กนั
และกนั และมนี ำ้� ใจนกั กฬี า “รแู้ พ้ รชู้ นะ รอู้ ภยั ” และผตู้ อ้ งราชทณั ฑท์ มี่ คี วามสามารถดา้ นกฬี าจะมโี อกาสกา้ วเขา้ สู่
เสน้ ทางนกั กฬี าอาชพี ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ (การคน้ หาชา้ งเผอื กทมี่ ที กั ษะดา้ นกฬี า)

ช่วงที่ 2 เม่ือวันท่ี 30 เมษายน 2561
เปน็ พธิ ปี ดิ การแขง่ ขนั กฬี าแดนสามคั คเี กมส์ เรอื นจำ�
พิเศษมีนบุรี และการเดินขบวนพาเหรด รวมท้ัง
การสร้างการยอมรับจากภาคสังคมร่วมกับทีม
ศลิ ปนิ และสอ่ื มวลชน เพอ่ื ประชาสมั พนั ธใ์ หส้ งั คม
ยอมรบั และใหโ้ อกาสผตู้ อ้ งราชทณั ฑแ์ ละผพู้ น้ โทษ
โดยจดั การแขง่ ขนั ฟตุ ซอลนดั พเิ ศษ ระหวา่ งผตู้ อ้ ง
ราชทัณฑ์และทีมดารานักร้องทางสถานีโทรทัศน์
กองทพั บกชอ่ ง 7 จากละครเรอื่ งนางรา้ ย มากกวา่
20 คน น�ำทีมโดยต้ัม วิชญะ จารุจินดา/โอ๊ต
สรุ ศักด/ิ์ บมู กิตตพิ ันธ/์ ร็อคก้ี สรุ บดินทร/์ พอตต้ี
ณัฐพล ฯลฯ มาร่วมการแข่งฟุตซอลกับผู้ต้อง
ราชทณั ฑ์ ซงึ่ ผลการแขง่ ขนั เสมอกนั (3 ต่อ 3)


วารสารราชทัณฑ์ 69

ส่งิ ที่ได้จากโครงการแดนสามัคคีเกมส์ เรือนจ�ำพเิ ศษมนี บรุ ี
1. ผตู้ ้องราชทณั ฑ์มสี ุขภาวะทสี่ มบรู ณ์ สามารถปอ้ งกันโรค ปอ้ งกนั และจดั การกบั โรคเรอ้ื รงั และโรคตดิ ต่อ
ทำ� ให้สามารถลดคา่ ใช้จ่ายในการดแู ลสุขภาพของผตู้ อ้ งราชทณั ฑท์ างตรงและทางอ้อม
2. ผู้ตอ้ งราชทณั ฑม์ คี วามรักความสามัคคี มนี �้ำใจนักกฬี า (Sporting Spirit) “รแู้ พ้ รู้ชนะ รูอ้ ภยั ” ยืนยนั
ได้จากค�ำกล่าวของตัวแทนนักกีฬาฟุตซอล “มีความสุขท่ีได้ออกก�ำลังกาย เล่นกีฬา และแข่งขันกีฬาสีกันในทุกแดน
มีการเดินขบวนพาเหรด ท�ำให้ได้ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันเหมือนกับเป็นพี่เป็นน้อง เป็นคนในครอบครัวเดียวกัน สนุกสนาน
กับการแข่งกีฬาในคร้ังนี้ แถมยังท�ำให้ร่างกายแข็งแรง ช่วยป้องกันไม่ให้เป็นโรค ถึงแม้จะถูกตัดขาดความสุขจาก
ครอบครัวที่แท้จริงภายนอก แต่เราก็มีเจ้าหน้าท่ีและเพ่ือนๆ ทุกคนก็เหมือนเป็นครอบครัวเดียวกันภายในรั้วก�ำแพง
และอยากให้มกี ารจัดแข่งกฬี าแดนสามคั คเี กมสใ์ นทุกๆ ปี ....”
3. ผู้ต้องราชทัณฑ์ท่ีมีความสามารถเข้าสู่เส้นทางนักกีฬาอาชีพ ยืนยันได้จากค�ำกล่าวของตัวแทนนักกีฬา
มวยสากลสมัครเล่นท่ีกล่าวว่า “…ครูฝึกบอกว่าพวกเรามีความสามารถ มีทักษะในการชกมวยสากลสมัครเล่น
ขอให้ฝึกฝน ทุ่มเท ม่ังมุ่น ในอนาคตก็จะสามารถเป็นนักกีฬาอาชีพได้เลย...” และผู้ต้องราชทัณฑ์สามารถนำ� สง่ิ ที่
ไดร้ บั จากการเลน่ กฬี าในครง้ั นไี้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดำ� เนนิ ชวี ติ ซง่ึ เปน็ รากฐานสำ� คญั ในการเรม่ิ ตน้ ชวี ติ ใหม่ นบั วา่ เปน็
แบบทดสอบในการจำ� ลองการใช้ชวี ติ เพอื่ ใหผ้ ตู้ อ้ งราชทณั ฑม์ ที กั ษะในการดำ� เนนิ ชวี ติ ขณะทอ่ี ยใู่ นเรอื นจำ� ไดอ้ ยา่ งมี
ความสขุ และไมก่ ระทำ� ผดิ วนิ ยั รวมทง้ั เมอ่ื กลบั สสู่ งั คมจะมภี มู คิ มุ้ กนั ไมใ่ หก้ ลบั ไปกระทำ� ผดิ ซำ้� และเปน็ พลเมอื งทดี่ แี ละ
มคี ณุ ภาพ ซงึ่ จะเปน็ พลงั สำ� คญั ในการพฒั นาครอบครวั สงั คมและประเทศไทยในอนาคต
4. กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม และประเทศไทย ได้พัฒนาผู้ต้องราชทัณฑ์ให้กลับมาเป็นคนท่ีมี
สุขภาวะของสังคม จากการระดมความร่วมมือของทุกภาคส่วนทั้งหน่วยงานภาครัฐในพ้ืนที่ ภาคประชาสังคม และ
ศิลปินดารานักร้องทางสถานีโทรทัศน์ กองทัพบกช่อง 7 ซ่ึงเป็นตัวแทนกลุ่มหนึ่งของสังคมที่แสดงให้ผู้ต้องราชทัณฑ์
ประจกั ษว์ ่าสงั คมเรมิ่ ให้การยอมรบั และใหโ้ อกาสได้กลับมาเร่ิมตน้ ชวี ติ ใหม่ อนั จะน�ำไปสกู่ ารเกิดการยอมรบั ของสังคม
ในวงกว้างโดยผ่านการประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือต่างๆ เพื่อให้โอกาสผู้ต้องราชทัณฑ์และผู้พ้นโทษได้กลับไปใช้ชีวิต
อยใู่ นสงั คมอยา่ งแทจ้ รงิ ตลอดจนสามารถลดการตตี ราของสงั คมตอ่ กลมุ่ ผตู้ อ้ งราชทณั ฑแ์ ละผพู้ น้ โทษ (Social Stigma)
โดยการปรับระบบความคิด (mindset) ของคนในสังคมเพื่อให้เกิดการรับรู้และยอมรับกระบวนการพัฒนาพฤตินิสัย
ผู้ต้องราชทัณฑ์ของกรมราชทัณฑ์ และผู้พ้นโทษที่ผ่านการพัฒนาพฤตินิสัยจากเรือนจ�ำได้กลับสู่สังคมต่อไป

70 วารสารราชทัณฑ์

เมื่อปลดลอ็ กกัญชาออกจากบญั ชียาเสพตดิ :

ปญั หาหรือโอกาสของสงั คมไทย

บญุ ศิษฏ์ ศกั ดบิ์ ูรณพงษา
กองทัณฑวิทยา

เมอื่ วนั ที่ 9 ตุลาคม 2561 ทผ่ี ่านมา ผมไดม้ ี
โอกาสไปเขา้ รบั ฟงั การเสวนาวชิ าการทสี่ นกุ สนานมาก
เพราะเปน็ การเสวนาเรอื่ ง “เมอื่ ปลดลอ็ กกญั ชาออกจาก
บัญชียาเสพติด : ปัญหาหรือโอกาสของสังคมไทย”
ณ ห้องประชุม 501 อาคาร 1 คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดข้ึนโดย มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ ซึ่งท่ีมาของการจัดเสวนาครั้งนี้ คือ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีการศึกษาและพัฒนา
ปรบั ปรงุ พนั ธข์ุ องพชื พน้ื ถน่ิ ของไทย รวมถงึ กญั ชาดว้ ย
ประกอบกบั รฐั บาลจะมกี ารปลดลอ็ กกญั ชาออกจากบญั ชยี าเสพตดิ เพอ่ื ใชใ้ นการรกั ษาโรค ซงึ่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
มีการมองถึงผลกระทบของการปลดล็อกกัญชาออกจากบัญชียาเสพติดแบบรอบด้าน คือ ในเชิงวิทยาศาสตร์
เชงิ เศรษฐกจิ และเชงิ สงั คมศาสตร์ จงึ เปน็ ทมี่ าของการเสวนาในครงั้ น้ี ซง่ึ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
เป็นเจ้าภาพ โดยเชิญวิทยากรเสวนา 4 ท่าน ได้แก่

วารสารราชทัณฑ์ 71

1) อาจารย์คมสัน โพธ์ิคง รองคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต กรรมการยกร่างกฎหมาย
ปลดลอ็ กกัญชาพ้นบัญชยี าเสพตดิ
2) รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิท วงศส์ ุรวัฒน์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
3) คุณบณั ฑรู นิยมาภา เครอื ข่ายผู้ใชก้ ัญชาแห่งประเทศไทย
4) คณุ จกั รกฤต บรรเจดิ กจิ ผแู้ ทนมลู นธิ ขิ า้ วขวญั ซง่ึ สนใจการใชน้ ำ�้ มนั กญั ชาเพอื่ ใชใ้ นทางการแพทย์
การเสวนาในครงั้ นเ้ี ตม็ ไปดว้ ยความสนกุ สนาน แตไ่ ดค้ วามรทู้ ง้ั ในเชงิ วชิ าการ และความรแู้ บบภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น
ซึ่งผมขอเล่าให้เข้าใจง่ายส�ำหรับผู้อ่านนะครับ เพราะถ้าเรียงตามล�ำดับ
ของการเสวนา ผู้อ่านอาจจะมีหลงประเด็นกันไปบ้าง แต่ก่อนอ่ืน
ผมขอยืนยันตรงน้ีก่อนนะครับว่า การเสวนาครั้งนี้ไม่มีการแจกกัญชา
ใหส้ บู เสพ หรอื บรโิ ภคเขา้ สรู่ า่ งกายในทางหนงึ่ ทางใดอยา่ งแนน่ อนครบั !!
เพราะฉะนั้นผมยังมีสติสัมปชัญญะครบถ้วนในระหว่างการเสวนา
อย่างแน่นอน (ฮา) ดังนั้นเรามาเริ่มรับฟังกันดีกว่าครับว่าในการเสวนา
ครั้งนม้ี ีพูดถงึ เรื่องอะไรกันบ้าง

ความรเู้ บื้องตน้ เก่ียวกบั กัญชา

กญั ชาเปน็ พชื ทอ้ งถน่ิ ของประเทศไทย พบมากในพนื้ ทจี่ งั หวดั นครพนม และสกลนคร มคี วามผกู พนั กบั คนไทย
มาเปน็ เวลานาน ซง่ึ กญั ชามสี รรพคณุ ทางยา และยงั ปรากฏอยใู่ นตำ� รบั ยาสมนุ ไพร และตำ� รบั ยาไทยดว้ ย โดยมกี ารศกึ ษา
พบวา่ กัญชามีคุณสมบัติในการรักษาโรคได้กว่า 700 ชนิด เชน่
- โรคมะเร็ง
- ชว่ ยรกั ษาผิว ก�ำจดั สวิ
- ลดนำ้� หนกั
- รักษาโรครดิ สดี วง
- รกั ษาโรคอลั ไซเมอร์ พากินสัน โรคทางสมอง
- โรคตอ้ เน้อื
- โรคเร้อื รัง เชน่ เบาหวาน
- ช่วยในการเจรญิ อาหาร ฯลฯ
ทัง้ น้ี สรรพคุณทางยาของกญั ชาจะแปรผันไปตาม ชนดิ พันธุ์ และสถานทป่ี ลกู
ซง่ึ ในปจั จบุ นั กญั ชาสามารถปลกู และเตบิ โตไดใ้ นหลายประเทศ แตห่ ากกลา่ วถงึ สรรพคณุ ทางยาแลว้ สถานทป่ี ลกู
ทเ่ี หมาะสม 5 อนั ดบั แรกของโลกไดแ้ ก่ อนั ดบั 5 ประเทศจาไมกา้ อนั ดบั 4 ประเทศฮอดรู สั อนั ดบั 3 ประเทศโครเอเชยี
อนั ดับ 2 ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และอันดบั 1 คือประเทศไทย
มลู คา่ ของกญั ชาจะขึ้นอย่กู ับระยะทางทห่ี ่างจากแหล่งผลิต กลา่ วคอื ในภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ราคาตอ่ กโิ ลกรมั จะอยทู่ ป่ี ระมาณหลกั รอ้ ย แตถ่ า้ มากรงุ เทพมหานครราคาจะเปน็ หลกั หมนื่ ถา้ ไปภาคใตร้ าคาจะสงู ขน้ึ
เป็นหลกั หลายหมนื่ บาท และถ้าสามารถสง่ ออกไปตา่ งประเทศได้ ราคาจะเป็นหลักแสนบาทเลยทเี ดียว

72 วารสารราชทัณฑ์

สถานการณข์ องกฎหมายปลดลอ็ กกัญชาออกจากบญั ชยี าเสพตดิ

แตเ่ ดมิ กญั ชา (รวมถงึ พชื กระทอ่ ม) ไมไ่ ดเ้ ปน็ สงิ่ ผดิ กฎหมาย และไมไ่ ดเ้ ปน็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ตามพระราชบญั ญตั ิ
ยาเสพติด ประชาชนท่ัวไปสามารถมีไว้ในครอบครอง สูบ ประกอบอาหาร ปรุงยา หรือปลูกได้ท่ัวไปตามบ้านเรือน
แต่เนื่องจากในช่วงปี พ.ศ. 2510 – พ.ศ. 2520 ซึ่งเป็นช่วงปลายของสงครามเวียดนาม (ธันวาคม พ.ศ. 2498 –
30 เมษายน พ.ศ. 2518) สหรัฐอเมริกาส่งทหารเข้ามาท�ำสงครามในภูมิภาคนี้จ�ำนวนมาก และมีทหารบาดเจ็บและ
เสียชีวิตหลายแสนนาย ท�ำให้ในประเทศสหรัฐอเมริกาเกิดการเดินขบวนประท้วง และต่อต้านการท�ำสงคราม
ของประชาชนชาวสหรฐั อเมรกิ า มีการบกุ ยึดมหาวทิ ยาลัย ปิดล้อมทำ� เนยี บขาว ซึง่ ผปู้ ระท้วงสว่ นใหญเ่ ปน็ คนหนมุ่ สาว
นกั ศกึ ษาทต่ี อ่ ตา้ นสงครามและคนผวิ สี ซง่ึ เรารจู้ กั ในชอื่ ของพวก “ฮปิ ป”้ี โดยมพี ฤตกิ รรมรว่ มกนั อยา่ งหนง่ึ คอื กลมุ่ คนเหลา่ น้ี
มกั จะสบู กญั ชาไปทว่ั บรเิ วณทม่ี กี ารชมุ นมุ รวมไปถงึ ในทำ� เนยี บขาวดว้ ย ทง้ั นปี้ ระธานาธบิ ดขี องสหรฐั อเมรกิ าในขณะนนั้
คอื นายริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ประธานาธบิ ดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา) กอ็ ดรนทนกลนิ่ กญั ชาไมไ่ หว ในภายหลงั
จงึ ไดม้ กี ารแกไ้ ขกฎหมายยาเสพตดิ ของสหรฐั อเมรกิ า โดยบรรจวุ า่ กญั ชาเปน็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษอีกชนิดหนึ่ง ซง่ึ การกระท�ำ
ดงั กลา่ วของประธานาธบิ ดสี หรฐั อเมรกิ า ไดส้ ง่ ผลกระทบถงึ ประเทศพนั ธมติ รทง้ั หลายรวมถงึ ประเทศไทยในขณะนน้ั ดว้ ย
สง่ ผลใหใ้ นปี พ.ศ. 2522 ประเทศไทยไดบ้ รรจกุ ญั ชาในบญั ชยี าเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภทท่ี 5 พรอ้ มทงั้ ออกประชาสมั พนั ธ์
ถึงความอันตรายของกัญชา ในฐานะของสารเสพติดที่อันตราย และมีการจับกุมผู้ครอบครอง ผู้เสพ จ�ำนวนมาก
มาจนถงึ ปัจจุบนั
ซึ่งในขณะน้ีรัฐบาลมีแนวโน้มท่ีจะยกร่างกฎหมายยาเสพติดใหม่ ที่จะน�ำเอากัญชา (รวมถึงพืชกระท่อม)
ออกจากบญั ชยี าเสพตดิ ประเภทที่ 5 เพอื่ ใชใ้ นทางการแพทย์ โดยในขณะทมี่ กี ารเสวนากนั (9 ตลุ าคม 2561) รา่ งกฎหมาย
ปลดล็อกกัญชา อยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา ซึ่งหากกล่าวถึงกระบวนการทางกฎหมาย
ต่อไป หากคณะกรรมการกฤษฎกี าพิจารณาร่างกฎหมายเสร็จแลว้ (ใชเ้ วลาอย่างเร็วทส่ี ดุ 1 ปี) รา่ งกฎหมายดงั กล่าว

วารสารราชทัณฑ์ 73

จะถกู เสนอตอ่ ไปยงั คณะรฐั มนตรเี พอ่ื ใหค้ วามเหน็ ชอบ แลว้ ถงึ จะเสนอเขา้ สภาผแู้ ทนราษฎร ซงึ่ ปจั จบุ นั มสี ภานติ บิ ญั ญตั ิ
แหง่ ชาตทิ ำ� หนา้ ทแ่ี ทนอยู่ ซง่ึ กระบวนการทงั้ หมดใหใ้ ชเ้ วลาอยา่ งเรว็ ทส่ี ดุ ตอ้ งใชเ้ วลา 2 ปี แตต่ อ้ งไมล่ มื วา่ ขณะนี้ รฐั บาล
ก�ำลังจัดเตรียมการเลือกตั้งท่ีคาดว่าจะมีข้ึนในช่วงต้นปีหน้า (มีนาคม พ.ศ. 2562) ดังนั้นหากคาดหวังจะให้รัฐบาล
พิจารณารา่ งกฎหมายฉบบั นี้โดยเรว็ น่าจะเปน็ การยาก
อยา่ งไรกต็ าม ยงั มชี อ่ งทางกฎหมายทจ่ี ะใหก้ ฎหมายฉบบั นปี้ ระกาศใชโ้ ดยเรว็ ไดอ้ ยู่ ซง่ึ มอี ยู่ 2 แนวทางดว้ ยกนั
ไดแ้ ก่
แนวทางที่ 1 เสนอแก้กฎหมายยาเสพติด มาตรา 57 เพิ่มเติม โดยประกาศให้กัญชาออกจากบัญชี
ยาเสพติด แต่แนวทางน้ไี ม่มีใครเป็นผูเ้ สนอ หรือผลักดนั เพราะภาครัฐมงุ่ เน้นใช้วิธอี อกกฎหมายใหม่ไปเลยมากกว่า
แนวทางที่ 2 ใชอ้ ำ� นาจตามมาตรา 44 ของนายกรฐั มนตรี ในการแก้ไข หรอื ประกาศใช้กฎหมาย วธิ นี ี้เปน็ วธิ ี
ทเี่ รว็ ทส่ี ดุ แตก่ อ็ าจมผี ลกระทบตอ่ กฎหมายอนื่ ๆ และปญั หาทพ่ี วั พนั อกี มากตามมา เพราะวธิ กี ารเรว็ แตข่ าดความรดั กมุ
รอบคอบ
ที่ส�ำคัญอีกประการหน่ึง คือ ในหน่วยงานภาครัฐยังมีความสับสน ว่าการปลดล็อกกัญชาออกจากบัญชี
ยาเสพติด เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์ครั้งนี้ จะปลดล็อกในลักษณะใด เพราะในทางวิชาการแล้วการปลดล็อกทาง
กฎหมายเพื่อท�ำใหส้ ิง่ ผิดกฎหมาย เปน็ สงิ่ ถูกกฎหมายสามารถท�ำได้ 2 ลกั ษณะ คอื
1) การปลดล็อกทางกฎหมายให้ถูกต้องตามกฎหมาย (Legal Rights) คือ การปลดล็อกจาก
สง่ิ ผดิ กฎหมายใหก้ ลายเปน็ ถกู กฎหมายไปเลย ไมม่ กี ารควบคมุ อกี ตอ่ ไป กลา่ วคอื การปลดลอ็ กแบบนจี้ ะทำ� ใหส้ ามารถ
ค้าขายกัญชาแบบเสรีไดเ้ ลย ไมม่ กี ารควบคุมจากภาครัฐ
2) การปลดล็อกเฉพาะความผิดทางอาญาเท่านั้น (De-criminal Rights) คือ การกระท�ำดังกล่าว
ไม่เปน็ ความผดิ ทางอาญา แต่อาจจะมีการควบคมุ จากภาครฐั อื่นๆ เชน่ ทางแพง่ หรอื มีการควบคุมแบบอนื่ ๆ
74 วารสารราชทัณฑ์

อะไรจะเป็นโอกาสหรือข้อจ�ำกัด ภายหลังจากท่ีมีการปลดล็อกกัญชา
ออกจากบญั ชยี าเสพตดิ แลว้

ประเด็นท่ีน่าคิด น่ากังวล หากมีการปลดล็อกกัญชาออกจากบัญชียาเสพติด ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของ
Legal Rights หรือ De-criminal Rights คอื
1. เมื่อปลดลอ็ กกญั ชาออกจากบญั ชียาเสพตดิ แล้ว กญั ชาจะอย่ใู นสถานะของอะไร
2. ในขณะน้ีมีบริษัทของญ่ีปุ่นจ�ำนวน 3 ราย ท่ีเสนอขอจดสิทธิบัตรกัญชากับทางรัฐบาลไทย
เพอ่ื ทำ� การศกึ ษาวจิ ยั ทางดา้ นการแพทยข์ องกญั ชา โดยผา่ นกระบวนการทางกฎหมายลขิ สทิ ธมิ์ าแลว้ แตต่ ดิ ทกี่ ญั ชายงั อยู่
ในบญั ชียาเสพตดิ ไม่สามารถจำ� หนา่ ย จ่าย แจก หรือมใี นครอบครองได้ กระบวนการของทางบริษัทญ่ปี ุน่ จงึ ชะงกั อยู่
3. เมื่อมกี ารปลดล็อกกัญชาแลว้ ยังไมม่ คี วามชัดเจนว่า จะมีหนว่ ยงานไหนเปน็ ผรู้ บั ผิดชอบหรือไม่
4. ยังมีข้อถกเถียงทางการแพทย์อยู่มากว่า กัญชา มีสรรพคุณในการรักษาโรคได้จริง ดังท่ีมีการ
กลา่ วอ้างอยู่ในปจั จุบนั หรอื ไม่ โดยเฉพาะเรื่องการรกั ษาโรคมะเร็ง เพราะยงั ขาดงานวจิ ยั ในเชงิ วชิ าการอยู่มาก ซึง่ ทาง
มหาวิทยาลัยรังสิต ได้มีการพัฒนางานวิจัยเกี่ยวกับการใช้กัญชาในทางการแพทย์แต่ไม่สามารถปลูกเองหรือท�ำการ
ทดลองในมนุษย์ได้ เพราะยังติดข้อกฎหมายอยู่ อย่างไรก็ตาม การปลดล็อกกัญชาออกจาบัญชียาเสพติด
เพ่อื ใช้ในทางการแพทย์ ก็ตอ้ งอาศัยงานวจิ ัย บทความทางวิชาการ ว่ากัญชาสามารถเป็นยารักษาโรคไดจ้ ริง มิเชน่ นัน้
อาจจะเกิดปญั หาอยา่ งอ่ืนตามมาในภายหลัง
5. มีความน่ากังวลว่า ถ้ามีการปลดล็อกกัญชาออกจากบัญชียาเสพติด และสามารถปลูก จ�ำหน่าย
จา่ ย แจก ไดอ้ ยา่ งเสรี กลมุ่ ทนุ ยกั ษใ์ หญท่ ง้ั ภายในและตา่ งประเทศ จะเปน็ กลมุ่ คนแรกๆ ทเี่ ขา้ มาครอบครองและผกู ขาด
ทางธุรกิจ และทางกฎหมายเหมือนอย่างที่ท�ำกับสินค้าอื่นๆ อย่างสุรา หรือ บุหร่ี เป็นต้น ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อ
ประชาชนท่วั ไป ทง้ั ภมู ปิ ัญญาชาวบา้ น กญั ชาพันธทุ์ อ้ งถ่ิน เปน็ ต้น
6. ประเด็นส�ำคัญอีกประการ คือ ความเข้าใจของประชาชนเก่ียวกับกัญชา เพราะความเข้าใจของ
ประชาชนทั่วไปในปัจจุบันที่รับรู้ข้อมูลจากส่ือต่างมองว่ากัญชาเป็นยาเสพติดมากกว่าเป็นยารักษาโรค
ซึง่ ท่ีจรงิ แล้วในวงการแพทยก์ ็มีการใชส้ ารเสพติดในการรักษาโรค เช่น มอร์ฟีน ใชเ้ ปน็ ยาระงับปวด แตถ่ ้าใชม้ ากเกนิ ไป
ก็เป็นยาเสพติด (มอร์ฟีนเป็นอนุพันธ์ของฝิ่น และเฮโรอีน) กัญชาเองก็มีวิธีการน�ำเข้าสู่ร่างกายหลายแบบ บางวิธี
กเ็ ปน็ การรกั ษาโรค เชน่ สกดั ออกมาเปน็ นำ้� มนั กญั ชา เปน็ ตน้ แตบ่ างวธิ กี เ็ ปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ และเปน็ การเสพตดิ ได้
เชน่ การสบู เปน็ ตน้ ซงึ่ ความรเู้ หลา่ นี้ ประชาชนสว่ นใหญย่ งั ไมท่ ราบ หากมกี ารปลดลอ็ กกญั ชาแบบเสรี กจ็ ะเกดิ ปญั หา
ท่ตี ามมาอกี มาก
ดังนั้น การปลดล็อกกัญชาออกจากบัญชียาเสพติด เป็นเพียงแค่ก้าวแรกเท่าน้ัน การค�ำนึงถึงกลไกอื่นๆ
หลงั การปลดลอ็ กตา่ งหากคอื สงิ่ สำ� คญั ทภี่ าครฐั และประชาชนทว่ั ไปตอ้ งรบั มอื กนั ตอ่ ไป ทง้ั ในทางการแพทย์ การศกึ ษา
วจิ ยั การเผยแพรค่ วามรทู้ ่ีได้ ทางธุรกิจการคา้ หน่วยงานที่ต้องรบั ผิดชอบในการดูแล และภาคประชาชน
ครบั !! ท่ีผมเล่ามาทัง้ หมด คือ ประเดน็ หลักๆ ท่มี ใี นเวทีการเสวนา ซึ่งที่เอามาเผยแพร่ในวันน้ี กเ็ พอ่ื อยากให้
พวกเรารูถ้ งึ ความเคล่อื นไหวของสถานการณก์ ญั ชาในตอนนี้ และแนวโน้มท่จี ะเกิดข้ึนต่อไป ก็ต้องติดตามสถานการณ์
กันต่อไป แต่ทีแ่ น่ๆ ตอนน้ี (วนั ที่ 9 ตลุ าคม 2561) ในวันที่กัญชายังคงเปน็ ยาเสพติดประเภท 5 อยู่ อย่าเพง่ิ เทย่ี วไป
บอกใครต่อใครละว่า กัญชาปลูกกันทุกบ้านเลยนะครับ เพราะรักษาโรคได้สารพัดสารพัน เด๋ียวคุณต�ำรวจบุกมาจับ
ถงึ บ้าน แลว้ จะหาว่าไมเ่ ตือน...

วารสารราชทัณฑ์ 75

มุมมองตน้ กล้าราชทัณฑ์

กรมราชทัณฑ์ตระหนักดีว่าข้าราชการทุกระดับเป็นทรัพยากรส�ำคัญท่ีจะท�ำให้
กรมราชทณั ฑป์ ระสบความสำ� เรจ็ และเตบิ โตกา้ วหนา้ ทางการบรหิ ารจดั การภารกจิ ของหนว่ ยงาน
ไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื กรมราชทณั ฑจ์ งึ มคี วามมงุ่ มนั่ ในการพฒั นาศกั ยภาพของขา้ ราชการอยา่ งชดั เจน
เปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง โดยมกี ารกำ� หนดนโยบายกลยทุ ธเ์ ปา้ หมาย และตวั ชว้ี ดั ดา้ นการพฒั นา
ข้าราชการให้สอดคล้องกับทิศทางและยุทธศาสตร์การด�ำเนินภารกิจของกรมราชทัณฑ์
ท้ังน้ีกรมราชทัณฑ์ได้พัฒนาข้าราชการให้มีความรู้และทักษะท่ีเหมาะสมกับต�ำแหน่งงาน
ในปัจจุบัน รวมถึงพัฒนาข้าราชการให้มีศักยภาพ ทั้งในด้านทักษะวิชาชีพและภาวะผู้น�ำ
เพ่ือเตรียมความพร้อมส�ำหรับความก้าวหน้าในอาชีพให้แก่ข้าราชการสามารถเติบโตคู่ไปกับ
กรมราชทัณฑ์

ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมหลกั สูตรข้าราชการราชทัณฑ์บรรจุใหม่ รุ่นที่ 140

ครัง้ แรกกับชวี ติ ผคู้ มุ

ทกุ คนยอ่ มเคยเจอคำ� ถามจากคณุ ครเู มอื่ ยงั เปน็
เด็กว่า โตข้ึนอยากเป็นอะไร และส่วนใหญ่มักจะนึกถึง
อาชพี ทเ่ี คยพบเหน็ ไมว่ า่ จะเปน็ ทหาร ตำ� รวจ พยาบาล
และแพทย์ ซงึ่ ตา่ งกเ็ ปน็ อาชพี ขา้ ราชการทง้ั สน้ิ เมอื่ ผมเรม่ิ
โตขน้ึ กร็ วู้ า่ อาชพี ยงั มอี กี มากมาย และเดก็ ผชู้ ายอยา่ งผม
อาชีพต�ำรวจก็เป็นความฝันอยู่ตลอด เพราะเป็นอาชีพ
ที่มีเกียรติ อยากท�ำบทบาทจับโจรผู้ร้ายอย่างในละคร
โทรทัศน์ แต่ไม่เคยรู้มาก่อนว่าเม่ือจับผู้ร้ายแล้ว เขาเหล่านั้นจะต้องไปอยู่ที่ใด จนเมื่อได้มีโอกาสดูละครท่ีนักโทษถูก
คุมขังอยูภ่ ายในเรอื นจำ� มีเจา้ หน้าทีแ่ ต่งกายในชุดสีกากที ำ� หน้าที่เปน็ ผคู้ ุมนกั โทษอยนู่ ั่นเอง ผมชนื่ ชอบหนงั ที่เก่ยี วกบั
ชวี ติ ในคกุ มากท้งั ไทยหรือฝรัง่ เพราะมันเปน็ อกี สังคมดา้ นหนง่ึ ที่ผมไมเ่ คยรมู้ าก่อนเลย
หลงั จากทีผ่ มเรียนจบ ม. 3 พอ่ จึงผลักดันใหผ้ มเรยี นสายอาชีพ ปวช. และปวส. จนสุดท้ายไดศ้ ึกษาตอ่ ระดับ
ปริญญาตรีก็เรม่ิ หางานทำ� ทง้ั งานท่ีตอ้ งใชท้ ักษะอาชีพทเ่ี รียนมา งานด้านภาษาจนไปถงึ งานเอกสาร สุดทา้ ยจงึ ได้เข้า
ทำ� งานทีบ่ ริษัททรู ตลอดระยะเวลากวา่ 5 ปี ผมต้ังใจทจี่ ะสอบงานราชการหรอื รฐั วสิ าหกจิ มาโดยตลอด ไม่ว่าจะเปน็
การไฟฟ้า การประปา ชลประทาน ท่าอากาศยาน และต�ำรวจ ท่ีผ่านมาผมมักจะสอบข้อเขียนผ่าน แต่กลับผิดหวัง
ในการสอบสมั ภาษณ์ ซงึ่ ทำ� ใหผ้ มเกดิ ความทอ้ แทใ้ นโชคชะตาชวี ติ ทไ่ี มร่ จู้ ะเอาอะไรไปสกู้ บั เสน้ สายจากผมู้ อี ำ� นาจ ทง้ั ใน
การสอบแขง่ ขนั แตล่ ะครงั้ จะมภี าระคา่ ใชจ้ า่ ย จงึ ทำ� ใหผ้ มลม้ เลกิ ความตงั้ ใจ แลว้ หนั กลบั ไปตงั้ ใจทำ� งานเกบ็ เงนิ ผา่ นไป
กว่า 2 ปี ผมไม่เคยติดตามข่าวสารการสมัครงาน เพราะผมยังสนุกกับงานเอกชนที่ท�ำ ทั้งเพ่ือนร่วมงานที่สนิทมีอายุ
รนุ่ ราวคราวเดยี วกนั จนมาวนั หนง่ึ เพอื่ นรว่ มงานคนสนทิ ของผมเพง่ิ จะสอบ ก.พ. วฒุ ิ ปวส. ผา่ น หลงั จากนน้ั กม็ าชกั ชวน
ให้ไปสมัครสอบกรมราชทัณฑ์ท่ีก�ำลังเปิดรับสมัครผู้คุมจ�ำนวนมาก แต่ผมก็ยังไม่สนใจเช่นเดิม ท้ังที่ผมมีผลสอบ ก.พ.
อยู่ในมือ แต่ไม่เคยใช้ประโยชน์เลย ผมจึงลองสมัครไปด้วยแต่ผมลองถามใจตัวเองดูว่าอยากเป็นไหม เม่ือค�ำตอบ
ของผมตอบว่า ไม่อยาก จงึ ทำ� ใหผ้ มตัดสินใจไมไ่ ปสอบ ซ่ึงในรอบน้นั เพอื่ นผมจึงไปสอบคนเดียว

76 วารสารราชทัณฑ์

หนงึ่ เดอื นผา่ นไป ผลประกาศออกมาวา่ เพอ่ื นของผมสอบ
เป็นขา้ ราชการกรมราชทัณฑไ์ ด้ อย่รู ะหว่างการคัดเลือกลงประจ�ำ
พนื้ ที่ ผมรสู้ ึกเสยี ดายโอกาสนเี้ ป็นอยา่ งมาก เม่อื มองเพื่อนสวมใส่
ชุดข้าราชการสีกากี มันเท่ห์มากจริงๆ หลังจากนั้นไม่นานเหมือน
โชคชะตาให้โอกาสผมอีกคร้ัง กรมราชทัณฑ์ก็เปิดรับสมัครอีก
450 อตั รา ในรอบนผี้ มตง้ั ใจไวว้ า่ จะควา้ โอกาสไวใ้ หไ้ ด้ ผมยน่ื ใบสมคั ร
แลว้ อา่ นแนวขอ้ สอบทเี่ กย่ี วกบั พระราชบญั ญตั ริ าชทณั ฑอ์ ยา่ งตงั้ ใจ
ทง้ั วนิ ยั ขา้ ราชการพลเรอื น วนิ ยั ขา้ ราชการราชทณั ฑ์ ผมไดห้ นงั สอื มาจากเพอ่ื นทส่ี อบได้ มาอา่ นทกุ วนั จำ� ไดบ้ า้ งไมไ่ ดบ้ า้ ง
แต่เพ่ือนได้ให้ค�ำแนะน�ำให้อ่านเล่มเดียว 3 รอบ ผ่านแน่นอน ครั้งนี้ผมโชคดีหน่อยมีเพ่ือนที่สอบได้ด้วยกันถึง 2 คน
ท�ำให้ผมประหยัดท้ังค่าโรงแรมและค่าเดินทางลดลงด้วย ซ่ึงการสอบครั้งนี้ผมรู้สึกว่า กรมราชทัณฑ์จัดการสอบท่ี
เขม้ งวดมาก โปรง่ ใส และเปน็ ธรรมดคี รบั เวลา 09.00 น. เรมิ่ ทำ� ขอ้ สอบ ผมเตรยี มตวั มาเปน็ อยา่ งดี แตเ่ มอื่ เหน็ ขอ้ สอบ
มนั ไมค่ ่อยตรงกบั ทผี่ มเตรียมตวั มามีการเปลี่ยนแนวขอ้ สอบไปบา้ ง ผมใชเ้ วลาประมาณ 2 ชว่ั โมงกบั ข้อสอบ 100 ข้อ
เมื่อครบเวลาท�ำข้อสอบทุกคนต่างก็พากันเดินออกจากห้องสอบมาพัก และเดินออกมาด้วยสีหน้าที่ย้ิมแย้ม ผมได้นัด
กับเพื่อนอีก 2 คน ขึ้นรถยนต์กลับสงขลา ระหว่างทางก็ชวนกันคุยเรื่องข้อสอบกับค�ำตอบที่พอจะจ�ำได้ ซ่ึงผมมี
ความร้สู ึกวา่ ท�ำไมคำ� ตอบของทงั้ 2 คนท�ำไมไม่ตรงกบั เราเลย ผมและเพือ่ นๆ ขบั รถกนั มาเรอื่ ยๆ จากกรงุ เทพฯ ตอนน้ี
ผมไมค่ ดิ มากอ่ นวา่ จะสอบตดิ เพราะมคี นเขา้ สอบจำ� นวนมาก จนกระทงั่ เพอื่ นของผมโทรมาบอกวา่ ผมสอบผา่ นขอ้ เขยี น
เวลานั้นผมรู้สึกดีใจเป็นอย่างมาก โทรไปบอกแม่ บอกแฟนและคนใกล้ชิด และในขั้นตอนต่อไปผู้ท่ีสอบผ่านจะต้อง
ทำ� การทดสอบสมรรถภาพดา้ นรา่ งกาย โดยจะตอ้ งวง่ิ เปน็ ระยะทาง 1 กโิ ลเมตร ภายใน 4.20 นาที ตลอดเวลา 1 สปั ดาห์
ผมตอ้ งหาเวลาวา่ งมาเตรยี มความพรอ้ มสำ� หรบั รา่ งกาย พรอ้ มๆ ไปกบั การทำ� งานประจำ� ผมดว้ ย ผมใชเ้ วลาในการซอ้ มวง่ิ
ทุกวันตอนเย็นโดยจับเวลาไปด้วย แต่ผมก็ไม่เคยท�ำได้ทันตามเวลาท่ีก�ำหนดเลย มักจะเลยไป 5 นาทีเสมอ
หากวันแข่งจริงผมคงไม่ได้คะแนนเต็มแน่ๆ จนกระทั่งวันทดสอบสมรรถภาพด้านร่างกายก็มาถึงผมต้องเดินทาง
ขน้ึ กรงุ เทพฯ เปน็ คร้งั ที่ 2 ครัง้ นผ้ี มเดนิ ทางไปเพียงคนเดยี ว โดยผมได้พักอาศยั อย่กู บั ญาติ 2 คนื เย็นวนั เสาร์ อาทติ ย์
ผมกเ็ ดนิ ทางมาถึงมหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหงที่เดมิ ที่เคยสอบขอ้ เขียน เพ่ือท�ำการว่งิ รอบสนามฟุตบอล ผมบอกกับตวั เอง
ว่าผมต้องว่ิงให้ได้คะแนนเต็มให้ได้ ทั้งท่ีตอนซ้อมท�ำไม่เคยทันเวลา เม่ือถึงคิววิ่งของผม ทั้งกลุ่มญาติและเพ่ือนๆ
มาคอยใหก้ ำ� ลงั ใจผเู้ ขา้ สอบกนั จำ� นวนมาก ผมรสู้ กึ ตน่ื เตน้ สนั่ ขน้ึ มาทนั ที เรมิ่ เขา้ จดุ สตารท์ กรรมการสง่ สญั ญาณออกวง่ิ
ผมมคี วามรสู้ ึกวา่ กำ� ลังของผมฮึกเหิมขนึ้ มาจากกำ� ลงั ใจทีด่ ี ผมกเ็ ร่ิมวง่ิ ให้สุดฝีเท้า ทำ� ให้ผมเข้าเส้นชยั ภายในเวลาเพยี ง
4.05 นาที ถอื วา่ เหลือเชื่อมากจริงๆ ครบั ผมไม่เคยทำ� เวลาได้เท่านี้มาก่อนเลย
หลงั จากการทำ� ทดสอบรา่ งกายเสรจ็ กเ็ ตรยี มเขา้ รบั การสมั ภาษณใ์ นวนั ถดั ไป ซงึ่ การสอบสมั ภาษณน์ น้ั กเ็ ตม็ ไปดว้ ย
ความต่ืนเต้น แต่ผมก็ม่ันใจพอสมควรว่าจะผ่านการสอบแน่นอน ผมเร่ิมอธิบายประวัติของตัวเอง ตอบค�ำถาม
ดว้ ยความมน่ั ใจ และแลว้ กผ็ า่ นไปดว้ ยดี เสรจ็ ภารกจิ ในครง้ั นผ้ี มเดนิ ทางกลบั บา้ นโดยสวสั ดภิ าพ เพอื่ รอคอยวนั ประกาศผล
เพราะหากได้ในล�ำดับต้นๆ ผมก็จะมีสิทธ์ิเลือกลงตามเรือนจ�ำท่ีเราเลือกไว้โอกาสก็จะเป็นไปได้สูง เพราะผมอยากอยู่
ใกลบ้ า้ น 2 สัปดาหผ์ ่านไป กรมราชทัณฑ์ประกาศล�ำดบั รายชื่อ รายชือ่ ผมอยใู่ นลำ� ดบั ที่ 95 ถือว่าเปน็ ความสำ� เร็จอีก
ขนั้ ในชวี ติ ของผมทจ่ี ะไดม้ โี อกาสลงในเรอื นจำ� ทเ่ี ลอื กไวก้ จ็ ะเปน็ ไปไดส้ งู จากนน้ั เมอื่ ถงึ วนั ทตี่ อ้ งไปรายงานตวั เจา้ หนา้ ที่
ก็แจกหนังสือเพื่อแจ้งสถานท่ีท�ำงานปรากฏว่า ผมได้ลงที่ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษสงขลา ผมรู้สึกโล่งอย่างบอกไม่ถูก
การที่เราได้ท�ำงานอยู่ใกล้บ้านใกล้ครอบครัวถือเป็นส่ิงส�ำคัญ และอีกคร้ังหน่ึงครับที่ผมต้องเดินทางมากรุงเทพฯ
เป็นคร้ังที่ 3 ด้วยชุดข้าราชการสีกากีแถมยังมีดาวบนบ่าอีก 2 ดวง ผมไม่เคยรู้สึกภาคภูมิใจเท่าน้ีมาก่อนเลย
ผมออกเดนิ ทางอยา่ งสงา่ เขา้ รบั หนงั สอื สง่ ตวั เพอื่ มอบใหเ้ รอื นจำ� นบั เปน็ ความภาคภมู ใิ จของผมและครอบครวั เปน็ อยา่ งมาก

วารสารราชทัณฑ์ 77

วนั จนั ทรท์ ่ี 19 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2560 เปน็ วนั แรกทคี่ นตวั เลก็ ๆ อยา่ งผมกา้ วเขา้ สสู่ ถานกกั ขงั ผกู้ ระทำ� ผดิ กฎหมาย
ผมได้เพื่อนร่วมงานบรรจุใหม่อีก 3 คนท่ีตั้งทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษสงขลาแห่งนี้ เมื่อเข้ามาท�ำงานวันแรกผมตื่นเต้น
เล็กน้อย เวลา 08.00 น. เจ้าหน้าท่ียืนเข้าแถวเคารพธงชาติ ซ่ึงมีผู้อ�ำนวยการเป็นผู้หญิง ได้ยืนกล่าวหน้าแถว
จากนน้ั ทา่ นกเ็ ชญิ ใหน้ อ้ งใหมอ่ อกมาแนะนำ� ตวั ทำ� ความรจู้ กั ทหี่ นา้ แถว เปน็ ครงั้ แรกทผี่ มไดพ้ ดู ตอ่ หนา้ ผคู้ มุ หลายๆ คน
ทุกคนมีสีหน้าที่ย้ิมแย้มและให้การต้อนรับพวกเราน้องใหม่อย่างอบอุ่น เม่ือเดินเข้าไปข้างในมองเห็นประตูสีเขียว
มผี คู้ มุ หนา้ ประตยู นื หนา้ ตาเขม้ ขรมึ คอยทำ� หนา้ ทตี่ รวจทกุ คนทเ่ี ดนิ เขา้ ไปภายใน เนอื่ งจากเรอื นจำ� แหง่ นไ้ี มไ่ ดเ้ ปน็ เรอื นจำ�
ความมั่นคงสูง ผมเลยมีโอกาสได้เดินเข้าไปชมดูสภาพโดยรอบว่าเป็นอย่างไร ความรู้สึกแรกเมื่อผ่านเข้าไปข้างใน
ผมตะลึงครับ เพราะไม่เป็นอย่างท่ีผมคิดไว้ ไม่เหมือนกับในหนังท่ีเคยดู ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษสงขลามีพื้นท่ีที่กว้าง
และรม่ รนื่ มาก และสง่ิ ทแ่ี ปลกใจคอื มกี วางวงิ่ อยดู่ ว้ ย 2 ตวั ผมไดเ้ หน็ ผตู้ อ้ งขงั เดนิ ผา่ นทกุ คนไดย้ นื ตวั ตรงแลว้ โคง้ คำ� นบั
จากนัน้ ได้เดนิ เข้าแดนผูต้ ้องขงั ไดเ้ ห็นผตู้ อ้ งขงั อยู่รวมกันจ�ำนวนมาก เมอื่ เดินผ่านพวกเขาใจมนั กส็ ั่นๆ ขึ้นมา แตผ่ มก็
พยายามสะกดใจไม่ให้แสดงความต่ืนเต้นออกไป จากนั้นผมก็ได้พูดคุยกับเพื่อนๆ ท่ีคอยสอนงาน คอยแนะน�ำ
ระเบียบวินัยให้ผม ทั้งความเป็นอยู่ ชีวิตผู้คุมและประสบการณ์ ท�ำให้ผมรู้สึกอุ่นใจท่ีมีพี่ๆ คอยต้อนรับเป็นอย่างดี
ซึ่งในช่วงแรกน้องใหม่ทั้ง 4 คน ได้ปฏิบัติหน้าท่ีตามตารางการเรียนรู้งานในเรือนจ�ำแต่ละส่วนงาน ที่นี่ผู้อ�ำนวยการ
เป็นคนใจดี ให้ค�ำแนะน�ำได้ทุกเร่ือง จนผ่านไป 2 สัปดาห์ในเขตควบคุม ผมถือว่าผมโชคดีมากครับท่ีได้บรรจุลงที่นี่
เพราะทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษสงขลา มีการดูแลเรื่องความสะอาด จนบางคร้ังยังแอบคิดว่าสะอาดกว่าบ้านผมเสียอีก
ท้งั ระบบสาธารณูปโภค ไฟฟา้ สวา่ ง นำ�้ ใสสะอาด อากาศบริสุทธิ์ มีตน้ ไมใ้ ห้รม่ เงา และที่ส�ำคญั ผูต้ อ้ งขงั มสี ภาพร่างกาย
และสขุ ภาพจติ ทส่ี ดใส ไมก่ อ่ ความวนุ่ วาย ทำ� ใหค้ วามกงั วลสำ� หรบั นอ้ งใหมอ่ ยา่ งผม กเ็ รมิ่ คลายลงไปมาก ผมไดเ้ รยี นรงู้ าน
ทกุ สว่ นในทณั ฑสถาน ผมถกู สง่ ตวั ไปปฏบิ ตั หิ นา้ ทแี่ ดน 3 ฝา่ ยควบคมุ ซงึ่ เปน็ แดนทมี่ ภี ารกจิ ในการฝกึ ผตู้ อ้ งขงั หลกั สตู ร
นกั เรยี นววิ ฒั นพ์ ลเมอื ง ซง่ึ แดนนถ้ี อื เปน็ แดนกจิ กรรมผคู้ มุ หลายคนอาจจะไมช่ อบแดนนสี้ กั เทา่ ไหร่ แตส่ ำ� หรบั ผมถอื วา่
เป็นโอกาสดีในการพัฒนาผู้ต้องขัง เพราะหน้าท่ีหลักนอกเหนือจากการควบคุมไม่ให้ผู้ต้องขังหลบหนีแล้ว ยังเป็น
การบ�ำบัดผู้ต้องขังที่เคยเสพยาเสพติดอีกด้วย ผมได้เรียนรู้งานและเริ่มต้นการเข้าเวรยามในช่วงกลางคืนและกลางวัน
ผมได้ส่ังสมประสบการณ์ประมาณ 4 เดือน ก็ได้มีโอกาสเข้าร่วมส�ำหรับการเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรข้าราชการ
ราชทณั ฑบ์ รรจใุ หม่ (แรกรบั ) ตามหนงั สอื ผมถกู สง่ ไปยงั สนามฝกึ ทคี่ า่ ยรามคำ� แหงมหาราช จงั หวดั สโุ ขทยั และศนู ยฝ์ กึ
อบรมข้าราชการราชทัณฑ์ประจ�ำภาคเหนือ จังหวัดล�ำปาง เป็นระยะเวลา 2 เดือน จนถึงวันน้ีก็ใกล้ครบก�ำหนดแล้ว
ทผี่ มหา่ งบา้ นมา
ต้ังแต่วันแรกท่ีผมเร่ิมเขียนใบสมัครเพื่อสอบบรรจุข้าราชการในกรมราชทัณฑ์ หากถามว่าอยากท�ำงานอาชีพ
ผคู้ ุมไหม ผมคงตอบว่า ไม่อยากเปน็ ผู้คมุ ท่ีตอ้ งควบคุมอาชญากรหรือผู้ร้าย แต่ ณ เวลาน้ีผมได้ท�ำงานและเรียนรู้งาน
รจู้ กั อาชพี นมี้ ากขนึ้ และทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ สำ� หรบั ผม คอื ผมไดม้ โี อกาสทำ� งานรบั ใชพ้ ระเจา้ แผน่ ดนิ เปน็ ตวั แทนของพระองค์
ในการลงทณั ฑผ์ รู้ า้ ยทก่ี ระทำ� ผดิ ตอ่ แผน่ ดนิ เมอ่ื ผมเลอื กเสน้ ทางนแ้ี ลว้ ผมตง้ั ใจทำ� งานใหด้ ที ส่ี ดุ ตามหลกั จรรยาบรรณ

ข้าราชการราชทัณฑ์ที่ว่า “รักศักศรีแห่งตนและเกียรติภูมิของราชทัณฑ์ ซ่ือสัตย์สุจริต มุ่งผลสัมฤทธิ์
ของงาน ยึดม่ันในคณุ ธรรมดำ� เนินชีวติ แบบพอเพียง”

78 วารสารราชทัณฑ์

การพฒั นาประสทิ ธิภาพการตรวจคน้ ผู้ตอ้ งขัง
ตามหลกั มาตรฐานสากล

โดย นกั ศกึ ษาผ้บู ัญชาการเรอื นจ�ำ (นผบ.)
ร่นุ ที่ 31 กลมุ่ ที่ 2

ตามหลักราชทัณฑ์สากลน้ัน ก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐาน
ทเ่ี หมาะสมสำ� หรบั จำ� นวนเจา้ หนา้ ทต่ี อ่ ผตู้ อ้ งขงั คอื เจา้ หนา้ ท่ี
1 คน ต่อจ�ำนวนผู้ต้องขัง 5 คน แต่ส�ำหรับประเทศไทย
ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ได้
ก�ำหนดให้มาตรฐานส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีต่อผู้ต้องขังข้ันต่�ำ
อยู่ที่ 1 คน ต่อจ�ำนวนผู้ต้องขัง 10 คน หากแต่จ�ำนวน
เจ้าหน้าท่ีกรมราชทัณฑ์ในปัจจุบัน มีจ�ำนวนทั้งสิ้นประมาณ 13,557 คน เม่ือเทียบกับผู้ต้องขัง ท�ำให้ปัจจุบัน
กรมราชทณั ฑป์ ระสบกบั ปญั หาความไมไ่ ดส้ ดั สว่ นของจำ� นวนเจา้ หนา้ ทกี่ บั จำ� นวนผตู้ อ้ งขงั ทคี่ ดิ เปน็ อตั ราสว่ น 1 ตอ่ 28
(ข้อมูล ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2561, กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมราชทัณฑ์) ซ่ึงเกินกว่าอัตราส่วน
ตามมาตรฐานสากลท่ีก�ำหนดไว้ คือ 1 ต่อ 5 เนื่องจากกรมราชทัณฑ์มีจ�ำนวนสถิติผู้ต้องราชทัณฑ์ท่ัวประเทศมากถึง
จำ� นวน 361,396 คน (ขอ้ มูลจากศูนย์ปฏบิ ตั ิการและตดิ ตามสถานการณ์กรมราชทัณฑ์ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน
กรมราชทัณฑ์ ณ วันท่ี 2 สิงหาคม 2561) ในขณะท่ีเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานทั่วประเทศซ่ึงปัจจุบันมีจ�ำนวน 143 แห่ง
มีความจุมาตรฐานเพื่อรองรับผู้ต้องขังได้เพียง จ�ำนวน 110,250 คน (ข้อมูลจากส่วนมาตรการควบคุมผู้ต้องขัง
กองทณั ฑวทิ ยา กรมราชทณั ฑ์ สำ� รวจ ณ วนั ท่ี 1 มถิ นุ ายน 2561) ทำ� ใหเ้ รอื นจำ� และทณั ฑสถานเกดิ ปญั หาผตู้ อ้ งขงั ลน้ เรอื นจำ�
รวมทั้งการจัดหลักสูตรในการอบรมแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัยตลอดจนโปรแกรมการแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขังประเภทต่างๆ
ทำ� ไดไ้ มท่ ว่ั ถงึ เนอ่ื งจากขอ้ จำ� กดั ดา้ นบคุ ลากร งบประมาณ และสถานที่ ซงึ่ กรมราชทณั ฑไ์ ดแ้ กป้ ญั หาดงั กลา่ วในเบอ้ื งตน้
โดยการย้ายระบายผู้ต้องขังไปยังเรือนจ�ำอื่นๆ ที่พอจะรองรับผู้ต้องขังได้ แต่เมื่อผู้ต้องขังจากต่างเรือนจ�ำ โดยเฉพาะ
อยา่ งยง่ิ ผตู้ อ้ งขงั ทม่ี กี ำ� หนดโทษสงู หรอื เปน็ ผตู้ อ้ งขงั รายสำ� คญั ยา้ ยมาอยรู่ วมกนั อาจทำ� ใหเ้ รอื นจำ� มปี ญั หาในดา้ นการควบคมุ

ปัจจุบันกรมราชทัณฑ์มิได้มุ่งปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดอย่างเข้มงวด
และลงโทษเพื่อให้คนเกรงกลัวเหมือนในอดีตเพียงอย่างเดียว
แต่มีนโยบายในการมุ่งเน้นปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดหรือผู้ถูกลงโทษ
ด้วยการแก้ไขเพ่ือให้บุคคลเหล่าน้ันกลับออกสู่สังคมไปเป็นพลเมืองดี
สามารถปรับตัวอยู่ร่วมกับสังคมได้ภายใต้พระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พ.ศ. 2560 และกฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ ง นอกจากนี้ภารกิจของเรือนจำ� มิใช่
เพียงควบคุมผู้ต้องขังอย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น หากแต่ยังมีภารกิจ
ท่ีต้องการแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังให้เป็นบุคคลท่ีสามารถ
กลับเข้าสสู่ งั คมทวั่ ไปเมอื่ พน้ โทษแล้ว

วารสารราชทัณฑ์ 79

จากปัญหาผู้ต้องขังล้นเรือนจ�ำในปัจจุบันส่งผลกระทบ
ต่อการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง เนื่องจากเป็นกระบวนการปฏิบัติต่อ
ผู้ต้องขังที่ต่อเนื่องนับจากท่ีได้รับตัวผู้ต้องขังไว้ในเรือนจ�ำ ไปจนถึง
ปล่อยตัวผู้ต้องขัง อีกท้ังยังครอบคลุมถึงภารกิจในการปฏิบัติต่อ
ผู้ต้องขังท้ังในด้านการจัดบริการ อบรมแก้ไข พัฒนาพฤตินิสัยและ
การควบคุมดูแลผู้ต้องขังให้อยู่ในระเบียบวินัย และไม่หลบหนี
ภายใตห้ ลักการท่ีกำ� หนดไวใ้ นพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560
(ส�ำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2559: 2) การปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง
ในเรือนจ�ำอาจไม่เป็นไปตามหลักมาตรฐานสากลได้ โดยเฉพาะ
มาตรฐานในการควบคมุ และการปฏิบตั ิต่อผ้ตู อ้ งขังทง้ั 3 ช่วง ได้แก่
1) การรับตัวผู้ต้องขัง 2) การปฏิบัติต่อผู้ต้องขังในขณะที่อยู่ใน
เรือนจ�ำ 3) การปลอ่ ยตวั ผ้ตู ้องขัง
จากการปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั ในเรอื นจำ� ภายใตส้ ถานการณผ์ ตู้ อ้ งขงั ลน้ เรอื นจำ� ทำ� ใหก้ รมราชทณั ฑย์ งั ประสบปญั หา
การลักลอบน�ำสิ่งของต้องห้ามเข้าเรือนจ�ำซ่ึงเกิดจากผู้ต้องขังบางส่วนท่ีกระท�ำผิดเพราะความต้องการทางเศรษฐกิจ
ความยากจน การขาดการศึกษามาเป็นผู้ต้องขังท่ีมีอิทธิพล เป็นผู้ค้ายาเสพติดรายส�ำคัญ ผู้ต้องขังเหล่านี้มีศักยภาพ
ทางด้านการเงินสูงมาก อาจถึงข้ันสามารถที่จะลักลอบน�ำส่ิงของต้องห้ามเข้ามาในเรือนจ�ำได้ เช่น การน�ำโทรศัพท์
เข้าในเรือนจ�ำ หรือท�ำให้เกิดปัญหาการส่ังยาเสพติดเข้าไปในเรือนจ�ำในบางกรณีแม้ว่ากรมราชทัณฑ์จะมีมาตรการ
ตรวจค้นและป้องกันอยู่ตลอดแต่ไม่สามารถจะจับผู้กระท�ำผิดได้ ท�ำให้กระทบต่อภาพลักษณ์ของกรมราชทัณฑ์
อย่างหลกี เล่ียงไมไ่ ด้
ซึ่งตรงข้ามกับการศึกษาของ Jackson and Lassiter (2001: 5) ที่พบว่า เมื่อบุคลากรเห็นคุณค่าในตนเอง
เกดิ ขนึ้ กจ็ ะมกี ารปรบั ตวั เองใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม และรวมกลมุ่ ทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ ทดี่ ี ซง่ึ จากปญั หาผตู้ อ้ งขงั ลน้ เรอื นจำ�
และปญั หาการลกั ลอบนำ� สงิ่ ของตอ้ งหา้ มเขา้ เรอื นจำ� ทำ� ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ไมส่ ามารถรวมกลมุ่ มวี ฒั นธรรมยอ่ ยเปน็ ของตนเองได้
ย่อมส่งผลให้ผู้ต้องขังไม่สามารถปรับตัวเข้ากับบริบทเรือนจ�ำในด้านต่างๆ และยังมีความคิดว่าตนเองไร้คุณค่า
ทำ� ใหก้ ารปรบั ตวั ถกู ใชเ้ ปน็ กลไกในการปอ้ งกนั ตนเอง มคี วามวติ กกงั วล มคี วามเครยี ด และความคบั ขอ้ งใจตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้
กับตนเองในเรอื นจ�ำจนน�ำไปสปู่ ญั หาการกระท�ำผดิ วนิ ัยในเรอื นจ�ำในลักษณะต่างๆ ได้
ดังนั้น จึงน�ำไปสู่การขับเคลื่อนนโยบาย 5 ก้าวย่าง แห่งการเปลี่ยนแปลงกรมราชทัณฑ์ โดยเร่ิมต้ังแต่
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2559 เปน็ ต้นมา ภายใต้นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม (พลเอกไพบูลย์ คุ้มฉายา)
ในขณะนนั้ ไดม้ อบหมายใหก้ รมราชทณั ฑ์ นำ� นโยบายดงั กลา่ วไปขบั เคลอ่ื นลงสหู่ นว่ ยปฏบิ ตั ิ คอื เรอื นจำ� และทณั ฑสถาน
ท่ัวประเทศ เพอื่ ตอบโจทย์ของสงั คมและสะสางปัญหาท่สี ังคมสงสัย ซงึ่ จะกอ่ ให้เกิดประสิทธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล
สูงสุดต่อกรมราชทัณฑ์และผู้ต้องขัง อีกท้ังยังเป็นการป้องกันการซุกซ่อนสิ่งของต้องห้ามภายในเรือนจ�ำ โดยเฉพาะ
ในกา้ วยา่ งที่ 1 การควบคมุ ปราบปรามยาเสพตดิ โทรศพั ทม์ อื ถอื และสง่ิ ของตอ้ งหา้ มในเรอื นจำ� (กรมราชทณั ฑ,์ 2560)
ซง่ึ จะเกย่ี วขอ้ งกบั ภารกจิ การปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั ในประเดน็ เกย่ี วกบั ประสทิ ธภิ าพของการตรวจคน้ เนอื่ งจากสถติ ขิ อ้ มลู
การตรวจปสั สาวะเจา้ หนา้ ทแี่ ละผตู้ อ้ งขงั ในเรอื นจำ� และทณั ฑสถานทว่ั ประเทศ โดยกรมราชทณั ฑท์ ำ� การตรวจปสั สาวะ
ผตู้ อ้ งขัง จำ� นวน 503,169 ราย พบว่า ผตู้ อ้ งขงั เขา้ ใหม่ จ�ำนวน 19,669 ราย ผ้ตู ้องขงั กลบั จากศาล จ�ำนวน 4 ราย
ผ้ตู อ้ งขงั จา่ ยออกท�ำงานนอกเรอื นจ�ำ จ�ำนวน 32 ราย ผูต้ อ้ งขงั กลมุ่ เสย่ี งในเรอื นจำ� จำ� นวน 222 ราย และผ้ตู ้องขงั รบั
ย้ายจากเรือนจำ� อ่นื จ�ำนวน 4 ราย ผูต้ อ้ งขังทง้ั 5 ประเภท มกี ารตรวจพบการใช้สารเสพตดิ (กรมราชทณั ฑ์, 2560)

80 วารสารราชทัณฑ์

ทา้ ยทส่ี ดุ จากสถานการณป์ ญั หาของกรมราชทณั ฑใ์ นปจั จบุ นั และสถติ ผิ ตู้ อ้ งขงั ยงั มสี ารเสพตดิ แสดงใหเ้ หน็ วา่
การตรวจค้นผู้ต้องขังมีความส�ำคัญมากในการควบคุมผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งหรือเป็นตัวชี้วัดที่ส�ำคัญของ
การรับตัวผู้ต้องขังท่ีมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากเป็นเสมือนด่านแรกที่ผู้มีส่วนเก่ียวข้องจะเข้าสู่ประตูเรือนจ�ำ หากการ
ตรวจค้นมีประสิทธิภาพ ปัญหาการลักลอบน�ำยาเสพติด ส่ิงของต้องห้าม หรือโทรศัพท์มือถือเข้าเรือนจ�ำก็จะท�ำไม่ได้
หรือไม่มี ในการน้ี กลุ่มผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคของการตรวจค้นผู้ต้องขังเพ่ือน�ำไป
สู่การพัฒนารูปแบบ หรือแนวทางที่มีประสิทธิภาพในการตรวจค้นที่เอ้ือประโยชน์ต่อการบริหารงานเรือนจ�ำให้มี
ประสิทธิภาพสอดคล้องตามหลักมาตรฐานสากล และส่งผลต่อภาพลักษณ์ท่ีดีของกรมราชทัณฑ์ต่อไปในอนาคต และ
ยงั สอดคล้องกบั การขบั เคลอื่ นนโยบาย 5 กา้ วย่างแหง่ การเปลย่ี นแปลงราชทัณฑ์ ก้าวยา่ งท่ี 5 การสร้างความยอมรบั
จากสังคมตอ่ ไป
วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคของระบบการตรวจค้นตัวผู้ต้องขังของเรือนจ�ำ
และพฒั นาระบบการตรวจคน้ ตวั ผู้ต้องขงั ที่มปี ระสทิ ธภิ าพตามหลักมาตรฐานสากล
การวิจัยเรื่อง “การพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากล” กลุ่มผู้ศึกษาเลือกใช้
ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ (Qualitative Research) ด้วยวธิ กี ารวเิ คราะหเ์ ชงิ พรรณนา (Descriptive Analytical
Approach) โดยการศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) เอกสารทางวิชาการ
บทความตา่ งๆ วิทยานิพนธ์ รวมท้งั สื่ออนิ เทอรเ์ น็ต ส�ำหรบั การเกบ็ รวบรวมข้อมูลผวู้ ิจยั เลือกใช้วิธีการสัมภาษณ์เชงิ ลึก
(In-Depth Interview) รวมท้ังการสังเกตการณ์ (Observation) เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีมาจากแหล่งต่างๆ ในการศึกษา
วเิ คราะห์ โดยมผี ู้ให้ขอ้ มูลสำ� คญั (Key Informants) ในการศกึ ษาครงั้ นี้ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ผใู้ ห้ขอ้ มูลส�ำคญั รวม 22 คน คือ
กลุ่มผู้บริหารระดับสูงของเรือนจ�ำ ได้แก่ ผู้บัญชาการเรือนจ�ำ ในเรือนจ�ำกลุ่มเป้าหมาย จ�ำนวน 6 คน ผู้อ�ำนวยการ
ส่วนควบคมุ ในเรือนจ�ำกลมุ่ เปา้ หมาย จำ� นวน 4 คน หวั หนา้ ฝ่ายควบคมุ ในเรือนจ�ำกลุ่มเป้าหมาย จ�ำนวน 6 คน และ
เจา้ หนา้ ทส่ี ว่ นควบคมุ ในเรอื นจำ� กลมุ่ เปา้ หมาย จำ� นวน 6 คน ประกอบดว้ ย เรอื นจำ� กลางสรุ นิ ทร์ เรอื นจำ� กลางคลองไผ่
เรือนจ�ำจงั หวัดนนทบรุ ี เรือนจำ� พิเศษมนี บรุ ี เรอื นจำ� อำ� เภอธญั บรุ ี และเรือนจำ� อ�ำเภอสีควิ้ ซงึ่ การวิจัยดงั กล่าวได้อาศัย
จ�ำนวนกรณี (Cases) หรือกลุ่มตวั อยา่ งไมม่ าก และเลอื กกรณีศึกษาแบบเจาะจง (Purposeful Selection) เพอื่ เลอื ก
กรณีศึกษาท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้มากที่สุด ท้ังนี้เกณฑ์ที่ส�ำคัญท่ีสุด คือ การได้รับ
ความรว่ มมือในการให้ข้อมูลของกรณีศกึ ษา ซึ่งผลการวจิ ัยและขอ้ เสนอแนะจากการวิจัยมีดงั น้ี
สรุปผลการศึกษา ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของกลุ่มผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีหรือความ
รบั ผิดชอบและปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการตรวจค้นผู้ตอ้ งขังในเรือนจำ� มีดังน้ี
บทบาทหรอื ความรบั ผดิ ชอบในการตรวจคน้ ตามหลกั มาตรฐานสากล
เจา้ หนา้ ทผ่ี ทู้ ที่ ำ� หนา้ ทใี่ นการตรวจคน้ ผตู้ อ้ งขงั ตามหลกั มาตรฐานสากล
ตอ้ งดำ� เนนิ การภายใตบ้ ทบาท 3 ประการ ดงั น้ี (1) กำ� กบั ดแู ล ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ�
การจดั ระเบยี บเรอื นจำ� และทณั ฑสถาน ใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายกระทรวงยตุ ธิ รรม
และกรมราชทณั ฑ์ (2) วางแผนกำ� หนดแนวทางการจดั ระเบยี บเรอื นจำ� ประสาน
และสนบั สนนุ เออ้ื อำ� นวยใหก้ ารจดั ระเบยี บเรอื นจำ� และทณั ฑสถานเปน็ ไปดว้ ย
ความเรียบร้อย และ (3) จัดระเบียบเรือนจ�ำและทัณฑสถานตามนโยบาย
ของกระทรวงยตุ ิธรรม และตามแนวทางทก่ี �ำหนด

วารสารราชทัณฑ์ 81

ปญั หาและอปุ สรรคในการตรวจค้นตวั ผตู้ ้องขงั ในเรอื นจำ� มดี ังนี้
1) การขาดการสนับสนุนเงินงบประมาณจากกรมราชทัณฑ์ด้านการตรวจค้น พบว่า เรือนจ�ำต้องน�ำเงิน
นอกงบประมาณของเรอื นจำ� โดยเฉพาะเงนิ รา้ นสงเคราะหผ์ ตู้ อ้ งขงั มาใชใ้ นการจดั ระเบยี บเรอื นจำ� ตลอดจนการตรวจคน้
เรือนจ�ำ ซ่ึงควรจะใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี เน่ืองจากการตรวจค้นตัวผู้ต้องขังอยู่ภายใต้นโยบายการจัด
ระเบียบเรือนจ�ำ ซ่ึงเป็นพันธกิจของกรมราชทัณฑ์ท่ีสอดคล้องกับกฎมาตรฐานข้ันต�่ำส�ำหรับการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง
องคก์ ารสหประชาชาตดิ า้ นการควบคมุ ผตู้ อ้ งขัง
2) การขาดแคลนบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านการตรวจค้น ผู้ปฏิบัติงานมีการท�ำงานหลายด้านหลายหน้าที่
ทำ� ให้การปฏบิ ตั ิงานไม่ต่อเนอื่ ง อกี ทัง้ ขาดความช�ำนาญต่อการตรวจคน้ เนอื่ งจากขาดการฝกึ อบรมในด้านท่เี กีย่ วข้อง
3) เรือนจ�ำขาดการน�ำนโยบายลงสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง เน่ืองจากเรือนจ�ำบางแห่งไม่มีการจัดท�ำแผนการ
ปฏิบัติงานด้านการตรวจค้นผู้ต้องขัง ขาดการก�ำหนดแนวทางการจัดระเบียบเรือนจ�ำให้มีความสอดคล้องกับนโยบาย
กระทรวงยตุ ิธรรม และขาดการติดตามประเมนิ ผล ภายหลงั การจัดระเบยี บเรอื นจำ�
4) ปัญหาด้านอาคารสถานท่ีของเรือนจ�ำส่งผลต่อการตรวจค้นผู้ต้องขังเน่ืองจากเป็นเรือนจ�ำเก่า ซึ่งปัจจุบัน
พบว่า เรือนจ�ำหลายแห่งมีอายุตัง้ แต่ 50 ปขี ้นึ ไป เช่น เรือนจ�ำกลางบางขวาง เรือนจ�ำกลางคลองเปรม เรอื นจำ� จงั หวัด
นนทบรุ ี เปน็ ตน้ ทำ� ใหเ้ มอื่ กลา่ วถงึ การจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพของเรอื นจำ� ไดแ้ ก่ แสงสวา่ ง ระบบถา่ ยเทอากาศ
อุณหภูมิ เสียง ความสะอาด สุขลักษณะ และสุขาภิบาล เป็นต้น การจัดสภาพแวดล้อมในเรื่องดังกล่าวนี้
จึงมีความแตกต่างกันในแต่ละอาคารสถานท่ีหรือแดนต่างๆ ตามอายุการใช้งานท่ียาวนาน ส่งผลต่อการตรวจค้น
ที่มีประสทิ ธิภาพ
5) ปัญหาด้านการหาข่าวในเรือนจ�ำท่ีไม่มีประสิทธิภาพ ได้แก่ เจ้าหน้าท่ีเรือนจ�ำยังไม่มีความรู้หรือเทคนิค
ในการหาขา่ วทงั้ ในเรอื นจำ� และนอกเรอื นจำ� ทถี่ กู ตอ้ ง ตลอดจนเจา้ หนา้ ทเ่ี รอื นจำ� ขาดการประสานงานการมสี ว่ นรว่ มใน
การหาข่าวจากภายนอกเรือนจ�ำ เรือนจ�ำไม่ได้ก�ำหนดภารกิจหรือภาระงานด้านการข่าวของเรือนจ�ำเป็นการเฉพาะ
และกรมราชทณั ฑ์ ไม่มีการจดั ต้ังศูนย์ส�ำหรบั การประมวลผลการข่าวจากเรือนจำ� เพ่ือเป็นหนว่ ยงานกลางในการจัดท�ำ
ด้านการขา่ ว

การพฒั นาระบบการตรวจคน้ ตวั ผตู้ อ้ งขงั ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพตาม
หลกั มาตรฐานสากล
การพัฒนาระบบการตรวจค้นตัวผู้ต้องขังให้มีประสิทธิภาพ
ตามหลักมาตรฐานสากล ควรมีทิศทางเดียวกันในการด�ำเนินการ
จัดระเบียบเรือนจ�ำให้สอดคล้องกับลักษณะทางกายภาพของพ้ืนท่ี
การน�ำนโยบายหน่วยเหนือมาเป็นแนวทางปฏิบัติในการจัดระเบียบ
เรือนจ�ำ โดยให้เจ้าหน้าท่ีทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดระเบียบ
เรือนจ�ำ และจัดท�ำตัวชี้วัดมาตรฐานการจัดระเบียบเรือนจ�ำและ
ทัณฑสถานมาใช้เป็นเกณฑ์ก�ำหนดกิจกรรมการจัดระเบียบเรือนจ�ำ
และทัณฑสถานโดยให้ยึดมาตรฐานการท�ำงานเป็นหลัก เช่นเดียวกับ
การก�ำหนดตัวชี้วัดในการดําเนินงานตามมาตรฐานเรือนจํา 10 ด้าน
ของกรมราชทณั ฑ์ (มณฑล ขนั กสิกรรม, 2554: 65)

82 วารสารราชทัณฑ์

นอกจากนั้น ควรใช้นโยบาย 5 ก้าวย่างแห่งการเปลี่ยนแปลงราชทัณฑ์ ซึ่งเป็นนโยบายของ พลเอกไพบูลย์
คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ที่มอบนโยบายให้กรมราชทัณฑ์ด�ำเนินนโยบาย 5 ก้าวย่างแห่งการ
เปล่ียนแปลงราชทัณฑ์ ประกอบไปด้วย การควบคมุ ปราบปรามยาเสพติด โทรศัพทม์ ือถอื และส่ิงของต้องห้าม การจัด
ระเบยี บภายในเรอื นจำ� การฝกึ วนิ ยั การพฒั นาจติ ใจดว้ ยหลกั สตู รสคั สาสมาธิ และการสรา้ งการยอมรบั จากสงั คม มาเปน็
แนวทางในการตรวจคน้ ผตู้ อ้ งขงั กลมุ่ ผศู้ กึ ษามคี วามเหน็ วา่ นโยบาย 5 กา้ วยา่ งแหง่ การเปลย่ี นแปลงราชทณั ฑ์ สามารถ
น�ำมาใช้เพ่ือให้เรือนจ�ำมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดซึ่งจะก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพของผู้ต้องขัง เพ่ือป้องกัน
การซุกซอ่ นสิง่ ของตอ้ งหา้ มภายในเรอื นจำ� ดงั นั้น การพัฒนาระบบการตรวจคน้ ตัวผูต้ ้องขังใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพตามหลกั
มาตรฐานสากลควรดำ� เนนิ การดงั น้ี
1) การน�ำนโยบาย 5 ก้าวย่างแห่งการเปลี่ยนแปลงราชทัณฑ์ของอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
(พลเอกไพบูลย์ คุ้มฉายา) มาเป็นแนวทางในการจัดระเบียบเรือนจ�ำเพื่อเอื้ออ�ำนวยต่อการตรวจค้นตัวผู้ต้องขังท่ีมี
ประสิทธภิ าพ
2) การนำ� ระบบการตรวจคน้ ตามหลกั มาตรฐานสากลมาปฏบิ ตั อิ ยา่ งจรงิ จงั โดยผบู้ รหิ ารระดบั สงู ของเรอื นจำ�
ควรมีการประชุมชี้แจงนโยบายกระทรวงยุติธรรม นโยบายกรมราชทัณฑ์ท่ีส�ำคัญ โดยเฉพาะนโยบายการจัดระเบียบ
เรอื นจำ� ใหเ้ จา้ หนา้ ทผ่ี ปู้ ฏบิ ตั งิ าน และผตู้ อ้ งขงั ในเรอื นจำ� ไดเ้ ขา้ ใจและนำ� นโยบายทก่ี ำ� หนดไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
3) การก�ำหนดแผนหรือรูปแบบการตรวจค้นตามหลักมาตรฐานสากลเพ่ือปฏิบัติในเรือนจ�ำให้เป็นรูปแบบ
เดียวกัน โดยกรมราชทัณฑ์ต้องมีการก�ำหนดแผนหรือรูปแบบการตรวจค้นให้เป็นมาตรฐานเดียวกันท่ัวประเทศ
โดยมรี ะบบการตรวจค้นดงั น้ี
3.1 การตรวจคน้ จะตอ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมจากผตู้ อ้ งขงั และมเี หตอุ นั ควรสงสยั วา่ มสี งิ่ ของตอ้ งหา้ มซกุ ซอ่ น
ในรา่ งกาย ซง่ึ ตอ้ งกระทำ� การตรวจโดยแพทยห์ รอื บคุ ลากรทางการแพทยท์ ผี่ า่ นการฝกึ ดา้ นนม้ี าเปน็ พเิ ศษ โดยเจา้ หนา้ ที่
จะต้องบันทึกทุกขั้นตอนของการตรวจค้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้เครื่องมือ ค�ำส่ังอนุญาตจากผู้บัญชาการ ผู้อ�ำนวยการ
เหตุผลของการตรวจคร้งั นัน้ การบันทึกตอ้ งบนั ทึกไวใ้ นแบบฟอร์มการตรวจคน้ และในแบบประวตั ิผูต้ อ้ งขงั ดว้ ย
3.2 การตรวจคน้ กรณพี ิเศษ ให้ประสานหนว่ ยงานภายนอกเข้ารว่ มในการตรวจคน้
3.3 การตรวจคน้ บคุ คล อาคารสถานท่ี และยานพาหนะ ใหต้ รวจคน้ อยา่ งเครง่ ครดั และละเอยี ดถถ่ี ว้ น ไมม่ ี
ขอ้ ยกเว้น เชน่ การตรวจค้นผู้บรหิ ารระดบั สงู ทเ่ี ปน็ หญิง ควรให้เจ้าหนา้ ทหี่ ญิงเปน็ ผูต้ รวจค้น เปน็ ตน้
3.4 การนำ� เคร่อื งมือหรอื เทคโนโลยีสมยั ใหมม่ าใชใ้ นการตรวจคน้ เช่น เครื่องตรวจโลหะแบบมอื ถือ และ
เครอ่ื งตรวจโลหะแบบเดินผา่ น รวมถึงการใชก้ ารสังเกตร่วมด้วย เชน่ เคร่อื งบอดีส้ แกน
3.5 ผู้บริหารเรือนจ�ำ ทัณฑสถานจะต้องก�ำกับ ดูแลให้เจ้าหน้าท่ีและผู้ต้องขังปฏิบัติตามนโยบายอย่าง
เครง่ ครดั
3.6 จัดตง้ั คณะท�ำงานดา้ นการข่าว วางตัวเจา้ หนา้ ท่ี ผ้ตู ้องขัง และบุคคลอ่ืนเปน็ สายขา่ ว ทงั้ ภายในและ
ภายนอกเรือนจ�ำ วิธีการหาข่าว ช่องทางในการให้ข่าว และการแลกเปลี่ยนข้อมูลท้ังจากส่ือ บุคคลท่ัวไป ญาติ ผู้มา
ติดต่อหน่วยงาน และผู้ต้องขังที่ก�ำลังจะได้รับการปล่อยตัว มีการวิเคราะห์ข่าวเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีเป็นจริงและจัดเก็บ
ขอ้ มลู ดา้ นการขา่ วอยา่ งเปน็ ระบบ โดยเฉพาะผรู้ า้ ยรายสำ� คญั ผตู้ อ้ งขงั คดอี กุ ฉกรรจ์ และผตู้ อ้ งขงั คดสี ำ� คญั ๆ ทปี่ รากฏ
ในสือ่ ส่ิงพมิ พต์ ่างๆ

วารสารราชทัณฑ์ 83

4) จัดระเบยี บรา้ นค้าสงเคราะห์ในเรอื นจำ� การจ�ำหนา่ ย
สินค้าในร้านสงเคราะห์ผู้ต้องขังเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้เกิด
การสะสมของสัมภาระภายในเรือนจ�ำ เนื่องจากหากไม่มีการ
ก�ำหนดเพดานการซื้อขายสินค้าในแต่ละวัน ผู้ต้องขังจะซื้อสินค้า
กักตุนไว้เป็นจ�ำนวนมาก ทั้งเก็บไว้ใช้เองและน�ำไปขายต่อ
เพ่ือท�ำก�ำไร และในเม่ือไม่สามารถใช้ให้หมดไปภายในวันเดียว
จงึ สง่ ผลใหม้ สี นิ คา้ ในตลู้ อ๊ กเกอรเ์ กนิ ความจำ� เปน็ และเกนิ ปรมิ าณ
ท่ีอนญุ าตให้จดั เก็บได้
ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาระบบการตรวจค้นตัว
ผตู้ อ้ งขังทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
จากผลการวิจัยการพัฒนาระบบการตรวจค้นตัวผู้ต้องขัง
กรมราชทัณฑ์ยังต้องค�ำนึงถึงการด�ำเนินงานปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง
ด้านการควบคุมผู้ต้องขังตามแผนการแม่บทด้านการควบคุม
รวมทง้ั คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านดา้ นการควบคมุ ของกรมราชทณั ฑ์ และ
กรมราชทัณฑ์ควรมีเคร่ืองมือส�ำหรับประเมินการปฏิบัติงาน
ท่ีเปน็ มาตรฐานกลางเพ่ือให้เรือนจำ� น�ำไปเป็นกรอบแนวทางในการตรวจค้น โดยกลมุ่ ผศู้ กึ ษามีขอ้ เสนอแนะดังนี้
ขอ้ เสนอแนะเพื่อการนำ� ผลการวจิ ัยไปใช้
1) กรมราชทัณฑ์ควรพิจารณาสนับสนุนงบประมาณในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ ในการตรวจค้นตัว
ผู้ตอ้ งขงั ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ
2) กรมราชทัณฑ์ควรมีการก�ำหนดแผนหรือรูปแบบการตรวจค้นตามหลักมาตรฐานสากลและน�ำไปปฏิบัติ
ในเรือนจำ� ให้เปน็ รูปแบบเดยี วกันทั่วประเทศ
3) กรมราชทณั ฑจ์ ะต้องใหเ้ รอื นจำ� ท�ำการแยกขงั ผตู้ ้องขังระหวา่ งพจิ ารณาคดีออกจากนักโทษเดด็ ขาด ตอ้ งมี
การแยกขงั ผตู้ อ้ งขงั วยั หนมุ่ หรอื เดก็ เยาวชนฝากขงั จากสถานพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน ออกจากผตู้ อ้ งขงั ผใู้ หญ่
และมีการแยกคุมขังผู้ต้องขังท่ีถูกจ�ำคุกจากเหตุทางคดีแพ่ง เช่น คดีเช็ค ฉ้อโกง เป็นต้น ออกจากผู้ต้องขังท่ีถูกจ�ำคุก
จากการกระท�ำผิดในคดีอาญา ซง่ึ เรอื นจำ� ต้องจ�ำแนกลกั ษณะผตู้ ้องขัง และมีการแยกขงั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ประเภทและ
ลกั ษณะของผตู้ อ้ งขงั ดงั กลา่ ว โดยคำ� นงึ ถงึ ความมนั่ คงแขง็ แรง และระบบการรกั ษาความปลอดภยั ทเี่ หมาะสม สามารถ
จ�ำแนกและแยกประเภทของผู้ตอ้ งขงั แต่ละประเภทออกจากกัน เพอ่ื ชว่ ยให้การควบคุม ตรวจค้น ตลอดจนการปฏิบัติ
ต่อผู้ต้องขังท�ำได้ง่ายเพื่อเป็นการป้องกัน การถ่ายทอดลักษณะนิสัยและวิธีการเรียนรู้ส่ิงที่กระท�ำผิดซ่ึงกันและกัน
โดยเฉพาะการเรยี นรเู้ ทคนิค วธิ กี ารกระทำ� ผิดของผูต้ ้องขังวยั หนุม่ ซง่ึ มีอายุระหว่าง 18 – 25 ปี จากผตู้ ้องขังผู้ใหญ่
และเพ่ือประโยชน์ในการควบคุมผู้ต้องขังให้อยู่ในระเบียบวินัย สะดวกต่อการตรวจค้น และการไม่ก่อเหตุวุ่นวาย
ตามหลักการจัดสภาพแวดล้อมในเรือนจ�ำทเ่ี หมาะสม
4) กรมราชทัณฑ์จ�ำเป็นต้องน�ำแนวทางการก�ำหนดพื้นที่สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของเรือนจ�ำ โดยพิจารณา
ตามประโยชน์ใช้สอยเพื่อผลของการควบคุมผู้ต้องขังไม่ให้หลบหนีมาด�ำเนินการอย่างเคร่งครัด โดยการแบ่งแยกพ้ืนท่ี
ออกเป็น 3 ประเภท เพ่ือให้ง่ายและเอ้ืออ�ำนวยต่อการตรวจค้นในเรือนจ�ำ คือ 1) พื้นที่ห้ามเข้า หมายถึง พื้นท่ีของ
อาณาบริเวณของเรือนจ�ำท่ีห้ามมิให้ผู้หนึ่งผู้ใดไม่ว่าจะเป็นผู้ต้องขังหรือเจ้าหน้าท่ีเข้าสู่พ้ืนท่ีน้ีโดยเด็ดขาด เช่น พ้ืนท่ี

84 วารสารราชทัณฑ์

รอบกำ� แพง เรอื นจ�ำด้านใน ซึง่ ถือเป็นพนื้ ที่ห้ามเข้าหรอื พ้ืนท่ีอันตราย 2) พ้นื ท่ีเฉพาะ หมายถงึ พ้นื ที่หรืออาณาบรเิ วณ
ของเรอื นจ�ำทีอ่ นญุ าตให้เฉพาะเจ้าหน้าที่ ที่มหี นา้ ท่เี ท่านนั้ เข้าไปในพืน้ ท่นี ีไ้ ด้ เชน่ พนื้ ท่ีรอบแดนตา่ งๆ ทีก่ ันไว้เพื่อการ
ตรวจตราของเจา้ หนา้ ทรี่ วมทงั้ พนื้ ทรี่ อบกำ� แพงภายนอก และ 3) พน้ื ทท่ี วั่ ไป หมายถงึ พน้ื ทห่ี รอื อาณาบรเิ วณของเรอื นจำ�
ที่อนุญาตเฉพาะเจ้าหน้าที่ที่มีหน้าท่ีและผู้ต้องขังเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ได้ โดยผู้ต้องขังยังคงอยู่ภายใต้การควบคุม
ดแู ลของเจา้ หนา้ ทใี่ นการใชพ้ นื้ ทน่ี นั้ เชน่ พนื้ ทอ่ี าคารเรอื นนอน โรงงานฝกึ วชิ าชพี โรงเลยี้ ง และสนามกฬี าออกกำ� ลงั กาย
5) กรมราชทณั ฑค์ วรดำ� เนนิ นโยบายการจดั ระเบยี บเรอื นจำ� ใหป้ ระสบความสำ� เรจ็ ภายใตเ้ ปา้ ประสงค์ “องคก์ ร
แห่งการพัฒนาและมีประสิทธิภาพ” เปน็ องค์กรแหง่ การปรับปรุงกระบวนงาน องค์กรแห่งความโปร่งใส ก้าวหนา้ และ
ทันสมัย องค์กรแห่งการจัดการและถ่ายทอดความรู้ และเป็นองค์กรแห่งความร่วมมือ กรมราชทัณฑ์ต้องปรับเปล่ียน
กระบวนการพฒั นาบคุ ลากร พรอ้ มทงั้ สนบั สนนุ ใหเ้ จา้ หนา้ ทไ่ี ดพ้ ฒั นาศกั ยภาพในดา้ นตา่ งๆ เพอื่ กา้ วสศู่ ตวรรษใหมข่ อง
กรมราชทัณฑ์ โดยมเี ปา้ หมายความส�ำเรจ็ ของการจัดระเบยี บเรอื นจำ� เปน็ ตวั ช้วี ัดความสำ� เร็จ
6) กรมราชทัณฑ์ควรจัดระเบียบร้านค้าสงเคราะห์ในเรือนจ�ำ การจ�ำหน่ายสินค้าในร้านสงเคราะห์ผู้ต้องขัง
ให้เป็นมาตรฐานเพ่ือให้การตรวจคน้ มีประสทิ ธภิ าพ
7) กรมราชทัณฑ์และเรือนจ�ำ ต้องเน้นการติดต่อสื่อสารและประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก
ทเี่ กย่ี วขอ้ งอยา่ งเปน็ ระบบ เชน่ มีการประสานขอความรว่ มมือในการตรวจคน้ จากหนว่ ยงานทหาร ตำ� รวจ หรอื จงั หวดั
ในพน้ื ท่ี เปน็ ต้น โดยมีการประชมุ รว่ มกัน มกี ารท�ำบนั ทึกข้อตกลงระหว่างหนว่ ยงานร่วมกนั อยา่ งเปน็ ระบบ
ข้อเสนอแนะเพ่ือการวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป
ควรศึกษาเพิ่มเติมโดยก�ำหนดเป้าหมายเรือนจ�ำท่ีสามารถด�ำเนินการจัดระเบียบเรือนจ�ำ หรือเรือนจ�ำ
ท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านการตรวจค้นตามกรอบและมาตรฐานที่กรมราชทัณฑ์ก�ำหนดให้ครอบคลุมทุกภูมิภาค
ทกุ กลุ่มเรือนจำ� ความมัน่ คง เพราะบริบทของพนื้ ท่ีที่ตา่ งกัน วัฒนธรรมของผตู้ ้องขงั เจ้าหนา้ ที่ท่ตี ่างกนั จะเปน็ ปัจจยั
ท่ีสะท้อนปัญหาและอุปสรรคของการด�ำเนินงานที่ต่างกันด้วย ตลอดจนต้องมีการวิจัยประเมินผลการจัดท�ำเรือนจ�ำ
น�ำร่อง ด้านการควบคุมและการตรวจค้นเพ่ือให้เป็นต้นแบบในการพัฒนาเรือนจ�ำท่ีมีประสิทธิภาพด้านการควบคุม
เพ่ือเป็นประโยชนใ์ นการเปน็ แบบอยา่ งให้เรือนจำ� อ่นื ๆ ของกรมราชทณั ฑต์ ่อไป

คณะผู้จัดทำ� บทความวิชาการ (กลมุ่ กป. 2)
หลักสตู รนกั ศึกษาผ้บู ัญชาการเรอื นจ�ำ (นผบ. ร่นุ 31)
1. นางวรนุช ผ่องนพคุณ นกั วชิ าการอบรมและฝกึ วชิ าชพี ชำ� นาญการพเิ ศษ สงั กดั กองพฒั นาพฤตินสิ ัย
2. นายศภุ โชค ควรฦาชยั นกั ทัณฑวิทยาช�ำนาญการพเิ ศษ สังกดั กองทัณฑวทิ ยา
3. นายณฐั กร ปยิ จันทร์ นกั ทณั ฑวทิ ยาช�ำนาญการพิเศษ สังกดั เรอื นจำ� จงั หวดั แพร่
4. นายเริงศักดิ์ เกตจุ นั ทกึ นักทัณฑวทิ ยาช�ำนาญการพิเศษ สงั กดั ทณั ฑสถานเปดิ บา้ นเนนิ สงู
5. นายจริ วุฒิ ปุญญาสวสั ด์ิ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำ� นาญการพเิ ศษ สังกดั เรอื นจำ� พิเศษมนี บรุ ี
6. นายอาคม ภศู ร ี นกั ทัณฑวทิ ยาช�ำนาญการพเิ ศษ สังกดั เรอื นจำ� อำ� เภอไชยา
7. นายมนญู ส�ำเรจ็ นกั ทณั ฑวทิ ยาช�ำนาญการพิเศษ สังกดั เรือนจำ� พิเศษพทั ยา
8. นางสาวณิชาพร ดวงใจ นักทณั ฑวิทยาช�ำนาญการพเิ ศษ สงั กดั ทณั ฑสถานหญงิ เชยี งใหม ่
9. นายทวี ฤทธิเสน นักทัณฑวิทยาชำ� นาญการพเิ ศษ สงั กดั เรอื นจำ� อำ� เภอกนั ทรลกั ษ ์
10. นายอนันตเดช คะแนนสิน เจา้ พนักงานราชทณั ฑอ์ าวุโส สังกัดเรอื นจ�ำจงั หวัดนนทบรุ ี

วารสารราชทัณฑ์ 85

แนะนำ� หนงั สอื จตุพร ธิราภรณ์
กองพฒั นาพฤตินิสัย

ชื่อหนงั สือ : โทษประหารชีวติ
ผู้แต่ง : ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. สมุ นทพิ ย์ จติ สวา่ ง
ปีท่ีพิมพ์ : 2561
พิมพ์ท่ี : โรงพิมพแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รปู เล่ม : 284 หน้า

ปรทิ ัศน์หนังสือ “โทษประหารชวี ติ ”

เม่ือไม่นานมาน้ีกระแสเร่ืองการบังคับโทษประหารชีวิตของกรมราชทัณฑ์ เป็นที่น่าสนใจและจับตามอง
อยา่ งกว้างขวางในสงั คม รวมถงึ ยงั มีการออกมาแสดงความคดิ เห็นในรปู แบบตา่ งๆ แม้บางมมุ มองอาจจะเป็นเรอ่ื งทน่ี า่
หดหู่แต่กน็ ับวา่ เป็นนมิ ิตหมายอนั ดใี นการสร้างความตน่ื รู้ให้เกดิ ขึ้นเปน็ สังคมอุดมปัญญา โดยเฉพาะอย่างย่งิ ประเด็นท่ี
เกยี่ วขอ้ งกบั สาขาวชิ าอาชญาวทิ ยา ทณั ฑวทิ ยา และกระบวนการยตุ ธิ รรม สอดคลอ้ งกบั มาตรา 18 ประมวลกฎหมาย
อาญาแห่งราชอาณาจักรไทย ได้ก�ำหนดโทษส�ำหรับผู้กระท�ำผิด ไว้ 5 ประการ ได้แก่ ประหารชีวิต จ�ำคุก กักขัง
ปรับ และริบทรัพย์สิน อย่างไรก็ดีในหลักทัณฑวิทยาได้กล่าวถึงทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการลงโทษตั้งแต่
อดีตจนถงึ ปัจจบุ ัน สามารถแบ่งออกเป็น 4 ทฤษฎี กลา่ วคือ
1. ทฤษฎกี ารลงโทษเพ่ือแก้แค้น หรือทดแทนความผดิ (Retributive Theory)
2. ทฤษฎีการลงโทษเพื่อปอ้ งกัน หรือขม่ ขู่ ยับย้งั หรอื แบบอรรถประโยชน์ (Utilitarian Theory)
3. ทฤษฎีการลงโทษเพือ่ แก้ไขฟ้ืนฟู (Rehabilitative Theory)
4. ทฤษฎีการลงโทษเพือ่ ปกป้องค้มุ ครองสงั คม (Social Protection Theory)

86 วารสารราชทัณฑ์

ซงึ่ วตั ถปุ ระสงคด์ งั กลา่ วยงั คงมกี ารถอื ปฏบิ ตั อิ ยใู่ นปจั จบุ นั ตามแตก่ รณี
อย่างไรกต็ ามเมือ่ ชว่ งเดอื นพฤษภาคม 2561 ส�ำนกั พมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
ได้มีการตีพิมพ์หนังสือ “โทษประหารชีวิต” และวางจ�ำหน่ายท่ีศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั ในเวลาตอ่ มา ขนาดของหนงั สอื ดงั กลา่ วมคี วามหนากำ� ลงั พอดี จำ� นวน 284 หนา้
จดั พมิ พ์ด้วยกระดาษถนอมสายตา ตวั อักษรชัดเจน อา่ นง่าย ในราคาเพยี ง 250 บาท โดยเป็น
ผลงานของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุมนทิพย์ จิตสว่าง หัวหน้าภาควิชาสังคมวิทยาและ
มานุษยวิทยา ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาและ
งานยตุ ิธรรม คณะรัฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผู้ซึ่งมีความรู้ความเชีย่ วชาญเป็นพเิ ศษในดา้ นอาชญาวิทยาและ
ทัณฑวิทยา ด้วยความที่เคยรับราชการในต�ำแหน่งที่เก่ียวข้องด้านทัณฑวิทยาของกรมราชทัณฑ์ นอกจากนี้ ผู้แต่ง
ยังมีผลงานวิจัยที่มีเน้ือหาเกี่ยวข้องกับโทษประหารชีวิต ได้แก่ ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยา
การบริหารงานยุติธรรมและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล เร่ือง “ปัจจัยท่ีมีผลต่อการกระท�ำผิดของนักโทษประหาร”,
รายงานวจิ ยั เรือ่ ง “เสน้ ทางชวี ิตของนกั โทษประหาร” ไดร้ ับทนุ สนบั สนุนการวจิ ัยจากจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย และ
รายงานการวจิ ยั เรอื่ ง “โทษประหารชวี ติ ในประเทศไทย” ไดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั จากสำ� นกั งานคณะกรรมการสทิ ธิ
มนุษยชนแห่งชาติ รวมถึงงานวิจัยอ่ืนๆ อีกเป็นจ�ำนวนมาก จะเห็นได้ว่าประสบการณ์ผนวกกับความสนใจเป็นพิเศษ
ของผู้แต่งหนังสือมีความสอดคล้องกันเป็นการรับรองได้ว่า ผู้อ่านจะไม่ผิดหวังในเร่ืองแง่ความคิดครบถ้วนสมบูรณ์
ในทางวิชาการอยา่ งแน่นอน
หนงั สอื “โทษประหารชวี ติ ” เปน็ หนงั สอื ทเี่ รยี กไดว้ า่ “ตรงปก” กลา่ วคอื ชอ่ื หนงั สอื กบั เนอ้ื หามคี วามเทย่ี งตรง
ต่อกัน ด้วยความตรงไปตรงมาเช่นน้ีท�ำให้เป็นเสน่ห์ชวนติดตามอย่างหน่ึง อีกท้ังการเข้าถึงข้อมูลในการสร้างสรรค์
ผลงานนั้นไมใ่ ชเ่ รอ่ื งง่าย กล่าวคอื เรอื นจำ� หาใชส่ ถานท่ีอภิรมย์ใจสำ� หรบั คนทั่วไปไม่ รวมทง้ั ผูต้ ้องขงั ที่ต้องโทษประหาร
ชวี ติ มใิ ชผ่ ตู้ อ้ งขงั ทว่ั ไปทจ่ี ะเขา้ เยยี่ มหรอื ขอสมั ภาษณไ์ ดโ้ ดยงา่ ย ทำ� ใหก้ ารเขา้ ถงึ แหลง่ ขอ้ มลู ตอ้ งใชค้ วามวริ ยิ ะอตุ สาหะ
อย่างแรงกล้า ย่ิงไปกว่านั้นการเข้าถึงความรู้ความจริงจากแหล่งข้อมูลย่ิงท�ำได้ยากกว่า อนึ่งต้องอาศัยสรรพวิทยาทั้ง
ศาสตรแ์ ละศลิ ปอ์ ยา่ งมากในการกลนั่ กรองขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ออกมาเรยี บเรยี งเรอ่ื งราว และรอ้ ยเรยี งเปน็ ตวั หนงั สอื
ได้ เพยี งเท่านีห้ นงั สือ “โทษประหารชีวติ ” กน็ บั ได้วา่ เปน็ หนังสือทที่ รงคุณคา่ ทำ� หน้าท่เี ป็นส่อื กลางใหผ้ ูอ้ ่านได้เข้าใจ
ประเด็นปัญหาหลังก�ำแพงสูงท่ีน้อยคนจะได้สัมผัสหรือเข้าถึง อีกทั้งยังเป็นการบูรณาการความรู้ที่เกี่ยวข้องจาก
หลายศาสตร์ในรูปแบบสหวิทยาการ ท้ังวิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์ท่ีเช่ือมโยงมากับปรัชญา รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์
มาจนถึง สงั คมวิทยา มานุษยวิทยา จิตวทิ ยา และปจั จัยสนบั สนนุ อ่ืนๆ เชน่ เศรษฐศาสตร์ การสงั คมสงเคราะห์ เขา้ กบั
อาชญาวิทยา ทัณฑวิทยา และงานยุติธรรม ทั้งนี้ ที่น่าสนใจคือการอธิบายเข้ากับหลักการด้านสิทธิมนุษยชน
และหลักการทางด้านศาสนาด้วย ทั้งน้ีก็เพ่ือมุ่งอธิบายปรากฏการณ์การใช้โทษประหารชีวิตในสังคมอย่างแท้จริง
โดยหนงั สือไดแ้ บ่งออกเปน็ 6 บท ประกอบด้วย
บทที่ 1 ประวัติและพัฒนาการเก่ียวกับการลงโทษประหารชีวิตของต่างประเทศ เป็นการกล่าวถึงจุดเริ่มต้น
ของการมโี ทษประหารชวี ติ ทสี่ ามารถอา้ งองิ ไดใ้ นทางประวตั ศิ าสตร์ รวมถงึ รปู แบบการลงโทษประหารชวี ติ ในอดตี จนถงึ
ปจั จบุ ันในมิตโิ ลกสากล
บทที่ 2 ประวัติและพัฒนาการเก่ียวกับการลงโทษประหารชีวิตของประเทศไทย ในรายละเอียดของ
หัวข้อน้ี ได้มีการแบ่งยุคสมัยตามประวัติศาสตร์ไทยไว้ได้อย่างชัดเจน ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมถึงอธิบายวิธีการ
บังคับโทษไว้อย่างละเอียดท�ำให้เห็นพัฒนาการได้อย่างชัดเจนยิ่งข้ึน ท้ังได้เน้นหนักในช่วงการเปลี่ยนผ่านและการ
เปลี่ยนแปลงทางแนวคิดรปู แบบการปกครองทม่ี ีผลเกย่ี วข้องมาบังคับใช้โทษประหารชวี ิตด้วย

วารสารราชทัณฑ์ 87

บทที่ 3 สถานการณ์เกี่ยวกับการประหารชีวิต เน้ือหาสาระในบทน้ีมีความทันสมัยอย่างมากมีการหยิบยก
ข้อมูลจากองค์การนิรโทษกรรมสากล ในปี พ.ศ. 2560 มากล่าว ทั้งยังมีการอธิบายท่าทีของต่างประเทศที่ส�ำคัญ
ทงั้ กลมุ่ ประเทศอาเซยี น และประเทศตา่ งๆ โดยรวมทวั่ โลก ทม่ี ตี อ่ โทษประหารชวี ติ นำ� ไปสแู่ นวทางการปฏบิ ตั ใิ นอนาคต
ประเดน็ เพมิ่ เตมิ ทคี่ วรจบั ตามองอกี ประการหนงึ่ ทก่ี ลา่ วถงึ ในบทนี้ คอื การประหารชวี ติ เดก็ และเยาวชน และสถานการณ์
การยกเลิกโทษประหารชวี ิตซึ่งนา่ สนใจอย่างย่ิง
บทท่ี 4 โทษประหารชวี ติ กบั หลกั การทสี่ ำ� คญั ในสงั คม ในสว่ นของบทนเ้ี ปน็ การหยบิ ยกเอาทฤษฎอี าชญาวทิ ยา
ท่ีเก่ียวข้องเข้ามาเป็นเคร่ืองมือในการบรรยายปรากฏการณ์ รวมถึงมุมมองด้านสิทธิมนุษยชน และแนวทางซ่ึงเป็น
บรรทัดฐานสังคมน้ัน คือ หลักการทางศาสนาและศีลธรรมจากทุกศาสนา โดยมีจุดแข็ง คือ การมองผ่านหลักธรรม
คำ� สอนทางพระพทุ ธศาสนา
บทท่ี 5 เส้นทางชีวติ ของนกั โทษประหาร เปน็ การศึกษาในเชงิ ลกึ โดยศึกษาจากกรณีศกึ ษา เสน้ ทางชีวิตของ
ผตู้ อ้ งโทษประหารชวี ติ การกอ่ เหตกุ ระทำ� ความผดิ ปจั จยั แวดลอ้ ม การตดั สนิ ใจ การลงมอื โดยนำ� เสนอเปน็ บทสมั ภาษณ์
ที่มีการเกบ็ ขอ้ มูลโดยการสมั ภาษณ์ผูต้ ้องขังภายในเรอื นจำ� หยบิ ยกมาน�ำเสนอไวใ้ นลักษณะขอ้ มลู ปฐมภูมิ
บทท่ี 6 ขอ้ สนบั สนนุ และคดั คา้ นการใชโ้ ทษประหารชวี ติ และมาตรการทางเลอื กแทนการประหารชวี ติ เปน็ การ
นำ� เสนอปจั จยั ตา่ งๆ จากทว่ั โลกทส่ี ง่ ผลตอ่ การยกเลกิ โทษประหารชวี ติ รวมถงึ ขอ้ เสนอแนะในการสนบั สนนุ และคดั คา้ น
อีกท้ังจุดยืนของประเทศไทยในเรื่องดังกล่าว มาตรการทางเลือก ปัญหา อุปสรรค และการบริหารจัดการที่เก่ียวข้อง
ทัง้ ระบบในการบังคับโทษประหารชีวติ
การประหารชีวิตอาจฟังดูโหดร้ายทารุณและมุ่งเน้น
การแก้แค้นทดแทนและเพื่อข่มขู่ยับยั้งป้องปรามสังคมไม่ให้เกิด
อาชญากรรม การตัดโอกาสผู้กระท�ำผิดออกจากสังคมเป็นส�ำคัญ
ในปัจจุบันการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดได้เน้นการแก้ไขฟื้นฟู
เพราะผู้ท่ีกระท�ำผิดไม่ได้เป็นอาชญากรรมโดยก�ำเนิด หากแต่
กระท�ำผิดเนื่องจากการถูกสภาพแวดล้อมรอบตัวที่บีบบังคับ
หรือหล่อหลอม อันส่งผลให้ประเทศส่วนใหญ่ท่ัวโลกมีการยกเลิก
โทษประหารชวี ติ การยกเลกิ โทษประหารชวี ติ จงึ ยงั เปน็ ประเดน็ ที่
มกี ารถกเถียงกันอยู่ในสังคมไทย และเป็นการต่อสู้กันของกระแส
ภายในประเทศ แตก่ ระแสสากลจะมองขา้ มกระแสภายในประเทศ
เพอ่ื ใหม้ กี ารยกเลกิ โทษประหารชวี ติ ไดห้ รอื ไมน่ นั้ กข็ นึ้ อยกู่ บั ความ
เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ การเมือง และบรบิ ททางสงั คมของประเทศ
นนั้ ๆ ทที่ �ำใหก้ ารใช้โทษประหารชีวิตถดถอยลง
ทงั้ หมดนี้ เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ วา่ หนงั สอื “โทษประหารชวี ติ ”
เปน็ เสมอื นจดหมายเหตซุ งึ่ จะไดเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ในการบนั ทกึ ชว่ งเวลา
ประวัติศาสตร์ไว้ในอนาคต รวมถึงเป็นหนังสือท่ีคู่ควรแก่นักอ่านท่ีมิใช่เฉพาะแต่แวดวงนักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้อง
เท่านั้น ทว่ายังเหมาะส�ำหรับท่านผู้สนใจโดยท่ัวไปที่สามารถน�ำไปวิเคราะห์กับสถานการณ์ที่เกิดข้ึนในสังคมได้จริง
เพราะเร่อื งดงั กล่าวมใิ ช่เรือ่ งไกลตวั เปน็ ส่ิงท่ที ุกคนควรรูเ้ พื่อรว่ มแกไ้ ขปัญหาของสังคมนี้ตอ่ ไป

88 วารสารราชทัณฑ์

เรือนจำ� ไทยในอดตี

เรือนจาํ กลางนครสวรรค์

การเปล่ียนแปลงการปกครองหัวเมือง ใน รศ. 111 (พ.ศ. 2435)
สมเดจ็ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย รบั ส่งั ให้
รวบรวมหวั เมอื งตา่ งๆ เขา้ เปน็ มณฑลเพอ่ื ใหง้ า่ ยตอ่ การปกครอง รวมหวั เมอื ง
ทางตอนเหนือแม่น�้ำเจ้าพระยาขึ้นไปถึงแม่น�้ำปิง คือ เมืองชัยนาท 1
เมอื งสรรคบรุ ี 1 เมอื งมโนรมย์ 1 เมอื งตาก 1 เมอื งอทุ ยั ธานี 1 เมอื งพยหุ ะครี ี 1
เมอื งกําแพงเพชร 1 เมอื งนครสวรรค์ 1 รวม 8 เมือง เปน็ มณฑล 1
ตงั้ ทวี่ า่ การมณฑล ณ เมอื งนครสวรรค์ เรยี กวา่ “มณฑลนครสวรรค”์
ต า ร า ง ที่ ใ ช ้ คุ ม ขั ง ล ง ทั ณ ฑ ์ ผู ้ ร ้ า ย ใ น ส มั ย นั้ น จึ ง เ ป ล่ี ย น เ ป ็ น
“ตารางมณฑลนครสวรรค”์
ในอดตี ไมป่ รากฏหลกั ฐานการดําเนนิ การของตารางมณฑล
นครสวรรค์ สันนิษฐานว่าสร้างข้ึน ราว พ.ศ. 2435 จนกระทั่ง
พ.ศ. 2471 พัศดีเรือนจําได้มีการบันทึกและการถ่ายภาพเก่ียวกับ
การปฏบิ ตั งิ านของเรอื นจําไวเ้ ปน็ ครง้ั แรก มกี ารเปลยี่ นแปลงทสี่ ําคญั
โดยได้เปลี่ยนฐานะเป็นเรือนจําจังหวัด พ.ศ. 2440 และมีการเปลี่ยนจากกําแพงไม้เป็นก�ำแพงคอนกรีต พ.ศ. 2500
มีการปรับปรุงเรือนจําคร้ังใหญ่ โดยก่อสร้างกําแพงใหม่ท่ีสูงกว่าเดิมและแข็งแรงมากข้ึน พ.ศ. 2516 จนถึงปัจจุบัน
และได้ยกฐานะจากเรือนจําจังหวัดนครสวรรค์ เป็นเรือนจํากลางนครสวรรค์ พ.ศ. 2519 ต้ังอยู่ที่ต้ังในปัจจุบันตั้งแต่
ในอดีตไม่เคยย้ายสถานที่
เรอื นจํากลางนครสวรรค์ ตง้ั อยเู่ ลขที่ 401 หมู่ 9 ตําบลนครสวรรคต์ ก อําเภอเมอื งนครสวรรค์ จงั หวดั นครสวรรค์
อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดนครสวรรค์ ทางด้านหน้าของเรือนจําหรือทางทิศใต้ของเรือนจําติดกับ
ถนนโกสีย์ใต้ ห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ 200 เมตร ห่างจากศาลจังหวัดประมาณ 50 เมตร และห่างจาก
สถานีตํารวจ อําเภอเมืองนครสวรรค์ ประมาณ 300 เมตร พื้นทร่ี วมท้ังสนิ้ 15 ไร่ 2 งาน 72 ตารางวา แบ่งเปน็ พืน้ ที่
ภายใน 12 ไร่ 2 ตารางวา พ้นื ท่ภี ายนอก 3 ไร่ 72 ตารางวา
เรือนจําชั่วคราวคลองโพธ์ิ ตั้งอยู่เลขท่ี 837/171 หมู่ 10 ตําบลนครสวรรค์ตก อําเภอเมืองนครสวรรค์
จังหวัดนครสวรรค์ ใช้ประโยชน์ในด้านการฝึกวิชาชีพเกษตรกรรมให้แก่ผู้ต้องขัง มีพ้ืนท่ี 1,040 ไร่ พื้นท่ีใช้ประโยชน์
71 ไร่ พนื้ ทที่ ไี่ มไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชนห์ รอื พนื้ ทวี่ า่ งเปลา่ 469 ไร่ เนอ่ื งจากอยใู่ นระหวา่ งขอ้ พพิ าทกบั ราษฎรทม่ี าบกุ รกุ ซง่ึ ขณะนี้
อย่ใู นระหวา่ งการพิจารณาของศาลและบางส่วนคดถี ึงท่สี ดุ แล้ว ปรากฏว่าเรอื นจํากลางนครสวรรค์ เปน็ ฝา่ ยชนะคดี

วารสารราชทัณฑ์ 89

E-Commerce ราชทณั ฑ์ GPGPTHAI WWW.GPGPTHAI.COM

เขต 1 เรือนจ�ำ 10 เขต

036-411-068 ตอ่ 13 ของดีเรือนจำ� กลางลพบรุ ี

“ตะกร้าจักสาน” ท�ำจากหวายเป็นรูปทรงไข่
ประดิษฐ์ขึ้นจากฝีมือผู้ต้องขัง ด้วยความประณีตบรรจง
ตะกร้าหวาย คือ ภูมิปัญญาของคนไทยมาช้านาน จึงได้
สืบทอดไว้เพื่อเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย โดยจัดท�ำ
ลวดลายรูปเรือสุพรรณหงส์ และรูปพระปรางค์สามยอด
สัญลกั ษณ์ของจงั หวัดลพบรุ ีไวต้ รงกลาง บนลายดอกพิกลุ
ที่เรยี งเส้นสายคมชัดเรยี บเนียนอย่างสวยงาม

ของดีทัณฑสถานบ�ำบดั พเิ ศษหญิง 02-577-1850

“หมอนอิงดอกไม้” งานหัตถกรรมงานฝีมือจาก
ผตู้ อ้ งขังหญงิ ทัณฑสถานบำ� บัดพิเศษหญิง หมอนองิ ดอกไม้
งดงามด้วยลายปักอันวิจิตรบรรจง ซ่ึงได้รับการออกแบบ
อย่างทันสมัย หมอนอิงท�ำจากผ้าลายไทยซ่ึงเป็นสินค้า
ยอดนิยม หรือแม้แต่ชุดที่นอนเด็ก ผลงานทุกชิ้นรอทุกท่าน
ณ ทัณฑสถานบ�ำบดั พเิ ศษหญิง

035-345-518 ของดีทัณฑสถานวัยหนมุ่ พระนครศรีอยุธยา
90 วารสารราชทัณฑ์
“ตะกร้าอเนกประสงค์” มีการส่งเสริมด้านการศึกษาให้กับ
ผตู้ อ้ งขงั เปน็ พเิ ศษ ในขณะเดยี วกนั กม็ กี ารฝกึ อาชพี ควบคไู่ ปดว้ ย แตว่ ชิ าชพี
ส่วนใหญ่จะเป็นสาขาที่ต้องใช้สมาธิและความละเอียดอ่อน ประณีต
ประเภทงานจักสาน ท�ำจากไม้ไผ่ผสมหวายคุณภาพดีมีความแข็งแรง
ทนทาน สามารถใช้ประโยชน์ได้หลายโอกาส เช่น เก็บเส้ือผ้า สิ่งของ
ท่เี หลือใช้ และสามารถใช้เปน็ เก้าอีน้ ่ังพักผ่อนได้

เขต 2

ของดีทัณฑสถานเปดิ บ้านเนนิ สูง

“ไม้กวาดจากไม้ไผ่” เนื่องจากมีการปลูกป่าไผ่
ซึ่งเป็นวัตถุดิบท่ีหาง่าย การน�ำไผ่มาเป็นวัตถุดิบในการท�ำ
เป็นไม้กวาดจากไม้ไผ่ จึงเป็นผลิตภัณฑ์ที่ข้ึนชื่อของ
ทัณฑสถานเปิดแห่งน้ี เพราะมีความคงทน แข็งแรง และ
ราคาถกู นอกจากน้ยี ังมพี นั ธุ์ไผจ่ �ำหนา่ ยหลากหลายชนิด

037-308012

ของดีเรอื นจาํ กลางระยอง 038-637759 ต่อ 109

“ผลิตภัณฑ์ด้านหัตถกรรม” ผลิตภัณฑ์
ด้านหัตถกรรมจากเรือนจํากลางระยอง ล้วนเป็น
ฝีมือจากผู้ต้องขังหญิงท้ังส้ิน เพื่อส่งเสริมการฝึก
วชิ าชพี และขดั เกลาจติ ใจใหม้ คี วามออ่ นโยน การนํา
วัสดุเหลือใช้หรือช้ินส่วนจากธรรมชาติมาประดิษฐ์
เป็นของชําร่วย หรือของตกแต่งอาคารบ้านเรือน
เช่น ผลิตภัณฑ์จากลูกประดู่ ยางพารานํามา
ประดษิ ฐเ์ ปน็ ช่อดอกไม้ หรอื พวงกญุ แจ เป็นตน้

038-282002 ต่อ 113 ของดีทณั ฑสถานหญิงชลบรุ ี

“ผลิตภัณฑ์ผ้าสาน” ทัณฑสถานหญิง
ชลบุรี เป็นสถานท่ีควบคุมผู้กระทําผิดที่เป็น
หญิงล้วน วิชาชีพท่ีนํามาฝึกอบรมจึงเน้นด้าน
งานฝีมือ เช่น ผลิตภัณฑ์ผ้าสาน เป็นการนําผ้า
มาสานเปน็ ลวดลายตา่ งๆ อยา่ งสวยงาม ประณตี
แล้วนํามาประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์หลากหลายสี
หลากหลายรปู แบบอยา่ งสวยงามดว้ ยฝมี อื และ
ความคดิ สรา้ งสรรค์ เชน่ ผา้ ปโู ตะ๊ สามารถนําไป
ใช้ไดใ้ นโอกาสตา่ งๆ

วารสารราชทัณฑ์ 91

เขต 3

ของดีทัณฑสถานหญงิ นครราชสีมา

ดอกไมป้ ระดษิ ฐจ์ ากดนิ หอม เปน็ ผลติ ภณั ฑ์
ทีเ่ กิดข้ึนตามโครงการลดภาวะโลกรอ้ น เป็นการนํา
ทรัพยากรท่ีเหลือใช้มาต่อยอดอย่างชาญฉลาด
ด้วยความคิดสร้างสรรค์ จึงเกิดชิ้นงานท่ีประณีต
สวยงาม สดใส ด้วยฝีมือ และความต้ังใจของ
ผ้ปู ระดษิ ฐ์

044-323402-3

ของดีเรือนจำ� จังหวดั ชยั ภูมิ

“เตาเศรษฐกิจ” เป็นผลิตภัณฑ์ฝีมือ
ผู้ต้องขังที่ขึ้นชื่อของเรือนจ�ำ ซึ่งเป็นของที่ใช้
ประโยชน์ได้ในครัวเรือน ด้วยคุณภาพที่คงทน
แขง็ แรง ประหยดั พลงั งานและทสี่ ำ� คญั มรี าคาถกู

044-812831

ของดีเรอื นจ�ำจังหวดั อ�ำนาจเจรญิ

“ชุดรับแขกรากไม้” เรือนจ�ำจังหวัด
อ�ำนาจเจริญ ซึ่งได้เล็งเห็นความล้�ำค่าของรากไม้
และได้น�ำมาสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์ และ
เครอ่ื งเรือนจากรากไม้ เชน่ ชุดรับแขกรากไม้ท่ใี ห้
ความงามตามธรรมชาติ เปน็ การใชท้ รพั ยากรอยา่ ง
คมุ้ ค่าและไมส่ ญู เปลา่

045-511464

92 วารสารราชทัณฑ์

เขต 4

ของดีเรือนจําจังหวดั กาฬสนิ ธุ์

“เครื่องจักสาน (ข้อง/ไซดักปลา/ไดโนเสาร์/โปงลาง)“
งานฝีมือจักสานจากไม้ไผ่ ข้อง และไซ คือเคร่ืองมือหาปลาของ
ชาวบา้ น สอื่ ให้เห็นถึง วถิ ีชวี ติ ตามลําน�ำ้ ปาว ซึ่งงานจกั สานจาก
ภูมปิ ัญญา ถือได้ว่าเป็นสัญลกั ษณ์ประจําจังหวดั

043-873341

ของดีเรอื นจําจังหวดั มกุ ดาหาร

เตยี งนอน 6 ฟตุ ผลติ ภณั ฑท์ ำ� จากไมส้ กั
โดยฝีมืองานไม้ของผู้ต้องขังแห่งนี้ ด้วยคุณภาพ
ความแข็งของไม้ ทําให้มีความคงทน แข็งแรง
มีอายกุ ารใช้งานไดน้ านนับ 10 ปี

042-614312

043-519567 ของดีเรือนจําจังหวดั ร้อยเอ็ด

กระติบข้าว งานจักสานจากไม้ไผ่โดยฝีมือผู้ต้องขัง
เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ส่ี บื ทอดความเฉลยี วฉลาดของบรรพบรุ ษุ ซง่ึ ไดส้ ง่ั สม
ปฏิบัติสืบต่อกันมา เป็นภาชนะเก็บอาหารท่ีมาจากภูมิปัญญา
เก็บความร้อนได้ดี ไอน�้ำระเหยได้ เพราะมีการระบายอากาศได้ดี
ทําให้ข้าวเหนียวท่ีบรรจุภายในไม่แฉะเพราะไอน�้ำและคงความ
เหนียวนุ่มตลอดวนั

วารสารราชทัณฑ์ 93

เขต 5 053-122401-2 ตอ่ 18

ของดีเรือนจํากลางเชียงใหม่

“ชุดรับแขกไม้สัก” ไม้สัก เป็นต้นไม้
ขนาดใหญ่ ขนึ้ เปน็ หมใู่ นปา่ เบญจพรรณทางภาคเหนอื
ลกั ษณะเนอื้ ไมส้ เี หลอื งทอง ถงึ สนี ำ้� ตาลแก่ มลี ายเปน็
เส้นสีน�้ำตาลแก่แทรก เส้ียนตรง เน้ือหยาบ มีความ
แขง็ ปานกลาง ปลอดภยั จากปลวกและมอด เพราะใน
เน้ือไม้สักมีสารเคมีพิเศษอยู่ชนิดหนึ่ง ช่ือ O-cresyl
Methyl ether ซ่ึงป้องกันการทําลายของปลวก
และมอด

ของดีเรอื นจําจงั หวัดน่าน

“ชน้ั วางของอเนกประสงค์ 2 ชนั้ “ เรอื นจําจงั หวดั นา่ น
มีการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขังเกี่ยวกับงานไม้เคร่ืองเรือน ชั้นวางของ
อเนกประสงค์ 2 ช้ัน เป็นงานอีกช้ินหนึ่งที่ได้รับความนิยม
อยา่ งสงู เนอ่ื งจากมคี วามสวยงามดว้ ยฝมี อื ทปี่ ระณตี และลวดลาย
เน้ือไม้ตามธรรมชาติแล้วยังมีความแข็งแรง ทนทาน และราคา
ไม่สงู มาก

054-710275 ตอ่ 18

ของดีเรือนจ�ำจังหวัดพะเยา

เตียงนอนไม้สักทอง ผลิตจากไม้สักทอง
ไมค้ ณุ ภาพของภาคเหนอื เปน็ งานฝมี อื จากผตู้ อ้ งขงั
ท่ีได้รับการฝึกวิชาชีพ ด้วยโครงสร้างท่ีแข็งแรง
ทนทาน และปลอดภัยจากปลวกและมอด
ตามคุณสมบัติของไม้สักจึงทําให้ผลิตภัณฑ์ชิ้นนี้
เป็นเคร่ืองเรือนท่ีทรงคุณค่า อยู่คู่บ้านคู่เรือน
นบั ชั่วอายุคน

054-431922

94 วารสารราชทัณฑ์

ของดีเรอื นจ�ำกลางนครสวรรค์ เขต 6

ผลิตภัณฑ์เคร่ืองเรือนไม้สักทอง เรือนจํากลาง 056-221110 ต่อ 15
นครสวรรคจ์ งึ ไดผ้ ลติ เครอ่ื งเรอื นไมส้ กั หลากหลายจากฝมี อื
ผู้ต้องขังล้วนแล้วแต่ฝีมือประณีต รูปแบบคลาสสิค มี
ประโยชน์ใช้สอยไดอ้ เนกประสงค์ เชน่ ตูไ้ มส้ กั ทอง เป็นตู้
โบราณประดบั ลายไทยแกะสลกั อย่างสวยงาม ทัง้ ด้านบน
และกรอบกระจกใส

ของดีเรือนจาํ กลางตาก ของดีเรอื นจำ� กลางกำ� แพงเพชร

ชดุ รับแขกหลงั โค้ง 5 ช้นิ งานฝึกวชิ าชีพ งานไม้เฟอร์นิเจอร์ ตู้ใส่รองเท้า ตู้กับข้าว
ช่างไม้ เรือนจํากลางตากตั้งอยู่ในภูมิประเทศ เตยี งขากลม ชดุ อาหาร เรอื นจําไดฝ้ กึ อบรมวชิ าชพี งานไม้
ท่ีเต็มไปด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด เช่น ไม้สักทอง ให้กับผู้ต้องขัง จนสามารถสร้างผลิตภัณฑ์จากไม้สัก
เรือนจําได้นําไม้สักมาประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์ มากมาย เช่น โต๊ะอาหาร ตู้ใส่รองเท้า ตู้กับข้าว
ตา่ งๆ เชน่ ชุดรับแขกหลงั โค้ง 5 ชน้ิ และชนั้ วาง ชุดรับแขก ตู้เสื้อผ้า ตั่ง เตียง เป็นต้น ล้วนแล้วแต่มี
ของธรรมชาติ เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นฝีมือ รูปลักษณ์ทส่ี วยงาม มคี วามแข็งแรง คงทนทั้งสน้ิ
ของผู้ตอ้ งขังชายในเรือนจํา ท่ผี า่ นการฝึกวิชาชพี
จนชํานาญทั้งสิ้นจึงเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทรงคุณค่า 055-711981 ตอ่ 87-88
ทง้ั ความสวยงาม ความแขง็ แรงและคงทน มอี ายุ
ใชง้ านนานมากกว่า 90 ปี 055-711981 ต่อ 87-88
วารสารราชทัณฑ์ 95

เขต 7

ของดีเรือนจาํ กลางเขาบนิ

“เกา้ อหี้ วั โลน้ ” เรอื นจําแหง่ นกี้ ม็ กี ารฝกึ วชิ าชพี ใหแ้ ก่
ผตู้ อ้ งขงั เพอ่ื ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ใชเ้ วลาใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละฝกึ ทกั ษะ
อาชีพผลิตภณั ฑ์ที่มจี ําหน่าย ไดแ้ ก่ เตียงนอนไม้ 5 ฟตุ เก้าอี้
หัวโล้น ซึ่งมีรูปลักษณ์ที่สวยงาม ฝีมือประณีต แข็งแรง
ทนทาน และสามารถใช้งานได้อย่างคุม้ คา่

032-228106-8 ตอ่ 105

032-228118-9 ต่อ 105 ของดีเรอื นจาํ กลางราชบุรี

ผลิตภัณฑ์หินขัด จังหวัดราชบุรี ได้ช่ือว่า
เป็นจังหวัดท่ีผลิตโอ่งเป็นสินค้าประจําจังหวัด
จึงได้มีการฝึกวิชาชีพให้แก่ผู้ต้องขัง โดยเน้น
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ หิ น ขั ด ใ น ห ล า ก ห ล า ย รู ป แ บ บ
ให้สอดคล้องกับของดีของจังหวัด เช่น กระถาง
ต้นไม้กับรูปทรงกลม และทรงสี่เหล่ียม อ่างบัว
และโอ่ง เป็นต้น ผลิตภัณฑ์แต่ละช้ินได้รับ
การออกแบบ และลงลวดลายอย่างสวยงาม
ด้วยฝีมือที่ประณีต ให้คุณค่าทั้งด้านจิตใจและ
งานศิลป์

ของดีเรือนจำ� กลางเพชรบรุ ี

กงั หนั น้�ำไม้ไผ่ เปน็ ผลงานท่ีเกิดจาก ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ โดยแท้
ในการอาศัยแรงไหลของน้�ำทําให้กังหันเคล่ือนท่ีได้ นอกจากนั้น
เรือนจําช่ัวคราวเขากลิ้งยังมีฐานต่างๆ สําหรับฝึกและผลิตผลงาน
ทางดา้ นการเกษตร เชน่ เตาประสทิ ธภิ าพสงู ถา่ นนำ�้ สม้ ควนั ไม้ ฐานเลยี้ งแพะ
ฐานเล้ียงแย้ กระต่าย อิฐดิน การกล่ันสารหอมระเหยไล่แมลง
ผักปลอดสารพษิ

032-425014 ตอ่ 17

96 วารสารราชทัณฑ์

ของดีเรือนจํากลางนครศรธี รรมราช เขต 8

ชุดรับแขกหวาย โซฟาหวาย งดงามด้วยสี 075-358913 ต่อ 102
ธรรมชาติของหวาย ดูเรียบง่ายแต่แฝงไว้ด้วยความ
ภูมิฐาน สร้างความสดใสหากเพ่ิมสีสันให้กับเบาะ
ซึ่งสามารถเปล่ียนได้ตามรสนิยมของผู้เป็นเจ้าของ
ความแน่นของลวดลายทําให้เก้าอ้ีหวายมีความแข็งแรง
มน่ั คง รบั นำ�้ หนกั ไดด้ ี และไดร้ บั การออกแบบใหด้ รู ว่ มสมยั
สามารถเขา้ ได้กบั ทุกบรรยากาศของบา้ นเรอื น

ของดีทัณฑสถานวยั หนมุ่ นครศรีธรรมราช

โพเดียม เป็นผลิตภัณฑ์จากไม้สักทอง ราชาแห่งไม้เน้ือแข็ง
รบั ประกนั ไดส้ ําหรบั ความทนทาน พรอ้ มรปู ลกั ษณท์ ไ่ี ดร้ บั การออกแบบ
อย่างมีรสนิยม มีความโดดเด่นเม่ืออยู่หน้าเวที สร้างความประทับใจ
ความน่าเช่ือถือ ความม่ันใจพร้อมรับความสําเร็จแก่ผู้ยืนอยู่เบ้ืองหลัง
โพเดยี มทีง่ ามสง่าชิน้ น้ี

075-341187 ตอ่ 106

ของดีเรือนจ�ำจงั หวัดระนอง

ชดุ สนามอเนกประสงค์ เหมาะสําหรบั
โรงแรม รสี อรท์ รา้ นอาหาร ไมเ่ พยี งแตส่ นองตอบ
รสนิยมของคนไทยซ่ึงใช้ชีวิตอยู่กับงานไม้
มายาวนาน หากแต่ชาวต่างชาติก็ได้มองถึง
ในการทอ่ี ยากจะสมั ผสั กบั บรรยากาศเสมอื นอยู่
ทา่ มกลางธรรมชาติ

077-811090 ตอ่ 105

วารสารราชทัณฑ์ 97

เขต 9 074-336065 ตอ่ 117

ของดีทัณฑสถานหญิงสงขลา ของดีเรือนจาํ จงั หวดั นราธิวาส

ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ เกาะยอ เป็นผ้าทอ ชดุ กนิ ขา้ ว 6 ทนี่ ง่ั ผลติ จากตน้ หลาวชะโอน
พ้ืนเมืองของจังหวัดสงขลา ท่ีมีความประณีตและสีสัน เป็นพันธุ์ไม้ชนิดหนึ่งในตระกูลเดียวกันกับปาล์ม
ที่สวยงาม โดยมีการทอยกดอกที่มีลวดลายเฉพาะ มีมากตามป่าไม้ชายเลนแถบภาคใต้ของไทย
ถือเป็นสัญลักษณ์หัตถกรรมพื้นบ้านของภาคใต้ เช่น มลี ําตน้ ใหญ่ เนอื้ ไมแ้ ขง็ และทนทาน นอกจากนย้ี งั มี
ลายราชวัตร ลายลูกแก้ว ลายดอกพิกุล เป็นต้น ผลิตภัณฑ์หลากหลายจากฝีมือของผู้ต้องขัง เช่น
ด้วยศิลปะที่ประณีต เส้นฝ้ายผ่านมือที่กระตุกออกมา ซมุ้ ไมห้ ลาวชะโอน เตยี งนอน เปน็ ตน้ ชดุ รบั ประทาน
เป็นผืนผ้าท่ีงดงามด้วยสีสัน และมีคุณภาพสีไม่ตก อาหาร 6 ทนี่ งั่ มคี วามประณตี งดงามดว้ ยลายจาก
เนื้อผ้าไม่หด น�ำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์นานาชนิด เช่น เนอื้ ไม้อนั เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น
ผ้าเช็ดหน้า ผ้าขาวมา้ ผ้าโสร่ง และผ้าถุง เป็นต้น
074-336066 ต่อ 14
073-511131 ตอ่ 107

ของดีเรือนจาํ จงั หวดั สงขลา

“ชุดรับแขกสไตล์หลุยส์ 5 ช้ิน“
เป็นผลิตภณั ฑช์ ิน้ เอกของเรือนจํา ด้วยรปู แบบ
ท่ีหรหู รา โออ่ ่า มโี ครงสรา้ งทแ่ี ขง็ แรง นั่งสบาย
เบาะไม่ยุบ มีอายุการใช้งานนานนับสิบปี
เมอื่ ผสมผสานกบั ความมงุ่ มนั่ ทมุ่ เทจติ วญิ ญาณ
ใหก้ บั ผลงานชนิ้ นขี้ องทงั้ เจา้ หนา้ ทแ่ี ละผตู้ อ้ งขงั
เปี่ยมไปด้วยคุณค่าทั้งทางจิตใจและรูปลักษณ์
คมุ้ คา่ แก่การจับจองไว้เปน็ เจ้าของ

98 วารสารราชทัณฑ์

02-5250486 ตอ่ 140 เขต 10

ของดีเรอื นจ�ำพเิ ศษธนบรุ ี ของดีเรือนจํากลางบางขวาง

ภาพปั้นข้ีเลื่อย การปั้นขี้เลื่อยถือเป็น “งานไม้ฝังมุก” เป็นงานที่อาศัยฝีมือ
งานประติมากรรมและศิลปะอีกช้ินหน่ึงที่เป็น ความชํานาญ และความละเอียดอ่อนอย่างสูง
ความภูมิใจของเรือนจํา เป็นการใช้ทรัพยากร เนอ่ื งจากเรอื นจํากลางบางขวางคมุ ขงั ผรู้ บั โทษสงู
อยา่ งคุม้ ค่า โดยการเพิ่มมลู ค่าวัสดเุ หลือใช้ คอื ถึงตลอดชีวิต งานฝีมือต่างๆ จึงเป็นงานที่ต้องใช้
นําข้ีเลื่อยมาปั้นเป็นงานศิลป์ เช่น หุ่นนักมวย การผลติ นานด้วยความประณตี เป็นพเิ ศษ งานไม้
หุ่นการละเล่นของเด็ก ภาพปั้นโขลงช้างป่า ฝงั มกุ เปน็ งานใหญท่ ม่ี คี วามละเอยี ดหลายขน้ั ตอน
ภาพเหลา่ นม้ี คี วามงดงามภายในตวั เสมอื นหนงึ่ มีผลงานมากมายท่ีได้รับความนิยมอย่างสูงใน
มีชีวติ จริง ความวจิ ติ รงดงามของผลติ ภัณฑ์

02-4530321

02-407315-6 ตอ่ 102 ของดีเรือนจําพิเศษมีนบรุ ี

“เก้าอี้บันได” ผลิตภัณฑ์งานฝีมืออันเกิดจากการ
ฝกึ อบรมวชิ าชพี ที่มีความโดดเด่นไมซ่ ำ้� แบบใคร ไดแ้ ก่ เกา้ อี้
บันไดไม้ออกแบบพิเศษ เพ่ือให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า
เพราะนอกจากจะเป็นเก้าอ้ีน่ังแล้ว สามารถยืดออกเป็น
บนั ไดสําหรบั ใชง้ านไดอ้ กี ดว้ ย นบั ไดว้ า่ เปน็ ผลติ ภณั ฑป์ ระเภท
Two in one หรือ Twin Action ทําให้ประหยัดเงินใน
กระเป๋าไดอ้ กี ในระดบั หนงึ่

วารสารราชทัณฑ์ 99


Click to View FlipBook Version