โครงการ Diorama
วาสนา สมใจ
อภิญญา สวุ รรณระกานนท์
เอมอร ศรีเมอื ง
โครงการน้ีเปน็ ส่วนหนึง่ ของการศกึ ษาตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี
ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมการท่องเทย่ี ว สาขาวิชาการทอ่ งเท่ยี ว
วิทยาลยั เทคโนโลยเี มอื งชลบรหิ ารธรุ กจิ
ปกี ารศกึ ษา 2565
โครงการ Diorama
วาสนา สมใจ
อภิญญา สวุ รรณระกานนท์
เอมอร ศรีเมอง
โครงการน้เี ปน็ ส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ
ประเภทวิชาอุสาหกรรมการทอ่ งเที่ยว สาขาวชิ าการท่องเท่ียว
วิทยาลัยเทคโนโลยเี มืองชลบรหิ ารธุรกจิ
ปกี ารศึกษา 2565
ใบรบั รองโครงการ
ประเภทวิชาอุสาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว สาขาวชิ าการท่องเที่ยว
วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบรหิ ารธรุ กจิ
ช่ือโครงการ โครงการ Diorama
คณะผู้จดั ทำ วาสนา สมใจ
อภญิ ญา สุวรรณระกานนท์
เอมอร ศรเี มือง
หลักสตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี
อาจารย์ที่ปรกึ ษาโครงการ อาจารย์วราภรณ์ บวั ไขย
โครงการวชิ าชพี นี้อาจารยท์ ป่ี รึกษาและคณะกรรมการควบคุมได้พิจารณาแล้วอนุมัติให้เป็น
สว่ นหนึ่งของการศกึ ษาตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ
ลงชอ่ื ………………………………
( อาจารย์วราภรณ์ บวั ไขย )
วนั ท.่ี ...... เดือน.........................พ.ศ. 2564
ลงชื่อ………………………………
( อาจารย์พรี พร กาญจนอทุ ยั ศิริ )
รองผูอ้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ
วันที.่ ...... เดอื น.........................พ.ศ.2564
คณะกรรมการสอบโครงการ
.............................................................ประธานกรรมการสอบโครงการ
( อาจารย์วราภรณ์ บัวไขย )
.............................................................กรรมการสอบโครงการ
( อาจารย์วีระศักด์ิ ยั่งยืน )
.............................................................กรรมการสอบโครงการ
( อาจารย์กฤตยา ทพิ ย์ศรี )
ก
L
กติ ติกรรมประกาศ
โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนยี บัตร
วิชาชีพชั้นสูงนี้ ซึ่งสำเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดี ด้วยคำแนะนำคำปรึกษาของอาจารย์วราภรณ์ บัวไขย
ซ่ึงเป็นอาจารย์ทป่ี รึกษาในการทำโครงการทก่ี รณุ าเสนอแนะแนวทางการทำโครงการที่ถูกตอ้ ง ตลอดจน
แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ด้วยดีเสมอมา ผู้จัดทำรู้สึกซาบซึ้งเป็นอย่างยิ่งจึงขอกราบ
ขอบคณุ เปน็ อย่างสงู ไว้ ณ โอกาสน้ี
ขอกราบขอบคุณพระคุณ บิดา มารดา ทใี่ ห้กำลงั ใจในการศกึ ษาเล่าเรียน และสมาชิกในกลุ่มท่ี
ใหค้ วามร่วมมือกันเป็นอยา่ งดีในการทำโครงการวิชาชีพจนกระทงั่ ประสบผลสำเรจ็ ดว้ ยดี สุดท้ายน้ีคุณค่า
และประโยชนอ์ ันพงึ มจี ากการจัดทำโครงการนี้ ผ้จู ดั ทำขอมอบแตผ่ ้มู ีพระคุณทกุ ทา่ นมา ณ ที่น้ี
วาสนา สมใจ
อภิญญา สวุ รรณระกานนท์
เอมอร ศรีเมือง
ข
ชอ่ื โครงการ Diorama
ชือ่ นกั ศกึ ษา วาสนา สมใจ
อภญิ ญา สวุ รรณระกานนท์
ประเภทวชิ า เอมอร ศรีเมอื ง
สาขาวิชา อุสาหกรรมการทอ่ งเทยี่ ว
ปีการศึกษา การทอ่ งเท่ยี ว
อาจารย์ท่ีปรกึ ษา 2565
อาจารย์วราภรณ์ บวั ไขย
บทคดั ยอ่
การจัดทำโครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มมูลค่าใหก้ บั วัสดุธรรมชาติท่ีไม่มีค่าให้การเปน็
สนิ ค้าทผ่ี ู้บรโิ ภคตอ้ งการ
ในการดำเนนิ งานนน้ั ทางคณะผ้จู ดั ทำโครงการได้นำเอาพชื พรรณไม้นานาชนิดมาตกแต่งใน
ภาชนะที่ซ่งึ เป็นวัสดเุ หลอื ใช้และขยะรไี ซเคลิ เพ่ือจำลองระบบนเิ วศของธรรมชาติ
ผลการดำเนินงานพบวา่ โครงการนไ้ี ดร้ ับความสนใจจากผเู้ ขา้ ร่วมโครงการจำนวนมาก และ
ยีงไดร้ ับความรทู้ ที่ างคณะนำเสนอไปตอ่ ยอดเป็นธุรกจิ สว่ นตัวได้ และจากตารางความพึงพอใจของผู้ที่
เข้ารว่ มโครงการ Diorama ผลไดว้ า่ มคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 อย่ใู นระดบั ดเี ยี่ยม เม่ือพิจารณาค่าเฉลี่ย
ของคะแนนความพงึ พอใจในรายดา้ น โดยเรยี งลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 2 ดำดบั ได้แก้ ด้าน
การนำเสนอ/สาธติ ( ̅= 4.52 ) อยใู่ นระดบั ดีเยย่ี ม และดา้ นผลติ ภัณฑ์/ผลงาน ( ̅ = 4.50 ) อยู่
ในระดบั ดี
สารบัญ ค
เร่อื ง หน้า
กติ ตกิ รรมประกาศ ก
บทคดั ย่อ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง จ
สารบญั ภาพ ฉ
บทท่ี 1 บทนำ
1
1.1 ความเป็นมาของโครงการ 1
1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 1
1.3 ขอบเขตของโครงการ 2
1.4 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับ 2
1.5 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
บทท่ี 2 ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วข้อง 4
2.1 ความหมาย Diorama 4
2.2 ความเปน็ มา Diorama 6
2.3 ความสำคัญ 6
2.4 วสั ดุอุปกรณ์ 13
2.5 วิธีการทำ 22
2.6 ช่องทางการเผยแพร่
บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ การ 23
3.1 ประชากร กลุม่ ตัวอย่าง 23
3.2 เครื่องมอื ในการประเมินโครงการ 24
3.3 วธิ ีการดำเนนิ การ 25
3.4 สถิติท่ีใช้ในการทำโครงการ
ง
สารบัญ ( ต่อ ) หนา้
เรอื่ ง 27
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงการ 27
28
4.1 จำนวนผู้เข้ารว่ มโครงการ
4.2 สถานภาพท่วั ไป 32
4.3 ค่าเฉลยี่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 33
บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 33
5.1 สรุปผลการดำเนินงาน 34
5.2 การอภปิ รายผล
5.3 ข้อเสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แบบเสนอโครงการวชิ าชพี
ภาคผนวก ข หนงั สือรบั รองการใช้ประโยชนจ์ ากผลงานโครงการ
หรอื งานสร้างสรรค์
แบบลงทะเบียนเขา้ ร่วมโครงการ
แบบประเมินความพึงพอใจโครงการ
ภาคผนวก ค รูปภาพกจิ กรรม
ประวตั ิผู้จัดทำ
จ
สารบญั ตาราง
ตารางที่ หน้า
4.1 แสดงจำนวนผ้เู ข้ารว่ มโครงการ Diorama ปกี ารศกึ ษา 2565 27
4.2 แสดงเพศของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ 27
4.3 แสดงอายุของผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ 28
4.4 แสดงระดับการศกึ ษาของผู้เขา้ รว่ มโครงการ 28
4.5 แสดงค่าเฉล่ยี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานโครงการ Diorama โดยภาพรวม 29
4.6 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานโครงการ Diorama รายดา้ น 30
สารบัญภาพ ฉ
ภาพท่ี หน้า
2.4.1 ลวด 6
2.4.2 น้ำยางข้น 6
2.4.3 โคมไฟ 7
2.4.4 กาวTacky 7
2.4.5 สีอะครลี ิค 8
8
2.4.6 Brown primer 9
90
2.4.7 ปูนพลาสเตอร์ 10
2.4.8 นโิ คตินแบบเหลว 10
2.4.9 พ่กู นั 11
2.4.10 กระดาษรองอบ 11
12
2.4.11 Woodland Scenics ฝงู หญ้าแบบคงที่ 12
2.4.12 Woodland Scenics หญา้ หยาบ 13
2.4.13 Dirt texture powder 13
14
2.4.14 ผลไม้หรือดอกไม้จำลอง 15
2.5.1 ตัดลวด 15
2.5.2 มดั สายไฟเขา้ ดว้ ยกัน 16
2.5.3 แยก บิด และทำซ้ำ 16
2.5.4 สร้างลปู เพือ่ สร้างสาขาใหม่ 17
2.5.5 บิดอีกครง้ั เพือ่ สรา้ งราก 17
2.5.6 เคลอื บตน้ ไม้ 18
2.5.7 สร้างก่ิงกา้ นเลก็ ดว้ ยหญา้ คงท่ี (ไม่จำเป็น) 18
2.5.8 ทาทับตน้ ไม้ 19
2.5.9 ระบายสแี ละไฮไลทต์ น้ ไม้ 19
2.5.10 ใช้สนามหญ้าหยาบเพ่ือสร้างใบไม้
2.5.11 ใสผ่ ลไมห้ รอื ดอกไม้
2.5.12 ตดิ ตงั้ ต้นไม้
2.5.13 ผสมผสานในรากของต้นไม้
สารบญั ภาพ (ต่อ) ช
2.5.14 ปลอ่ ยให้ต้นไม้แห้ง 20
2.5.15 ทาสปี นู 20
2.5.16 ปิดราก 21
22
2.6.1 QR Code 22
2.6.2 หนา้ เพจ Diorama
1
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ความเป็นมาของโครงการ
เนอ่ื งจากสภาพเศรษฐกิจทกี่ ำลงั เกิดปัญหาในปัจจุบัน สง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศไทยอย่างรุนแรง
ซึ่งคาดว่าในอนาคตจะมีแนวโน้มทำให้ประชาชนตกงานกันเป็นจำนวนมาก ดังนั้น จากผลกระทบ
ดังกล่าวจึงทำให้ผู้คนจำนวนมากเห็นความสำคัญกับการจับจ่ายใช้สอยภายในครัวเรือน เพื่อช่วยให้มี
รายได้เสรมิ ด้วยตันทุนตำ่ จึงนำวสั ดทุ ี่หาได้งา่ ยมาสรา้ งเปน็ ผลิตภัณฑ์
ซึ่งจากปัญหาดังกลา่ วทางคณะผูจ้ ัดทำจึงเล็งเห็นแนวทางการให้ความรูแ้ ละวิธีการเบื้องต้นของ
การทำ Diorama โดยนำเสนอผ่ายทางออนไลน์ เปน็ แนวทางให้ผทู้ ี่มคี วามสนใจเขา้ มารับชมสือ่ วิดีโอเกิด
ความคิดริเรมิ่ ไดใ้ ช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชนแ์ ละนำไปพฒั นาตอ่ ยอดเป็นธรุ กจิ ของตนเองได้
ทางคณะผู้จัดทำโครงการมีความคิดเห็นตรงกันที่จะนำเสนอการทำ Diorama ผ่านทางส่ือ
ออนไลน์ เพ่อื ให้ผทู้ ร่ี บั ชมได้ความรู้และวิธีการทำ Diorama เน่ืองจากมีต้นทุนต่ำ สามารถหาวัตถุดิบได้
ง่าย สามารถเก็บไว้ได้นาน ผ้ทู ร่ี บั ชมไดม้ คี วามคดิ รเิ รมิ่ ทจ่ี ะนำไปพฒั นาและตอ่ ยอดเป็นธรุ กิจของตนเอง
ได้โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ
1. เพอื่ ให้ผ้เู ข้ารว่ มโครงการได้รบั ความรเู้ กีย่ วกบั วธิ ีการทำและวธิ ีการดูแลรักษา
2. เพอื่ ให้ผู้เขา้ ร่วมโครงการสามารถนำวิธีการทำไปพัฒนาและตอ่ ยอดเป็นธุรกจิ ของตนเองได้
3. เพือ่ ให้ผู้เข้ารว่ มโครงการตระหนกั ถงึ คณุ ค่าของทรพั ยากรทนี่ ำมาใช้
1.3. ขอบเขตของโครงการ
1. ขอบเขตด้านเนอ้ื หา
1.1 ความหมาย Diorama
1.2 ความเปน็ มา Diorama
1.3 ความสำคัญ
1.4 วสั ดุอปุ กรณ์
1.5 วิธกี ารทำ
1.6 ช่องทางการเผยแพร่
2. ขอบเขตดา้ นสถานที่
2.1 ชุมชนตะเคยี นเต้ีย ต.ตะเคยี นเต้ีย อ.บางละมงุ จ.ชลบรุ ี
2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ บั
1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รบั ความรู้เกย่ี วกบั วิธกี ารทำและวธิ กี ารดแู ลรักษา
2. ผู้เขา้ ร่วมโครงการสามารถนำวิธีการทำไปพัฒนาและต่อยอดเป็นธรุ กจิ ของตนเองได้
3. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการตระหนักถึงคณุ คา่ ของทรพั ยากรทน่ี ำมาใช้
1.5 นยิ ามศัพท์เฉพาะ
แบบจำลองสามมติ ิ (Three-dimensional model) เปน็ การสร้างรูปทรงหรอื รูปรา่ งแบบสามมิติ
โดยการกำหนดจุดต่างๆ และเชื่อมโยงจุดด้วยเส้นตรง เพื่อให้ได้รูปทรงตามต้องการ การใช้คอมพิวเตอร์
สร้างรปู ทรงสามมิติอาจทำได้โดยอัตโนมัตดิ ว้ ยโปรแกรม ในกรณีที่รูปทรงเป็นแบบสมมาตร หรือรูปทรง
เรขาคณิต หรือรูปทรงทีป่ ระกอบขึ้นจากรูปทรงเรขาคณิตมาประกอบกัน หากเป็นรูปทรงที่ไม่สมมาตร
หรอื มรี ายละเอยี ดมาก กจ็ ำเป็นต้องกำหนดจุดตา่ งๆ และลากเส้นต่อจดุ เองดว้ ยผูว้ าดภาพที่เช่ียวชาญ เชน่
การสร้างแบบจำลองสามมติ ิสำหรับใบหน้าและศีรษะมนุษย์ จำเปน็ ตอ้ งกำหนดจดุ เป็นจำนวนมากในหลัก
หมื่น เมื่อลากเส้นตรงตอ่ จุดเชือ่ มโยงเป็นรูปใบหน้าและศรี ษะในสามมิติ รูปทรงที่ได้เสมือนเกิดจากรูป
สามเหล่ียม หรือรปู ส่ีเหลี่ยม หรอื รปู หลายเหลี่ยม (polygon) มาเรียงต่อๆ กันเปน็ แบบเส้นโครง (wire-
frame) สำหรับรูปใบหน้า และศรี ษะมนษุ ย์ อาจมีจำนวนรูปหลายเหลี่ยมในหลักพนั ทั้งนี้ ข้ึนอยู่กับความ
ละเอียดของการสรา้ งแบบจำลอง ในปัจจุบนั การสรา้ งแบบจำลองสามมติ ิอาจทำได้จากการใชเ้ ครื่องกราด
สามมติ ิ เพ่ือกราดรปู ทรงจรงิ สามมติ ิ เชน่ ใบหน้ามนษุ ย์ อยา่ งไรกต็ าม ข้อมูลรปู หลายเหลย่ี มที่ได้ยังคงไม่
สมบูรณ์ จึงต้องใช้ผวู้ าดภาพด้วยคอมพวิ เตอรม์ าปรบั แตง่ ขอ้ มลู ทอี่ าจไมถ่ ูกต้อง ซงึ่ คงตอ้ งใช้เวลามาก
Diorama ความหมาย ไดโอรามา หรอื ไดโอราม่า หรอื แบบจำลองเหตกุ ารณ์
ซึ่งเป็นแบบจำลองสามมิติของเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หน่ึง
โดยที่จะแสดงลักษณะของเหตุการณ์ในช่วงเวลานั้น เช่น
สงคราม ท่ีอาจจะมีขนาดย่อสว่ น (in miniature) หรอื อาจทำ
ในขนาดเท่าของจริง diorama พบมาในการจัดแสดง
เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ทางประวตั ิศาสตร์ในพิพิธภณั ฑ์ ขอ้ สงั เกตใน
อดตี คำว่า diorama จะหมายถงึ อุปกรณ์ดภู าพชนิดหน่งึ ท่ีผ้ดู ู
จะมองผ่านเข้าไปในช่องมองภาพ ซึ่งบัญญตั ิขึน้ มาจากภาษา
กรีก di- ที่แปลว่า ผ่าน และ horama ที่แปลว่า ภาพ (ท่ี
มองเหน็ ) ในลักษณะเดยี วกับ panorama (pan + orama)
Terrarium ความหมาย การจำลองระบบนเิ วศเลก็ ๆ ไวใ้ นภาชนะแกว้ โดยน้ำและก๊าซ
3
Miniature ความหมาย ต่าง ๆ หมุนเวียนใช้อยู่ในนั้นการจัดสวนในเทอร์ราเรียมเปน็
Coco Fiber ความหมาย อีกทางเลือกของคนที่มีพื้นที่จำกัดให้สามารถอยู่ใกล้ชิด
ธรรมชาติ โดยนำมาวางตกแตง่ บ้าน หรือสถานทีต่ ่าง ๆ ไม่ว่า
จะโตะ๊ ทำงานห้องนอน โต๊ะทานข้าว นอกจากน้แี ล้วก็ยังดูแล
งา่ ย
แบบจำลองมาตราส่วนคอื แบบจำลองทางกายภาพซง่ึ มี
ลักษณะทางเรขาคณิตคล้ายกับวัตถุ โมเดลมาตราส่วน
โดยทั่วไปมีขนาดเล็กกว่าต้นแบบขนาดใหญ่ เช่น ยานพาหนะ
อาคาร หรือคน แต่อาจมีขนาดใหญ่กว่าต้นแบบขนาดเล็ก
เชน่ โครงสรา้ งทางกายวภิ าคหรืออนภุ าคของอะตอม โมเดลท่ี
สร้างข้ึนในระดับเดียวกบั ตน้ แบบเรยี กว่ามอ็ คอพั
เปน็ เสน้ ใยท่ีไดจ้ ากสว่ นทเี่ ป็นเปลือกช้ันในทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งผล
และเปลือกชั้นนอก ถือเป็นเส้นใยที่ได้จากเมล็ด (Seed
Fiber) สธี รรมชาติของใยมะพรา้ วเปน็ สนี ำ้ ตาลมคี วามแข็งแรง
ทนต่อความช้ืนเเละ น้ำได้ดี ทนต่อการขดั สีไดด้ ีมาก นิยมใช้
ทำพรมเข็ดเท้า เสื่อ เชือก ถ้าย้อมสีมักย้อมสีเข้มหรือสีดำ
เพราะฟอกใหเ้ ป็นสีขาวยาก
4
บทที่ 2
ทฤษฎี เอกสารงานวจิ ยั ที่เก่ยี วข้อง
ในการจัดทำโครงการครั้งนี้คณะผู้จดั ทำได้ศกึ ษาความรจู้ ากเอกสารและบทความที่เกี่ยวข้อง
กนั โดยแบ่งขอ้ มูลในด้านตา่ งๆ ดงั น้ี
2.1 ความหมาย Diorama
2.2 ความเปน็ มา Diorama
2.3 ความสำคญั
2.4 วัสดุอปุ กรณ์
2.5 วิธีการทำ
2.6 ช่องทางการเผยแพร่
2.1 ความหมาย Diorama
diorama หมายความว่า ไดโอรามา หรือ ไดโอราม่า หรือ แบบจำลองเหตุการณ์ ซึ่งเป็น
แบบจำลองสามมิตขิ องเหตุการณ์ใดเหตกุ ารณ์หนง่ึ โดยที่จะแสดงลักษณะของเหตุการณ์ในช่วงเวลา
นั้น เช่น สงคราม ที่อาจจะมีขนาดย่อส่วน ( in miniature) หรืออาจทำในขนาดเท่าของ
จรงิ diorama พบมาในการจัดแสดงเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ทางประวัติศาสตร์ในพพิ ธิ ภณั ฑ์
ขอ้ สังเกตในอดีตคำว่า diorama จะหมายถงึ อปุ กรณ์ดภู าพชนดิ หนึ่งท่ีผดู้ ูจะมองผ่านเข้าไป
ในช่องมองภาพ ซึ่งบัญญัตขิ ึน้ มาจากภาษากรีก di- ที่แปลว่า ผ่าน และ horama ที่แปลว่า ภาพ(ที่
มองเห็น) ในลกั ษณะเดยี วกบั panorama (pan + orama)
2.2 ความเปน็ มา Diorama
ไดโอรามา คอื อปุ กรณท์ ่ีใช้โชว์ทกี่ ล่าวถึงอุปกรณ์ในละครถงึ สง่ิ ทีเ่ คลอื่ นท่ไี ด้ถกู ตอ้ ง คือ การ
ใช้หลกั จำลองแบบ 3 มติ ิ ที่โดยปกติจะห่อหุ้มและเก็บไว้ในต้โู ชว์ในพพิ ธิ ภัณฑ์ ดาแกร่ี ไดโอรามา
แบบพื้นและหน้าตัดสำหรับไดโอรามาในลอนดอน ไดโอรามาเป็นทีน่ ิยมในสถานบันเทงิ ใน
ปารีส อังกฤษ สก๊อตแลนด์และไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี 1822 - 1880 และเป็นทางเลือกซึ่งเป็นที่นิยม
"ทศั นียภาพท้ังหมด" ไดโอรามา คือ เทคโนโลยีท่ีเกยี่ วกับโรงละครโดยมุมมองของคนดูที่อยใู่ นทส่ี งู และ
ในชั้นพิเศษในโรงละคร ที่มีผู้ชมกว่า 350 คน ในแฟ้มเอกสารมุมมองของภูมิทัศมนั สามารถเปลี่ยน
ภาพลักษณ์ของทั้งสองและในการแสดงละคร ที่ยืนอยู่แม้ว่าจะมีทีน่ ั่งจำกัดหรือที่จัดหาไว้ให้ในการ
แสดงล่าสุด 10 - 15 นาที ก่อนหน้าที่เวลาที่ผู้ชมท้ังหมดจะเขา้ มาโดยทำมุมมองทั้งสองมุมมอง ซ่ึง
ต่อมาเปน็ ต้นแบบสำหรบั โรงภาพยนตร์ไดโอรามา 3 มติ ิ
5
ขนาดและสัดส่วนของหน้าเวที คือ กว้าง 24 ฟุต สูง 21 ฟุต (7.3*6.4 เมตร) โดยจะทำฉาก
และสีดว้ ยมอื คือ การทำให้มนั โปร่งใสโดยเลือกพนื้ ท่ที ่ีจะทำให้โปร่งใสและในเรอื่ งทมี่ ีข้ันตอนมาก ๆ
จะจัดเตรียมแผ่นลินินในส่วนของความลึกและทำให้สว่างโดยใช้แสงไฟเป็นตัจัดการ ทั้งนี้ขึ้นอย่กู บั
ความเข้มขน้ ของแสงที่แสงทำงานเตม็ ที่จะทำให้ฉากเปลี่ยนไปโดยผลกระทบท่ีเกดิ จากการจะทำด้วย
ความประณตี ทำใหน้ ักวจิ ารณ์และผูช้ มประหลาดใจและเชื่อในสิง่ ที่กำลังดูฉากท่ีเปน็ ธรรมชาตอิ ยู่
นกั ประดิษฐแ์ ละเจ้าของลขิ สิทธข์ิ องไดโอรามา คอื ลยุ ฌกั ม็องเด ดาแกร์ (ในปี 1789-1815)
กอ่ นหน้านผี้ ้ตู กแตแ่ ละผู้ผลติ กระจกสำหรบั สีภมู ิทศั น์และผู้เชยี่ วชาญดา้ นการออกแบบดา้ นสีของด้าน
เทตนิคเวทีให้เข้าใจก่อน ต่อมาดาแกรี่ได้รับเป็นที่ปรึกษาของดาแกโรไทป์เป็นที่แรกและใช้อย่าง
กวา้ งขวางสำหรบั วิธกี ารถ่ายภาพ
(ไดโอรามาสมัยใหม่) ไดโอรามาในพพิ ธิ ภณั ฑ์ ประวัติทางธรรมชาติ(อติ าลี)เปน็ กระแสที่นิยม
มาก สำหรับหัวข้อ "ไดโอรามา" ได้แสดงถึง 3 มิติ บางส่วนสำเนาหรือขนาดแบบจำลองสำหรับภูมิ
ทศั นใ์ นแบบฉบบั ท่ีโชว์ในประวตั ิผลงานฉากธรรมชาติ,ทวิ ทัศน์ของเมอื ง สำหรบั ผทู้ ตี่ ้องการศกึ ษาหรือ
เพื่อความบันเทิง แฟร็งค์ เอ็ม แชปแมน หัวหน้าผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติอเมรกิ าใน
ระหวา่ งศตวรรษท่ี 19-20 ช่วยทำใหม้ นั เป็นท่นี ยิ มจนถึงทุกวันน้ี
พิพิธภัณฑ์ไดโอรามาได้บรรยายให้ทหารราบของอเมริกาถึงการโต้กลับแนวสมัยใหม่
"พพิ ิธภัณฑ์ไดโอรามา" ทันอาจจะเป็นสว่ นหลัก ๆ ในพพิ ธิ ภณั ฑป์ ระวตั ศาสตร์ทางธรรมชาติ ในฉบับท่ี
โชวน์ นั้ ใช้อธิบายถงึ พ้ืนทใี นระบบพนื้ ผิวของสีของพืน้ ท่ีหลังทีห่ ่างไกลจากวัตถุและที่ใช้บอ่ ย ๆ ในการ
ปรบั ปรงุ สัดส่วนของมุมมองอย่างระมัดระวังโดยการเปลี่ยนแปลงของขนาดและสถานท่ีวัตถุบนแบบ
ทำใหพ้ ้ืนผิวทไ่ี ม่ถกู ต้องดีขึ้นในแนวคดิ สำหรับมุมมองในพื้นท่ีใหญ่ ๆ คำอธบิ ายสำหรบั วัตถุ (เหมือนกยั
ขนาดจามจริง) พ้ืนที่ทีม่ ากข้ึน สำหรับผสู้ งั เกตการณแ์ ละพืน้ ทเี่ ล็ก ๆ กวา่ ให้ใกลแ้ ละดขี ้ึน บอ่ ย ๆ คร้ัง
สพี ื้นหลงั ที่หา่ งไกลหรอื ท้องฟ้าจะมีสซี ่งึ เชือ่ มติดต่อกนั กบั พ้นื ผวิ ที่โคง้ จะมีมุมมองท่ีทำให้ไมไ่ ขว้เขวโดย
มุมตะเข็บหรอื ขอบทัง้ หมดนั้นใช้เทคนคิ ซึ่งอธิบายไดว้ ่าสามารถปฏบิ ัติได้จริง จากมุมมองของฉากที่
ใหญแ่ ละในพื้นที่ท่กี ระชับ ภาพทม่ี มุ มองเดียวสำหรับไดโอรามานั้นสามารถทำได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิง
จากหวั ข้อทไ่ี ม่สามารถทำให้ไข้วเขวได้โดยมชแ้ นวคดิ และความเข้าใจ
มเิ นเจอรไ์ ดโอรามา ใช้อธิบายถึงฉากสำหรับแสดงถงึ ประวัตแิ ละผลงาน(ภาพวาดของทหารท่ี
มีชื่อเสียงในระหว่างการสู้รบ) ซึ่งเป็นตัวอย่างสำหรับรูปแบบไดโอรามาซึ่งอาจเห็นที่ Norges
HJemmefrontmuseum (Norwegian Resistance Museum) ในเมืองออโซล่ของนอร์เวย์ ในห้อง
สี่เหลี่ยมการเคหะสามารถทำได้โดยใช้ไดโอรามา (โดยภูมิทัศน์สิ่งก่อสร้างรอบ ๆ แบบจำลองรถไฟ
ถงึ แมว้ ่าบ่อย ๆ ครัง้ พวกเรามกี ารประณีประนอมขนาดท่ีถูกต้องใหด้ กี วา่ คณุ ลกั ษณธท่เี ปน็ อยู่ หนึง่ ใน
นั้นโดยส่วนใหญไ่ ดโอรามาจะสร้างแบบจำลองเวทีทั้งหมดให้แคลิฟอร์เนยี แ์ ละงานแสดงสนิ คา้ ระดบั
โลกทซ่ี านฟรานซสิ โกและการก่อสรา้ งซานฟรานซวิ โกเฟอรบี่ ิวด้ิงซ่ึงใชเ้ วลาการตดิ ตง้ั ท่ียาวนาน
6
2.3 ความสำคัญ
เพื่อทำให้ผลภิ ัณฑ์ที่ทำขึ้นกลายเป็นสินค้าท่ีลูกคา้ ต้องการซื้อเป็นที่ระลึก และเพื่อช่วยเพ่อื
มลู ค่าให้กบั วสั ดุที่นำมาใช้ อาทิ ดนิ กอ้ นหิน ขวดพลาสตกิ กระดาษลงั
2.4 วสั ดอุ ุปกรณ์
รปู ภาพที่ 2.4.1 ลวด
รูปภาพที่ 2.4.2 น้ำยางข้น
7
รปู ภาพท่ี 2.4.3 โคมไฟ
รปู ภาพท่ี 2.4.4 กาว Tacky
8
รูปภาพที่ 2.4.5 สอี ะครีลิค
รปู ภาพที่ 2.4.6 Brown primer
9
รปู ภาพท่ี 2.4.7 ปูนพลาสเตอร์
รปู ภาพท่ี 2.4.8 นโิ คตินแบบเหลว
10
รปู ภาพท่ี 2.4.9 พ่กู นั
รูปภาพที่ 2.4.10 กนะดาษรองอบ
11
รปู ภาพที่ 2.4.11 Woodland Scenics ฝงู หญา้ แบบคงที่
รูปภาพท่ี 2.4.12 Woodland Scenics หญา้ หยาบ
12
รูปภาพท่ี 2.4.13 Dirt texture powder.
รปู ภาพที่ 2.4.14 ผลไมห้ รือดอกไมจ้ ำลอง
13
2.5 วธิ กี ารทำ
รปู ภาพที่ 2.5.1 ตัดลวด
สิ่งแรกท่คี ุณต้องทำคอื นำลวดไปตดั เป็นชิน้ ขนาดเทา่ ๆ กนั หลายๆ ชนิ้ ขนาดจะขึ้นอยู่กับ
ขนาดที่คุณต้องการสำหรับต้นไมข้ องคุณ อย่างไรก็ตาม อะไรกต็ ามที่มีขนาดระหว่าง 13 ถึง 15
นิ้วน่าจะใช้ได้ ในการสร้างตน้ ไม้ตน้ เดยี ว คณุ จะตอ้ งมลี วด 15 ถึง 20 ชน้ิ
รูปภาพท่ี 2.5.2 มัดสายไฟเข้าด้วยกนั
14
เมือ่ คุณตัดลวดทจี่ ำเป็นสำหรับต้นไมต้ ้นเดยี วแลว้ ใหม้ ัดเขา้ ดว้ ยกนั ให้แน่นและสม่ำเสมอ
จากนั้นงอมัดสายไฟครึ่งหนึ่งแล้วบิดที่ด้านล่าง หากคุณทำอย่างถูกต้อง คุณควรร้อยห่วงท่ี
ดา้ นล่างประมาณสองหรอื สามนิว้ และปลายลวดหลวมหลายๆ เส้นอยูด่ า้ นบน โปรดจำไว้ว่าวงจะ
เปน็ รากของต้นไม้ ในขณะเดยี วกนั ปลายลวดหลวมจะกลายเป็นกิ่งก้านของตน้ ไม้
รปู ภาพที่ 2.5.3 แยก บิด และทำซำ้
ถัดไป นำปลายมัดลวดดัดและแยกปลายลวดที่หลวมออกเป็นสองส่วน ไม่จำเป็นต้อง
แม่นยำเกินไปในขณะทำสิ่งนี้ จากนั้นนำครึ่งหนึ่งแล้วบิดไปมาจนกว่าคุณจะได้กิ่งหนึ่งและคร่งึ
หรอื สองนว้ิ ทำซ้ำข้ันตอนนก้ี บั อกี คร่ึงหน่ึง หลงั จากนัน้ ใหแ้ ยกปลายลวดหลวมออกเป็นสองส่วน
ซ่ึงจะยน่ื ออกมาจากกิ่งใดก่งิ หนึ่งท่ีคณุ น่าจะเหลอื ไว้ อกี ครัง้ บิดทัง้ สองครง่ึ แยกกันจนกวา่ คณุ จะได้
กิ่งที่ยาวพอโดยปล่อยให้ลวดหลวมจำนวนมากที่จะแยกออก ทำซ้ำขั้นตอนนี้และคุณจะได้รับ
สาขาและสาขาย่อยต่างๆ
15
รูปภาพท่ี 2.5.4 สรา้ งลูปเพอ่ื สรา้ งสาขาใหม่
เมื่อทำซำ้ ขั้นตอนก่อนหน้าน้ี คุณจะค่อยๆ เหลือสายไฟน้อยลงเรื่อยๆ ในที่สุดคุณจะมี
เพียงสอง เมอ่ื สง่ิ น้เี กิดขึ้น ใหง้ อสายเหลา่ น้ีเพ่อื สร้างลูปท่ีเล็กกว่าใหม่ หลังจากนั้น ทำซ้ำขั้นตอน
การบิดเพอ่ื ใหไ้ ด้สาขายอ่ ยใหมท่ ่เี ล็กกว่าที่เกิดจากกิง่ ท่ีใหญก่ วา่ เม่อื ใชเ้ วลามากข้ึน กระบวนการ
ก็จะค่อนข้างยากและเป็นการทดสอบความอดทน อย่างไรก็ตาม ด้วยการฝึกฝน คุณจะสามารถ
ผ่านมันไปได้อย่างรวดเร็ว หากคุณต้องการสาขายอ่ ยมากข้ึน คุณสามารถบิดลูปที่มีอยู่แล้วเข้า
ด้านในเพื่อสร้างรูปร่างที่เหมือนเยลลี่บีน สิ่งนี้จะให้สองส่วนที่คุณสามารถบิดได้แทนที่จะเปน็
เพยี งสว่ นเดยี ว ดำเนนิ การตามขั้นตอนนี้ตอ่ ไปจนกว่าคณุ จะมสี าขาและสาขายอ่ ยเพียงพอ
รูปภาพท่2ี .5.8 บิดอีกครง้ั เพอ่ื สรา้ งราก
16
ณ จุดนี้ คุณจะผ่านกิ่งก้านของต้นไม้และพร้อมที่จะสร้างรากของมัน วิธีการทำก็
เหมือนกับการทำกิง่ ก้าน อย่างไรก็ตาม คุณควรคำนึงว่ารากของต้นไม้จะต้องสั้นลงและพันกัน
นอ้ ยลง เรม่ิ กระบวนการโดยดงึ สายไฟบางส่วนออกจากรทู ลปู จากนน้ั บิดงอตามก่งิ คณุ สามารถ
ใช้คีมเพื่อทำใหก้ ระบวนการนี้ง่ายข้ึนและเร็วขึ้น เมื่อคุณบดิ รูตแลว้ ให้ตัดลูปและไปยังอันถดั ไป
เมื่อเสรจ็ แล้วให้เกลี่ยใหเ้ รียบบนพืน้ ผิวทีเ่ รียบ หนึ่งท่ีทำเสร็จแล้ว จบโครงสร้างดว้ ยการบดิ และ
จดั การกง่ิ และรากเพือ่ ใหด้ เู ปน็ ธรรมชาตมิ ากข้ึน
รปู ภาพท่ี 2.5.6 เคลือบต้นไม้
เมื่อโครงสร้างของต้นไม้พร้อมแล้ว ก็ถึงเวลาเริ่มขั้นตอนต่อไปของกระบวนการ เพ่ือ
ปกปดิ ลวดบดิ ท้งั หมดและทำให้ต้นไมด้ นู มุ่ นวลขนึ้ ใหเ้ คลอื บด้วยยางลาเทก็ ซ์ เม่อื คุณทำเชน่ นี้ ให้
ใช้ผงฟูเพื่อป้องกันไม่ให้ยางลาเท็กซ์เกาะติดกับพื้นที่ทำงานของคุณ เพื่อให้การเคลือบเสร็จ
สมบูรณ์ คุณอาจจะต้องทายางลาเท็กซอ์ ย่างน้อย 2 ชั้น
รูปภาพที่ 2.5.7 สรา้ งก่ิงก้านเลก็ ดว้ ยหญ้าคงท่ี (ไม่จำเป็น)
17
หากคณุ ต้องการใหต้ ้นไมส้ ามมติ ิของคุณดูมีรายละเอียดมากเป็นพิเศษ ใหล้ องใช้หญ้านิ่ง
และกาว ขน้ั แรก ใช้แปรงทากาวสำหรับงานหตั ถกรรมทไ่ี มม่ ีรสนยิ มทีด่ ีกับสว่ นทส่ี มุ่ ของก่ิง (ไม่ใช่
ลำต้นหรือราก) ของต้นไม้ จากน้ันโรยหญา้ ที่เกาะอยเู่ หนอื ต้นไมเ้ พอ่ื ให้เกาะตดิ หรอื คุณสามารถ
จุ่มต้นไม้คว่ำลงในภาชนะทีเ่ ตม็ ไปดว้ ยหญ้านิง่ เป่าส่วนเกินและปล่อยให้ทุกอย่างแห้งเป็นเวลา
หนึ่งชวั่ โมง
รูปภาพท่ี 2.5.8 ทาทับตน้ ไม้
เพื่อให้ต้นไม้และเสื้อชั้นใน ใช้สีรองพื้นสีน้ำตาลของเฉดสีเข้ม เคลือบต้นไม้ทั้งต้นอย่าง
ระมัดระวัง ใช้ไพรเมอร์ในปริมาณที่พอเหมาะ อย่าลืมทารองพื้นด้านล่างของต้นไม้ เมื่อเสร็จแล้ว
ปลอ่ ยใหไ้ พรเมอรแ์ ห้งเป็นเวลา 20 นาทีถึงคร่งึ ชั่วโม
รูปภาพท่ี 2.5.9 ระบายสีและไฮไลท์ต้นไม้
18
ณ จดุ น้ี คณุ พร้อมท่ีจะทาสีต้นไมแ้ ล้ว หาสีอะครลี คิ สนี ้ำตาลเข้มทคี่ ุณชอบ หรือคุณสามารถ
ผสมสีอื่นๆ เข้าด้วยกันเพือ่ ให้ไดเ้ ฉดสีนำ้ ตาลทเี่ ฉพาะเจาะจง ทาสีตน้ ไม้ให้สมบูรณ์
ต่อไป ให้เพิ่มไฮไลท์ดว้ ยการทาสีขาวแบบแห้งเป็นระยะๆ บนส่วนที่สุ่มของต้นไม้ หากคุณ
ต้องการกา้ วไปอีกข้ัน คุณสามารถใช้พ่กู ันเพอื่ เพิม่ สัมผสั สีน้ำตาลอ่อน สง่ิ นีจ้ ะมผี ลในการขจดั ความเงา
งามสว่ นเกนิ และผสมผสานกบั ไฮไลท์เพม่ิ เตมิ
รปู ภาพท่ี 2.5.10 ใช้สนามหญ้าหยาบเพือ่ สร้างใบไม้
หลังจากปลอ่ ยให้สีแหง้ ก็ถงึ เวลาท่ีคณุ ตอ้ งใช้หญ้าหยาบกับตน้ ไม้เพ่อื สร้างใบ สเปรย์กาวติด
บนกง่ิ ระวงั อย่าฉดี พน่ ตามลำต้นของต้นไม้ จากนัน้ หยดตน้ ไม้ควำ่ ลงในภาชนะท่เี ตม็ ไปดว้ ยหญ้าหยาบ
ทำซ้ำขั้นตอนน้ีสองสามคร้ังจนกว่าแขนงจะดีและปิดสนทิ เมื่อเสร็จแล้วให้ยืนต้นไม้ตั้งตรงแล้วเป่า
เบาๆ เพ่ือเอาหญา้ ที่หยาบสว่ นเกินออก ปล่อยใหท้ กุ อยา่ งแห้ง
รปู ภาพท่ี 2.5.11 ใส่ผลไมห้ รือดอกไม้
19
หลงั จากทีใ่ บแห้งแล้ว ใหฉ้ ีดพ่นต้นไม้ดว้ ยกาวสัมผัสอีกครงั้ จากนน้ั เพิม่ ดอกไม้หรอื ผลไม้
ประดิษฐ์จิ๋ว แน่นอนว่านี่เป็นทางเลือก เนื่องจากไม่จำเป็นต้องมีผลไม้หรือดอกไม้ทุกต้น คุณ
สามารถเพมิ่ เครอ่ื งประดับทลี ะชิ้นหรอื จมุ่ ตน้ ไม้ลงในภาชนะท่ีเต็มไปด้วยเครอื่ งประดับก็ได้ ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กบั ความหนาแน่นท่คี ณุ ต้องการ หากจำเป็น คณุ สามารถใชแ้ หนบเพือ่ ดูแลรายละเอียด เชน่
การยา้ ยทอี่ ยหู่ รือถอดเครอื่ งประดับทไี่ มต่ ้องการออก
รปู ภาพที่ 2.5.12 ติดตั้งต้นไม้
ในท่สี ดุ ถงึ เวลาติดตัง้ ไดโอรามาทรขี องคุณแล้ว ขนั้ แรก ให้ฉาบปูน Paris ลงบนพืน้ ผิวของได
โอรามา ใชไ้ มพ้ ายหรอื วัตถุทีค่ ล้ายกนั เกล่ียใหเ้ รียบเสมอกันจากน้ันค่อยกดต้นไมล้ งไป จำไว้ว่าไม่ควร
ฝังรากลงในปูนปลาสเตอร์จนหมด แต่ควรปรากฏเดน่ ชัดแทน
รปู ภาพท่ี 2.5.13 ผสมผสานในรากของต้นไม้
20
ใช้แปรงขนนุ่มเกลีย่ และเกล่ียใหท้ ั่วปูนปลาสเตอร์ของปารีสรอบๆ ราก ในเวลาเดียวกัน ให้
ลบจังหวะการแปรงที่ชัดเจนที่สุด อดทนและทำงานต่อไปเมื่อปูนแห้ง เมื่อแห้งไปเล็กน้อย
กระบวนการจะงา่ ยขน้ึ และคณุ จะสามารถควบคมุ ได้มากข้ึน
รูปภาพที่ 2.5.14 ปลอ่ ยให้ต้นไม้แห้ง
ต้นไม้เสร็จแล้ว ณ จดุ นี้ไมม่ อี ะไรเหลอื ใหท้ ำนอกจากปลอ่ ยใหท้ กุ อย่างแหง้ ในชว่ั ข้ามคืน หาก
ต้องการ คุณอาจใช้หลอดความรอ้ นหรือแหล่งความรอ้ นอน่ื ๆ เพอ่ื เร่งกระบวนการน้ี
รูปภาพที่ 2.5.15 ทาสปี ูน
ใชเ้ ฉดสนี ้ำตาลท่คี ุณชน่ื ชอบทาปูนปลาสเตอรร์ อบ ๆ ตน้ ไม้ คณุ สามารถใช้เฉดสนี ้ำตาลต่างๆ
เพอ่ื สร้างการแรเงาทีส่ มจรงิ ยง่ิ ข้นึ
21
อยา่ กังวลกบั รายละเอยี ดมากเกนิ ไป เพราะคณุ จะใช้วัสดุทีม่ พี ื้นผวิ เพือ่ ปกปิดพ้นื ท่ีในขั้นตอน
ตอ่ ไป
รปู ภาพท่ี 2.5.16 ปิดราก
เปน็ ขนั้ ตอนนี้โดยผสมกาวกบั น้ำ จากนนั้ ใชพ้ ู่กนั ทาบรเิ วณรอบๆ ต้นไม้โดยใช้แปรงทันที
หลังจากน้นั ให้โรยแป้งฝ่นุ ลงบนบรเิ วณนัน้ โดยเกลย่ี ให้ท่ัว หลังจากทาแลว้ คุณยังสามารถปดั แป้ง
ฝนุ่ ออกไดโ้ ดยใชแ้ ปรงแบบเปียก สุดท้ายปลอ่ ยให้ทกุ อยา่ งแห้ง
22
2.6 ช่องทางการเผยแพร่
Instagram = diorama_th
รปู ภาพที่ 2.6.1 QR Code
รปู ภาพท่ี 2.6.2 หนา้ เพจ Diorama
23
บทที่ 3
วธิ ดี ำเนินการ
การจดั ทำโครงการ Diorama วิทยาลัยเทคโนโลยเี มืองชลบริหารธุรกิจ ไดม้ กี ารจัดหลักสูตร
การเรียนการสอนวิชาโครงการระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 สาขาวิชาการท่องเที่ยว มีการ
ดำเนินการดังต่อไปนี้
3.1 ประชากร กลุ่มตัวอย่าง
3.2 เครอ่ื งมือในการประเมินโครงการ
3.3 วธิ กี ารดำเนนิ การ
3.4 สถิติที่ใชใ้ นการทำโครงการ
3.5 สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มูล
3.1 ประชากร และกลมุ่ ตัวอยา่ ง
- ประชากร คือ ชาวบา้ นชุมชนตะเคียนเตย้ี
- กลุ่มตัวอย่าง คอื ชาวบ้านชุมชนตะเคียนเต้ยี จำนวน 20 คน
3.2 เคร่ืองมอื ในการประเมินโครงการ
เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการประเมินโครงการในครัง้ นป้ี ระกอบดว้ ย
1. แบบประเมินความพึงพอใจการจัดโครงการจำนวน 10 ขอ้ ซ่ึงแตล่ ่ะข้อมี
ความหมาย
5 หมายถึง ดเี ยย่ี ม
4 หมายถึง ดี
3 หมายถึง ปานกลาง
2 หมายถึง นอ้ ย
1 หมายถึง ปรับปรงุ
24
การแปลความหมายของแบบประเมินความพึงพอใจการจัดโครงการโดยใช้เกณฑ์ค่าเฉลี่ยในการ
พจิ าณาตามเกณฑ์ ดังน้ี
4.51 – 5.00 หมายถึง ดีเย่ยี ม
3.51 – 4.50 หมายถึง ดี
2.51 – 3.50 หมายถงึ ปานกลาง
1.51 – 2.50 หมายถึง นอ้ ย
1.00 – 1.50 หมายถึง ปรบั ปรงุ
3.3 วิธกี ารดำเนินการ
1. รวบรวมขอ้ มลู จากสือ่ ตา่ งๆ
รวบรวมข้อมลู ที่เกย่ี ว อาทิ ความเป็นมาของ Diorama รปู แบบของไดโอรามา่ และวิธีการทำโมเดลจวิ๋
2. วางแผนและจดั เรียงขนั้ ตอนการดำเนนิ การ
วางแผนและวากำหนดการ เช่น กำหนดวันทดลองทำ Diorama ทดลองทำฐานและองค์ประกอบ
ต่างๆ กำหนดวันที่จะนำข้อมูลไปเผยแพร่ให้กับคนในชุมชน กำหนดวันการถ่ายคลิปวีดีโอส่ือความรู้
และวิธีการทำผลิตภัณฑเ์ กยี่ วกับ Diorama
3. จดั เตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ และวัตถุดิบ
จัดเตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ และวัตถุดบิ ทจี่ ะใช้ เชน่ กาว ลวด กรรไกร ครมี ตัดลวด
4. ดำเนินการทำผลติ ภณั ฑ์
ลงมือปฏบิ ตั ิตามกำหนดการท่ไี ดก้ ำหนดไว้ เช่น เลอื กรปู แบบของโมดและฝึกซ้อม ถ่ายคลปิ ส่ือความรู้
และนำไปเผยแพร่ให้คนในชุมชน ฝึกซ้อมทำผลิตภัณฑ์ เลือกซื้อแพ็คเกจ ออกแบบโลโก้และทำเป็น
สตกิ๊ เกอร์
5. เผยแพร่ขอ้ มูลและความรู้
พรอ้ มสอนวิธกี ารทำโมเดล นำคลปิ สอื่ ความรู้เร่อื งการทำโมเดลสามมิติทไี่ ด้จัดทำไว้ไปเผยแพร่ให้คน
ในชุมชน
6. จัดเตรียมขอ้ มูลการนำเสนอ
จัดเตรียมเอกสารทเ่ี ก่ยี วข้องกบั โครงการทงั้ หมด นำมาเข้าเลม่ จดั เตรียมสไลด์สำหรบั นำเสนอ รวมถึง
แบบประเมณิ
7. นำเสนอโครงการ
25
นำเสนอทุกอย่างที่จัดเตรียมให้คณะกรรมการ เริ่มจากส่วนของข้อมูลไปจนถึงการสาธิตและการ
นำเสนอ พร้อมให้คณะกรรมการพจิ ารณา
3.4 สถติ ทิ ่ใี ช้ในการทำโครงการ
1. ร้อยละ
อตั รารอ้ ยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ (percentage/percent) คอื แนวทางในการ
นำเสนอจำนวนโดยใชเ้ ศษสว่ นท่ีมตี วั สว่ นเปน็ 100 มกั ใช้สัญลักษณเ์ ป็น เคร่อื งหมายเปอร์เซ็นต์ "%"
p = f 100
N
เม่อื P แทน คา่ รอ้ ยละ
f แทน ความถที่ ต่ี ้องการแปลงใหเ้ ปน็ คา่ ร้อยละ
N แทน จำนวนความถ่ีท้งั หมด
คา่ ร้อยละจะแสดงความหมายของคา่ และสามารถนำค่าท่ีได้ไปเปรยี บเทียบได้
2. ค่าเฉล่ยี ( X )
คา่ กลางของขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากการบวกค่าสังเกตของข้อมูลท้ังหมด แลว้ หาร
ด้วยจำนวนขอ้ มลู ทัง้ หมด ใชส้ ญั ลักษณ์ ( X )
ใช้สูตร X = x
N
เมอื่ X แทน ค่าเฉล่ยี
X แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดของกลุ่ม
n แทน จำนวนของคะแนนในกลุม่
3. ค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D)
ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเป็นค่าวัดการกระจายที่สำคัญทางสถิติ เพราะเป็น
คา่ ที่ใช้บอกถงึ การกระจายของขอ้ มูลได้ดกี ว่าคา่ พิสัย และค่าสว่ นเบ่ียงเบนเฉลี่ย
ใช้สูตร
S.D. = (X - X)2
26
n–1
หรือ
S.D. = nX2 - (X)2
n(n – 1)
เมื่อ S.D. แทน คา่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
X แทน ค่าคะแนน
n แทน จำนวนคะแนนในแต่ละกล่มุ
แทน ผลรวม
27
บทที่ 4
ผลการดำเนินโครงการ
การจัดทำโครงการ Diorama มีการสรุปผลการดำเนนิ งานดงั น้ี
ตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนผูเ้ ข้าร่วมอบรมโครงการ Diorama ปีการศกึ ษา 2565
ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ เสนอ ปฎิบตั จิ ริง คิดเป็นร้อยละ
ชมุ ชนตะเคยี นเตี้ย (คน) (คน)
20 20 100
จากตารางท่ี 4.1 ผลแสดงจำนวนผเู้ ขา้ ร่วมอบรมโครงการ Diorama ปีการศกึ ษา 2565 มี
ผ้เู ขา้ ร่วมอบรมโครงการจำนวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
ตารางที่ 4.2 แสดงเพศของผู้เข้ารว่ มโครงการ Diorama
เพศ จำนวน คิดเป็นรอ้ ยละ
ชาย 12 60
หญงิ 8 40
รวม 20 100
จากตารางที่ 4.2 ผลการประเมินจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ Diorama ปีการศึกษา 2565
มีผ้เู ข้าร่วมโครงการ เป็นเพศชายจำนวน 12 คน คดิ เป็นร้อยละ 60 เป็นเพศหญงิ จำนวน 8 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 40
28
ตารางที่ 4.3 แสดงอายขุ องผู้เข้าร่วมโครงการ
อายุ จำนวน คดิ เป็นรอ้ ยละ
15-20 ปี 5 25
21-30 ปี 5 25
31-40 ปี 7 35
41-50 ปี 3 15
51 ปีขึ้นไป 0 0
20 100
รวม
จากตารางท่ี 4.3 ผลการประเมินจำนวนผเู้ ข้ารว่ มโครงการ Diorama ปีการศกึ ษา 2565 มี
ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ มีอายุ 15-20 ปีจำนวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25 อายุ 21-30 ปจี ำนวน 5 คน
คิดเป็นร้อยละ 25 อายุ 31-40 ปจี ำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 35 อายุ 41-50 ปจี ำนวน 3 คิด
เปน็ ร้อยละ 15 และอายุ 51 ปีขน้ึ ไปจำนวน 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0
ตารางที่ 4.4 แสดงระดับการศึกษาของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
ระดบั การศึกษา จำนวน คดิ เป็นรอ้ ยละ
ประถมศึกษา 3 15
มธั ยมศึกษา 6 30
5 25
ปวช. 3 15
ปวส. 3 15
ปรญิ ญาตรี 0 0
อืน่ ๆ 20 100
รวม
จากตารางท่ี 4.4 ผลการประเมนิ จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ Diorama ปีการศึกษา 2565 มี
ผู้เขา้ ร่วมโครงการ มรี ะดบั การศกึ ษาชัน้ ประถมศกึ ษา จำนวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 15 ระดับ
การศึกษาชน้ั มัธยมศกึ ษา จำนวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 30 ระดบั การศึกษาช้ันปวช.จำนวน 5 คำ คิด
เป้นร้อยละ 25 ระดับการศึกษาชนั้ ปวส.จำนวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15 ระดับการศึกษาชนั้ ปรญิ ญา
ตรีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 15 และอ่ืนๆจำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0
29
ตารางท่ี 4.5 แสดงค่าเฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานโครงการ Diorama โดยภาพรวม
ขอ้ ท่ี รายละเอยี ด ระดับความพึงพอใจ
1. ดา้ นการนำเสนอ/สาธิต ̅ S.D. อันดับ ระดบั
2. ด้านผลิตภัณฑ/์ ผลงาน 4.52 0.67 1 ดเี ยย่ี ม
4.50 0.76 2 ดเี ยย่ี ม
รวม
4.51 0.72 ดเี ยย่ี ม
จากตารางแสดงค่าความพึงพอใจของผู้ที่เข้าร่วมโครงการที่มีต่อโครงการ Diorama
มีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.65 อยู่ในระดบั ดีเยี่ยม เมอื่ พจิ ารณาคา่ เฉลย่ี ของคะแนนความพึงพอใจในรายด้าน
โดยเรียงลำดับค่าเฉลีย่ จากมากไปหาน้อย 2 ลำดับ ได้แก่ ด้านการนำเสนอ/สาธิต ( ̅= 4.52 )
อย่ใู นระดับดเี ยี่ยม และดา้ นผลติ ภัณฑ์/ผลงาน ( ̅ = 4.50 ) อยู่ในระดบั ดี
30
ตารางที่ 4.6 แสดงค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานโครงการ Diorama รายดา้ น
ข้อที่ รายละเอียด ระดบั ความพึงพอใจ
ดา้ นการนำเสนอ/สาธิต N = 20
1. มคี วามชดั เจนของภาพ เสยี ง และตวั อักษร
2. การใช้ภาษาถูกตอ้ งเหมาะสม ̅ S.D. อันดบั ระดับ
3. การเรียบเรียงเนื้อหาที่เข้าใจง่าย
4. การดำเนนิ เรือ่ งอย่างต่อเนือ่ งเหมาะสมกับเวลา 4.60 0.60 1 ดเี ยี่ยม
5. การจัดวางองคป์ ระกอบเหมาะสม 4.50 0.69 2 ดเี ยี่ยม
4.50 0.69 2 ดเี ยย่ี ม
รวมดา้ นการนำเสนอ/สาธิต 4.50 0.69 2
ดา้ นผลิตภณั ฑ/์ ผลงาน 4.50 0.69 ดี
1. ความถูกตอ้ งครบถ้วนสมบรู ณ์ของผลิตภณั ฑ์/ผลงาน 4.52 0.67 2 ดเ่ี ยย่ี ม
2. ความชดั เจนในการอธบิ ายของผลิตภณั ฑ/์ ผลงาน ดเี ยีย่ ม
3. ความนา่ สนใจและเทคนคิ ทใ่ี ช้ในผลติ ภณั ฑ์/ผลงาน
4. เนือ้ หาสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ของโครงการ 4.50 0.76 2 ดเ่ี ยย่ี ม
5. เนือ้ หามีสาระและประโยชน์ สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ 4.45 0.76 3 ดเ่ี ยย่ี ม
4.55 0.76 1 ดเ่ี ยย่ี ม
งานไดใ้ นชีวิตประจำวัน 4.50 0.76 2 ดเ่ี ยย่ี ม
รวมด้านผลติ ภัณฑ/์ ผลงาน
รวม 4.50 0.76 2 ดเ่ี ยย่ี ม
4.52 0.76 ดีเยย่ี ม
4.51 0.72 ดีเ่ ยี่ยม
จากตารางแสดงให้เห็นว่าความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการท่มี ตี ่อโครงการ Diorama ใน
ภาพรวมมีค่าเฉล่ยี 4.51 อย่ใู นระดบั ดเี ยย่ี ม เมอื่ พจิ ารณาค่าเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจในราย
ด้าน โดยด้านการนำเสนอ/สาธิต เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 2 ลำดับ ได้แก่ มีความ
ชัดเจนของภาพ เสียง และตัวอักษร ( ̅ = 4.60 ) อยู่ในระดับดีเยี่ยม รองลงมา การเรียบเรียง
เนื้อหาที่เข้าใจง่ าย ( ̅ = 4.50) อยู่ในระดับดี การจัดว่างองค์ประกอบเหมาะ สม
31
( ̅ = 4.50 ) อยู่ในระดบั ดี การใชภ้ าษาถกู ต้องเหมาะสม ( ̅ = 4.50 ) อย่ใู นระดับดี การดำเนิน
เรื่องอย่างต่อเนื่องเหมาะสมกับเวลา ( ̅ = 4.50 ) อยู่ในระดับดี และด้านผลิตภัณฑ์/ผลงาน
สามารถเรียงตามลำดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย 3 ลำดับ ไดแ้ ก่ ความนา่ สนใจและเทคนิคที่ใช้
ในผลติ ภณั ฑ์/ผลงาน ( ̅ = 4.55 ) อยู่ในระดบั ดเี ยย่ี ม รองลงมา เน้ือหาสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์
ของโครงการ ( ̅ = 4.50 ) อยใู่ นระดับดี เนอ้ื หามสี าระและประโบชน์ สามานำไปประยกุ ต์ใชง้ านได้
ในชีวติ ประจำวนั ( ̅ = 4.50 ) อย่ใู นระดบั ดี ความถกู ต้องครบถว้ นสมบรูณขื องผลติ ภณั ฑ์/ผลงาน
( ̅ = 4.50 ) อยู่ในระดับดี ความชัดเจนในการอธิบายของผลิตภัณฑ/์ ผลงาน ( ̅ = 4.45 ) อยู่ใน
ระดับดี ตามลำดบั
32
บทที่ 5
สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การประเมินผลครั้งนี้เป็นโครงการ Diorama ประจำปีการศึกษา 2565 สามารถ
สรุปผลได้ดังน้ี
5.1 สรุปผลการดำเนินงาน
ผลการประเมินจำนวนผู้เข้ารับการอบรมโครงการ 2565 ปีการศึกษา 2565
มีผูเ้ ข้ารว่ มรบั การอบรม จำนวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 มผี เู้ ข้าร่วมโครงการเป็นเพศชาย จำนวน
12 คน คิดเป็นร้อยละ 60 มีผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเพศหญิง จำนวน 8 คน ติดเป็นร้อยละ 40 มี
ผู้เข้าร่วมโครงการ มีอายุ 15-20 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 25 อายุ 21-30 ปี จำนวน 5
คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 25 อายุ 31-40 ปี จำนวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 35 อายุ 41-50 ปี จำนวน 3
คดิ เป็นร้อยละ 0 และอายุ 51 ปีขึ้นไป จำนวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0 ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ มีระดับ
การศึกษาช้นั ปวส.จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 15 ระดับการศึกษาชั้นปริญญาตรีจำนวน 3 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 15 และอ่ืนๆจำนวน 0 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0
ผลการปฏบิ ัตโิ ครงการ Diorama ประจำปีการศกึ ษา 2565 คา่ ความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วม
โครงการที่มีต่อโครงการ 2565 ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( ̅= 4.51 ) อยู่ในระดับดีเยี่ยม
เม่อื พิจารณาคา่ เฉลี่ยของคะแนนความพงึ พอใจในรายดา้ น โดยเรียงลำดบั ค่าเฉลีย่ จากมากไปหาน้อย
2 ลำดับ ไดแ้ ก่ ด้านการนำเสนอ/สาธิต ( ̅= 4.52 ) อยใู่ นระดับดเี ยยี่ ม รองลงมาด้านผลติ ภณั ฑ์/
ผลงาน ( ̅= 4.50 ) อยู่ในระดับดี
เมอ่ื พจิ ารณารายด้านพบว่า
ด้านการนำเสนอ/สาธิต สามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 2 ลำดับ ได้แก่
การจัดวางองคป์ ระกอบเหมาะสม ( ̅ = 4.50 ) อยใู่ นระดับดี รองลงมา มีความชัดเจนของภาพ
เสียง และตัวอักษร ( ̅ = 4.60 ) อยู่ในระดับดีเยี่ยม การดำเนินเร่ืองอย่างต่อเนื่องเหมาะสมกับ
เวลา ( ̅ = 4.50 ) อยู่ในระดับดี การใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสม ( ̅ = 4.50 ) อยู่ในระดับดี
และการเรียบเรียงเน้อื หาท่เี ข้าใจงา่ ย ( ̅ = 4.50 ) อยใู่ นระดับดี
ด้านผลิตภัณฑ์/ผลงาน สามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 ลำดับ ได้แก่
เนื้อหามสี าระและประโยชน์ สามารถนำไปประยุกต์ใชง้ านได้ในชีวิตประจำวัน ( ̅ = 4.50 ) อยู่ใน
ระดบั รองลงมา เน้อื หาสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ ( ̅ = 4.50 ) อยู่ในระดับดี ความ
น่าสนใจและเทคนิคที่ใช้ในผลิตภัณฑ ์/ผลงาน ( ̅ = 4.55 ) อยู่ในระดับดีเยี่ยม
33
ความถูกตอ้ งครบถว้ นสมบรู ณข์ องผลติ ภัณฑ์/ผลงาน ( ̅ = 4.50 ) อยูใ่ นระดบั ดเี ย่ยี ม ความชัดเจน
ในการอธิบายของผลิตภณั ฑ/์ ผลงาน ( ̅ = 4.45 ) อยู่ในระดบั ดี
5.2 การอภิปราย
ผูเ้ ข้าร่วมโครงการมรี ะดับความคิดเหน็ เกย่ี วกับโครงการน้ีอยใู่ นระดบั ดเี ย่ยี ม เนื่องจากเป็น
โครงการทีท่ ำให้ผูเ้ ข้าร่วมโครงการมคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั โครงการ Diorama และสามารถ
นำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ พรอ้ มท้งั สามารถนำไปเป็นแนวในการประกอบอาชพี อกี ดว้ ย
ผลการปฏิบัติโครงการ Diorama ประจำการศกึ ษา 2565 ค่าความพงึ พอใจของผู้ที่เข้าร่วม
โครงการ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม เมื่อพิจารณาคา่ เฉลีย่ ของคะแนนความพึงพอใจในด้านการ
นำเสนอ/สาธิตและดา้ นผลติ ภัณฑ/์ ผลงาน
ด้านการนำเสนอ/สาธติ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดีเยี่ยม เพราะการจัดวาง
องคป์ ระกอบเหมาะสม มีการดำเนนิ เรื่องอย่างต่อเน่ืองเหมาะสมกบั เวลา ใชภ้ าษาถูกตอ้ งเหมาะสม
และเรียบเรยี งเน้ือหาท่ีเขา้ ใจง่าย
ด้านผลิตภัณฑ์/ผลงาน ผลการประเมินความพึงพอใจอยู่ในระดับดีเยี่ยม เพราะเนื้อหา
มีสาระและประโยชน์ สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้ในชีวิตประจำวัน เนื้อหาสอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์ของโครงการ ความน่าสนใจและเทคนิคที่ใช้ในผลิตภัณฑ์/ผลงาน ความถูกต้อง
ครบถว้ นสมบรู ณ์ของผลติ ภณั ฑ/์ ผลงาน ความชดั เจนในการอธบิ ายของผลิตภณั ฑ์/ผลงาน
5.3 ขอ้ เสนอแนะ
1. มรี ะยะเวลาในการทำโครงการนสี้ ้นั เกนิ ไป ควรบรหิ ารเวลาในการทำงานให้ดี
2. สถานที่ในการทำโครงการไม่เหมาะสม สมาชิกในกลุ่มควรเลือกหาสถานที่ในการจัดทำท่ี
เอ้อื อำนวยท้ังสถานที่ การเดนิ ทางและอปุ กรณ์การทำ
3. เวลาของสมาชิกกลุ่มไม่ตรงกัน ดังนั้นสมาชิกควรแบ่งหน้าท่ีกัน เพื่อให้งานเสร็จตาม
ระยะเวลาทก่ี ำหนด
34
บรรณานุกรม
ความหมาย Diorama ( ออนไลน์ )
เข้าได้จาก https://dict.drkrok.com/diorama/ สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 20 สิงหาคม 2565
ความหมาย Terrarium ( ออนไลน์ )
เขา้ ได้จาก https://dict.drkrok.com/terrarium/ สบื ค้นเมอ่ื วันท่ี 20 สิงหาคม 2565
ความหมาย Miniature (ออนไลน์)
เข้าได้จาก https://dict.drkrok.com/miniature/ สบื คน้ เมือ่ วันที่ 20 สิงหาคม 2565
ความหมาย Coco Fiber (ออนไลน์)
เข้าได้จาก https://www.ruedee.com/th/fabric/coir/ สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 20 สิงหาคม 2565
รปู ภาพประกอบ 2.4.1 (ออนไลน์)
เข้าได้จาก https://www.walmart.com/ip/O-Creme-28-Gauge-Dark-Green-Florist-Floral-Wire-
14-Inch-50-Pieces/553840771 สบื ค้นเมื่อวันท่ี 20 สิงหาคม 2565
รูปภาพประกอบ 2.4.2 (ออนไลน)์
เข้าได้จาก https://hobbii.com/latex-gummimaelk-hvid-250-ml สืบค้น เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม
2565
รูปภาพประกอบ 2.4.3 (ออนไลน์)
เ ข ้ า ไ ด ้ จ า ก https://jongor.co.uk/userfiles/product/.lightbox-2 / 2 1 1 7 6 _f_2 4 0 6 1 0 _2 -
e1500290093318.jpg เมอื่ วันท่ี 20 สงิ หาคม 2565
รปู ภาพประกอบ 2.4.5 (ออนไลน)์
เข้าได้จาก https://cf.shopee.co.th/file/15a6fed84e85cbc1d2ff0fe3a081177e เมื่อวันที่ 20
สิงหาคม 2565
รูปภาประกอบ 2.4.6 (ออนไลน์)
เข้าได้จาก https://www.cbsbahamas.com/sm/product/8208/K02785007.jpg เมื่อวันที่ 20
สิงหาคม 2565
รูปภาพประกอบ 2.4.7 (ออนไลน์)
เข้าได้จาก https://www.findtape.com/DAP-Plaster-of-Paris/p1520/ เมือ่ วนั ที่ 20 สงิ หาคม 2565
รูปภาพประกอบ 2.4.8 (ออนไลน์)
เข้าได้จาก https://acrylicosvallejo.com/wp-content/uploads/2018/06/model-color-vallejo-
tan-earth-70874.jpg เมือ่ วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2565
35
บรรณานุกรม (ตอ่ )
รูปภาพประกอบ 2.4.9 (ออนไลน์)
เข้าได้จาก https://m.media-amazon.com/images/I/61kdcN1KyqS._SL1500_.jpg เมื่อวันที่ 20
สงิ หาคม 2565
รปู ภาพประกอบ 2.4.10 (ออนไลน)์
เข้าได้จาก https://m.media-amazon.com/images/I/41NDy-MjAvL.jpg เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม
2565
รูปภาพประกอบ 2.4.11 (ออนไลน)์
เข้าได้จาก https://encrypted-
tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQ99FUyAjQkxRogu7r1wWUri334eZgGH6otyWs80JL
hQ&s เมอ่ื วันที่ 20 สงิ หาคม 2565
รปู ภาพประกอบ 2.4.12 (ออนไลน)์
เข้าได้จาก https://cdn.shoplightspeed.com/shops/636020/files/34260330/woodland-
scenics-coarse-turf-shaker-medium-green-3.jpg เมื่อวันท่ี 20 สงิ หาคม 2565
รูปภาพประกอบ 2.4.13 (ออนไลน์)
เข้าได้จาก https://img.freepik.com/premium-photo/dirty-earth-natural-soil-texture_33779-
272.jpg?w=2000 เมอ่ื วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2565
รปู ภาพประกอบ 2.4.14 (ออนไลน์)
เข้าได้จาก https://ae01.alicdn.com/kf/HTB19puMOFXXXXcOaXXXq6xXFXXXb/25-kinds-of-
optional-Mini-Artificial-foam-fruits-vegetables-for-Suitable-for-the-wedding-home-
decor.jpg_Q90.jpg_.webp เมื่อวนั ที่ 20 สงิ หาคม 2565
รูปภาพประกอบ 2.5.1 (ออนไลน)์
เข้าไดจ้ าก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เม่อื วันท่ี 20 สิงหาคม 2565
รปู ภาพประกอบ 2.5.2 (ออนไลน์)
เขา้ ได้จาก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมอ่ื วนั ที่ 20 สงิ หาคม 2565
รูปภาพประกอบ 2.5.3 (ออนไลน์)
เขา้ ไดจ้ าก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมือ่ วันที่ 20 สงิ หาคม 2565
36
บรรณานกุ รม (ตอ่ )
รูปภาพประกอบ 2.5.4 (ออนไลน)์
เข้าได้จาก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เม่ือวนั ที่ 20 สงิ หาคม 2565
รปู ภาพประกอบ 2.5.6 (ออนไลน์)
เขา้ ไดจ้ าก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมื่อวนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2565
รูปภาพประกอบ 2.5.7 (ออนไลน์)
เข้าได้จาก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมื่อวันท่ี 20 สิงหาคม 2565
รูปภาพประกอบ 2.5.8 (ออนไลน)์
เขา้ ไดจ้ าก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมอ่ื วนั ท่ี 20 สิงหาคม 2565
รูปภาพประกอบ 2.5.9 (ออนไลน)์
เข้าได้จาก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมื่อวนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2565
รปู ภาพประกอบ 2.5.10 (ออนไลน์)
เข้าได้จาก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมื่อวนั ที่ 20 สิงหาคม 2565
รูปภาพประกอบ 2.5.11 (ออนไลน)์
เข้าไดจ้ าก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมื่อวนั ท่ี 20 สิงหาคม 2565
รูปภาพประกอบ 2.5.12 (ออนไลน)์
เขา้ ไดจ้ าก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมอ่ื วันท่ี 20 สงิ หาคม 2565
รปู ภาพประกอบ 2.5.13 (ออนไลน์)
เขา้ ได้จาก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เม่อื วนั ท่ี 20 สิงหาคม 2565
รปู ภาพประกอบ 2.5.14 (ออนไลน)์
เขา้ ไดจ้ าก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมื่อวนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2565
รปู ภาพประกอบ 2.5.145 (ออนไลน์)
เขา้ ไดจ้ าก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมอ่ื วันที่ 20 สิงหาคม 2565
37
บรรณานุกรม (ต่อ)
รูปภาพประกอบ 2.5.16 (ออนไลน)์
เขา้ ไดจ้ าก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เมื่อวันที่ 20 สงิ หาคม 2565
วิธีการทำต้นไม้แบบงา่ ย (ออนไลน)์
เข้าได้จาก https://yourdiorama.com/how-to-make-diorama-trees/ เม่ือวนั ที่ 20 สงิ หาคม 2565
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
- แบบนำเสนอขออนมุ ัตโิ ครงการ
42
แบบนำเสนอขออนุมัติโครงการ ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ
วทิ ยาลัยเทคโนโลยเี มืองชลบริหารธรุ กจิ
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว สาขาวิชาการท่องเท่ียว
ประจำปีการศกึ ษา 2565
ชือ่ โครงการ Diorama
ระยะเวลาดำเนนิ การ 1 มถิ ุนายน 2565 – 23 กนั ยายน 2565
สถานท่ดี ำเนนิ การ ชมุ ชนตะเคยี นเตย้ี ต.ตะเคยี นเต้ยี อ.บางละมงุ จ.ชลบรุ ี
ประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ย 500 บาท ( หา้ ร้อยบาทถว้ น )
ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ 1. นางสาววาสนา สมใจ ชัน้ ปวช.3
2. นางสาวอภิญญา สวุ รรณระกานนท์ ชั้น ปวช.3
3 นางสาวเอมอร ศรเี มือง ชั้น ปวช.3
ลงชอื่ หัวหน้าโครงการ
( นางสาววาสนา สมใจ )
//
ลงช่อื อาจารยท์ ีป่ รึกษาโครงการ
( อาจารย์วราภรณ์ บวั ไขย )
//
ความเห็นของคณะกรรมการโครงการ
ลงชอ่ื ประธานกรรมการสอบโครงการ
( อาจารย์วราภรณ์ บวั ไขย )
ลงชื่อ กรรมการสอบโครงการ
( อาจารย์วีระศกั ดิ์ ยงิ่ ยนื )
ลงชื่อ กรรมการสอบโครงการ
( อาจารย์กฤตยา ทพิ ยศ์ รี )